You are on page 1of 28

บทที  บทนํา

การปรับปรุ งผิวโลหะและวัสดุมีหลายวิธี เช่น การใช้ เลเซอร์ ปรับปรุ งผิว วิธีคาร์ บไู รซิง วิธี
ชุบแข็ง วิธีไนตรายดิง วิธีสเปรย์ร้อน และอื)นๆ โดยสมบัติของวัสดุหลังจากเคลือบผิวจะมีลกั ษณะ
แตกต่างกันไปตามกรรมวิธีที)ใช้ ในการปรับปรุ งผิว วิธีการปรับปรุ งผิวนี /อาจแบ่งออกได้ เป็ น 0 กลุ่ม
ใหญ่ โดยแบ่งตามลักษณะของผิวชิ /นงานหลังจากการปรับปรุ ง คือ การปรับปรุ งผิวเดิม (surface
modification) และการเคลือบผิว (surface coating)
การปรับปรุ งผิวเดิม (surface modification) เป็ นวิธีการปรับปรุ งโดยอาศัยการเปลี)ยน
สมบัติของผิววัสดุเดิมให้ ดีขึ /น เช่น มีความแข็งสูงขึ /น หลังจากผ่านกระบวนการแล้ ว ชิ /นงานจะมี
ขนาดเท่าเดิม หรื อใกล้ เคียงขนาดเดิมมาก วิธีนี /มีข้อดีคือ เนื)องจากเป็ นการปรับปรุ งผิวเดิมทําให้
โครงสร้ างที)ได้ หลังจากผ่านกระบวนการไม่มีรอยต่อของโครงสร้ างเก่ากับโครงสร้ างใหม่ทําให้ ไม่มี
ปั ญหาด้ านการเกาะติดของชัน/ ผิวใหม่ที)ผ่านการปรับปรุ ง แต่วิธีในกลุ่มนี /ก็มีข้อจํ ากัดจากสมบัติ
ของวัสดุเดิม เช่น ในการปรับปรุงสมบัตดิ ้ านความต้ านทานการกัดกร่ อนของเหล็ก เนื)องจากผิวเดิม
เป็ นเหล็ก ดังนัน/ การเพิ) มความสามารถในการต้ านทานการกัดกร่ อนสามารถทํ าได้ แต่ยังคงถูก
จํ ากัดด้ วยสมบัติของเหล็ ก หากเป็ นในกรณี การเคลื อบผิ วจะสามารถเคลื อบสารอื) นที) มี สมบัติ
แตกต่างไปจากเหล็กได้ จึงทําให้ การเปลี)ยนแปลงสมบัติทําได้ มากกว่าเนื)องจากไม่มีข้อจํากัดจาก
วัสดุเดิม
การเคลือบผิว (surface coating)เป็ นวิธีการปรับปรุ งโดยเคลือบวัสดุอื)นที)มีสมบัติตามที)
ต้ องการ เช่น ความแข็งสูง ความต้ านทานการกัดกร่ อนสูง เป็ นต้ น การเคลือบวัสดุเหล่านี /ลงบนผิว
ของชิ น/ งานสามารถทํ าได้ หลายวิธี โดยส่วนใหญ่ วิธี การเคลื อบผิวจะทํ าให้ ได้ ผิ ววัส ดุที)มี ความ
หลากหลายโดยไม่จําเป็ นต้ องขึ /นกับสมบัติของวัสดุพื /นเดิม แต่ชนเคลื
ั / อบที)ได้ มกั จะมีข้อจํากัดใน
ด้ านการเกาะติดกับผิวของชิ /นงานเดิม การเลือกวิธี วัสดุและเทคนิคที)จะทําให้ การเกาะติดดีขึ /นจึงมี
ความสําคัญอย่างมากสําหรับวิธีการเคลือบผิว

วิธีการ ก่อนทํา หลังทํา


กา รป รั บป รุ ง ผิ วเ ดิ ม
(surface modification)

การเคลือบผิว
(surface coating)

1
วิธีการปรับปรุ งผิวสามารถทําได้ โดยอาศัยความร้ อนเพียงอย่างเดียว (heat treatment)
หรื ออาศัยความร้ อนและการเปลี)ยนแปลงส่วนผสมบริ เวณผิว (thermochemical process) ด้ วยก็
ได้ วิธีการปรับปรุ งผิวด้ วยความร้ อนหรื อ heat treatment เป็ นการปรับปรุ งผิวแบบที)ง่ายที)สดุ แต่
จะต้ องเข้ าใจผลของโครงสร้ างจุลภาคและการเปลี)ยนแปลงโครงสร้ างจุลภาคอันเกิดจากความร้ อน
ก่อน
ตัวอย่างเช่นการปรั บปรุ ง ความแข็งผิ วของเหล็กโดยอาศัยความร้ อนและการเย็นตัวลง
อย่างรวดเร็ วทําให้ เกิดการแปลงเฟสเป็ นมาร์ เทนไซต์ที)มีความแข็งสูง โดยกรรมวิธีทางความร้ อน
เพื)อปรับปรุงผิวจะทําให้ ผิวมีอณ
ุ หภูมิสงู ที)สดุ ถัดจากผิวมีอณ
ุ หภูมิตํ)าลง เช่น การให้ ความร้ อนจาก
เลเซอร์ หรื อ การเหนี)ยวนําดังนัน/ ผิวจึงสามารถเกิดการแปลงเฟสเป็ นออสเทนไนต์อย่างสมบูรณ์
และเมื)อเย็นตัวลงจะเกิดการแปลงเฟสเป็ นมาร์ เทนไซต์ทําให้ ได้ ความแข็งสูง แต่ที)ภายในอุณหภูมิ
ไม่สูงพอจึงมีเพียงบางส่วนที)เปลี)ยนเฟสเป็ นออสเทนไนต์และเย็นตัวลงจนเป็ นมาร์ เทนไซต์ ทําให้
ปริ มาณมาร์ เทนไซต์ลดลงเมื)อระยะจากผิวลึกขึ /น ดังรูปที) 1.1

รูปที) 1.1 อุณหภูมิที)ตําแหน่งความลึกต่างๆจากผิวและการแปลงเฟสเป็ นออสเทนไนต์


[ปรับปรุงจาก Charlie R.Brooks, 1992]

2
นอกจากนี /เมื)อพิจารณาว่า ที)ผิวอุณหภูมิสงู จะทําให้ เกิดการโตขึ /นของเกรน เมื)อเย็นลงจะ
ได้ มาร์ เทนไซต์หยาบ และหากมีออสเทนไนต์เหลือค้ าง (retained austenite) จะเป็ นเฟสที)มีขนาด
ใหญ่ซงึ) ทําให้ สมบัตขิ องชิ /นงานไม่สมํ)าเสมอ
O O
F C

O
F / sec.

รูปที) 1.2 ผลของอัตราการให้ ความร้ อนต่ออุณหภูมิการแปลงเฟสของเหล็ก AISI 1080


[ปรับปรุงจาก Charlie R.Brooks, 1992]

รูปที) 1.3 ความแข็งที)ระยะต่างๆจากการทดสอบ jominy ของเหล็กกล้ า AISI 4340


ให้ ความร้ อนจากขดลวดเหนี)ยวนําและเตาอบชุบ [ปรับปรุงจาก Charlie R.Brooks, 1992]

3
การปรับปรุงผิวโดยอาศัยการให้ ความร้ อนแก่ชิ /นงานและการแปลงเฟสนันยั / งต้ องคํานึงถึง
อัตราการให้ ความร้ อนแก่ชิ /นงาน (heating rate) ด้ วย ถ้ าอัตราการให้ ความร้ อนสูง (ระบบไม่อยู่ใน
สมดุล ) ให้ อุณ หภู มิ ที) เ กิ ด การแปลงเฟสจะเพิ) ม สูง ตามไปด้ วยเมื) อ เที ย บกับอุณ หภู มิ ที) อ่ า นค่า
ได้ ตามแผนภูมิสมดุล การใช้ อตั ราการให้ ความร้ อนสูงทําให้ อุณหภูมิเพิ)มขึ /นอย่างรวดเร็ ว ดังนัน/
ระบบจึงไม่สามารถปรับเข้ าสู่สมดุลได้ ทนั เนื)องจากการแปลงเฟสตามสมดุลอาศัยการจัดเรี ยงตัว
ใหม่ของอะตอมโดยการแพร่ซงึ) ปรากฏการณ์นี /ต้ องใช้ เวลา ตัวอย่างหนึ)งที)พบเห็นได้ บอ่ ยครัง/ คือ ใน
กรณี ของเหล็กที) ให้ ความร้ อนโดยขดลวดเหนี) ยวนํ าความร้ อนจะทําให้ อตั ราการเพิ)มอุณหภูมิสูง
ดังนัน/ เส้ น Ac1 Ac3 ที)บอกถึงอุณหภูมิแปลงเฟสมีคา่ เพิ)มขึ /น ดังรู ปที) 1.2 (เหล็ก AISI 1080) ใน
กรณี เช่นนี ก/ ารแปลงเฟสเป็ นออสเทนไนต์เป็ นไปได้ ยากขึ /น ปริ มาณเฟสออสเทนไนท์ ที)เกิดขึน/ มี
จํานวนน้ อยกว่าการแปลงเฟสที)เกิดขึ /นโดยใช้ เตาอบชุบ ดังนันปริ / มาณเฟสมาร์ เทนไซต์ที)เกิดจาก
การเย็นตัวอย่างรวดเร็ วของออสเทนไนต์ในกรณีที)ให้ ความร้ อนจากขดลวดเหนี)ยวนํา (อัตราการให้
ความร้ อนสูง) จึงมีปริ มาณน้ อยกว่ากรณี ที)ให้ ความร้ อนด้ วยเตาอบชุบ(อัตราการให้ ความร้ อนตํ)า
อย่างเห็นได้ ชดั )ส่งผลให้ ความแข็งของชิ /นงานที)ชบุ แข็งด้ วยขดลวดเหนี)ยวนํามีค่าตํ)ากว่าชิ /นงานที)
ให้ ความร้ อนด้ วยเตาอบชุบ ดังแสดงในรูปที) 1.3 (เหล็ก AISI 4340)
นอกจากการให้ ความร้ อนเพียงอย่างเดียว การปรับปรุ งผิวยังสามารถทําได้ โดยให้ ความ
ร้ อนและทํ าให้ เกิ ดการเปลี) ยนแปลงส่วนผสมทางเคมี เฉพาะบริ เวณผิวได้ โดยเรี ยกวิธีเหล่านี ว/ ่า
thermochemical processing ซึง) เป็ นการปรับปรุงผิวแบบที)ยงั คงมีผลของโลหะพื /นเดิม
ตัวอย่างของปรับปรุงผิวแบบ thermochemical processing
− การปรับปรุงผิวแบบคาร์ บไู รซิงอาศัยปริ มาณคาร์ บอนที)สงู ขึ /นที)ผิวเหล็กและแปลง
เฟสเป็ นเฟสที)มีความแข็งสูงโดยการแพร่ของคาร์ บอนเข้ าสูช่ ิ /นงาน
− การปรับปรุงผิวแบบไนตรายดิงอาศัยปริ มาณไนโตรเจนที)สงู ขึ /นที)ผิวโลหะและเกิด
สารประกอบความแข็งสูง โดยการแพร่ของไนโตรเจนเข้ าสูช่ ิ /นงาน
− การปรับปรุ งผิวแบบอะลูมิไนซิง อาศัยปริ มาณอะลูมิเนียมที)สูงขึ /นที)ผิวโลหะเกิด
สารประกอบเชิงโลหะที)มีสมบัตติ ้ านทานการกัดกร่อนหรื อต้ านทานการเกิดออกซิเดชันโดยการแพร่
ของอะลูมิเนียมเข้ าสูช่ ิ /นงาน
− การปรั บปรุ ง ผิ วแบบฝั ง อิ ออนอาศัยอิ ออนพลัง งานจลน์ สูง ชนและฝั ง เข้ าไปใน
ผิวชิ /นงาน ทําให้ เกิดชันที
/ )มีส่วนผสมทางเคมี และ/หรื อมีโครงสร้ างผลึกที)เปลี)ยนแปลง จนมีสมบัติ
ตามต้ องการ
วิธีการ thermochemical processing นี /ทําให้ ได้ โครงสร้ างจุลภาคและส่วนผสมทางเคมีที)
หลากหลายโดยยังคงลักษณะเดิมของโลหะพื /นด้ วย โดยลักษณะการกระจายตัวจะขึ /นกับวิธีที)ใช้ ใน
การปรับปรุงผิวด้ วย โดยส่วนมาก วิธีการนี /จะอาศัยการแพร่ ของอะตอมของธาตุที)ต้องการเข้ าสู่ผิว
4
ของชิ /นงาน จึงทําให้ ลกั ษณะการกระจายตัวของอะตอมภายในชิ /นงานเป็ นไปตามลักษณะของการ
แพร่ อย่ างไรก็ ต ามการกระจายตัว ของอะตอมในโลหะพื น/ อาจแตกต่า งไปได้ เนื) อ งจากเกิ ด
สารประกอบขึ /น ดังในกรณี การปรับปรุงผิวแบบไนตรายดิงหรื ออะลูมิไนซิง สําหรับวิธีการฝั งอิออน
การกระจายตัวของอิออนที)ถูกฝั งลงในโลหะพื /นจะแตกต่างกันไปตามตัวแปรที)ใช้ ในการฝั งอิออน
เช่น อุณหภูมิซึ)งส่งผลต่ออัตราการแพร่ ของอิออน หรื อค่า sputtering yield ที)มีผลต่อปริ มาณอิ
ออนในชิ /นงาน เป็ นต้ น
การปรั บปรุ งผิวอี กแบบคือการสร้ างชัน/ เคลื อบลงบนผิวเดิมดังที) ได้ กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น
วิธีการต่างๆเหล่านี /เรี ยกว่าการเคลือบผิว (coating processing) ซึง) จะสร้ างผิวใหม่ขึ /นบนผิวเดิม
ตัวอย่างของการปรับปรุงผิวแบบ coating processing
− การเคลือบไอทางกายภาพ(Physical Vapor Deposition: PVD)เป็ นการเคลือบ
ฟิ ล์มบางลงบนผิวโดยอาศัยการสร้ างไออาจมีหรื อไม่มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ /นก็ได้ ฟิ ล์มที)สร้ างขึ /นจะมี
ความหนาเพิ)มตามเวลา
− การเคลือบไอทางเคมี(Chemical Vapor Deposition: CVD)เป็ นการเคลือบฟิ ล์ม
บางลงบนผิวจากก๊ าซจึงไม่ต้องสร้ างไอแต่อาศัยปฏิกิริยาเคมีทําให้ เกิดชันเคลื
/ อบของแข็งเกิดขึ /น
ฟิ ล์มที)สร้ างขึ /นจะมีความหนาเพิ)มตามเวลา
− วิธีการสเปรย์ร้อนใช้ ความร้ อนหลอมวัสดุที)จะเคลือบแล้ วพ่นเคลือบลงบนชิ /นงาน
จึงใช้ งานได้ หลากหลาย แต่ชนเคลื
ั / อบจะมีความหนามากอาจทําให้ ขนาดชิ /นงานเปลี)ยนแปลงได้
วิธีการนี /สามารถอาศัยความร้ อนจากหลายแหล่งซึง) จะให้ ผลแตกต่างกัน
− Laser alloying ใช้ เลเซอร์ หลอมเหลวชิ /นงานแล้ วเติมธาตุผสมอื)นๆลงไปจึงทําให้
ปรับปรุงคุณสมบัตไิ ด้ โดยอาศัยสมบัตขิ องเฟสที)เกิดขึ /นจากการเติมธาตุผสม

(ก) (ข)
Interface
Interface

รูปที) 1.4 (ก) ชันเคลื


/ อบเหล็กโครเมียมที)เคลือบด้ วยวิธีสเปรย์ร้อน
(ข) ชันเคลื
/ อบไทเทเนียมไนไตรด์ที)เคลือบด้ วยวิธี PVD

5
โครงสร้ างที)ได้ จากการเคลือบผิวจะมีรอยต่อ (interface) ระหว่างโลหะพื /นกับชันเคลื / อบ
อย่างชัดเจน ดังตัวอย่างในรู ปที) 1.4 ทําให้ สมบัติด้านการเกาะติด (adhesion) มีความสําคัญมาก
ในหลายกรณี จะมีการเคลือบชันเคลื / อบระหว่างกลาง (interlayer) เพื)อช่วยให้ ยดึ ติดได้ ดีขึ /น
การเลื อกวิธี ที)ใ ช้ ใ นการปรั บปรุ ง ผิวจึง ต้ องพิจ ารณาจากจุดประสงค์ ในการปรั บปรุ ง ผิ ว
รูปร่างชิ /นงานที)นําไปใช้ และคุณสมบัติของวัสดุก่อนทําการปรับปรุ งผิว สําหรับวัตถุประสงค์ในการ
ปรับปรุงผิวอาจแบ่งออกได้ เป็ น k ข้ อ คือ
1. ปรับปรุงสมบัตทิ างแสงและสมบัตทิ างไฟฟ้า
การปรับปรุงสมบัตทิ างแสงและไฟฟ้านี /เป็ นการปรับปรุ งผิวของวัสดุที)ต้องการการ
ควบคุมอย่างดีที)สุดทัง/ ในด้ านความสมํ) าเสมอ ปริ มาณของสารมลทิน สัดส่วนโดยอะตอมของ
สารประกอบที)เคลือบผิว ล้ วนเป็ นสิ)งสําคัญที)มีผลต่อสมบัตทิ างแสงและไฟฟ้าเป็ นอย่างมาก
2. ปรับปรุงสมบัตทิ างกล
การปรับปรุ งสมบัติทางกลต้ องการการควบคุมให้ ได้ สารเคลือบหรื อวัสดุเคลือบ
ชนิดที)ต้องการ ในบางกรณีการควบคุมโครงสร้ างจุลภาคบริ เวณผิวของชิ /นงานมีความสําคัญเพราะ
จะส่งผลต่อการรับแรงจากชันเคลื / อบรวมทังการเกาะติ
/ ด อย่างไรก็ตามในการปรับปรุ งสมบัติทาง
กลนัน/ การควบคุมสัดส่วนของอะตอมในสารประกอบหรื อปริ มาณสารมลทิ นนัน/ ยังไม่ส่งผลต่อ
สมบัตทิ างกลมากเท่ากับสมบัตทิ างแสงและสมบัตทิ างไฟฟ้า
3. ปรับปรุงสมบัตดิ ้ านความต้ านทานการกัดกร่ อน
ในการปรั บปรุ ง สมบัติทางความต้ า นทานการกัด กร่ อนการควบคุม ให้ ชัน/ ผิ ว ที)
ปรับปรุ งหรื อชันเคลื
/ อบมีความสมํ)าเสมอ และครอบคลุมผิวของชิ /นงานทังหมดเป็ / นสิ)งสําคัญมาก
หากมีบางบริ เวณที)ชนผิ ั / วไม่ถกู ปรับปรุ งหรื อไม่มีชนเคลื
ั / อบจะทําให้ บริ เวณนันเริ
/ ) มเกิดการกัดกร่ อน
และลามไปสูบ่ ริ เวณอื)นๆได้
4. ปรับปรุงความสวยงาม
การปรับปรุ งผิวหรื อเคลือบผิวเพื)อปรับปรุ งความสวยงามนันสามารถปรั/ บเปลี)ยน
กระบวนการได้ มากที)สดุ โดยไม่ต้องคํานึงถึงสมบัติด้านต่างๆมากนัก

6
แบบฝึ กหัด ท้ ายบทที 
1. จงอธิ บายความแตกต่างของการเคลือบผิวใหม่กับการปรับปรุ งผิวเดิม รวมทัง/ ข้ อดีและ
ข้ อจํากัดของกระบวนการดังกล่าว
2. จงบอกผลของอัตราการให้ ความร้ อนต่อ อุณ หภูมิ ที) เ กิ ด การแปลงเฟสของเหล็ ก (จาก
อุณหภูมิตํ)าเป็ นอุณหภูมิสงู ) รวมทังให้
/ เหตุผลประกอบ
3. จงค้ นคว้ าวิธีการปรับปรุงผิวเพื)อวัตถุประสงค์ตอ่ ไปนี /
m.n เพื)อเพิ)มสมบัตทิ างกล (ความแข็งและความต้ านทานการสึกหรอ)
m.0 เพื)อเพิ)มความต้ านทานการกัดกร่อน
m.m เพื)อปรับปรุงสมบัตทิ างแสง
m.k เพื)อปรับปรุงสมบัตทิ างไฟฟ้า

7
บทที  การปรับ ปรุ งผิวด้ วยเลเซอร์ (Laser Surface Process)
การปรับปรุงผิววิธีนี /จะใช้ เลเซอร์ เป็ นแหล่งให้ ความร้ อนแก่ชิ /นงาน โดยให้ ลําแสงเลเซอร์ ตก
กระทบบนชิน/ งาน ทํ าให้ ชิ น/ งานดูดซับพลังงานและเพิ)มอุณหภูมิขึน/ ได้ การใช้ เ ลเซอร์ ใ นการให้
ความร้ อนทําให้ สามารถควบคุม
− ทิ ศ ทางของเลเซอร์ ทํ า ให้ ส ามารถเลื อ กบริ เ วณที) จ ะให้ ค วามร้ อนจึ ง สามารถ
ปรับปรุงเฉพาะบางส่วนของชิ /นงานได้
− พลังงานของเลเซอร์ ทําให้ ชิ /นงานรับพลังงานจากเลเซอร์ มากจนอุณหภูมิสูงขึน/
จนเกิ ด การหลอมเหลว หรื อ รั บ พลั ง งานจากเลเซอร์ ตํ) า เพื) อ ควบคุม อุ ณ หภู มิ ไ ม่ ใ ห้ เ กิ ด การ
หลอมเหลวได้ เช่นกัน
− เวลาที)สมั ผัสชิ /นงานทําให้ ความร้ อนเกิดขึ /นเฉพาะที)บริ เวณผิวโดยการใช้ เวลาสัน/
ความร้ อนจึงถ่ายเทเข้ าสู่กลางชิ /นงานได้ น้อยซึ)งเป็ นข้ อดีของการใช้ เลเซอร์ ในการให้ ความร้ อนแก่
ผิวชิ /นงาน
เมื) อเลเซอร์ ที)สัมผัสผิวชิน/ งานทํ าให้ เกิ ดการถ่ายเทพลังงานเป็ นความร้ อนบนผิวชิน/ งาน
โดยความร้ อนจะทําให้ อุณหภูมิสูงขึ /นดังรู ปที) 0.n แสดงความสัมพันธ์ ของอุณหภูมิของชิ /นงานใน
ตําแหน่งต่างๆที)รับความร้ อนจากลําเลเซอร์

รูปที) 0.n อุณหภูมิที)ตําแหน่งต่างๆภายในชิ /นงานที)รับความร้ อนจากเลเซอร์


[ปรับปรุงจาก Charlie R.Brooks, 1992]

จากรู ปที) 0.n จะเห็ นได้ ว่า ที) ผิ วชิน/ งานมี อุณ หภูมิ สูง ขึน/ เนื) องจากได้ รับความร้ อนจาก
เลเซอร์ โดยจากเส้ นแสดงอุณหภูมิจะเห็นว่าที)ผิวมีอณ ุ หภูมิสงู สุดและค่อยๆลดลงจากผิว อย่างไรก็

8
ตามเวลาที)เลเซอร์ สมั ผัสชิ /นงานเป็ นระยะเวลาสันๆทํ / าให้ เฉพาะบริ เวณผิวเท่านันที / )มีอุณหภูมิสูง
เมื) อลํ าแสงเลเซอร์ เ ลื) อนผ่านไปแล้ ว อุณหภูมิที)ผิวของชิน/ งานยังคงสูงแต่จ ะลดลงอย่างรวดเร็ ว
เนื)องจากบริ เวณภายในชิ /นงานไม่ได้ รับความร้ อนจากเลเซอร์ จึงยังคงมีอณ ุ หภูมิตํ)าและช่วยให้ เกิด
การถ่ายเทความร้ อนออกจากผิวชิ /นงานได้ ด้วยอัตราการเย็นตัวสูง ในลักษณะเย็นตัวด้ วยตัวเอง
(self-quenching) ดังนัน/ การปรับปรุ งผิวด้ วยวิธีนี /จึงสามารถลด HAZ (Heat Affected Zone) ลง
ได้ ส่งผลให้ ลดการบิดเบี /ยวของชิ /นงานลง รวมทังสามารถคงสมบั
/ ตเิ ดิมของชิ /นงานไว้ ได้
ในการปรั บ ปรุ งผิ ว ชิ น/ งานจะใช้ เลเซอร์ แบบต่ อ เนื) อ ง มั ก ใช้ ตั ว กลางเป็ นก๊ าซ
คาร์ บอนไดออกไซด์ โดยใช้ กําลังสูง ประมาณ n-0s กิ โลวัตต์ อย่างไรก็ตาม สําหรั บวัสดุจําพวก
โลหะซึ)ง สามารถสะท้ อนแสงได้ ดี เมื) อใช้ เ ลเซอร์ เ ป็ นแหล่ง ให้ ความร้ อนจะเกิ ดปั ญ หาเรื) องการ
ดูดกลืนน้ อยทํ าให้ ดูดซับพลังงานไว้ น้อย ส่งผลให้ ประสิทธิ ภาพการให้ ความร้ อนจากเลเซอร์ ตํ)า
ดังนัน/ หากต้ องการใช้ เลเซอร์ ในการให้ ความร้ อนกับวัสดุกลุ่มโลหะมักจะต้ องเคลือบผิวด้ วยสาร
ดูดกลื นแสง เพื)อช่วยในการดูดซับพลังงานจากเลเซอร์ โดยทัว) ไปลําแสงเลเซอร์ ที)ให้ พลังงานแก่
ชิ น/ งานจะมี ค วามกว้ า ง (เส้ น ผ่ า นศูน ย์ ก ลางประมาณ 1–2 มิ ล ลิ เ มตร) ส่ ว นที) ร้ อนขึ น/ หรื อ
หลอมเหลวจะมีขนาดประมาณ 2– 3 มิลลิเมตร โดยจะเกิดขึ /นเป็ น pass ตามที)แสงเลเซอร์ เลื)อน
ผ่าน และจะมี การซ้ อนเหลื) อมกันประมาณ 0s-su% ในแต่ล ะ pass การซ้ อนเหลื) อมกันนี อ/ าจ
ก่อให้ เกิดการอบคืนตัว นิ)มลง และเกิดการแตกหักบางส่วนที)ซ้อนเหลื)อมได้ ซึ)งสามารถแก้ ไขได้ โดย
การกระจายพลังงานลงบนพื /นที)กว้ างขึ /นอาจใช้ กระจกเงาเป็ นตัวควบคุมพื /นที)ของแสงเลเซอร์

. ตัวแปรในกระบวนการปรั บ ปรุ งผิวด้ วยเลเซอร์


• ชนิดของการปรับปรุง
• สมบัตขิ องวัสดุ
• กําลังของเลเซอร์
• เวลาที)เลเซอร์ สมั ผัสชิ /นงาน
• อัตราการเลื)อนของชิ /นงาน/เลเซอร์
• เส้ นผ่านศูนย์กลางของลําแสงเลเซอร์
สําหรับการเลือกตัวแปรต่างๆจะแตกต่างกันไปเพื)อให้ ได้ สมบัติที)เหมาะสม เช่นวิธีการปรับปรุ งผิว
แบบชุบแข็ง เกิดการแปลงเฟส แต่ไม่ต้องการการหลอมเหลว จะต้ องใช้ ความหนาแน่นกําลังของ
เลเซอร์ ตํ)าและเวลาสัน/ แต่ในบางกรณีใช้ เวลานานขึ /นเพื)อให้ เกิดการแพร่ หากต้ องการให้ เกิดการ
หลอมเหลว ใช้ กําลังสูง เวลาสัน/ เพื)อให้ ร้อนขึ /นเฉพาะที)บริ เวณผิวเท่านัน/ จากรู ปที) 0.0 แสดงให้
เห็ นว่ากํ าลังเป็ นปั จ จัยสํ าคัญ ที) จะควบคุมการหลอมเหลวที)ผิ ว ทัง/ นี เ/ มื) อพิ จารณาว่ามี เส้ นผ่าน
ศูนย์กลางของลําเลเซอร์ คงที)และใช้ ความเร็ วของเลเซอร์ คงที)
9
10

Beam power Qſ , Kw

M elt ing
Onset of Melting

5 ning
de
n H ar
om a t io
Tr a n sf Experiment
Calculation
No Change

0
0 .5 1.0
Maximum Depth of heat-affect Zone, mm

รูปที) 0.0 ผลของกําลังเลเซอร์ ตอ่ ความลึกและการเกิดการหลอมเหลวของเหล็กกล้ า nunx


[ปรับปรุงจาก Charlie R.Brooks, 1992]

จากรู ปที) 0.0 จะเห็ นว่าเมื) อใช้ กําลัง เลเซอร์ เพิ)ม สูงขึน/ โดยใช้ เส้ นผ่านศูนย์ กลางของลํ า
เลเซอร์ ที)มีขนาดเท่าเดิม ทําให้ ความหนาแน่นกําลังของเลเซอร์ ต่อหน่วยพื /นที)เพิ)มขึ /นตามไปด้ วย
ดังนันชิ
/ /นงานในหนึ)งหน่วยพื /นที)จึงได้ รับพลังงานสูง ส่งผลให้ ความลึกจากผิวที)ได้ รับความร้ อนจะ
เพิ) ม ขึ น/ ด้ ว ย จนกระทั)ง เมื) อ เพิ) ม กํ า ลัง ของเลเซอร์ ถึ ง ค่า หนึ) ง ซึ) ง ทํ า ให้ อุณ หภู มิ ที) ผิ ว สู ง กว่ า จุ ด
หลอมเหลว จะเริ) มเกิดการหลอมเหลวขึ /น การพิจารณาผลของกําลังของเลเซอร์ เช่นนี / สามารถทํา
ได้ เมื)อขนาดของลําเลเซอร์ คงที)และความเร็ วในการเลื)อนของเลเซอร์ (หรื อชิ /นงาน)มีค่าคงที) ทังนี / /
หากขนาดของลําเลเซอร์ เปลี)ยนไปจะทําให้ กําลังของเลเซอร์ ตอ่ หน่วยพื /นที)เปลี)ยน สําหรับความเร็ ว
ในการเลื)อนลํ าเลเซอร์ ก็เช่นกัน คือ หากให้ ความเร็ วสูง เวลาที)เลเซอร์ สมั ผัสชิ /นงานจะสัน/ ดังนัน/
พลังงานที) ถูกถ่ายเทให้ ชิน/ งานจะมี ปริ ม าณตํ)าและทํ าให้ อุณ หภูมิสูง ขึน/ ไม่มากเท่ากับกรณี ที)ใ ช้
อัตราการเลื) อนลํ าเลเซอร์ ตํ)า ดังนัน/ การควบคุม การให้ ความร้ อนจากเลเซอร์ แก่ชิน/ งานเพื) อให้ มี
หรื อไม่ มี ก ารหลอมเหลวนัน/ ไม่ ส ามารถคํ านึ ง ถึ ง กํ า ลัง ของเลเซอร์ เ พี ยงอย่ า งเดี ยวได้ แต่ต้ อ ง
พิจารณาถึงขนาดของลําเลเซอร์ ซึ)งส่งผลถึงความหนาแน่นกําลังเลเซอร์ ตอ่ พื /นที) รวมทังอั / ตราการ
เลื)อนของเลเซอร์ (หรื อชิ /นงาน) ที)สง่ ผลต่อเวลาที)เลเซอร์ สมั ผัสชิ /นงานด้ วย

10
. วิธ ีก ารปรั บ ปรุ งผิวด้ วยเลเซอร์
2.2.1 Laser transformation hardening
วิธีการนี /เป็ นการปรับปรุงผิวโดยอาศัยการเปลี)ยนคุณสมบัติเมื)อเกิดการแปลงเฟสจากการ
เปลี)ยนแปลงของอุณหภูมิที)เพิ)มสูงขึ /นและลดลงทําให้ ได้ สมบัติตามที)ต้องการโดยการให้ ความร้ อน
แก่ชิ /นงานจะอาศัยแหล่งความร้ อนจากลําเลเซอร์ ที)เลื)อนผ่านชิ /นงาน ทําให้ อณ ุ หภูมิที)ผิวเพิ)มสูงขึ /น
อย่า งรวดเร็ วและสามารถลดลงได้ อ ย่า งรวดเร็ วเมื) อลํ า เลเซอร์ เ ลื) อนผ่ านไป ตัวอย่างที) ใ ช้ การ
ปรับปรุ งผิววิธีนี / คือ การเพิ)มอุณหภูมิทําให้ เหล็กเปลี)ยนเฟสเป็ นออสเตนไนต์ และทําให้ เย็นตัวลง
อย่างรวดเร็ วเกิ ดการแปลงเฟสเป็ นมาร์ เทนไซต์ซึ)งเป็ นเฟสที) มีความแข็งสูงให้ สมบัติตรงตามที)
ต้ องการ ลักษณะเช่นนี /เห็นได้ ชดั ในกรณีของเหล็กซึ)งเป็ นวัสดุที)สามารถถ่ายเทความร้ อนได้ ดี เมื)อ
สัมผัสลําเลเซอร์ ก็จะร้ อนขึ /นหรื อก็คือผิวมีอณ ุ หภูมิสงู ขึ /นอย่างรวดเร็ ว รวมทังบริ
/ เวณใต้ ผิวด้ วย ทังนี
/ /
เนื)องจากสามารถถ่ายเทความร้ อนได้ ดี อย่างไรก็ตามบริ เวณใต้ ผิวยังคงมีอุณหภูมิตํ)ากว่าบริ เวณ
ผิวชิ /นงานเนื)องจากเวลาที)เลเซอร์ ลากผ่านนันสั / นมาก
/
เมื)อพิจารณาบริ เวณผิวที)อณ ุ หภูมิสงู กว่าอุณหภูมิยูเทคตอยด์จะเปลี)ยนเป็ นออสเตนไนต์
ดังรู ปที) 0.m ซึ)งบริ เวณนี เ/ มื) อเย็นลงอย่างรวดเร็ วจะได้ โครงสร้ างมาร์ เทนไซต์การทํ าให้ เย็นตัวลง
อย่างรวดเร็ วในวิธีนีจ/ ะแตกต่างจากการชุบแข็งทัว) ไปตรงที)จะเป็ นการเย็นตัวด้ วยตัวเอง ซึ)งจะมี
อัตราการเย็นตัวที) สูงมาก ทํ าให้ วิธีการปรั บปรุ งผิวแบบนี ส/ ามารถทํ าได้ กับเหล็กที) ชุบแข็งได้ ยาก
หรื อมีความสามารถในการชุบแข็งตํ)า

11
รูปที) 0.m อุณหภูมิที)ความลึกต่างๆจากผิวชิ /นงาน [ปรับปรุ งจาก Charlie R.Brooks, 1992]
ในการปรับปรุ งผิวแบบนี / ความร้ อนจากเลเซอร์ นนไม่ ั / มีผลต่ออุณหภูมิโดยรวมของชิ /นงาน
เนื)องจากความร้ อนจะเกิดขึ /นมากที)ผิวเท่านัน/ นอกจากนี / เมื)อพิจารณาช่วงเวลาที)ชิ /นงานร้ อนขึ /น
จากรู ปที) 0.m จะเห็นว่าเป็ นเพียงช่วงสันๆไม่ / กี)วินาที ดังนันจึ / งทําให้ โครงสร้ างบริ เวณกลางชิ /นงาน
ไม่เกิดการเปลี)ยนแปลง ซึ)งเป็ นข้ อได้ เปรี ยบหลักของวิธีนี / อย่างไรก็ตาม วิธีนี /ยังคงมีข้อจํากัด เมื)อ
ใช้ ใ นการปรั บ ปรุ ง ผิ ว เหล็ กหรื อโลหะโดยทั)ว ไปซึ) ง มี ผิ วมัน วาวทํ า ให้ เ ลเซอร์ ถูก สะท้ อนออกไป
พลังงานจึงไม่ถกู ดูดซับไว้ ในชิ /นงานทําให้ ประสิทธิภาพในการเพิ)มความร้ อนไม่ดี ข้ อจํากัดดังกล่าว
นี /สามารถแก้ ไขได้ โดยเคลือบสารดูดกลืนแสงบนผิวโลหะเช่น แกรไฟต์ แมงกานีสฟอสเฟต
ในการชุบแข็งหรื อการปรับปรุ งผิวแบบนี / อาศัยการแปลงเฟสเป็ นหลัก ดังนัน/ สมบัติและ
ความหนาของชันผิ / วแข็งที)ได้ จะเปลี)ยนแปลงตามความสามารถในการชุบแข็งด้ วย เช่น เหล็กกล้ า
คาร์ บอนสูงจะมีคา่ อัตราการเย็นตัววิกฤต (critical cooling rate) ตํ)า ดังนัน/ แม้ จะเป็ นบริ เวณที)ลึก
จากผิว อัตราการเย็นตัวก็ยงั มีค่าสูงเพียงพอที)เกิดเป็ นมาร์ เทนไซต์ ทําให้ ผิวแข็งที)ได้ มีความหนา
มาก ในขณะที)เหล็กกล้ าคาร์ บอนตํ)าจะมีผิวแข็งบางกว่า
การพิจารณาเลือกตัวแปรที)ใช้ ในการปรับปรุ งผิวในวิธี laser transformation hardening
นันอาศั
/ ยการแปลงเฟสเป็ นหลัก โดยการแปลงเฟสนันต้ / องเกิดขึ /นอย่างสมบูรณ์ การแปลงเฟสนี /
เป็ นปรากฏการณ์ ที)อาศัยเวลาให้ เกิดการแพร่ ของอะตอมจนได้ เป็ นเฟสที)ต้องการโดยไม่เกิดการ
หลอมเหลวที)ผิวของชิ /นงานเพื)อให้ ยงั คงรูปของชิ /นงานไว้ ได้ กําลังของเลเซอร์ ที)ใช้ และเวลาที)เลเซอร์
สัมผัสชิ /นงานจึงเป็ นตัวแปรสําคัญที)ต้องคํานึงถึงในการปรับปรุ งผิววิธีนี / เนื)องจากต้ องการเวลาให้
สามารถเกิดการแพร่ จึงจําเป็ นต้ องเลือกใช้ เวลาที)เลเซอร์ สมั ผัสชิ /นงานนาน และเพื)อหลีกเลี)ยงการ
เกิ ดการหลอมเหลวจึงต้ องจํ ากัดกํ าลังของเลเซอร์ ให้ ตํ)า ยกตัวอย่างกรณี ปรั บปรุ ง ผิวเหล็กโดย
ต้ องการให้ เ ปลี) ยนเฟสเป็ นออสเทนไนต์อย่างสมบูรณ์ เพื) อที) จะชุบแข็งได้ เป็ นมาร์ เ ทนไซต์ต่อไป
ดังนันจึ
/ งต้ องการให้ เกิดการแพร่ ของคาร์ บอนในการแปลงเฟส การแพร่ ของคาร์ บอนนี /อาศัยเวลา
จึงใช้ เวลานานและกําลังของเลเซอร์ ตํ)า เพื)อป้องกันไม่ให้ เกิดการหลอมเหลว จากรู ปที) 0.2 แสดงให้
เห็ นถึ ง การจํ า กัด กํ าลัง ของเลเซอร์ เ พื) อ ป้องกัน การหลอมเหลวในเหล็ ก โดยจะเห็ นว่ า ในการ
ปรั บปรุ ง ผิ วเหล็ ก กล้ า ชนิ ด nunx เมื) อใช้ เ ส้ นผ่ านศูนย์ ก ลางลํ า เลเซอร์ ค งที) n0 มิ ล ลิ เ มตรxn0
มิลลิเมตร และใช้ ความเร็ วคงที) (mx มิลลิเมตรต่อวินาที) ซึ)งหมายถึงเวลาสัมผัสชิ /นงานคงที) เมื)อ
เพิ)มกําลังขึ /นเกิน { กิโลวัตต์จะทําให้ เริ) มเกิดการหลอมเหลวขึ /น
การกําหนดตัวแปรต่างๆของการปรับปรุ งผิวแบบ laser transformation hardening นันมี /
ผลต่อโครงสร้ างจุลภาคที)ได้ หลังการปรับปรุ งด้ วย เนื)องจากการปรับปรุ งผิววิธีนี /อาศัยการแพร่ ทํา
ให้ เมื)อใช้ เวลาและกําลังเลเซอร์ ที)แตกต่างกันจะส่งผลถึงอุณหภูมิ และความสมบูรณ์ของการแปลง

12
เฟสที) ได้ หรื อก็ คือปริ มาณของวัสดุที)เกิ ดการแปลงเฟส ทํ าให้ โครงสร้ างจุล ภาคที) ได้ แตกต่างกัน
นอกจากนี /โครงสร้ างเริ) มต้ นและส่วนผสมทางเคมีของชิ /นงานก็มีผลต่อโครงสร้ างสุดท้ าย เช่น
ตัวอย่างที) n กรณี ปรั บปรุ งผิ วเหล็ กหล่อเทาซึ)ง มี แกรไฟต์ แบบแผ่น การสลายแกรไฟต์
ทัง/ หมดต้ องใช้ เ วลานาน ดังนัน/ การปรั บปรุ งผิ ววิธี นีซ/ ึ)ง ใช้ เวลาสัน/ จึง ไม่สามารถสลายแกรไฟต์
ทังหมดได้
/ โครงสร้ างเดิมของเหล็กหล่อเทานันมี / เนื /อพื /นเป็ นเพิร์ลไลต์ซึ)งมีเฟสซีเมนไทต์ขนาดเล็ก
เป็ นแถบกระจายอยู่อย่างสมํ)าเสมอจากโครงสร้ างยูเทคตอยด์ เมื)อได้ รับความร้ อนจากเลเซอร์ จน
อุณหภูมิสูงพอ เฟสซีเมนไทต์จะสลายตัวทํ าให้ เนื /อพื /นกลายเป็ นมาร์ เทนไซต์หลังจากเย็นตัวลง
โครงสร้ างสุดท้ ายหลังปรับปรุงผิวจึงได้ มาร์ เทนไซต์และแกรไฟต์แบบแผ่น
ตัวอย่างที) 0 กรณี ปรับปรุ งผิวเหล็กหล่อเหนียวซึ)งมีแกรไฟต์กลมกระจายตัว โดยบริ เวณ
รอบๆแกรไฟต์เป็ นเฟสเฟอร์ ไรท์อยูใ่ นเนื /อพื /นเพิร์ลไลต์ เมื)อได้ รับความร้ อนจากเลเซอร์ ซีเมนไทต์ใน
แกรไฟต์ ส ลายตัวและทํ าให้ บริ เ วณที) เ คยมี โครงสร้ างเพิ ร์ล ไลต์ เ ปลี) ยนเป็ นเฟสออสเตนไนต์ ซึ)ง
บริ เวณนี /เมื)อเย็นตัวลงจะกลายเป็ นมาร์ เทนไซต์ เมื)อพิจารณาแกรไฟต์กลมซึ)งจะสลายตัวทํ าให้
คาร์ บอนละลายเข้ าไปในเฟอร์ ไรท์รอบๆและทําให้ คาร์ บอนสูงพอจนเกิดการแปลงเฟสเป็ นเฟสออส
เทนไนต์ซงึ) จะกลายเป็ นมาร์ เทนไซต์หลังจากเย็นตัวลงได้ แต่เนื)องจากกรรมวิธีนี /ใช้ เวลาสันมาก / ทํา
ให้ แกรไฟต์ไม่สลายตัวจนหมดและเฟสเฟอร์ ไรต์ไม่ได้ กลายเป็ นออสเทนไนต์ทงหมด ั/ แต่จะเกิดเฟส
ออสเทนไนต์เพียงบริ เวณรอบๆแกรไฟต์ที)คาร์ บอนแพร่ มาถึงเท่านัน/ เมื)อเย็นตัวลงจึงเกิดเฟสมาร์
เทนไซต์รอบแกรไฟต์โดยล้ อมรอบด้ วยเฟอร์ ไรท์ที)ไม่เกิดการเปลี)ยนเฟส ทังหมดอยู / ่ในเนื /อพื /นมาร์
เทนไซต์(ซึง) เคยเป็ นเพิร์ลไลต์ดงั ที)อธิบายไว้ ข้างต้ น)
แกรไฟต์ แ บบแผ่ น แกรไฟต์ ก ลม
(Flake graphite) มาร์ เ ทนไซต์ (nodular graphite)

(ก) (ข) มาร์ เ ทนไซต์


รูปที) 0.k โครงสร้ างที)ได้ หลังปรับปรุงผิวด้ วยวิธี laser transformation hardening ของ
(ก) เหล็กหล่อเทา (ข) เหล็กหล่อเหนียว [เอกสารคําสอน รศ.ดร.ประสงค์ ศรี เจริ ญชัย]

13
การปรับปรุ งโครงสร้ างจุลภาคของผิวด้ วยวิธี laser transformation hardening โดยมาก
นิ ย มใช้ ง านกับ โลหะในกลุ่ม เหล็ ก โดยอาศัย การแปลงเฟสจากออสเทนไนต์ เ ป็ น มาร์ เ ทนไซต์
โครงสร้ างจุลภาคของผิวชิ /นงานจะถูกควบคุมโดยการปรับตัวแปรต่างๆในกระบวนการเพื)อให้ ได้
สมบัติตามที)ต้องการ โดยส่วนมาก โครงสร้ างบริ เวณผิวซึ)งต้ องการให้ ความแข็งสูงนัน/ จะเป็ นมาร์
เทนไซต์ละเอียด และป้องกันการหลอมเหลวโดยการควบคุมกํ าลังของเลเซอร์ นอกจากนี /ยังต้ อง
ระวังในเรื) องของการปรั บปรุ งผิ วเป็ นบริ เวณกว้ างและมี การซ้ อนเหลื) อมกันในแต่ละ pass โดย
บริ เวณที)ซ้อนเหลื)อมกันนี /อาจเกิดการอบคืนตัวทําให้ ความแข็งบริ เวณนันลดลงได้
/ ดงั แสดงในรู ปที)
0.s

รูปที) 0.s ผลของการอบคืนตัวในบริ เวณที) pass ซ้ อนเหลื)อมกันทําให้ ความแข็งลดลง


[ปรับปรุงจาก Charlie R.Brooks, 1992]

ผลของอัต ราการเลือ นชินF งานและกําลังเลเซอร์ ใ น transformation hardening


ความเร็ ว (หรื ออัตราการเลื)อนชิ /นงาน/เลเซอร์ ) ส่งผลต่อเวลาที)เลเซอร์ สมั ผัสชิ /นงานเมื)อใช้
ความเร็ วสูง เช่น กรณี ที)ใช้ อตั ราเร็ ว nx มิลลิเมตรต่อวินาที ในรู ปที) 0.{ ทําให้ เวลาที)สมั ผัสชิ /นงาน
สัน/ ดังนันจึ
/ งมีเวลาในการถ่ายเทความร้ อนได้ น้อย ทําให้ ความร้ อนถ่ายเทเข้ าสู่ผิวชิ /นงานได้ ไม่ลึก
ส่งผลให้ บริ เวณที)มีอุณหภูมิสงู พอที)จะเกิดการเปลี)ยนเฟสเป็ นเพียงบริ เวณตื /นๆจากผิวชิ /นงาน ได้
ความลึกผิวแข็งจึงน้ อย และเมื)อพิจารณาว่าในกรณีที)ใช้ ความเร็ วสูงบริ เวณส่วนที)ร้อนขึ /นเป็ นเพียง
บริ เวณผิวบางๆในขณะที)ชิน/ งานส่วนใหญ่ยังมี อุณหภูมิตํ)า ทํ าให้ ผลของการเกิ ดการเย็นตัวด้ วย
ตนเองมีประสิทธิภาพดีมาก อัตราการเย็นตัวจึงสูงและทําให้ ที)ผิวได้ เฟสที)แข็งมาก ความแข็งที)ผิว
จึงสูง หากใช้ ความเร็ วช้ าลง ความร้ อนสามารถถ่ายเทเข้ าสูช่ ิ /นงานได้ ลกึ ขึ /นทําให้ ชนผิ
ั / วแข็งหนา แต่
ก็ทําให้ ประสิทธิภาพการเย็นตัวด้ วยตนเองลดลงซึ)งอาจไม่สามารถเกิดเฟสความแข็งสูงได้ ทงหมด ั/
จึงทําให้ ความแข็งผิวลดลงได้ (ดังตัวอย่างในรูป 0.{ ที)ใช้ อตั ราเร็ ว x มิลลิเมตรต่อวินาที)

14
รูปที) 0.{ ผลของอัตราการเลื)อนชิ /นงาน(เลเซอร์ ) กับความแข็งของชิ /นงานเหล็กกล้ า nusm
[ปรับปรุงจาก Charlie R.Brooks, 1992]

กําลังของเลเซอร์ (กําลังต่อหน่วยพื /นที)) มีผลต่อความร้ อนที)เกิดและถ่ายเทเข้ าสู่ชิ /นงาน


หากใช้ กําลังของเลเซอร์ สงู ทําให้ พลังงานที)ให้ ความร้ อนที)ผิวชิ /นงานมาก อุณหภูมิที)ผิวจึงสูงขึ /นจน
ทําให้ มีความต่างของอุณหภูมิที)ผิวกับภายในชิ /นงานมาก ดังนัน/ ความร้ อนจึงถ่ายเทเข้ าสู่ชิ /นงานได้
ลึก ทําให้ ได้ ความลึกผิวแข็งมาก เนื)องจากบริ เวณที)อณ ุ หภูมิสงู มีความหนามาก ประสิทธิภาพของ
การเย็นตัวด้ วยตัวเองจึงลดลงทําให้ ความแข็งผิวที)ได้ ตํ)ากว่าในกรณีที)ใช้ กําลังเลเซอร์ ตํ)าๆ ดังแสดง
ในรูปที) 0.|

รูปที) 0.| ผลของกําลังเลเซอร์ กบั ความแข็งของชิ /นงานเหล็กกล้ า nusm


[ปรับปรุงจาก Charlie R.Brooks, 1992]

15
รู ปที) 0.x แสดงให้ เห็นว่าการปรับปรุ งผิวด้ วยวิธี laser transformation hardening เมื)อ
เลือกใช้ ความเร็ วหรื ออัตราการเลื)อนชิ /นงานหนึ)งๆแล้ วจะมีขีดจํากัดของความลึกผิวแข็ง เนื)องจาก
เมื) อจํ ากัดค่าอัตราการเลื) อนชิน/ งานแล้ ว หากต้ องการเพิ)มความลึกผิวแข็งจะต้ องเพิ)มกํ าลังของ
เลเซอร์ แต่วิธีการนี /ต้ องการหลีกเลี)ยงการเกิดการหลอมเหลว ดังนัน/ จึงมีขีดจํากัดของกําลังเลเซอร์
ที)ใช้ ได้ ในแต่ละความเร็ วของการเลื)อนชิ /นงาน ดังจะเห็นได้ จากรู ปที) 0.x ว่าจะมีเส้ นแบ่งระหว่าง
กําลังที)ทําให้ เกิดการหลอมเหลวและไม่เกิดการหลอมเหลว

รูปที) 0.x ความเร็ วของการเลื)อนชิ /นงาน กําลังเลเซอร์ และขีดจํากัด


ของกําลังเลเซอร์ ที)เริ) มเกิดการหลอมเหลว [ปรับปรุงจาก Charlie R.Brooks, 1992]

ผลของธาตุผ สม
ธาตุผสม เช่น คาร์ บอน โครเมียม วานาเดียม และอื)นๆ ทําให้ ความสามารถในการชุบแข็ง
ของเหล็กดีขึน/ กล่าวคือ อัตราการเย็นตัววิกฤตลดลง ดังนัน/ จึงทําให้ ได้ ชนผิ ั / วแข็งที)มีความหนา
มากกว่าเหล็กชนิดที)มีธาตุผสมตํ)า นอกจากผลในการลดอัตราการเย็นตัววิกฤตลงแล้ ว การเพิ)ม
ปริ มาณของธาตุผสมยังทําให้ อุณหภูมิสิ /นสุดการแปลงเฟสเป็ นมาร์ เทนไซต์ (martensite finish
temperature) ลดลงตามไปด้ วย จึงทําให้ มีปริ มาณออสเตนไนต์เหลือค้ างมาก ความแข็งที)ได้ ใน
บางครัง/ จึงมีคา่ ตํ)า แต่สามารถปรับปรุงได้ โดยการทํา sub-zero ซึง) จะเปลี)ยนออสเทนไนต์เหลือค้ าง
ทังหมดให้
/ กลายเป็ นมาร์ เทนไซต์ ดังนันความแข็
/ งจึงเพิ)มขึ /นได้ หลังการทํา sub-zero
รู ปที) 0. แสดงให้ เห็นผลของธาตุผสม คือ คาร์ บอนในเหล็กกล้ าคาร์ บอนชนิด 1045 และ
1095 ซึ)งมีปริ มาณคาร์ บอน 0.45 และ 0.95 ตามลําดับ จากปริ มาณคาร์ บอนจะเห็นว่า เหล็กกล้ า
ชนิด 1045 มีความสามารถในการชุบแข็งตํ)ากว่าเหล็กกล้ าชนิด 1095 (อัตราการเย็นตัววิกฤตสูง
16
กว่า) ดังนัน/ เมื)อได้ รับความร้ อน บริ เวณที)ลึกจากผิวซึ)งมีอตั ราการถ่ายเทความร้ อนตํ)ายังสามารถ
แปลงเฟสเป็ นมาร์ เทนไซต์ได้ เนื)องจากอัตราการเย็นตัวดังกล่าวยังคงมีค่าสูงกว่าอัตราการเย็นตัว
วิกฤตของเหล็กกล้ า 1095 ในขณะที)เหล็กกล้ า 1045 ซึ)งมีคา่ อัตราการเย็นตัววิกฤตสูง ไม่สามารถ
แปลงเฟสเป็ นมาร์ เ ทนไซต์ไ ด้ จึง ทํ าให้ ความหนาชัน/ ผิ วแข็ง ของเหล็กกล้ า 1045 มี ค่าน้ อยกว่า
เหล็กกล้ าชนิด 1095
เมื)อพิจารณาความแข็งที)ได้ ก่อนกระบวนการ sub zero จะพบว่า ความแข็งของเหล็กกล้ า
ชนิด 1095 มี ค่าสูงกว่าเหล็กกล้ าชนิด 1045 เนื) องจากปริ มาณคาร์ บอนที) มากกว่าทํ าให้ เฟส
มาร์ เทนไซต์ที)ได้ มีความแข็งสูงกว่าด้ วย และเมื)อทํากระบวนการ sub zero แล้ วพบว่า ความแข็ง
ของเหล็กกล้ าชนิด 1095 เพิ)มสูงขึ /นมาก ในขณะที)ความแข็งของเหล็กกล้ าชนิด 1045 มีคา่ เพิ)มขึ /น
เล็กน้ อย ทังนี
/ /แสดงให้ เห็นว่า เหล็กกล้ าชนิด 1095 มีปริ มาณออสเทนไนต์เหลือค้ างสูงกว่าเมื)อทํา
sub zero จึงทําให้ ออสเทนไนต์เหลือค้ างเปลี)ยนเป็ นมาร์ เทนไซต์ทําให้ ความแข็งเพิ)มตามปริ มาณ
ออสเทนไนต์ เหลื อค้ างที) เปลี) ยนเฟส จึงทํ าให้ ความแข็งเพิ)มมากกว่าในกรณี ของเหล็กกล้ าชนิ ด
1045
Hardness, HV0.3
Penetration depth, mm

รูปที) 2.9 ความแข็งและความลึกผิวแข็งของเหล็กกล้ าชนิด nuks และ nus หลังจากผ่านการ


ปรับปรุงผิวด้ วยความเร็ ว ku เซนติเมตรต่อนาที [ปรับปรุงจาก Charlie R.Brooks, 1992]

ตัวอย่างชิ นงานที ผ ่านกระบวนการlaser transformation hardening


ตัวอย่างของชิ /นงานเหล็กกล้ าชนิด En 8 หลังจากที)ได้ ปรับปรุ งผิวด้ วยเลเซอร์ และอบคืน
ตัว (โดยใช้ ความหนาแน่นกํ าลังเลเซอร์ 5x103 W/cm2) มีโครงสร้ างเปลี) ยนเป็ นเฟสมาร์ เทนไซต์
17
บริ เวณผิวทําให้ ความแข็งเพิ)มสูงขึ /นอย่างชัดเจนดังรู ปที) 0.nu โดยความแข็งผิวของชิ /นงานเพิ)มขึ /น
เป็ น |uu HV ในการปรับปรุ งผิวด้ วยวิธีนี /ความลึกผิวแข็งและความแข็งผิวที)ได้ เป็ นไปตามตัวแปร
หลัก คือ
• กําลังเลเซอร์ เมื)อกําลังเลเซอร์ มากทําให้ พลังงานที)ให้ แก่ชิ /นงานสูงจึงทําให้ ความ
ลึกผิวแข็งสูงแต่ความแข็งที)ได้ ตํ)ากว่าการใช้ กําลังเลเซอร์ ตํ)า ทังนี/ /เนื)องจากการเย็นตัวเป็ นไปได้ ช้า
ลงเพราะบริ เวณผิวที)ร้อนมีความหนามากขึ /น
• ความเร็ วเมื)อเลื)อนชิ /นงาน (หรื อลําเลเซอร์ ) เร็ ว เวลาในการรับพลังงานจากเลเซอร์
จะลดลง ทําให้ ความลึกผิวแข็งตํ)าแต่ความแข็งที)ได้ สูงเนื)องจากการเย็นตัวเป็ นไปได้ เร็ วขึ /นเพราะ
บริ เวณผิวที)ร้อนมีความหนาลดลง
• ส่วนผสมเป็ นสิ)งกําหนดค่าอัตราการเย็นตัววิกฤต (critical cooling rate) เมื)อมี
ธาตุผสมในเหล็กมาก ทําให้ อตั ราการเย็นตัววิกฤตมีคา่ ตํ)า ดังนัน/ แม้ บริ เวณที)ลึกจากผิวจะมีอตั รา
การเย็นตัวช้ า แต่ยงั คงมีค่าสูงกว่าอัตราการเย็นตัววิกฤตจึงยังคงเกิดการแปลงเฟสเป็ นมาร์ เทน
ไซต์ได้ ดังนัน/ จึงมีชนผิ
ั / วแข็งหนากว่ากรณีที)มีธาตุผสมตํ)า
microhardness HV 0.3

รูปที) 0.nu โครงสร้ างจุลภาคและความแข็งที)ความลึกจากผิวของเหล็กกล้ า ชนิด En 8


หลังจากผ่านการปรับปรุงผิวด้ วยเลเซอร์ [ปรับปรุงจาก Charlie R.Brooks, 1992]

18
A

ตําแหน่ง A ตําแหน่ง B

C ตําแหน่ง C ตําแหน่ง D D
รูปที) 0.nn โครงสร้ างจุลภาคของเหล็กกล้ า ชนิด En 8 ที)ความลึกผิวต่างๆ
หลังจากผ่านการปรับปรุงผิวด้ วยเลเซอร์ [Charlie R.Brooks, 1992]

เมื) อพิ จารณารู ปที) 0.nnซึ)ง แสดงถึงโครงสร้ างจุลภาคของเหล็กกล้ าที) ความลึกต่างๆจะ


พบว่า โครงสร้ างมีลกั ษณะเปลี)ยนไปตามความลึก เนื)องจากความแตกต่างของอุณหภูมิที)ได้ รับ
โดยบริ เวณผิวจะมีอุณหภูมิสูงและลดลงตามระยะลึกจากผิวชิ /นงาน ดังนัน/ ที)ผิวจึงเกิดการแปลง
เฟสเป็ นออสเตนไนต์อย่างสมบูรณ์ ทําให้ ได้ เฟสมาร์ เทนไซต์เป็ นหลักโดยอาจมีเฟสออสเทนไนต์
เหลือค้ างปนส่วนในบริ เวณที)ลกึ จากผิว หากการแปลงเฟสเป็ นออสเทนไนต์ที)อณ ุ หภูมิสงู เกิดขึ /นไม่
สมบูรณ์ ทําให้ ยงั คงมีเฟสเฟอร์ ไรท์หรื อซีเมนไทต์ที)ยงั คงสภาพโดยไม่มีการแปลงเฟสอยู่บางส่วน

19
เมื)อเย็นตัวลงอย่างรวดเร็ ว จึงมีเพียงบางบริ เวณที)แปลงเฟสเป็ นออสเทนไนต์แล้ วเท่านันที
/ )สามารถ
เกิดเฟสมาร์ เทนไซต์ได้ โครงสร้ างสุดท้ ายที)พบจึงมีมาร์ เทนไซต์เพียงบางส่วนเท่านันทํ
/ าให้ ความ
แข็งผิวไม่สงู เท่ากับที)บริ เวณผิวของชิ /นงาน
2.2.2 Laser alloying
วิธีการปรั บปรุ งผิ วลักษณะนี แ/ ตกต่างจากแบบ laser transformation hardening
เนื)องจากมีการเติมธาตุลงไปให้ เกิดอัลลอย (alloy) หรื อโลหะผสมใหม่ที)มีสมบัติแตกต่างจากโลหะ
หรื อโลหะผสมที)ทําหน้ าที)เป็ นวัสดุพื /นลักษณะเช่นนี /ทําให้ ส่วนผสมใหม่หรื อโลหะผสมใหม่เกิดขึ /นที)
บริ เวณผิวเท่านัน/ ดังนัน/ จึงสามารถเลื อกส่วนผสมที) ผิวได้ อย่างอิสระ โดยส่วนผสมบริ เวณผิวที)
เหมื อนกันอาจให้ โครงสร้ างและความละเอี ยดแตกต่างกัน เนื)องจากอัตราการเย็นตัวที)ตําแหน่ง
ต่างๆแตกต่างกัน วิธีนีม/ ีข้อเด่นหลักคือ ผิวและภายในสามารถออกแบบให้ มีสมบัติแตกต่างกัน
มากๆได้ ดัง นัน/ วัส ดุที)นิ) ม มี ร าคาถูกก็ เ พิ) ม ความต้ านทานการเสี ยดสี ไ ด้ เช่ น เหล็ ก กล้ าละมุน
อะลูมิเนียม ในการปรับปรุ งผิวด้ วยวิธีนี /สามารถใช้ กําลังสูงได้ เนื)องจากต้ องการการหลอมเหลว
(nu-muuu MW/m2) โดยใช้ เวลาสัน/ 0.1-1 วินาทีโดยส่วนมากจะมีก๊าซเฉื) อยปกคลุม เพื)อป้องกัน
การเกิดออกซิเดชัน
การเคลือบด้ วยวิธี laser alloying ทําโดยพ่นผงโลหะ หรื อใช้ ผงโลหะผสมตัวประสาน
(บางครัง/ เป็ นแอลกอฮอล์) ซึ)งมีลกั ษณะเป็ น slurry เหมือนโคลนเคลือบลงบนผิวชิ /นงาน หรื ออาจ
เติมโลหะผสมโดยป้อนเป็ นริ บบิ /นหรื อลวดเข้ าไปในแอ่งโลหะหลอมเหลว
เนื)องจากวิธีปรับปรุ งผิวด้ วยเลเซอร์ มีลกั ษณะเด่น คือใช้ เวลาสันทํ / าให้ ได้ อตั ราเย็นตัวเร็ ว
มากเมื)ออัตราการเย็นตัวสูง ทําให้ โครงสร้ างที)ได้ ไม่เป็ นไปตามสมดุลจึงสามารถสร้ างโครงสร้ างที)
หลากหลาย กล่าวคือ สามารถสร้ างโครงสร้ างที) ไม่เป็ นไปตามแผนภูมิสมดุลได้ ดังนัน/ จึงมี การ
นําไปใช้ งานได้ หลายแบบ เช่น การเย็นตัวด้ วยวิธีนี /เกิดจากการเย็นตัวด้ วยตนเอง ดังนัน/ อัตราการ
เย็นตัวจึงมี ค่าสูงมาก จนสามารถเกิ ดเป็ นสารละลายอิ)มตัวยิ)งยวด (super saturated solid
solution) ตัวอย่างเช่น การเติมโครเมียม แมงกานี ส คาร์ บอนในเหล็กหล่อ การเติมนิกเกิลใน
เหล็กกล้ า การเติมเหล็ก ซิลิกอน คาร์ บอนในอะลูมิเนียม สามารถทําได้ ด้วยวิธีนี /เนื)องจากสามารถ
ควบคุมโครงสร้ างให้ เป็ นไปได้ หลากหลาย นอกจากนี / ส่วนผสมต่างๆที)ปรับปรุ งขึ /นจะเกิดเฉพาะ
บริ เวณผิวเท่านัน/ จึงไม่สง่ ผลต่อสมบัตโิ ดยรวมของชิ /นงาน
ตัวอย่างการปรับปรุงด้วยวิ ธี laser alloying
เหล็ก AISI 1018
เหล็กกล้ า nunx มีความหมาย คือ เลขสองหลักแรก10 เป็ นตัวแทน เหล็กคาร์ บอน ในที)นี /
คือ plain carbon steel และ เลขสองหลักหลัง nx เป็ นตัวแทนปริ มาณคาร์ บอนที)มี u.nx% ดังนัน/
จัดเป็ นเหล็กกล้ าคาร์ บอนตํ)า

20
เนื)องจากเหล็กกล้ าคาร์ บอนตํ)ามีข้อดีคือมีราคาถูก แต่มีข้อจํากัดคือ ค่าความแข็งตํ)าและ
ความสามารถในการชุบแข็งตํ)าทํ าให้ ชุบแข็งได้ ยาก ดังนัน/ จึงต้ องการเติมโครเมียมลงไป ซึ)งจะ
ให้ ผลด้ านการปรับปรุงความแข็งได้ จาก
− เพิ)มความสามารถในการชุบแข็ง จากการเติมธาตุผสม(ในที)นี /คือโครเมียม)
− เกิดการตกผลึกของโครเมียมคาร์ ไบด์ ประเภท M7C3หรื อ M3C ในเนื /อพื /นออสเทน
ไนต์ เพิร์ลไลต์และมาร์ เ ทนไซต์ (เฟสต่างๆเหล่านี ส/ ามารถเกิ ดขึน/ ได้ เนื) องจากการเย็นตัวอย่าง
รวดเร็ วในวิธี laser alloying)

(ก) (ข)

รูปที) 0.n0 โครงสร้ างจุลภาคที)ผิวเหล็กกล้ า AISI 1018 หลังผ่านการทํา laser alloying


โดยเติมโครเมียม (ก) nx% และ (ข) km% [เอกสารคําสอน รศ.ดร.ประสงค์ ศรี เจริ ญชัย]

ดังนันเมื
/ )อเติมโครเมียมลงไป ทําให้ ชุบแข็งได้ ง่ายขึ /นได้ โครงสร้ างเปลี)ยนจาก เฟอร์ ไรท์+
เพิร์ลไลต์เป็ นมาร์ เทนไซต์+ เฟอร์ ไรท์และเมื)อมีปริ มาณโครเมียมมากเพียงพอจะทําให้ เกิดคาร์ ไบด์
ตกผลึกออกมา จาก affinity ของคาร์ บอนกับโครเมียม ในรู ป 2.10 (ก) มีโครเมียมประมาณ16%
โดยเป็ นโครเมียมที)ละลายอยู่ในเนื อ/ พื /นในสภาพสารละลายอิ)มตัวยิ)งยวด ซึ)งสามารถเกิ ดขึ /นได้
เนื)องจากอัตราการเย็นตัวสูงมากจากการใช้ เลเซอร์ ระบบไม่เป็ นไปตามสมดุลทําให้ สามารถเกิด
เฟสสารละลายอิ)มตัวยิ)งยวดนี /ขึ /น(ทังที
/ )โดยทัว) ไป ตามสมดุลจะเกิดการตกตะกอนของโครเมียมคาร์
ไบด์) ในกรณี นี / แม้ จะไม่เกิ ดการตกตะกอนคาร์ ไบด์เพิ)มความแข็ ง แต่โครเมี ยมที) ละลายอยู่จ ะ
ส่งผลให้ ความสามารถในการชุบแข็งเพิ)มขึน/ จึงทํ าให้ เกิดเฟสมาร์ เทนไซต์ได้ มากขึ /น และทําให้
ความแข็งเพิ)มขึน/ ในกรณี ที)มีปริ มาณโครเมี ยมเพิ)มขึน/ เป็ น 43% ดังรู ป 0.n0 (ข) จะเริ) มเกิ ดการ
ตกตะกอนของคาร์ ไบด์ เนื) องจากปริ มาณโครเมี ยมเกิ นขี ดจํ ากัดการละลาย แม้ ว่าจะมี การเย็น

21
ตัวอย่างรวดเร็ วก็ตาม โดยคาร์ ไบด์ที)ตกตะกอนเหล่านี /จะทําให้ ความแข็งเพิ)มขึ /นและช่วยเพิ)มความ
ต้ านทานการสึกหรออีกด้ วย
โลหะผสมอะลูมิเนี ยมเหล็ก (Al-Fe alloy)
โดยทัว) ไป เหล็กถือเป็ นสารมลทิน (impurity) ในอะลูมิเนียม เนื)องจากจะเกิดสารประกอบ
เชิงโลหะ (intermetallic compound) ของอะลูมิเนี ยมและเหล็กที)มีขนาดใหญ่ เช่น FeAl3 หรื อ
Fe2Al5ซึ)งมีความแข็งสูงแต่เปราะทําให้ เมื)อเกิดขึ /นในชิ /นงานอะลูมิเนียมจะทําให้ อะลูมิเนียมที)ได้ มี
ความแกร่ งตํ)า แต่เมื)อพิจารณาว่าสารประกอบเชิงโลหะเหล่านี /มีความแข็งสูง เมื)อเกิดเฟสเหล่านี /
ขึ /นและกระจายอย่างทัว) ถึง จะทําให้ ความต้ านทานการสึกหรอสูงขึ /น ดังนัน/ จึงมี ความพยายาม
ปรับปรุ งความต้ านทานการสึกหรอโดยเติมเหล็กลงไปเฉพาะบริ เวณผิวของอะลูมิเนียมให้ เกิดเป็ น
อะลูมิ เ นี ย มผสมเหล็ ก ที) มี ส ารประกอบเชิ ง โลหะประเภท FeAl3หรื อ Fe2Al5กระจายตัว อยู่บ น
ผิวชิน/ งาน การปรั บปรุ งผิวอะลูมิเนี ยมโดยเติมเหล็กที)ผิวอะลูมิเนี ยมนี ท/ ํ าได้ โดยวิธีนีใ/ ห้ เกิ ดเป็ น
โลหะผสม Al-Fe เฉพาะที)ผิวเท่านัน/ โดยที)ภายในยังคงเป็ นโลหะผสมเดิมที)คงความแกร่งอยู่

(ก) (ข)
Specific wear , Ws (mm3/Nm)

Hypo-
eutectic

Needle-like Fine
FeAl3 needle-like
FeAl3
0 200 400 600 800
Surface hardness of laser
alloyed layer, HV (Load:0.98N)
รูปที) 0.nm (ก) ความแข็งผิวและ (ข) ความต้ านทานการสึกหรอของอะลูมิเนียม
ที)ปรับปรุงผิวด้ วยวิธี laser alloying [ปรับปรุงจาก S.Tomida et.al., 2003]

การปรับปรุงทําได้ โดยใช้ เลเซอร์ ทําให้ ผิวของอะลูมิเนียมหลอมเหลวและเติมผงเหล็กลงไป


เกิ ดเป็ นชันที
/ ) ผิวซึ)งมีปริ มาณของเหล็กบนผิวอะลูมิเนี ยม ความแข็งแรง โครงสร้ างและชนิดของ
สารประกอบเชิงโลหะจะขึน/ กับปริ มาณเหล็ก โดยอาจเกิ ด Fe2Al5, FeAl3หรื อผสมกัน ตามแต่
ปริ มาณเหล็ก ซึ)งจะทําให้ ความแข็งผิวเพิ)มสูงขึ /นอย่างมากดังรู ปที) 0.nm (ก) โดยหากเติมเหล็กลง
22
ไปให้ มีความเข้ มข้ นสูงจะเกิ ด Fe2Al5ที)ทนการสึกหรอดีกว่าแต่เปราะมาก เนื)องจากเฟส Fe2Al5
เหล่านี เ/ ปราะมากจึงทํ าให้ เกิ ดรอยแตก (crack) และหากเติมเหล็กลงไปในปริ มาณน้ อยจะเกิ ด
สารประกอบชนิด FeAl3 ซึง) มีความแข็งตํ)ากว่าแต่เปราะน้ อยกว่าทําให้ ไม่มีรอยแตกเกิดขึ /น อย่างไร
ก็ตาม จากการทดลองพบว่าเมื)อเติมเหล็กด้ วยวิธี laser alloying แล้ วความต้ านทานการสึกหรอจะ
เพิ)มสูงอย่างชัดเจนดังรูปที) 0.nm (ข)
2.2.3 Laser Particle injection
วิธีการ laser particle injection มีหลักการคล้ ายกับ laser alloying คือใช้ เลเซอร์ ในการ
หลอมเหลวผิวของชิ /นงาน จากนันเติ / มอนุภาคเข้ าไปให้ เป็ นเฟสที) 0 ต่างจากกรณี laser alloying ที)
จะเติมโลหะผสมเพื)อให้ เกิดการตกตะกอนของเฟสที)แข็ง ดังนัน/ ผิวของชิ /นงานจึงมีลกั ษณะเป็ น
Metal Matrix Composite (MMC) โดยมากใช้ เส้ นผ่านศูนย์กลางเลเซอร์ m-0u มิลลิเมตรกําลัง nu-
muuu MW/m2 ในวิธีนี /ใช้ กําลังสูงเพื)อให้ เกิดการหลอมเหลวของโลหะพื /นใช้ เวลาสันเพี / ยง u.n-n
วินาที แต่มีการหลอมเหลวและต้ องมีก๊าซเฉื)อยปกคลุม
อนุภาคที)เติมมักใช้ ขนาด ks-nsu ไมครอน และไม่ควรใช้ ขนาดเล็กเกินไป เพราะจะทําให้
ละลาย แต่ขนาดใหญ่ เกิ นไปก็ เสียสมบัติที)ดี ก๊ าซที) ใช้ พาอนุภาคต้ องช่วยปกคลุมอนุภาค ไม่ทํา
ปฏิ กิริยาและถ่ายเทความร้ อนได้ ดีสมบัติของชัน/ ผิวที) ผ่านการปรั บปรุ งจะขึ /นอยู่กับอนุภาค โดย
หลักๆ คือ
− ขนาดอนุภาค เล็กละเอียด กระจายอย่างทัว) ถึง
− ชนิดของอนุภาค สมบัติของอนุภาคมีผลต่อสมบัติโดยรวม โดยมักใช้ อนุภาคที)มี
ความแข็งสูง จําพวกเซรามิก
− สัดส่วนโดยปริ มาตร ถ้ ามี สัดส่วนมาก จะทํ าให้ ความต้ านทานการสึกหรอเพิ) ม
สูงขึ /นได้ แต่ก็จะทําให้ เปราะเนื)องจากมีวสั ดุพื /นที)เหนียวและแกร่งลดลง
โดยรวม สมบัตขิ องชันเคลื
/ อบเช่น ความหนา ความแข็ง จะขึ /นกับกําลังเลเซอร์ และเวลา
ตัวอย่างการใช้งาน
Al 5052/TiC , SUS 304/TiC, Ti6Al4V/TiC จะเห็นว่าในการใช้ งาน จะทําให้ เกิดคาร์ ไบด์
มากบริ เวณผิว และยังคงคุณสมบัติเดิมของเนื /อพื /นเอาไว้ ปริ มาณ รู ปร่ างของคาร์ ไบด์ก็จะมีผลต่อ
สมบัติ นอกจากนี / ถ้ าอุณหภูมิสงู อาจเกิดการละลายของคาร์ ไบด์ แต่ก็จะมีการตกผลึกออกมาใหม่
ซึง) กรณีนี /จะให้ ความแข็งเพิ)มขึ /นจากการตกตะกอน (precipitation hardening)

23
2.3 การถ่ ายเทความร้ อ นและอุณหภูม ิบ ริ เ วณผิวชินF งาน
ในการปรับปรุ งผิวด้ วยเลเซอร์ ทุกๆวิธีโดยหลักแล้ วอาศัยการเพิ)มอุณหภูมิบริ เวณผิวของ
ชิน/ งานโดยใช้ เลเซอร์ เป็ นแหล่งให้ พลังงานแก่ชิน/ งานในรู ปความร้ อน ดังนัน/ อุณหภูมิ ที)ผิวและ
บริ เ วณผิ วของชิ น/ งานเป็ นสิ) ง สํ าคัญ ที) มีผ ลต่อโครงสร้ างและความหนาของชัน/ ผิ วแข็ ง ที) ไ ด้ จ าก
กระบวนการนี / การประมาณอุณหภูมิที)ผิวและภายใต้ ผิวจึงเป็ นสิ)งที)ควรทําเพื)อสามารถออกแบบ
กระบวนการปรับปรุงผิวและเลือกสภาวะที)เหมาะสมได้
เมื) อพิจารณาระหว่างกระบวนการยิงเลเซอร์ จะเห็นว่า บริ เวณลํ าเลเซอร์ ที)มีกําลังของ
เลเซอร์ สมํ)าเสมอจะเคลื)อนที)บนชิ /นงาน ด้ านขอบหน้ าของลําเลเซอร์ ในทิศทางที)ลําเลเซอร์ เคลื)อนที)
ไปเรี ยกว่า leading edge ส่วนขอบด้ านหลังของลําเลเซอร์ เรี ยกว่า trailing edge ดังรู ปที) 0.nk
ในระหว่างขอบทังสองนี / / คือ บริ เวณลํ าเลเซอร์ ที)มีพลังงานกระจายตัวสมํ)าเสมอ โดยที) leading
edge อุณหภูมิของชิ /นงานจะเพิ)มขึ /นอย่างรวดเร็ วจากอุณหภูมิห้อง และอุณหภูมิของชิ /นงานจะสูง
ที)สดุ ที) trailing edge ก่อนจะลดลงเมื)อลําเลเซอร์ เลื)อนผ่านไป ดังรูปที) 0.ns

รูปที) 0.nk leading edge และtrailing edge ขณะปรับปรุงผิวด้ วยลําเลเซอร์


[ปรับปรุงจาก ASM Handbook Vol. 5]

24
δ

รูปที) 0.ns อุณหภูมิของชิ /นงานตําแหน่งระหว่าง leading edge และ trailing edge


[ปรับปรุงจาก ASM Handbook Vol. 5]

ในการพิ จ ารณาอุณ หภู มิ ข องชิ น/ งานที) สูง ขึ น/ จากเลเซอร์ จํ า เป็ น ต้ อ งทราบค่ า ความ
หนาแน่นพลังงานของเลเซอร์ ที)ชิน/ งานดูดซับไว้ ได้ ขนาดของเลเซอร์ ความเร็ วในการเลื) อนและ
สมบัตทิ างความร้ อนต่างๆของชิ /นงาน โดยสามารถใช้ การคํานวณเพื)อประมาณค่าอุณหภูมิบริ เวณ
ผิวชิ /นงานได้ ในการคํานวณอย่างง่ายสามารถทําได้ โดยพิจารณาว่า การถ่ายเทความร้ อนเป็ นไป
ในทิศทางเดียว ค่าอุณหภูมิสามารถคํานวณได้ จากสมการที) 0.n

 =  + 2/ √   (0.n)
√

เมื)อ T คือ อุณหภูมิในหน่วยเซลเซียส


T0 คือ อุณหภูมิชิ /นงานก่อนสัมผัสเลเซอร์ หรื ออุณหภูมิห้อง
Q คือ พลังงานที)ถก
ู ดูดซับต่อหน่วยพื /นที) (absorbed power, W/cm2)
K คือ สัมประสิทธิ‰การนําความร้ อน (thermal conductivity,W/cm C)
o

α คือ ค่าการแพร่ ทางความร้ อน (thermal diffusivity,cm /s)


2

δ คือ ความลึกจากผิว
β คือ ระยะจากผิวชิ /นงานในหน่วยเซนติเมตร และ
tD คื อ เวลาที) เ ลเซอร์ ส ั ม ผั ส ชิ น/ งานหน่ ว ยเป็ น วิ น าที สํ า หรั บ ค่ า tD ซึ) ง ในจุ ด ที)
อุณหภูมิสูงสุดคือ trailing edge นันชิ / /นงานได้ สมั ผัสเลเซอร์ มาเป็ นเวลาเท่ากับเวลาที)ใช้ ในการ
เลื)อนเลเซอร์ ไปในระยะเท่ากับขนาดของลําเลเซอร์

25
ความสัมพันธ์ ierfc นันสามารถหาได้
/ จาก ความสัมพันธ์ตอ่ ไปนี /
ierfc%ϕ' = () erfc %ϕ'dϕ

โดย erfc%ϕ' = 1 − erf%ϕ'


- 0 1
และ erf%ϕ' = ( e/0 dμ

หรื อสามารถอ่านค่าจากกราฟแสดงความสัมพันธ์ ierfc(x) และค่า x ดังรูปที) 0.n{


การประมาณอุณ หภูมิ ที)ผิ วตามสมการที) 0.n มี ข้อจํ ากัดเนื) องจากสมมุติฐ านที) ใ ห้ การ
ถ่ายเทความร้ อนเป็ นไปในทิศทางเดียว ดังนัน/ การประมาณดังกล่าวจะแม่นยําเมื)อบริ เวณชิ /นงานที)
มีอุณหภูมิสูงมีขนาดใหญ่มากจนเกิ ดการถ่ายเทความร้ อนในทิศทางเดียว นอกจากนี / ค่าสมบัติ
ทางความร้ อนของชิ /นงานมักเป็ นค่าที)เปลี)ยนแปลงตามอุณหภูมิ ซึง) ในการคํานวณโดยสมการอย่าง
ง่ายข้ างต้ นนันคิ
/ ดค่าเหล่านี /เป็ นค่าคงที) จึงอาจทําให้ เกิดความคลาดเคลื)อนได้ อย่างไรก็ตามในการ
ปรับปรุ งผิวโดยให้ เลเซอร์ สมั ผัสผิวชิ /นงานนานและลําเลเซอร์ มีขนาดใหญ่ สมการที) 0.n สามารถ
นํามาประมาณความลึกของชันที / )ปรับปรุ งด้ วยเลเซอร์ ได้ เป็ นอย่างดี ในกรณีที)ต้องการคํานวณค่า
อุณหภูมิให้ มีความแม่นยําจะต้ องพิจารณาถึงการถ่ายเทความร้ อนในสามมิติและต้ องใช้ คา่ สมบัติ
ทางความร้ อนที)เปลี)ยนแปลงตามอุณหภูมิโดยจะต้ องใช้ การคํานวณที)ซบั ซ้ อนหรื อใช้ วิธีระเบียบวิธี
เชิงตัวเลข (finite element method)

1/ π = 0.56418958

รูปที) 0.n{ กราฟแสดงความสัมพันธ์ ierfc(x) และค่า x [ปรับปรุงจาก ASM Handbook Vol. 5]

จากการใช้ สมการที) 0.n คํานวณหาค่าอุณหภูมิที)ความลึกค่าต่างๆจากผิวชิน/ งานทําให้


สามารถเขียนกราฟแสดงอุณหภูมิที)ความลึกต่างๆจากผิวได้ ดังแสดงในรู ปที) 0.n| ซึ)งเป็ นตัวอย่าง
ในการคํ า นวณอุณ หภู มิ ที) ค วามลึ ก ต่ า งๆ ในกรณี ข องเหล็ ก ที) ต้ อ งการปรั บ ปรุ ง ผิ ว ด้ ว ย laser
transformation hardening สามารถลากเส้ นแสดงอุณหภูมิ A3 เพื)อประมาณความลึกที)จะเกิดการ
แปลงเฟสและความลึกของชันผิ / วแข็งได้
26
δ

รูปที) 0.n| อุณหภูมิที)ความลึกต่างๆและความลึกของชันผิ


/ วแข็ง
[ปรับปรุงจาก ASM Handbook Vol. 5]

จากสมการที) 0.n ภายใต้ สมมุติฐานว่าการถ่ายเทความร้ อนเป็ นไปในทิศทางเดียว ค่า


อัตราการเย็นตัวสามารถคํานวณได้ จากสมการ
 
 =  + 2/ 3√  - −4 % − ' 5 (0.0)
√ -4%/ '

โดย t-tD คือ เวลาที)เกิดการเย็นตัวลงหรื อเวลาหลังจากที) trailing edge ผ่านจุดที)ต้องการ


คํานวณอุณหภูมิซงึ) เริ) มเกิดการเย็นตัวด้ วยตนเอง เนื)องจากสมการ 0.0 พัฒนามาจากสมการที) 0.n
ดังนันจึ
/ งมีข้อจํากัดเช่นเดียวกับการคํานวณในสมการ 0.n คือบริ เวณอุณหภูมิสงู ของชิ /นงานจะต้ อง
มีขนาดใหญ่ พอ นอกจากนี / การถ่ายเทความร้ อนจะต้ องถ่ายเทออกจากชิน/ งานเท่านัน/ ไม่มีการ
สะสมเหลืออยู่ ดังนัน/ ชิ /นงานในส่วนที)เย็นซึ)งทําหน้ าที)ถ่ายเทความร้ อนออกจากชิ /นงานจะต้ องมี
ขนาดใหญ่พอจึงจะเหมาะสมที)จะใช้ สมการข้ างต้ นคํานวณได้

27
แบบฝึ กหัด ท้ ายบทที 
1. ในกระบวนการปรับปรุงผิวแบบเลเซอร์ มีจดุ เด่นใดที)ดีกว่าวิธีอื)นๆ
2. ในกระบวนการ laser transformation hardening อาศัยหลักการใดในการเพิ)มความแข็ง
ผิวของเหล็ก
3. อัตราการเลื)อนชิ /นงานมีผลต่อความแข็งผิวของเหล็กที)ผ่านการปรับปรุ งผิวด้ วยวิธี laser
transformation hardening อย่างไร
4. เพราะเหตุใดจึงสามารถชุบแข็งเหล็กกล้ า AISI 1018 ได้ ด้วยวิธี laser transformation
hardening
5. การปรับปรุ งผิวด้ วยวิธี laser alloying ต่างจากวิธี laser particle injection อย่างไร วิธีใด
เหมาะกับการใช้ งานที)อณ ุ หภูมิสงู มากกว่ากัน
6. ปั จ จัย ใดบ้ า งที) มี ผ ลต่อ ความแข็ ง และความต้ า นทานการสึ ก หรอของวัส ดุที) ผ่ า นการ
ปรับปรุงผิวด้ วยวิธี laser particle injection
7. เพราะเหตุใดการใช้ ลําเลเซอร์ ขนาดเล็กจึงไม่สามารถใช้ สมการอย่างง่ายเพื)อคํานวณหา
อุณหภูมิที)ผิว
8. หากต้ องการคํานวณอุณหภูมิที)ผิวและความลึกต่างๆให้ มีความแม่นยําจะต้ องคํานึงถึง
ปั จจัยอะไรบ้ าง

28

You might also like