You are on page 1of 35

กฎของบอยล์

กฎของบอยล์
กฎของชาร์
กฎของชาร์ลล
กฎรวมแก๊
กฎรวมแก๊สส
กฎแก๊
กฎแก๊สสอุอุดดมคติ
มคติ
มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
มากกว่าของเหลวและแก๊ส

การจัดเรียงอนุภาค ไม่สามารถไหลได้
อยูใ่ นตําแหน่งที่แน่นอน เนื่องจากอนุภาคอยู่ชิดกันมาก

มีรูปร่างแน่นอน มีปริมาตรคงที่
ไม่ขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ ที่อณ
ุ หภูมแิ ละความดันคงที่

มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือด
สูงกว่าของเหลวและแก๊ส
..
.. ..S ..
..S ..S
.. S .. .. S ..
.. ..
..S .. .S.
..S
โครงสร้างลิวอิสของโมเลกุลกํามะถัน แบบจําลองโมเลกุลกํามะถัน
กํามะถันมอนอคลินิก กํามะถันรอมบิก
กํามะถันมอนอคลินิก กํามะถันรอมบิก
Na+ Cl-

ผลึกโซเดียมคลอไรด์ โครงสร้างโซเดียมคลอไรด์ (NaCl)

O
Si

ผลึกควอตซ์ โครงสร้างควอตซ์ (SiO2)


สมบัติ ชนิดของอนุภาค ชนิดของพันธะหรือ
สมบัติทั่วไป
ชนิด ภายในผลึก แรงยึดเหนี่ยว
ผลึกโมเลกุล โมเลกุลหรือ โมเลกุลมีขั้ว - อ่อน หรือแข็งปานกลาง
อะตอม - แรงดึงดูดระหว่างขั้ว เปราะไม่มาก
- พันธะไฮโดรเจน - จุดหลอมเหลวต่ํา
โมเลกุลไม่มีขั้วหรืออะตอม - ไม่นําความร้อนและไฟฟ้า
- แรงลอนดอน
ผลึกโคเวเลนต์ อะตอม พันธะโคเวเลนต์ - แข็ง จุดหลอมเหลวสูง
ร่างตาข่าย - ไม่นําความร้อนและไฟฟ้า
ผลึกโลหะ อะตอม พันธะโลหะ - แข็ง จุดหลอมเหลวสูง
- นําความร้อนและไฟฟ้าได้ดี
ผลึกไอออนิก ไอออน พันธะไอออนิก - แข็ง เปราะ จุดหลอมเหลวสูง
- ไม่นําความร้อนและไฟฟ้า
O Si Si
O

(SiO2)
ผลึกควอตซ์ แก้วควอตซ์
มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
น้อยกว่าของแข็ง แต่มากกว่าแก๊ส

มีความตึงผิว และ มีอิสระในการเคลื่อนที่


สามารถแพร่ได้ มากกว่าของแข็ง

มีรูปร่างเปลี่ยนไป มีปริมาตรคงที่
ตามภาชนะที่บรรจุ ที่อณ
ุ หภูมแิ ละความดันคงที่

การจัดเรียงอนุภาคไม่เป็นระเบียบ
และมีทวี่ ่างระหว่างอนุภาคเล็กน้อย
เมือ่ เริ่มต้นหยด การเปลี่ยนแปลงเมื่อ การเปลี่ยนแปลง
น้ําหมึกลงในน้าํ เวลาผ่านไประยะหนึง่ สุดท้าย
แมลงบนผิวหน้าน้ํา หยดน้ําบนใบไม้
หยดน้ําบนใบไม้ แสดงแรงดึงผิวของน้ํา
ในหยดน้ําบนใบไม้
โมเลกุลของแก้ว
(SiO2)

โมเลกุลของน้ํา
(H2O)
โมเลกุลของแก้ว
(SiO2)

ปรอท (Hg)
โมเลกุลที่ระเหยจากของเหลว

ของเหลว
การระเหยในระบบเปิด การระเหยในระบบปิด
1000
อีเทอร์ แอซีโตน เอทานอล น้ํา
800
ความดันไอ (mmHg)
760 34.6 56.5 78.4 100
600

400

200

0
20 40 60 80 100 120
อุณหภูมิ (oC)
มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
น้อยกว่าของเหลวและของแข็ง

การจัดเรียงอนุภาค มีความดันและ
อยูห่ า่ งกันมาก สามารถแพร่ได้

มีรูปร่างเปลี่ยนไป สามารถบีบอัด
ตามภาชนะที่บรรจุ ได้งา่ ยมาก

มีความหนาแน่นต่ํากว่า
ของเหลวและของแข็ง
แก๊สประกอบด้วยอนุภาคจํานวนมากทีม่ ีขนาดเล็กมาก จนถือได้ว่าอนุภาคแก๊สไม่มปี ริมาตร
เมื่อเทียบกับขนาดภาชนะที่บรรจุ
โมเลกุลของแก๊สอยูห่ า่ งกันมาก ทําให้แรงดึงดูดและแรงผลักระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จนถือ
ได้ว่าไม่มแี รงกระทําต่อกัน
โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วในแนวเส้นตรง เป็นอิสระด้วยอัตราเร็วคงทีแ่ ละไม่เป็น
ระเบียบ จนกระทัง่ ชนกับโมเลกุลอื่น หรือชนกับผนังของภาชนะ จึงจะเปลี่ยนทิศทาง และ
อัตราเร็ว
โมเลกุลของแก๊สทีช่ นกันเองหรือชนกับผนังภาชนะ จะเกิดการถ่ายโอนพลังงานให้แก่กันได้
แต่พลังงานรวมของระบบมีคา่ คงที่
ณ อุณหภูมิเดียวกัน โมเลกุลของแก๊สแต่ละโมเลกุลเคลือ่ นทีด่ ้วยความเร็วไม่เท่ากัน แต่จะมี
พลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน โดยที่พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
การทดลองครัง้ ที่ ปริมาตร (V ; cm3) ความดัน (P ; mmHg) PV (mmHgcm3)
1 5.00 760 3.80 × 103
2 10.00 380 3.80 × 103
3 15.00 253 3.80 × 103
4 20.00 191 3.82 × 103
5 25.00 151 3.78 × 103
6 30.00 127 3.81 × 103
7 35.00 109 3.82 × 103
8 40.00 95 3.80 × 103
9 45.00 84 3.78 × 103
800 760 mmHg

700
5 cm3
600
380 mmHg
ความดัน (mmHg)

500
400 10 cm3
300 191 mmHg

200
20 cm3
100 95 mmHg
0
0 10 20 30 40 50 40 cm3
ปริมาตร (cm3)
P = 380 mmHg P = 760 mmHg
“เมื่ออุณหภูมแิ ละมวลของแก๊สคงที่ ปริมาตรของ
แก๊สจะแปรผกผันกับความดัน”
1
V  (เมื่ออุณหภูมแิ ละมวลคงที)่
P
PV = k1 โดย k1 เป็นค่าคงที่
V = 10 cm3 V = 5 cm3 เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้
P1V1 = P2V2 = P3V3 = … = PnVn = k1
การทดลอง อุณหภูมิ ; T อุณหภูมิ ; T ปริมาตร ; V V/T V/T
ครั้งที่ (oC) (K) (cm3) (cm3/oC) (cm3/K)
1 10 283 100 10.0 0.35
2 50 323 114 2.3 0.35
3 100 373 132 1.3 0.35
4 200 473 167 0.8 0.35
180
160
140
120
ปริมาตร (cm3)

100
80
60
40
20
0 อุณหภูมิ (oC)
-300 -200 -100 0 100 200
-273
1800
1600
1400
1200
ปริมาตร (cm3)

1000
800
600
400
200
00 อุณหภูมิ (K)
0 100 200 300 400 500 600
P = 760 mmHg P = 760 mmHg
“เมื่อมวลและความดันของแก๊สคงที่ ปริมาตร
ของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน”
ความร้อน V  T (เมือ่ ความดันและมวลคงที)่
V
= k2 โดย k2 เป็นค่าคงที่
T
V = 5 cm3 V = 10 cm3 เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้
T = 300 K T = 600 K V1 V2 V3 Vn
= = =…= = k2
T1 T2 T3 Tn
ถ้ารวมกฎของบอยล์และกฎของชาร์ล จะได้
ความสัมพันธ์ดงั นี้
P = 500 mmHg P = 375 mmHg
T
V 
P
k3T
V = โดย k3 เป็นค่าคงที่
ความร้อน P
PV = k3T (เมือ่ มวลคงที)่
PV
= k3
V = 5 cm 3 V = 10 cm3 T
T = 200 K T = 300 K จึงกล่าวได้ว่า
P1V1 P2V2 P3V3 PnVn
T1 = T2 = T3 = … = Tn = k3
P = 760 mmHg P = 760 mmHg
“ที่อุณหภูมแิ ละความดันคงที่ ปริมาตรของ
แก๊สใด ๆ จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับจํานวน
โมลของแก๊สนั้น ๆ”
V  n (เมื่ออุณหภูมแิ ละความดันคงที)่
V
= k4 โดย k4 เป็นค่าคงที่
n
V = 22.4 L V = 44.8 L
เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้
n = 1 mol n = 2 mol V = k4n
โมเลกุลของอากาศ โมเลกุลของแก๊สทีแ่ พร่

ทิศทางการเคลื่อนทีข่ องโมเลกุลของแก๊สทีแ่ พร่


การไหลของแก๊ส
ความดันสูง ความดันต่ํา

สุญญากาศ

แก๊สเบา แก๊สหนัก
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
[CO22(g)]
เพิ่มความดัน ลดอุณหภูมิ
คาร์บอนไดออกไซด์เหลว
[CO22(l)]
เพิ่มความดัน ลดอุณหภูมิ
(18 atm) (-25 oC)
อัดคาร์บอนไดออกไซด์เหลวผ่านรูพรุน

คาร์บอนไดออกไซด์แข็ง
[CO22(s)]
ดูดอากาศ ผ่านอากาศลงในสารละลาย NaOH ผ่านอากาศทีไ่ ด้เข้าเครื่องกรอง
เข้าเครื่องอัดอากาศ เพื่อกําจัดแก๊ส CO2 เพื่อแยกน้ํามันออก

แก๊ส O2 จะกลายเป็นของเหลว ทําให้อากาศแห้งมีอุณหภูมิ ทําให้แห้งด้วยสารดูดความชืน้


แยกตัวออกมาก่อน ลดลงจนถึง -183 oC เช่น อะลูมินา (Al2O3)

ไนโตรเจนจะกลายเป็น
ลดอุณหภูมิ
ของเหลวแยกตัวออกมา
จนถึง -196 oC
(ไนโตรเจนเหลว)

You might also like