You are on page 1of 2

นายบพิตร เค้าหัน 1

รหัส 4837795 แขนงดนตรี ศึกษา

บทบาทของดนตรีคลาสสิกกับวิชาดนตรีศึกษา
ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน

วิชาดนตรี ศึกษาของไทยในอดีตนั้นได้ถูกบรรจุลงในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของไทยมาโดย
ตลอดซึ่งจัดรวมอยู่ใน สาระการเรี ยนรูก้ ลุ่มศิลปะ ดนตรี คลาสสิกในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจากอดีตถึง
ปัจจุบนั ถูกนามาใช้ค่อนข้างน้อย ส่วนใหญ่เป็ นเพลง Popular ของเด็กฝรั่ง ที่นามาใส่เนื้อร้องไทย เพลงที่ใช้
สาหรับการฟังก็มนี อ้ ยมาก โดยเฉพาะโรงเรี ยนแถบชนบทหรื อต่างจังหวัดยิง่ หาฟังยากมาก ส่วนระดับมัธยม
จะเป็ นการเน้นทีก่ ารสอนทฤษฎีโน้ตสากลเสียเป็ นส่วนใหญ่ จะปรากฏว่ามีบา้ งก็คือวิชาสังคีตนิยมในระดับ
ม. 4-6 ทั้งๆที่ดนตรี มีอยู่ในหลักสูตรการศึกษาข้นพื้นฐานมานานแล้ว แต่ไม่มีใครนาเพลงคลาสสิกมาใช้ใน
การเรี ยนการสอนเลย
สาหรับคุณค่าของดนตรี คลาสสิกที่จาเป็ นต่อการเรี ยนระดับขั้นพื้นฐานนั้น ผูเ้ ขียนมีความรู ้สึกว่า
จริ งๆแล้วดนตรี ทกุ ประเภทมีคุณประโยชน์ท้งั สิ้นขึ้นอยูก่ บั มุมมองที่เราจะมอง เช่นกรณีของทฤษฎี โมสาร์ท
เอฟเฟค ที่พฒั นาสมองของเด็ก ตอนนี้สังคมไทยเปิ ดรับดนตรี มากขึ้น สาหรับแนวทางการจัดหลักสูตรดนตรี
ขั้นพื้นฐาน จริ งๆแล้วดนตรี ตะวันตกก็คือดนตรีคลาสสิกนัน่ เอง ไม่ว่าจะเป็ นเนื้อหาทางองค์ประกอบดนตรี
ต่างๆ นัน่ คือสิ่งที่เราสอนดนตรี ตะวันตก เพียงแต่ว่าเพลง หรื อประเภทเพลงที่จะนามาใช้สอนนั้นเรายังไม่มี
เช่นเนื้อหาด้านประวัติ ประเภท ตัวอย่างประกอบเนื้อหาเกี่ยวกับองค์ประกอบทางดนตรี เป็ นต้น และตัวแปร
สาคัญอีกอย่างคือครู ผสู ้ อนจะสามารถใช้สื่อหรื อให้ความสาคัญกับเพลงคลาสสิกได้มากแค่ไหนดนตรี
คลาสสิกจะสามารถมีบทบาทต่อนักเรี ยนแค่ไหนขึ้นอยูก่ บั ครู ผูส้ อนเป็ นสาคัญ
จริ งๆแล้วสังคมไทยสัมผัสกับดนตรี คลาสสิกในชีวิตประจาวันอยู่แล้วเพียงแต่ไม่รู้จกั จนเกิดความ
คุน้ เคย สังคมไทยมักนิยามดนตรี คลาสสิกว่า ต้องเป็ นสิ่งที่ฟังแล้วไม่รู้เรื่ องเข้าใจยาก แต่ในชีวิตประจาวันเรา
กลับสัมผัสมันบ่อยมาก เช่นตามละคร โฆษณา หรื อเพลงทีเ่ ปิ ดตามห้างสรรสินค้า เป็ นต้น
อาจกล่าวได้ว่า ดนตรี คลาสสิกนั้นมีอยู่ในหลักสูตรไทยมานานแล้วเพราะเรานาเข้ามาจากต่างประเทศ
ในอดีตเราไม่ได้เรี ยนดนตรี ในโรงเรี ยน ดนตรี จะเรียนตามบ้านครู ดนตรี จนกระแสโลกตะวันตกเข้ามาแผ่
ขยายในประเทศไทย จึงมีการนาเอาหลักสูตรต่างประเทศเข้ามาใช้ในการศึกษาไทยซึ่งย่อมหมายถึงว่าดนตรี
คลาสสิก็เข้ามาในรู ปแบบดังกล่าวนัน่ เอง แต่ดว้ ยในสมัยนั้นสังคมไทยยังขาดผูเ้ ชี่ยวชาญจึงปรับจากใช้ดนตรี
คลาสสิกมาเป็ นขับร้องเพลงไทยแทน หรื อใส่เนื้อร้องไทยง่ายๆ มีเนื้อหาปลุกใจ รักชาติ เกี่ยวกับศีลธรรม เป็ น
ต้น แต่ช่วงหลังมีวิชาที่สามารถนาดนตรี คลาสสิกมาใช้ในการเรี ยนการสอนอย่างเป็ นจริ งเป็ นจังก็คือวิชาสังคีต
นิยมนัน่ เอง
เพราะฉะนั้นความสาคัญของดนตรี คลาสสิกในการเรี ยนการสอนคือ การนามาเป็ นตัวอย่างของเนื้อหา
ดนตรี หรื อเป็ นการสร้างสุนทรี ยะ ในการฟังดนตรีจะเหมาะสมกว่า เพราะการที่จะให้คนไทยทัว่ ประเทศที่มี
วัฒนธรรมท้องถิ่นที่ต่างกันมาสนใจเพลงคลาสสิกนั้นคงไม่เหมาะสมแต่ควรนาเพลงคลาสสิกมาใช้เป็ นเพียง
ตัวอย่างหนึ่งเพื่อสร้างความเข้าใจทางดนตรี จะเป็ นการสมควรมากกว่า ยิ่งไปกว่านั้นการบูรณาการโดยการ
นายบพิตร เค้าหัน 2
รหัส 4837795 แขนงดนตรี ศึกษา
ผสมผสานองค์ความรู ้ของดนตรี ในท้องถิ่นกับหลักสูตรดนตรี ข้นั พื้นฐาน โดยใช้ทฤษฎีทางดนตรีตะวันตกเข้า
ไปศึกษาวิเคราะห์ และสังเคราะห์ออกมาให้เป็ นองค์ความรู ้ สร้างความเข้าใจอย่างเป็ นสากลจะเป็ นการดีอย่าง
ยิ่ง เพราะนอกจากเราจะเข้าใจทฤษฎีทางดนตรี ตะวันตกซึ่งมีความเป็ นสากลแล้ว เรายังสามารถนาภูมิปัญญา
ด้านดนตรี ของเราเองเผยแพร่ ในรู ปแบบที่เป็ นสากลโดยการเอาทฤษฎีทางดนตรีตะวันตกเข้าไปอธิบายเพื่อ
สร้างความเข้าใจที่เป็ นสากลและเป็ นมาตรฐานเดียวกันได้

You might also like