You are on page 1of 36

ลิลต

ิ ตะเลงพ่าย
สมาชิกกลุ่ม

้ั ธยมศึกษาปี ที่ 5/8 เลขที่ 2


นางสาว ธนารีย ์ อรุณนาโชค ชนมั
้ั ธยมศึกษาปี ที่ 5/8 เลขที่ 8
นางสาว กัลยร ักษ ์ กัลปนา ชนมั
นาย กฤษณพงษ ์ นิ่ มอนุ สสรณ์กล ้ั ธยมศึกษาปี ที่ 5/8 เลขที่ 10
ุ ชนมั

แนวทางในการพิจารณาเนื อหาและกลวิ
ธใี นวรรณคดีและ
วรรณกรรม
้ ่
เนื อเรือง:


เมือพระเจ ้าหงสาวดีนันทบุเรงทรงทราบว่าสมเด็จพระมหาราชาเสด็จสวรรคตกรุงศรีอยุธยา อาจจะเกิดเหตุการณ์
แย่งชิงบัลลังค ์กันพระเจ ้าหงสาวดีจงึ มีพระราชบรรชาให ้พระมหาอุปราชยกทัพเข ้ามาบุกไทยพระมหาอุปราชเดินทัพ
ี ณะนั้นพระมหากษัตริย ์ของไทยคือสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ผ่านทางเจดีย ์สามองค ์และเข ้าตีเมืองกาญจนบุรข
โดยมีพระเอกาทศรถผูเ้ ป็ นอนุ ชาทรงดารงตาแหน่ งมกาอุปราช ในเวลานั้นพระองค ์ได ้ทรงเตรียมทัพไปบุกเขมรแต่

เมือคร ้ั
นพระองค ้
์ได ้ทรงทราบข่าวศึกพม่าก็ทรงได ้จัดเตรียมร ับศึกนอกพระนครกองทัพทังสองฝ่ ายได ้ทาสงครามกัน
่ าบลตระพังตรุ จังหวัดสุพรรณบุร ี ช ้างทรงเสด็จของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช แล ้วสมเด็จเอกาทศรถกาลังตก
ทีต
่ ้ยินเสียงกลองศึก จึงวิงเตลิ
มัน เมือได ่ ดเข ้าไปกลางกองทัพทหารฝั่งพม่า

แนวทางในการพิจารณาเนื อหาและกลวิ
ธใี นวรรณคดีและ
วรรณกรรม

ทาให ้ทังสองพระองค ์ตกอยู่ในวงล ้อมของศัตรูมเี พียงควาญช ้างและกลางช ้างโดยเสด็จเท่านั่น สมเด็จพระนเรศวร
มหาราชทรงสังเกตเห็นพระมหาอุปราชประทับอยู่ใต ้ต ้นข่อย จึงเข ้าไปเชิญพระมหาอุปราชทายุทธหัตถีกน
ั พระมหา
่ พระนเรศวรมหาราชเป็ นฝ่ ายชนะในสงครามครงนี
อุปราชหมดหนทางเลียง ้ั ้ ครนเมื
้ั อเสด๊
่ จกลับอยุธยา สมเด็จพระ
นเรศวรมหาราชได ้ทรงปรึกษาโทษแม่ทพ ้
ั นายกองทังหลายที ่
ตามเสด็ ั แต่สมเด็จพระวันร ัตได ้กราบทูลขอ
จไม่ทน
พระราชทานอภัยโทษแทนนายทหารเหล่านั้นไว ้ได ้

แนวทางในการพิจารณาเนื อหาและกลวิ
ธใี นวรรณคดีและ
วรรณกรรม

โครงเรือง:


โครงเรืองหลั
กของลิลต ่
ิ ตะเลงพ่ายเกียวกั
บ การทาศึกสงครามยุทธหัตถีระหว่างประเทศไทยกับพม่า และการ

เชิดชูกษัตริย ์ทังสองพระองค ้
์ของทังสองฝ่ ่
ายในความกล ้าหาญและการเสียสละเพือชาติ
บ ้านเมืองของตน

แนวทางในการพิจารณาเนื อหาและกลวิ
ธใี นวรรณคดีและ
วรรณกรรม
ตัวละคร:

ฝ่ ายไทย
- ่
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค ์คือคนทีประกาศเอกราชกลั ่ ยไปให ้กับพม่ามาถึง
งจากทีเสี

15 ปี รวมทังพระองค ้ งทาสงครามกับพม่า จนพม่าเกรงกลัวไม่กล ้าทีจะ
์ยังทรงขยายอาณาจักรให ้กว ้างใหญ่ อีกทังยั ่
่ าศึกสงครามกับกรุงอังวะ
มารบกับไทยอีกเลยเป็ นเวลากว่าร ้อยปี พระองค ์ทรงเสด็จสววรคตในขณะทีท
แต่เกิดอาการประชวร พระองค ์ประชวรได ้เพียง 3 วัน ก็ทรงเสด็จสวรรคต
- สมเด็จพระเอกาทศรถ ตลอดร ัชกาลสมเด็จพระนเรศวร
ทรงออกศึกร่วมกับสมเด็จเอกาทศรถ

แนวทางในการพิจารณาเนื อหาและกลวิ
ธใี นวรรณคดีและ
วรรณกรรม
- ้ นสมเด็จพระมหาธรรมราชา แล ้วได ้ร ับโปรด
พระมหาธรรมราชา ขุนพิเรนทรเทพ ได ้ร ับสถาปนาขึนเป็
เกล ้าให ้ไปครองเมืองพิษณุโลก สาเร็จราชการหัวเมืองฝ่ ายเหนื อ มีศก ์ ยบเท่าพระมหาอุปราช
ั ดิเที
- พระยาศรีไสยณรงค ์ พระองค ์เป็ นแม่ทพ ่ ยกไปตังที
ั กองหน้าของพระนเรศวร มีกาลังพล 5 หมืน ้ หนอง


ส่าหร่าย แต่ไม่สามารถต ้านทางกองทัพของฝ่ ายพม่าได ้ จึงมีพระราชโองการในการให ้ถอยทัพเพือจะไป
โอบล ้อมจนได ้ร ับชยั ชนะ
- ่
พระราชฤทธานนท ์ ปลัดทัพหน้าทีสมเด็ ้ นเพื
จพระนเรศวรแต่งตังขึ ้ อให
่ ้ไปรบเป็ นเพือนกั
่ บพระยาศรีไสย
ณรงค ์

แนวทางในการพิจารณาเนื อหาและกลวิ
ธใี นวรรณคดีและ
วรรณกรรม
- ่
สมเด็จพระวันร ัต ในคราวทีสมเด็ ้
จพระนเรศวรประกาศอิสรภาพ ท่านเป็ นผูเ้ กลียกล่ อมให ้พระยาเกียรติ ์
้ั ่ งของท่านคือ การขอ
และพระยาราม ร ับสารภาพและเข ้าร่วมกับพระนเรศวร วีรกรรมอีกครงหนึ
พระราชทานอภัยโทษ
- เจ ้าพระยาจักรี ร ับผิดชอบด ้านการพลเรือนและดูแลหัวเมืองทางภาคกลางและภาคเหนื อ
- เจ ้ารามราฆพ กลางช ้างของพระนเรศวร หนึ่ งในสีทหารที
่ ่
ตามเสด็ จทันในการทายุทธหัตถี และไม่โดน
อาญาประหารชีวต

- นายมหานุ ภาพ ควาญช ้างของสมเด็จพระนเรศวร ถูกทหารพม่ายิงเสียชีวต ่
ิ ในช่วงทีกระทายุทธหัตถี

และได ้ร ับพระราชทานยศและทร ัพย ์สิงของ ผา้ สารดแก่บุตรภรรยา เป็ นการตอบแทนความชอบ

แนวทางในการพิจารณาเนื อหาและกลวิ
ธใี นวรรณคดีและ
วรรณกรรม
- ่ี าพิธต
หลวงมหาวิชยั พราหมณ์ผูท้ ท ี ด
ั ไม้ขม ่
่ นาม ก่อนทีสมเด็ จพระนเรศวรจะยกทัพออกรบ และ
กระทายุทธหัตถีจนได ้ร ับชยั ชนะ

แนวทางในการพิจารณาเนื อหาและกลวิ
ธใี นวรรณคดีและ
วรรณกรรม

ฝ่ ายพม่า
- ้
พระเจ ้าหงสาวดี ดารงตาแหน่ งอุปราชในสมัยบุเรงนอง ได ้ขึนครองราชย ์ต่อจากบุเรงนอง
- ่
พระมหาอุปราช เป็ นเพือนเล่ ่
นกันกับพระนเรศวรในสมัยทีพระองค ่ี งหงสาวดี ทรงทางานสนอง
์ประทับอยู่ทกรุ
พระราชบิดาหลายครง้ั โดยเฉพาะราชการสงคราม และได ้ถวายงานครงสุ
้ั ดท ้ายในการยกทัพ ๕ แสนมาตีไทย

แนวทางในการพิจารณาเนื อหาและกลวิ
ธใี นวรรณคดีและ
วรรณกรรม
- พระยาจิดตอง แม่กองการทาสะพานเชือกข ้ามแม่น้ากระเพิน
- ่
สมิงอะคร ้าน สมิงป่ อง สมิงซายม่วน กองลาดตระเวนทีพระมหาอุ ่
ปราชส่งให ้มาเพือมาหาข่ ่
าวทีกอง
่ ดสินใจเข ้ามาทาศึก สงครามทีไทย
ทัพไทยก่อนทีจะตั ่

- ่ี
เจ ้าเมืองมล่วน ควาญช ้างของพระมหาอุปราช ผูท้ สมเด็ ่ ้กลับไปแจ ้งข่าวการแพ้
จพระนเรศวรร ับสังให

สงครามและการสินพระชนม ์ของพระมหาอุปราชแก่พระเจ ้าหงสาวดี
- ่ ยงของพระมหาอุ
มางจาชโร พีเลี ้ ่ี
ปราชา ผูท้ ชนช ้างกับพระเอกาทศรถ และถูกพระเอกาทศรถฟะน
ด ้วยพระแสงของา้ วคอชาด

แนวทางในการพิจารณาเนื อหาและกลวิ
ธใี นวรรณคดีและ
วรรณกรรม

ฉากท ้องเรือง:

ลิลต ่
ิ ตะเลงพ่ายมีฉากท ้องเรืองอยู
ใ่ นกรุงศรีอยุธยาและกรุงหงสาวดีในสมัยอยุธยา

แนวทางในการพิจารณาเนื อหาและกลวิ
ธใี นวรรณคดีและ
วรรณกรรม
บทเจรจาราพึง:


มาเดียวเปลียวอกอ ้า อายสู
สถิตอยูเ่ อ ้องค ์ดู ละห ้อย
พิศโพ้นพฤกษ ์พบู บานเบิก ใจนา
พลางคะนึ งนุ ชน้อย ้
แน่ งเนื อนวลสงวน

สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤๅ



เพราะเพือมาราญรอน เศิกไสร ้
สละสละสมร เสมอชือ่ ไม้นา
นึ กระกานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม

แนวทางในการพิจารณาเนื อหาและกลวิ
ธใี นวรรณคดีและ
วรรณกรรม ่ สายหยุดหยุดกลินฟุ้ ง ยามสาย
สายบ่หยุดเสน่ ห ์หาย ห่างเศร ้า
่ นกีวั่ นวาย
กีคื วางเทวษ ราแม่
ถวิลทุกขวบค่าเช ้า หยุดได ้ฉันใด

ถอดคาประพันธ ์

พระองค ์ได ้ออกเดินทางมาเพียงคนเดียวจึงรู ้สึกเปล่าเปลียวใจและน่ ่ านชมต ้นไม้และ
าเศร ้าเมือท่
่ี
ดอกไม้ทพบเห็ ้
นระหว่างทางก็รู ้สึกเบิกบานพระทัยขึน้ แต่ก็ไม่ยงั คงคิดถึงนางสนมทังหลายอยู ่
ท่านเห็นต ้นสลัดไดทรงดาริวา่ เหตุใดต ้องจากน้องมานอนป่ า มาเพือท ่ าสงครามกับข ้าศึก
่ ้องสละน้องมาเหมือนชือต
เห็นต ้นสละทีต ่ ้นไม้ เห็นต ้นระกาทีชื
่ อต
่ ้นไม้เหมือนอกพีแท
่ ้ๆ

ต ้นสายหยุดเมือสายก็ หมดกลิน ่ แต่ใจของพระมหาอุปราชาก็ไม่คลายร ักนาง
กีวั่ นกีคื
่ นทีจากนางก็
่ ่ ้า ไม่รู ้ว่าจะหยุดร ักนางได ้อย่างไร
มแี ต่ความทุกข ์คิดถึงน้องทุกคาเช

แนวทางในการพิจารณาเนื อหาและกลวิ
ธใี นวรรณคดีและ
วรรณกรรม

แก่นเรือง:

่ ลต
ผูป้ ระพันธ ์เรืองลิ ิ ตะเลงพ่ายต ้องการสะท ้อนให ้ผูอ้ า่ นเห็ นถึงความกล ้าหาญและความเสียสละของบรรพบุรษ

ไทย และเป็ นการสร ้างกาลังใจให ้คนไทยมีความร ักและปกป้ องแผ่นดินไทย
การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
การสรรคา:

ลิลต ้ าของคนไทยทีทุ
ิ ตะเลงพ่ายเป็ นวรรณคดีมรดกลาค่ ่ กคนควรจะศึกษา เพือให
่ ้เกิดความภาคภูมใิ จใน
่ ใช ้ในการถ่ายทอดอารมณ์, ความรู ้สึกและเรืองราวได
วีรกรรมของนักรบ, กษัตริย ์ไทยและภูมใิ จในภาษาไทยทีกวี ่ ้
ุ ค่าทางดานวรรณศิลป์ ด ้วยการใช ้ถ ้อยคาได ้อย่างไพเราะ ดังนี ้
อย่างมีคณ

1. การใช้คาทีเหมาะสมแก่ ้ องและฐานะของบุ
เนื อเรื ่ ่
คคล ผูแ้ ต่งเลือกใช ้คาทีแสดงฐานะของบุ คคล ดังนี ้
้ านวย
ภูบาลอืนอ อวยพระพรเลิศลัน
จงอยุธย ์อย่าพ้น ้
แห่งเงือมมื
อเทอญ พ่อนา
การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
ั ดิค์ าสูง แสดงให ้เห็นภาพเด่นชัดและไพเราะ เช่น
่ ศก
จากโคลงบทนี ้ กวีเลือกใช ้คาทีมี
ภูบาล หมายถึง พระเจ ้าแผ่นดิน
อยุธย ์ หมายถึง ไม่พ่ายแพ้
อวยพระพร หมายถึง ถวายพระพร

2. การใช้คาโดยคานึ งถึงน้ าเสียง ความไพเราะของถ ้อยคาหรือความงามของถ ้อนคานั่น พิจารณาทีการใช


่ ้
สัมผัส การเล่นคา การเลียนเสียงธรมชาติ เป็ นต ้น จากบทประพันธ ์ลิลต ่ นคามากมาย
ิ ตะเลงพ่ายมีการใช ้เสียงทีเล่
ดังนี ้
การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
ั ผัสสระและสัมผัสพยัญชนะในคาประพันธ ์ทุกบท ทาให ้เกิดความไพเราะมากขึน้ เช่น
2.1 มีการใช้สม

“เสร็จเสาวนี ย ์สังสนม เนื องบังคมคาราช พระบาทบทันนิ ทรา จวนเวลาล่วงสาง ้
พืนนภางค ์
เผือดดาว แสงเงินขาวขอบฟ้ า แสงทองจ ้าจับเมฆ........ฯลฯ..........ขอลาองค ์ท่านไท

ไปเผด็จดัสกรให ้ เหือดเสียนศึ ้
กสยาม สินนา”
สัมผัสสระ ขาว - ฟ้ า,ลา - ท่าน,ลา - ส่าง, จวน - ล่วง,ภางค ์ - ดาว,ไท - ไป - ให ้,สยาม - นา,
ราช - บาท - ทรา

สัมผัสพยัญชนะ เสร็จ - เสา - สัง่ - สนม,คม - คา,ลา - ล่วง,จ ้า - จับ,ท่าน - ไท,เผด็จ - ดัส,เสียน
้ -

สยาม - สิน้
การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
2.2 มีการใช้สม
ั ผัสพยัญชนะเดียวกน ้
ั เกือบทังวรรค เช่น

้ น
กระเต็นกระตัวตื ่ แตกคน
ยูงย่องยอดยูงยล โยกย ้าย
นกเปล ้านกปลีปน ปลอมแปลก กันนา
คล่าคล่าคลิงโคลงคล
้ ้าย คูเ่ คล ้าคลอเคลีย
การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรคที่ 1 เต็น - ตัว้ - ตืน

วรรคที่ 3 ยูง - ย่อง - ยอด - ยูง - ยล


วรรคที่ 4 โยก - ย ้าย
วรรคที่ 5 เปล ้า - ปลี - ปน
วรรคที่ 6 ปลอม - แปลก
วรรคที่ 7 คล่า - คลิง้ - โคลง - คล ้าย
วรรคที่ 8 คู่ - เคล ้า - คลอ - เคลีย
การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
2.3 มีการใช้สม
ั ผัสสระในแต่ละวรรคองโคลงแต่ละบาทคล้ายกลบท เช่น
สงครามความเศิกซึง้ แสนกล
จงพ่ออย่ายินยล ื้
แต่ตน
อย่าลองคะนองตน ตาชอบ ทานา

การศึกลึกเล่ห ์พืน ้ หลอกหลอน
ล่อเลียว
บาทที่ 1 คราม - ความ
บาทที่ 2 จง - ยล
บาทที่ 3 ลอง - นอง
บาทที่ 4 ศึก - ลึก
การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
่ ้เกิดความไพเราะ,ลึกซึงและเกิ
ิ ตะเลงพ่ายมีการเล่นคาเพือให
2.4 การเล่นคา ในบทประพันธ ์ ลิลต ้ ดอารมณ์
กระทบใจผูอ้ า่ น

2.5 การเล่นเสียงวรรณยุกต ์ เช่น


สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤา

เพราะเพือมาราญรอน เศิกไสร ้
สละสละสมร เสมอชือ่ ไมน้ า
นึ กระกานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม
การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
2.6 การเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น
“....เจ ้าพระยาไชยานุ ภาพ เจ ้าพระยาปราบไตรจักร ตร ับตระหนักสาเนี ยง เสียงฆ ้องกลองปื นศึก อีก
เอิกก ้องกาหล เร่งคารนเรียกมัน ชันหู ชูหางเล่น แปร ้นแปร๋แลคะไขว่.”

้ กษรลงหน้าคาศัพท ์ ทาให ้เกิดความไพเราะ เช่น


2.7 การใช้คาอ ัพภาส คือ การซาอั
“...สาดปื นไฟยะแย ้ง แผลงปื นพิษยะยุ่ง พุ่งหอกใหญ่คะคว ้าง ขว ้างหอกซัดคะไขว่ไล่คะคลุกบุกบัน เงือ้
ดาบฟันฉะฉาด ง่างา้ วฝาดฉะฉับ...”
การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
การเรียบเรียงคา:

ลิลต ่
ิ ตะเลงพ่ายเป็ นประเภทโคลงสุภาพ โดยมีการใช ้ภาษาโบราณ และมีการพรรณนาถึงเรืองราวต่
างๆ
- ่
เรียงข ้อความทีบรรจุ
สารสาคัญไว ้ท ้ายสุด

อุรารานร ้าวแยก ยลสยบ

เอนพระองค ์ลงทบ ท่าวดิน้

เหนื อคอคชซอนซบ สังเวช

วายชิวาตม ์สุดสิน้ สู่ฟ้าเสวยสวรรค ์


้ ยงจากก่อนทีพระมหาอุ
คาประพันธ ์นี เรี ่ ้
ปราชาจะสินพระชนม ์
การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
่ ความสาคัญเท่าๆ กัน เคียงขนานกันไป
เรียงคาวลี หรือประโยคทีมี
ขุนเสียมสามรรถต ้าน ขุนตะเลง

ขุนต่อขุนไป่ เยง หย่อนห ้าว

ยอหัตถ ์เทิดลบองเลบง อังกุศ ไกวแฮ

งามเร่งงามโทท ้าว ท่านสู ้ศึกสาร


- การใช ้คาว่าขุน แสดงให้เห็นถึงความเท่ากันและแปลว่าสู ้กันตัวต่อตัว
การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

เรียบเรียงประโยคให ้เนื อหาเข ้
้มข ้นขึนไปตามล ้ นไดจนถึงขันสุ
าดับดุจขันบั ้ ดท ้ายทีส
่ าคัญทีสุ
่ ด

พระทรงแสงดาบแก ้ว กับกร

โจมประจักฟันฟอน เฟื่ องน้า

ต่างฤทธิต่์ างรบรอบ ราญชีพ กันแฮ


่ าถา้
สระท ้านทุกถินท่ ท่งท ้องชลธี
การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
การใช ้โวหาร:


การใช ้โวหารทาให ้เกิดจินตนาการภาพ เช่น การใช ้คาทีแสดงให ้เห็นภาพการต่อสู ้อย่างห ้าวหาญของพลทหารทัง้
่ ดกันรุกร ับกันด ้วยอาวุธหลากหลายทังขอ
สองฝ่ ายทีผลั ้ งา้ ว ทวน หอก ธนู จนต่างฝ่ ายล ้มตายไปเป็ นจานวนมาก
“ ...คนต่อคนต่อรบ ของา้ วทบทะกัน ต่างฟันต่างป้ องปัด วางสนัดหลังสาร ขานเสียงคึกกึกก อ้ ง ว่องต่อว่องชิง
ชัย ไวต่อไวชิงชนะ มา้ ไทยพะมา้ มอญ ต่างเข ้ารอนเข ้าโรม ทวนแทงโถมทวนทบ หอกเข ้ารบรอ
หอก หลอกล่อไล่ไขว่แคว ้ง แย ้งธนู เหนี่ ยวแรง ห ้าวต่อห ้าวหักหาญ ชาญต่อชาญหักเชียว
่ เรียวต่
่ อเรียวหั
่ กแรง

แขงต่อแขงหักฤทธิ ์ ต่างประชิดฟอนฟัน ต่างประชันฟอนฟาด ล ้วนสามารถมือทัด ล ้วนสามรรถมือทาน ผลาญ



กันลงเต็มหล ้า ผร ้ากันลงเต็มแหล่ง แบ่งกันตายลงคร ัน ปันกันตายลงมาก ตากเต็มท่งเต็มเถือน ่
ตากเต็มเผือน
เต็มพง”
การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
การใช ้โวหารเปรียบเทียบ
์ อนพระรามยามต่อสู ้กับทศกัณฐ ์
ว่าสมเด็จพระนเรศวรมีฤทธิเหมื ่ี ายแพไ้ ปเหมือน
ข ้าศึกศัตรูทพ่
พลยักษ ์สมเด็จพระนเรศวรก็เหมือนองค ์พระนารายณ์อวตารลงมา

บุญเจ ้าจอมภพขึน้ แผ่นสยาม


แสยงพระยศยินขาม ขาดแกล ้ว
พระฤทธิด์ งฤทธิ
่ั ์
ราม รอนราพณ์ แลฤา
ราญอริราชแผ้ว แผกแพ้ทก
ุ ภาย
การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

ไพรินทรนาศเพียง พลมาร

พระดังองค ์อวตาร แต่ก ี ้
แสนเศิกห่อนหาญราญ รอฤทธิ ์ พระฤา
ดาลตระดกเดชลี ้ ประลาตหล ้าแหล่งสถาน
เสร็จเสวยศวรรเยศอ ้าง ไอยศูรย ์ สรวงฤๅ
เย็นพระยศปูนเดือน เด่นฟ้ า
เกษมสุขส่องสมบูรณ์ บานทวีป
สว่างทุกข ์ทุกธเรศหล ้า แหล่งล ้วนสรรเสริญ ฯลฯ
การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
ถอดคาประพันธ ์ได ้ว่า
ั รูได ้ยินเพียงชือ่ ก็พากันเกรงกลัว เมือมี
อานาจแห่งพระนเรศวรมหาราชกษัตริย ์ไทย แค่ศต ่ ใครมาทาศึก

สงครามก็ต ้องพ่ายแพ้กลับไปข ้าศึกล ้มตายไปเหมือนทหารยักษ ์พระองค ์เปรียบเสมือน



ดังพระรามอวตารลงมาปราบศั
ตรู ต่อให ้มีศต ี ูม้ ดสามารถต่อสู ้ฤทธ ์อานาจของพระองค ์ได ้ ต่างก็
ั รูเป็ นแสน ก็ไม่มผ
่ ทาให ้บ ้านเมืองไทยมีแต่ความสงบ อุดม
พากันตกใจแล ้วก็หนี กลับไปยังประเทศของตนพระบารมีของพระองค ์ทีมี
สมบูรณ์ ไม่มท
ี ก ่ ซ ้องสรรเสริญ
ุ ข ์ภัยมาเยือน จนเป็ นทีแซ่
การพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าของวรรณคดีและ
วรรณกรรม
คุ
ณค่าทางด ้านอารมณ์:

1. สะท้อนถึงอารมณ์สะเทือนใจ
พระผาดผายสู่ห ้อง หาอนุ ชนวลน้อง
หนุ่ มเหน้าพระสนม ปวงประนมนบเกล ้า

งามเสงียมเฟี ้ ยมเฝ้ า อยูถ
่ ้าทูลสนอง
กรตระกองกอดแก ้ว เรียมจักร ้างรสแคล ้ว
คลาดเคล ้าคลาสมร จาใจจรจากสร ้อย
อยู่แม่อย่าละห ้อย ห่อนช ้าคืนสม แม่แล
ถอดคาประพันธ ์ได ้ว่า พระมหาอุปราชาเสด็จไปลานางสนมซึงร ่ าไห
่ ่
้คราครวญ และขอตามเสด็จด ้วย แต่พระมหาอุป
ราชาได ้ตร ัสว่าหนทางลาบากนัก พระองค ์จาใจจากเหล่าสนมไป ในไม่ช ้าก็คงจะได ้กลับคืนมา
การพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าของวรรณคดีและ
วรรณกรรม
2. ใช้ถอ้ ยคาเกิดความเศร ้าสะเทือนใจสงสารในชะตากรรมของตวั ละคร

่ ง
สายหยุดหยุดกลินฟุ้ ยามสาย

สายบ่หยุดเสน่ ห ์หาย ห่างเศร ้า

่ นกีวั่ นวาย
กีคื วางเทวษ ราแม่

ถวิลทุกขวบค่าเช ้า หยุดได ้ฉันใด ฯลฯ


ถอดคาประพัธ ์ได ้ว่า ต ้นสายหยุดเมือสายก็ ่ แต่ใจพีแม
หมดกลิน ่ ย้ ามสายก็ไม่คลายร ักน้อง กีวั่ นกีคื
่ นทีจากน้
่ ่
องพีมี
แต่ความทุกข ์คิดถึงน้องทุกค่าเช ้า ไม่รู ้ว่าจะหยุดร ักน้องได ้อย่างไร
การพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าของวรรณคดีและ
วรรณกรรม
คุณค่าด้านคุณธรรม
1.สอนให ้รู ้จักรอบคอบไม่ประมาท
่ ลต
จากเรืองลิ ิ ตะเลงพ่าย จะสามารถเห็นความรอบคอบและความไม่ประมาทในตัวของพระนเรศวรได ้ชัดเจน
่ าให ้พระเองค ์เป็ นกษัตริย ์ทีมี
ซึงท ่ พระปรีชาสามารถมากทีสุ
่ ด

2. สอนให ้รู ้จักการวางแผน


่ กข ้าศึกบุกรุก เพือเตรี
พระนเรศวรได ้ทรงวางแผนมากมายเมือถู ่ ่ ้ทรง
ยมพร ้อมกับการร ับมือ เช่นตอนทีได

เปลียนแผนจากการตี
เขมรเป็ นร ับศึกจากพม่าแทน เป้ นต ้น
การพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าของวรรณคดีและ
วรรณกรรม
3.สอนให้รู ้จักกตัญญู
่ ต่อพระบิดา และแสดงให ้เห็นถึงความกตัญญูและความ
ได ้แสดงให ้เห็นถึงความร ักของพระมหาอุปราชาทีมี
่ านมีตอ
ห่วงใยทีท่ ่ าลังออกรบอยู่
่ พระบิดาในขณะทีก
การพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าของวรรณคดีและ
วรรณกรรม
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
่ี นทังทางด
เป็ นแบบอย่างในการแต่งวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติทเด่ ้ ้
้านเนื อหา สานวนโวหาร และกลวิธใี นการแต่ง ผูเ้ ขียนบท

ประพันธ ์สรุปเนื อหาได ้อย่างเหมาะสม สามารถเข ้าใจได ้ง่าย และเป็ นข ้อเท็จจรองทางประวัตศ ้
ิ าสตร ์มาผสมผสานกับเนื อหาที
มี่ ความ

สร ้างสรรค ์ขึนจากจิ
นตนาการ

มีการเลือกใช ้ถ ้อยคาอย่างประณี ตทพให ้สือความได ้ชัดเจน ไพเราะ เหตุการณ์ตอนทาศึกสงคราม ผูเ้ ขียนสามารถบรรยายได ้
้ั ่ น ส่วนยามทุกข ์ก็สามารถพรรณนาได ้อย่างลึกซึง้
อย่างละเอียด ทาให ้ผูอ้ า่ นเกิดความฮึกเหิมจากการทาศึกสงครามในครงนั

เหตุการณ์ตอนกวีชมความงามของธรรมชาติก็สามารถสร ้างความรืน
รมย ์ให ้กับผูอ้ า่ น

You might also like