You are on page 1of 21

บทที่ 1 เอกภพ

หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบ๊ ก
ิ แบง
1. การขยายตัวของเอกภพ
รับชมวีดิโอ
หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบ๊ ก ิ
แบง
1. การขยายตัว
ของเอกภพ
 เอ็ ดวิน ฮับเบิล (Edwin Hubble) นัก
ดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน ได้สังเกตการ
เคลื่อนที่ของกาแล็กซีต่าง ๆ และวัดระยะ
ห่างจากผู้สังเกต(โลก)กับกาแล็กซี
 เมื่อนำข้อมูลมาเขียนกราฟความสัมพันธ์
ระหว่างระยะห่างกับความเร็วในการ
เคลื่อนที่ของกาแล็กซีออกจากผู้สังเกต พบ
1 pc = 3.26
ว่า กราฟที่ได้มีลักษณะเป็ นเส้นตรง
ปี แสง
1 ปี แสง = km
C m/s
C km/s
o จากกราฟ แสดงว่าความเร็วในการ
เคลื่อนที่ของกาแล็กซีออกจากผู้สังเกต
หรือ ความเร็วถอยห่าง (Recessional
velocity) แปรผันตรงกับระยะห่าง
ระหว่างกาแล็กซี
สามารถนำความสั กับ
มพั นผู
ธ์้ส
นังว
ี ้ เกต
่า
กฎฮับเบิล-เลอร์แมท (Hubble
Lemaite’s Law)

V คือ ความเร็วในการเคลื่อนที่ของกาแล็กซีออก
จากผู้สังเกต
หรือความเร็วถอยห่าง (kms-1)
D คือ ระยะห่างระหว่างกาเล็กซีกับผู้สังเกต
(Mpc)
H0 คือ ค่าคงตัวของฮับเบิล (Hubble constant
เ หน
็ วา
่ กรา ฟทไ
่ ี ด้มี
จะ
ลักษณะคล้ายกัน
2. ไมโครเวฟพื้นหลังจาก
 นักวิทยาศาสตร์ ได้ตงั ้ สมมติอวกาศ
ฐานว่า ถ้าเอกภพเริ่มต้นจากบิ๊กแบงเมื่อ
ประมาณ 13,800 ล้านปี มาแล้ว เอกภพควรมีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่เกิดใน
ช่วงวิวัฒนาการของเอกภพค้างอยู่ในอวกาศ ถ้าเอกภพมีการขยายตัว
อุณหภูมิพ้นื หลังหรืออุณหภูมิเฉลี่ยของอวกาศควรลดลง และมีค่า
สอดคล้องกับอุณหภูมิของการแผ่รังสีของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่เหลืออยู่
 รัลฟ์ อัลเฟอร์ (Ralph Alpher) และ โรเบิร์ต เฮอร์แมน (Robert
Herman)ในปี พ.ศ. 2491 ได้พยายามคำนวณหาอุณหภูมิพ้น ื หลังของ
เอกภพ ซึ่งได้ค่าประมาณ 5 เคลวิน
 ในปี พ.ศ. 2508 อาร์โน เพนเซียส (Arno A.
Penzias)และ โรเบิร์ต วิลสัน (Robert W. Wilson)
นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันจากห้องปฏิบัติการโทร
ศัพท์เบล ขณะทดสอบระบบเครื่องรับสัญญาณที่ติด
อยู่กับกล้องโทรทรรศน์วิทยุ และพบสัญญาณรบกวน
ในช่วงคลื่นไมโครเวฟตลอดเวลา แม้มีการปรับ
เปลี่ยนทิศทางของเสาอากาศแล้วก็ตาม ยังพบ
สัญญาณรบกวนอยู่ในทุกทิศทาง
 เมื่อนำข้อมูลมาเปรียบเทียบกับผลจากแบบจำลอง
o ในปี พ.ศ. 2532 NASAตามทฤษฎี บ๊ ก
ิ แบงของ
ได้ส่งดาวเที ยมสำรวจอวกาศโคบี (Cosmic โร
Background Explorerเบิร์ต : ดิCOBE)ขึ
ก (Robert น Dicke) และคณะ
้ ไปในอวกาศ ซึ่งกำลัง
เพื่อตรวจสอบและ
ศึกษาอุ
ยืนยันการพบไมโครเวฟพื ้นณหลัหภู มิพ้น
ื หลังของเอกภพ ทำให้ได้ข้อสรุปว่า
งจากอวกาศ
คลื
o คลื่นไมโครเวฟพื้นหลั ่ นที่พบดังกล่ก
งจากอวกาศมี าวเป็ นไมโครเวฟพื
ารกระจาบยตั วอย่้นาหลั งจากอวกาศ
งสม่ำเสมอ
ในทุกทิศทางจากอวกาศ และมีความสอดคล้องกับการแผ่รังสีของวัตถุ
บทที่ 1 เอกภพ
กาแล็กซีและกาแล็กซีทางช้างเผือก
กาแล็กซี
ช่วงเวลาประมาณ 300,000 ปี – 1,000 ล้านปี หลังบิ๊กแบง อะตอม
ของไฮโดรเจนและฮีเลียมรวมตัวกันเกิดเป็ นเนบิวลา เนบิวลายุบตัวเกิด
เป็ นดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์อยู่รวมกันเป็ นกาแล็กซี หรือดาราจักร
กาแล็กซีประกอบด้วยดาวฤกษ์หลายล้านดวงที่อยู่รวมกันเป็ นระบบ
เนบิวลา และสสารระหว่างดวงดาว (Interstellar medium) โดยองค์
ประกอบทัง้ หมดของกาแล็กซีอยู่รวมกันด้วยแรงโน้มถ่วง
จากการสังเกตกาแล็กซีบนท้องฟ้ าด้วยกล้องโทรทัศน์ พบว่า กาแล็กซีมี
รูปร่างแตกต่างกัน เช่น กาแล็กซีรี กาแล็กซีเลนส์ กาแล็กซีกังหัน
กาแล็กซีกังหันแบบมีคาน และนอกจากนีย ้ ังมีกาแล็กซีอีกจำนวนมากที่
ไม่มีรูปร่าง เรียกว่า กาแล็กซีไร้รูปแบบ
ประเภทของกาแล็กซี

กาแล็กซีรี กาแล็กซีเลนส์ กาแล็กซีกังหัน กาแล็กซีกังหันแบบมีคาน

กาแล็กซีเลนส์ กาแล็กซีรี กาแล็กซีกังหัน กาแล็กซีกังหันแบบมีคาน


ประเภทของกาแล็กซี
เราแบ่งกาแล็กซีตามรูปร่างที่
ปรากฎ
1. กาแล็กซีรี (elliptical galaxy) เป็ นกาแล็กซี
ที่เป็ นรูปทรงรี ใช้สัญลักษณ์ E โดย E0 มีความรี
น้อยที่สุด และ E7 มีความรีมากที่สุด เช่น
กาแล็กซี Messier 87 กาแล็กซี Messier 59
2. กาแล็กซีกังหัน หรือ กาแล็กซีก้นหอย (spiral galaxy) ใช้
สัญลักษณ์ S แบ่งได้ 2 ประเภทได้แก่
กาแล็กซีกังหันธรรมดา และ กาแล็กซี กังหันกาแล็
2.1
แบบมี คาน
กซีกังหันธรรมดา โดย
กาแล็กซีกังหันชนิด Sa มีแขนใกล้ชิด
กันกว่าชนิด Sb และ Sc และสัดส่วน
ของขนาดนิวเคลียส Sa มากกว่า Sb
และ Sc ตามลำดับ เช่น M81, NGC
5457 กาแล็กซีแอนดรอเมดา เป็ น
2.2
กาแล็กกาแล็
ซีชนิดกซี
Sb กังหันแบบมีคาน ใช้
สัญลักษณ์ SB โดยกาแล็กซีกังหันมี
คานชนิด SBa มีแขนใกล้ชิดกันกว่า
ชนิด SBb และ SBc เช่น กาแล็กซี
ทางช้างเผือกเป็ นกาแล็กซีชนิด SBb
3. กาแล็กซีเลนส์ หรือ กาแล็กซีลูกสะบ้า (lenticular
galaxy) เป็ นกาแล็กซีที่มีรูปทรง
คล้ายเลนส์นูน ใช้สัญลักษณ์ S0 เช่น NGC 2787, NGC
5866
4. กาแล็กซีไร้รูปแบบ เป็ นกาแล็กซีที่มีรูปทรงแตกต่างจาก
กาแล็กซีปกติ เช่น กาแล็กซี IC3583 กาแล็กซีแมเจลแลนใหญ่
และกาแล็กซีแมเจลแลนเล็ก
สรุป
กิจกรรมกาแล็กซีทางช้างเผือก
ผลการทำกิจกรรม
นิวเคลียส จาน ฮาโล ดุมกาแล็กซี ระบบสุริยะ

ดุม
กาแล็กซี
ระบบ
สุริยะ
จาน

นิวเคลียส
ฮาโล
คำถามตอน
ที่ 2
2. นำคำที่กำหนดให้ข้างต้นเติมในช่องว่างหน้าข้อความให้
ฮาโล
สอดคล้ องกับคำอธิบาย
ก.นิ…………………….บริ
วเคลียส เวณที่อยู่รอบนอกสุดของกาแล็กซีทางช้าง
เผือกจาน
ข. …………………….บริเวณที่มีจำนวนดาวฤกษ์รวมตัวกันอย่างหนา
แน่น
ค. ………………….บริเวณที่มองเห็นเป็ นเกลียวคล้ายกังหันและเป็ น
ตำแหน่งที่อยู่ของระบบสุริยะ
คำถามท้ายกิจกรรม

แนวคำตอบ กาแล็กซีทางช้างเผือกมีรูปร่างเป็ น
กาแล็กซีกันหันมีคาน โครงสร้างประกอบด้วย
นิวเคลียส จาน และฮาโล

แนวคำตอบ ระบบสุริยะอยู่ที่โครงสร้างส่วนที่เป็ น
จาน โดยอยู่ห่างจากศูนย์กลางของกาแล็กซี
ประมาณ 30,000 ปี แสง
สรุป
กาแล็กซีทางช้างเผือก มีโครงสร้างหลัก คือ
นิวเคลียส จาน และ ฮาโล โดยนิวเคีลยสอยู่ในส่วน
ที่เรียกว่า ดุมกาแล็กซี และตำแหน่งของระบบ
สุริยะอยู่ในบริเวณจานของกาแล็กซี

You might also like