You are on page 1of 9

ระบบน้ ้ ำในเครื่องพิมพ์ออฟเซ็ท (Damping System)

ระบบออฟเซ็ท แตกต่างจากระบบการพิมพ์อ่ ืนๆคื จะต้องมีน้าคอยจ่ายให้กับแม่พิมพ์


ตลอดเวลาในยุคแรกๆ ของระบบการพิมพ์ออฟเซ็ท ได้มีผ้พยายามปรับปรุงวิธีการ
ควบคุมระบบน้ ้ านี้อย่างมากมาย ผลที่ได้รบ
ั คือ
1. ระบบน้ ้ าแบบต่างๆ ได้รบ
ั การพัฒนาให้สามารถจ่ายน้ ้ าลงบนแม่พิมพ์ได้
สม้่าเสมอและปริมาณน้ อยที่สุด
2. มีการคิดส่วนผสมของน้ ้ ายาฟาวเทนที่เหมาะสมกับการพิมพ์ระบบออฟเซ็ทโดย
อาศัยส่วนผสมของสารเคมี เช่น กรด,เกลือ,อัลกอฮอล์และกัมอาราบิด เป็ นต้น

รูปที่ 1 ระบบน้ ้ ำแบบธรรมดำ


ระบบน้ ้ ำแบบธรรมดำ (Conventional damping units) เป็ นระบบน้ ้ าที่ใช้กันมา
นานหลายปี ประกอบด้วย ล้กฟาวเทน 1 ล้ก(1),ล้กคัตเตอร์ 1 ล้ก(2) ,ล้กส่ายน้ ้ า
1 ล้ก(3), และล้กน้ ้ าคลึงเพลท 1 หรือ 2 ล้ก (4 และ 5) ล้กคัตเตอร์ เป็ นล้กที่
ถ่ายทอดน้ ้ าทีได้รบ
ั มาจากล้กฟาวเทนส่งไปยังล้กส่ายน้ ้ า การส่งจ่ายน้ ้ าแต่ละ
จังหวะจะให้น้า แก่ ล้กส่ายน้ ้ าและล้กน้ ้ าคลึงเพลทในปริมาณที่เพียงพอส้าหรับ
ความต้องการของแม่พิมพ์ท่ีหมุน 1 รอบ ล้กคัตเตอร์และล้กน้ ้ าคลึงเพลทจะหุ้ม
ด้วยผ้า (พวก molleton หรือ sponge cloth) เพื่อเก็บน้ ้ าและถ่ายทอดต่อไปใน
ระหว่างการพิมพ์ ผ้าที่หุ้มล้กน้ ้ าเหล่านี้จะด้กซับหมึกพิมพ์และเพิ่มปริมาณขึ้น
เรื่อยๆ ฉะนั ้นจึงต้องท้าความสะอาดล้กน้ ้ าเหล่านี้อย่้เสมอ อีกทัง้ เส่นใยของผ้าหุ้ม
ล้กน้ ้ าจะหลุดออกไปบ้างและจะปรากฏให้เห็นบนงานพิมพ์ ซึ่งเรียกว่าฮิ
กกี้(Hickeys)
แรงที่กดบนล้กน้ ้ าอย่้อย่างต่อเนื่ องท้าให้ผ้าที่หุ้มล้กน้ ้ าส้ญเสียผิวหน้ าไป ซึ่ง
เป็ นเหตุให้ล้กน้ ้ าไม่สามารถรับน้ ้ าได้ดี และผ้าหุ้มที่มีผิวหน้ าหยาบจะปรากฏลาย
ผ้าให้เห็นบนภาพพิมพ์ แสดงว่า ควรจะเปลี่ยนผ้าหุ้มล้กน้ ้ าเสียใหม่
อุปกรณ์ต่างๆ มากมายถ้กประดิษฐ์ขึ้น เพื่อใช้ในการปรับปรุงการจ่ายน้ ้ าให้ดี
ขึ้นพอเหมาะกับปริมาณที่แม่พิมพ์ต้องการ เช่น ยาง ปาดน้ ้ า ล้กกลิง้ กวาดน้ ้ า และ
ท่อลมเป่ าน้ ้ า เป็ นต้น
เครื่องพิมพ์ส่วนใหญ่จะรักษาระดับของน้ ้ ายาฟาวเทนให้คงที่อย่้เสมอ ดังนั ้น
ล้กฟาวเทนจะจมอย่้ในน้ ้ ายาฟาวเทนตลอดเวลา บางครัง้ อาจจะมีเครื่องกรองติดตัง้
ไว้ในระบบน้ ้ าด้วย เพื่อช่วยกรองขจัดเอาสิ่งแปลกปลอมออกจากน้ ้ ายาฟาวเทน
ในขบวนวิธีแบบพลาสโอแดม (plast-O-damp method) จะใช้แผ่นหนั งพัน
รอบล้กน้ ้ าในระบบน้ ้ า 3 เอ็ม (3-M damping) จะใช้พลาสติกแทนผ้าหุ้มบน
ล้กน้ ้ าและเพลท
รูป 2 ระบบน้ ้ ำแบบอัลกอฮอลล์
ระบบน้ ้ าแบบอัลกอฮอลล์ (Alcohol damping) เป็ นระบบที่ธรรมดาที่สุดในการ
พิมพ์ท่ีไม่ได้หุ้มล้กน้ ้ าแตะเพลท มีการเปลี่ยนแปลงจากระบบน้ ้ าธรรมดา
(Conventional damping unit) ด้วยการถอดเอาล้กน้ ้ าแตะเพลทออก แล้วแทนที่
ด้วยล้กน้ ้ าที่ไม่ได้หุ้ม 1 ล้ก เรียก ล้กอัลกอฮอล์ (alcohol roller)(5) (ใช้ความแข็ง
20˚ shore hardness) แรงเสียดทานเป็ นสิ่งส้าคัญที่จะท้าให้ล้กหมุนอย่าง
สม้่าเสมอ แม้ในขณะที่เคลื่อนผ่านช่องว่างของโม (Cylinder gap) ในเครื่อง
ขนาดใหญ่จะหมุนล้กอักกอฮอล์ด้วยเฟื องและคลัชต์
ถ้าใช้ล้กน้ ้ าที่ไม่ได้หุ้มผ้าในการพิมพ์ หมึกพิมพ์จะเกาะติดบนล้กอัลกอฮอล์ จึง
ควรเติมไอโชโปรปิ วอัลกอฮอล์ 10%(isopropyl alcohol) ลงในน้ ้ ายาฟาวเทน
เพื่อลดความตึงของผิวน้ ้ า ท้าให้การจ่ายน้ ้ ากระท้าได้อย่างปกติ
ในระบบน้ ้ าแบบอัลกอฮอล์ สามารถควบคุมความสมดุลของหมึกกับน้ ้ า
(link/water balance) ได้ง่าย ท้าให้เกิดการส้ญเสียน้ อยชัน ้ ฟิ ลม์ของน้ ้ าบนเพลท
ก็บางกว่าเพราะความตึงผิวของน้ ้ าถ้กลดลงด้วยอัลกอฮอล์ ด้วยเหตุนี้จึงท้าให้พิมพ์
ภาพได้สีสดใส อีกทัง้ ขจัดขัน ้ ตอนการท้าความสะอาดและบ้ารุงรักษาผ้าที่หุ้มล้กน้ ้ า
ไม่มีเส้นใยจากผ้าล้กน้ ้ ามาเกาะติดบนเพลทหรือผ้ายาง
ถ้าล้กน้ ้ าที่ไม่ได้หุ้มผ้า จ่ายน้ ้ าแก่บริเวณภาพได้ไม่เพียงพอ เช่น ภาพพื้นตายใน
แม่พิมพ์สามารถแก้ไขได้ด้วยการติดตัง้ ล้กน้ ้ าอีกล้กที่หุ้มผ้า(4) เข้าไปในระบบน้ ้ า
แต่ปรับให้แตะสัมผัสกับล้กส่ายน้ ้ าแต่ไม่แตะกับเพลท
แต่จากการระเหยของอัลกอฮอล์จะท้าให้ความเข้นข้นของอัลกอฮอล์ในน้ ้ ายา
ฟาวเทนลดลง แต่อย่างไรก็ตามสามารถวัดปริมาณของอัลกอฮอล์ในน้ ้ ายาฟาวเทน
ได้แอริโอมิเตอร์(areometer)
รูป 3 ระบบน้ ้ ำแบบโรแลนด์ออโตแดมป์
ระบบน้ ้ าแบบโรแลนด์ออโตแดมป์ (The ROLAND Autodamp unit) เป็ น
ระบบน้ ้ าที่พัฒนามาจากระบบน้ ้ าที่ใช้อัลกอฮอล์ ช่างพิมพ์สามารถชดเชยน้ ้ ายาฟาวเท
นที่ระเหยไปในขณะหยุดพิมพ์ด้วยการปรับตัง้ ที่
ระบบควบคุมอัตโิ นมัติ (Automic system) ท้าให้สามารถควบคุมปริมาณความชื้นได้
ตลอดเวลา
รูป 4 ระบบน้ ้ ำแบบแปรงปั ด
ระบบน้ ้ ำแบบแปรงปั ด (Brush damping unit) ปริมาณของน้ ้ ายาฟาวเทนที่
จะถ้กพ่นจากล้กกลิง้ แปรง (1) ลงบนล้กโครเมี่ยม (3) ถ้กควบคุมด้วยล้กกลิง้ แปรง
และยางกดล้กกลิง้ แปรง (2)
ระบบน้ ้ ำหมึกรวมกัน (The Hydro-Color system) เป็ นระบบที่ใช้น้ายาฟาว
เทนผสมกับโรด้าฟล้อิด (ROTA-FLUID) แล้วถ้กถ่ายทอดโดยตรงลงบนระบบหมึก
โดยอาศัยล้กกลิง้ แยกกัน ระบบนี้ใช้ได้ผลในเครื่องพิมพ์
ออฟเซ็ทเล็ก แต่ไม่สามารถใช้งานได้ผลดีในเครื่องพิมพ์ออฟเซ็ทขนาดใหญ่
ระบบน้ ้ ำควบแน่ น (Condensation damping unit) ในทางปฏิบัตนิ ิ ยมใช้กบ

แท่นพิมพ์ปรู้ฟ (lithographic proof press) ซึ่งฐานที่รองรับแม่พิมพ์จะมีความเย็น
ขนาดที่ท้าให้อากาศรอบๆ เพลทเกิดการควบแน่ นเป็ นหยดน้ ้ า แล้วเกาะจับบนผิวหนั ง
ของแม่พิมพ์ และท้าหน้ าที่เป็ นน้ ้ าที่ให้ความชื้นแก่แม่พิมพ์
ร้ป 5 ระบบน้ ้ าแบบดัลเกรน

ระบบน้ ้ ำแบบดัลเกรน (The Dahlgren damping unit) ระบบนี้ใช้กันอย่างกว้าง


ขวางในสหรัฐอเมริกาเมื่อหลายปี มาแล้วประกอบด้วยล้กฟาวเทน 1 ล้ก(1) ซึ่งเคลือบ
ผิวหน้ าด้วยโครเมี่ยม และมีล้กกลิง้ ควบคุมปริมาณน้ ้ า 1 ล้ก(2)
น้ ้ ายาฟาวเทนจะถ้กถ่ายทอดลงบนเพลทด้วยล้กหมึกล้กแรก (3) ต้องมีอัลกอฮอล์
เป็ นส่วนผสมอย่้ด้วยไม่น้อยกว่า
25-30% เพื่อช่วยให้น้าถ้กถ่ายทอดลงบนเพลทโดยผ่านทางล้กหมึกคลึงเพลท (3)
ได้พร้อมๆกัน กับหมึกซึ่งถ่ายทอดผ่านมาทางล้กส่ายหมึก(4) ในระบบนี้ล้กหมึกคลึง
เพลทจะท้าหน้ าที่ 2 อย่างคือ รั บและถ่ายทอดหมึกไปพร้อมๆกันกับรับและถ่ายทอด
น้ ้ า อัลกอฮอล์ถ้าใช้ในปริมาณมากเกินไปจะท้าให้เกิดปั ญหามากเกินไปจะท้าให้เกิด
ปั ญหาเกี่ยวกับการเกิดภาพซ้อน (Ghosting)
รูป 6 ระบบน้ ้ ำโรแลนด์เมติก หน่ วยบน
รูป 7 ระบบน้ ้ ำโรแลนด์เมติก หน่ วยล่ำง

ระบบน้ ้ ำโรแลนด์เมติก (ROLAND-matic damping unit) ระบบน้ ้ าแบบนี้น้ายา


ฟาวเทนจะถ้กถ่ายทอดแยกจากหมึกพิมพ์ระบบน้ ้ าจะประกอบด้วยล้กฟาวเทน (1) ซึ่ง
หมุนด้วยแรงมอเตอร์อีกตัวหนึ่ ง และมีล้กกลิง้ ควบคุมน้ ้ า (2) อีกล้กอย่ใ้ นรางน้ ้ าด้วย
ท้าหน้ าที่คอยควบคุมปริมาณน้ ้ าที่เกาะบนล้กฟาวเทนให้เป็ นชัน ้ ฟิ ลม์บางๆ ก่อนที่จะ
ถ้กถ่ายทอดต่อไปยังล้กส่ายน้ ้ า (3) (เคลือบผิวหน้ าด้วยสแตนเลส) แล้วถ่ายทอดไป
ยังล้กน้ ้ าคลึงเพลทที่ไม่หุ้มผิว (4) ล้กน้ าคลึงเพลทกับล้กส่ายน้ ้ าจะหมุนด้วยล้อเฟื อง
ในอัตราเร็วเท่ากับความเร็วของแท่นพิมพ์ ส่วนหมึกที่มาเกาะสะสมบนล้กน้ ้ าคลึง
เพลทจะถ้กเกลี่ยให้สม้่าเสมอด้วยล้กเกลี่ยหมึก(5) ฉะนั ้นจึงไม่ปรากฏภาพ
ซ้อน(Ghosting)
ความก้าวหน้ าของระบบน้ ้ าโรแลนด์เมติก
เนื่ องจากโครงสร้างพิเศษของระบบน้ ้ าโรแลนด์เมติกท้าให้ใช้งานได้
ประสิทธิภาพส้ง แม้จะใช้ปริมาณ
ของไอโซโปรปิ วอัลกอฮอล์เพียว 8-12% และถ้าใช้อุณหภ้มิในระบบน้ ้ าให้ต้่าจะท้าให้
ใช้อล
ั กอฮอล์ในปริมาณลดลงได้
น้ ้ ายาฟาวเทนจะถ้กถ่ายทอดลงบนเพลทอย่างต่อเนื่ อง เพราะระบบนี้ไม่ใช้ล้ก
คัตเตอร์(Ductor roller) ปริมาณน้ ้ าที่จ่ายลงบนเพลทน้ อย ท้าให้การควบคุมความ
สมดุลของน้ ้ าและหมึกง่ายขึ้น และการปรับปริมาณน้ ้ าบนเพลท
ท้าได้รวดเร็ว อีกทัง้ ไม่ปรากฏล่องรอยของลายผ้าล้กน้ ้ าและไม่จ้าเป็ นต้องถอดล้กน้ ้ า
ออกไปล้าง ในกรณี ท่ีเปลี่ยนหมึกสีใหม่ ระบบน้ ้ าโรแลนด์เมติก สามารถล้างท้าความ
สะอาดไปพร้อมๆกันกับการล้างระบบหมึก
ร้ป 7 ระบบน้ ้ าโรแลนด์เมติก หน่ วยล่าง
ระบบน้ ้ าโรแลนด์เมติก (ROLAND-matic damping unit) ระบบน้ ้ าแบบนี้น้ายา
ฟาวเทนจะถ้กถ่ายทอดแยกจากหมึกพิมพ์ระบบน้ ้ าจะประกอบด้วยล้กฟาวเทน (1)

You might also like