You are on page 1of 191

BOBBYtutor Thai Note

สรุปภาษาไทย
1. โครงสรางของพยางค มีองคประกอบดังตอไปนี้ (เปลงเสียง 1 ครัง้ ก็คอื 1 พยางค)
1. พยัญชนะตน
2. สระ ทุกพยางคจําเปนตองมีเสมอ!
3. วรรณยุกต
4. พยัญชนะทาย (ตัวสะกด) บางพยางคไมจําเปนตองมีก็ได
จากจุดนี้ จึงเปนตัวตัดสินวาโครงสรางพยางคของใครเหมือน/ตางเปนอันดับแรก
2. โครงสรางของแตละพยางค ตองมีทง้ั รูป และ เสียง
1. พยัญชนะตน รูป 44 เสียง 21
2. สระ รูป 21 เสียง 21
3. วรรณยุกต รูป 4 เสียง 5
4. พยัญชนะทาย รูป 37 เสียง 8
3. ใหเด็กๆ ถอดพยางค "ทรุด"
1. พยัญชนะตน รูป ทร เสียง /ซ/
2. สระ รูป ตีนเหยียด เสียง อุ (สั้น)
3. วรรณยุกต รูป -(สามัญ) เสียง ตรี
4. พยัญชนะทาย รูป ด เสียง /ต/
4. ใหเด็กๆ ถอดพยางค "หมอบ"
1. พยัญชนะตน รูป หม เสียง /ม/
2. สระ รูป ตัวออ เสียง ออ (ยาว)
3. วรรณยุกต รูป - (สามัญ) เสียง เอก
4. พยัญชนะทาย รูป บ เสียง /ป/
BOBBYtutor Thai Note

5. พยัญชนะตน มี 44 รูป (ก ถึง ฮ) แบงเปนอักษร 3 หมู เรียกวา อักษรไตรยางศ


อักษรกลาง ทองวา ไก จิก เด็ก ตาย บน ปาก อาว
อักษรสูง ทองวา ผัว ฝาก ถุง ขาว สาร ให ฉัน
อักษรตําคู่  ทองวา พอ คา ฟน ทอง ซือ้ ชาง ฮอ
อักษรตําเดี่ ่ยว ทองวา งู ใหญ นอน อยู ณ ริม วัด โม ฬี โลก
* ทีเ่ รียกวา ตํ่าคู เพราะมีเสียงคูก บั อักษรสูง แมวา หนาตาจะไมเหมือนกัน
6. พยัญชนะตนมี 21 เสียง จากตัวรูป 44 รูป เหลือ 21 เสียง เพราะบางรูปมีเสียงซํ้ากัน
1. รูปพยัญชนะ ก จะเปนเสียง /ก/
2. รูปพยัญชนะ ข ฃ ค ฅ ฆ จะเปนเสียง /ค/ = /ข/ /ฃ/ /ฅ/ /ฆ/
3. รูปพยัญชนะ ง จะเปนเสียง /ง/
4. รูปพยัญชนะ จ จะเปนเสียง /จ/
5. รูปพยัญชนะ ช ฌ ฉ จะเปนเสียง /ช/
6. รูปพยัญชนะ ซ ส ศ ษ จะเปนเสียง /ซ/
7. รูปพยัญชนะ ย ญ จะเปนเสียง /ย/
8. รูปพยัญชนะ ด ฎ ฑ จะเปนเสียง /ด/ *ระวัง เสียงนีใ้ นพยัญชนะทายไมมแี ลว แมกด = /ต/
9. รูปพยัญชนะ ต ฏ จะเปนเสียง /ต/
10. รูปพยัญชนะ ท ถ ธ ฑ ฒ ฐ จะเปนเสียง /ท/
11. รูปพยัญชนะ น ณ จะเปนเสียง /น/
12. รูปพยัญชนะ บ จะเปนเสียง /บ/ *ระวัง เสียงนีใ้ นพยัญชนะทายไมมแี ลว แมกบ = /ป/
13. รูปพยัญชนะ ป จะเปนเสียง /ป/
14. รูปพยัญชนะ พ ผ ภ จะเปนเสียง /พ/
15. รูปพยัญชนะ ฟ ฝ จะเปนเสียง /ฟ/
16. รูปพยัญชนะ ม จะเปนเสียง /ม/
17. รูปพยัญชนะ ร (ฤ) จะเปนเสียง /ร/
18. รูปพยัญชนะ ล ฬ (ฦ) จะเปนเสียง /ล/
19. รูปพยัญชนะ ว จะเปนเสียง /ว/
20. รูปพยัญชนะ อ จะเปนเสียง /อ/
21. รูปพยัญชนะ ฮ ห จะเปนเสียง /ฮ/
7. เสียงพยัญชนะตนควบกลํ้า (เสียงพยัญชนะประสม, เสียงพยัญชนะตน 2 หนวยเสียง)
ทองวา กอนคํ่าไปพบเตีย่ (ก ค ป พ ต) คูณดวย ร ล ว
กร คร ปร พร ตร
กล คล ปล พล ? ทัง้ หมด 11 เสียง เปนของไทย
กว คว ? ? ?
หมายเหตุ คร = ขร คล = ขล คว = ขว พล = ผล
หมายเหตุ เสียงควบกลํ้าทีม่ าจากภาษาอังกฤษ /ดร/ /ฟร/ /ฟล/ /บร/ /บล/
BOBBYtutor Thai Note

8. เสียงพยัญชนะตนควบกลํ้าไมแท มี 2 Version
8.1 ไมออกเสียง ร คือ ตัวหนาออกเสียง (ร ไมออกเสียง) จริง ไซร ศรี สรอย สราง สระ
8.2 "ทร" เปลีย่ นเสียงเปน ซ
ทรวดทรงทราบทรามทราย ทรุดโทรมหมายนกอินทรี
มัทรีอนิ ทรียม ี เทริดนนทรีพทุ ราเพรา
ทรวงไทรทรัพยแทรกวัด โทรมนัสฉะเชิงเทรา
ตัว "ทร" เหลานีเ้ รา ออกสําเนียงเปนเสียง "ซ"
แต "ทร" ควบกลํ้าแทกม็ ี แตมาจากภาษาสันสกฤต จันทรา นิทรา อินทรา ภัทรา อินทรวิเชียรฉันท
9. อักษรนํา มี 2 Version (เอกลักษณอกั ษรนํา เวลาอานจะมีเสียง "ห" นํา)
9.1 อาน 2 พยางค ทองวา สูงหรือกลาง นําหนา ตําเดี ่ ่ยว ใชสระตัวเดียวกัน (ทัง้ คํามีสระ 1 ตัว)
พยางคหนาออกเสียง "อะ" พยางคหลังออกเสียง "ห" นํา
ผงก สนิม สยาย ตลาด ขนม สมัน
9.2 อาน 1 พยางค ทองวา "ห" นําตําเดี ่ ่ยว หรือ "อ" นํา "ย"
หนอน หมอน หนอย อยา อยู อยาง อยาก
10. ภาษาไทยเรามีรปู พยัญชนะบางรูปไมออกเสียง เชน องค พรหม ปรารถนา สามารถ พุทธ พราหมณ เนตร
จักร หลาก หมา สรวล สรวง เสร็จ โทรม ทราบ หนอน สรอย ทรง ลักษณ ลักษมณ ฯลฯ
11. สระ มี 21 รูป 21 เสียง
1. วิสรรชนีย ะ
2. ลากขาง า
3. พินทุอ ิ 
4. หยาดนํ้าคาง 
5. ตีนเหยียด 
6. ตนคู 
7. ไมหนา เ
8. ไมโอ โ
9. ไมมลาย ไ
10. ไมมว น ใ
11. ฝนทอง ’
12.! ฟนหนู "
13. ไมไตคู  คําวา "ก็" เสียงสระเอาะ
14. ไมหนั อากาศ 
15. ตัวรึ ฤ ยืมมาจาก สันสกฤต
16. ตัวรือ ฤๅ ยืมมาจาก สันสกฤต
17. ตัวลึ ฦ ยืมมาจาก สันสกฤต
18. ตังลือ ฦๅ ยืมมาจาก สันสกฤต
19. ตัวออ อ เปนสระ ก็ไดแฮะ!
20. ตัววอ ว เปนสระ ก็ไดแฮะ!
21. ตัวยอ ย เปนสระ ก็ไดแฮะ!
BOBBYtutor Thai Note

12. เสียงสระ มี 21 เสียง มี 2 Version


1. สระเดีย่ ว (สระแท) 18 เสียง อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ = คูส ระ
2. สระประสม (สระเลือ่ น) 3 เสียง เอีย อัว เอือ ทองวา เมียกลัวเรือ
สระประสมตัวมันเองจะไมมตี วั สะกด แตถา ตองการเติมสามารถทําไดภายหลัง
ลาย เมีย เมียง
ลาว กลัว กลวย
อาว เรือ เรือน
13. 8 พยางคทอง อํา ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ = ไมใชสระเกิน
อํา = อ + อะ + ม
ไอ = อ + อะ + ย
เปนพยางคทม่ี ีตัวสะกดแมจะมองไมเห็น
ใอ = อ + อะ + ย
เอา = อ + อะ + ว
ฤ = ร + อึ
ฤๅ = ร + อื
เปนพยางคทไ่ี มมตี วั สะกด
ฦ = ล + อึ
ฦๅ = ล + อื
14. ระวังมีหลักอยูข อ หนึง่ คือ ภาษาไทยสามารถออกเสียงสระไมตรงกับรูป คือ ปกติรปู ยาวออกเสียงยาว รูปสัน้
ออกเสียงสัน้ แตบางคําออกเสียงไมตรงกับรูป
หลักการทําขอสอบ คือ ออกเสียงคูส ระของมัน วาตรงกับชีวติ จริง ?
วาว รูปยาว แตออกเสียง สั้น (อะ)
อิเหนา รูปสัน้ แตออกเสียง ยาว (อี)
คลินกิ รูปสัน้ แตออกเสียง ยาว (อี)
คอมพิวเตอร รูปยาว แตออกเสียง สั้น (เอาะ)
15. รูปสระบางรูปไมออกเสียง เชน ยาธาตุ นั่งขัดสมาธิ พยาธิ ญาติ ประวัติ เมรุ มาตุ ฯลฯ
16. สระลดรูป คือ มองไมเห็นรูปสระเดิม หรืออาจเปลีย่ นรูปเปนสระอืน่ ได เพราะมันมีตวั สะกด เชน กัน ศร เปน ชน
เชิง เลย สงน ฯลฯ
17. เปลีย่ นเสียงคูส ระสัน้ -ยาว จะมีผลตอความหมาย
วัด → วาด
จิน → จีน
แกะ → แก
เกาะ → กอ
18. วรรณยุกต มี 4 รูป 5 เสียง (สามัญไมมรี ปู ใหเห็น)
หลักการนับเสียงวรรณยุกต 1. ออกเสียงคํานัน้ จากชีวติ จริงกอน
2. นับนิว้
19. วรรณยุกตตา งกัน ความหมายจะตางกัน เชน เสือ เสื่อ เสื้อ
BOBBYtutor Thai Note

20. วรรณยุกตมกี ารออกเสียงไมตรงกับรูปก็ได


ขีร้ ิ้ว รูปโท แตเสียง ตรี
ทาน รูปเอก แตเสียง โท
21. พยัญชนะทาย มีรูป 37 รูป มี 8 เสียง (8 แม 8 มาตรา)
ตัวอักษรทีใ่ ชเปนตัวสะกดไมไดมี ผัว ฝาก เฌอ เอม ให ฉัน ฮา
1. แมกก = เสียง /ก/ ใชรปู สะกด คือ ก ข ค ฆ
2. แมกบ = เสียง /ป/ ใชรปู สะกด คือ บ ป พ ภ ฟ
3. แมกด = เสียง /ต/ ใชรปู สะกด คือ ด ต จ ช ฎ ฏ ฐ ฒ ส ศ ษ ถ ท ธ ซ ฑ
4. แมกม = เสียง /ม/ ใชรปู สะกด คือ ม
5. แมกน = เสียง /น/ ใชรปู สะกด คือ น ณ ญ ร ล ฬ
6. แมกง = เสียง /ง/ ใชรปู สะกด คือ ง
7. แมเกย = เสียง /ย/ ใชรปู สะกด คือ ย
8. แมเกอว = เสียง /ว/ ใชรปู สะกด คือ ว
22. พยางคปด คือ พยางคท่มี เี สียงตัวสะกด อํา ไอ ใอ เอา เชน กิน จิบ จํา ฯลฯ
พยางคเปด คือ พยางคท่ไี มมเี สียงตัวสะกด เอีย อัว เอือ เชน ดุ ปู เมีย ฯลฯ
23. คําโสด : คํามูล (พยางคเดียวหรือหลายพยางคกไ็ ด แตแยกจากกันไมไดแลว)
คําแตงงาน : ประสม ซอน ซํ้า สมาส สนธิ
24. คํามูล : ขาว อวน ไกล เพ็ญ โชว ขมิ้น ดิฉัน บะหมี่ เสวย ขจี สวรรคต ฯลฯ
25. คําประสม : เกิดจากคํามูล 2 คําขึน้ ไปมารวมกันแลวเกิดความหมายใหม แตตอ งมีเคาความหมายเดิม ใชเรียก
สิง่ ใหม คํามูล 2 คํานั้นหามเหมือน คลาย ตรงขาม มิฉะนัน้ จะกลายเปน ซอนหมาย (คําประสม เชน นาม กริยา
หรือวิเศษณกไ็ ด)
บานพัก เรือดวน ขายตัว
บานเรือน เรือแพ ซื้อขาย
1. N + N = N. เชน รถไฟ นํ้าปลา ฯลฯ
2. N + V. = N. เชน หมอดู เหล็กดัด ฯลฯ
3. N + adj = N. เชน มดแดง กลองดํา ฯลฯ
4. N + Prep = N. เชน คนกลาง ความหลัง ฯลฯ
5. V. + V. = N. เชน หอหมก กันสาด ฯลฯ
6. V. + N = N. เชน เรียงความ พัดลม ฯลฯ
7. N + V. + N = N. เชน ชางเย็บผา คนขายตั๋ว ฯลฯ
8. V. + V. = V. เชน เดินเลน ติดตัง้ ฯลฯ
9. V. + N = V. เชน ยกราง เดินสาย ฯลฯ
10. V. + adj = V. เชน อวดดี คิดคด ฯลฯ
11. N + V. = V. เชน หัวหมุน ใจแตก ฯลฯ
12. adj + N = V. เชน ดีใจ ออนใจ ฯลฯ
13. N + adj = adj. เชน ใจเย็น หัวสูง ฯลฯ
คําประสมสามารถแปลไมตรงตัว แปลเปรียบเทียบได เชน แมวมอง ปากฉลาม ตีนแมว ฯลฯ
BOBBYtutor Thai Note

26. คําซอน มี 2 Version


1. ซอนเพือ่ ความหมาย มีไวขยายความ (คํา 2 คําทีม่ าวางซอนตองมีความหมายทัง้ คู คือ เหมือน คลาย ตรงขาม)
2. ซอนเพือ่ เสียง มีไวไพเราะ (คํา 2 คําทีม่ าวางซอนกันตองมีเสียงพยัญชนะตนเสียงเดียวกัน แตจะมี 1 คํา ไมให
ความหมายหรืออาจไมใหความหมายของ 2 คําเลย)
คําซอนเพื่อความหมาย เชน บานเรือน เล็กนอย ซื้อขาย ฯลฯ
คําซอนเพือ่ เสียง เชน ดีเด มองเมิง โลเล ฯลฯ
* คําซอนเพือ่ ความหมาย ความหมายหลักบางครัง้ อยูท คี่ าหน
ํ าหรือหลังก็ได เชน ใจคอ นําหู
้ นาตา
ํ้ หนาตา หูตา ปากคอ
ฯลฯ
ตารางความแตกตางระหวางคําประสมกับคําซอน
คําประสม คําซอน
1. ใชเรียกสิง่ ใหม 1. ไมไดเรียกสิง่ ใหม
2. หามเหมือน คลาย ตรงขาม 2. ตอง เหมือน คลาย ตรงขาม
3. นํ้าหนักอยูท ค่ี ําตน 3. นํ้าหนักเทากัน ไมมีใครเดนกวาใคร
4. แปลเปรียบเทียบได 4. แปลเปรียบเทียบไมได
27. คําซํ้า ตองมี ๆ ใหเห็น เพราะขี้เกียจเขียน 2 ครั้ง เชน เด็กๆ เพื่อนๆ ดังๆ ฯลฯ แตจะเขียนใช ๆ ได จะตองมี
ลักษณะ 3 ประการใหครบตอไปนี้
1. คําเขียนเหมือนกัน
2. ความหมายเหมือนกัน
3. หนาทีข่ องคําเหมือนกัน
* คําตอไปนีต้ อ งเปนคําซํ้าเสมอ เชน ฝนตกหยิมๆ พยักหนาหงึกๆ พูดฉอดๆ ไดมาเหนาะๆ
ความหมายทีเ่ กิดจากการซํ้าคํา
1. บอกพหูพจน : เพื่อนๆ นองๆ ปๆ ตูๆ ฯลฯ
2. เนนความหมาย : ซวยสวย เดกเด็ก ดี๊ดี ฯลฯ
3. ไมเจาะจง : เชาๆ เย็นๆ หลังๆ แถวๆ ฯลฯ
4. แยกเปนสวน : คนๆ เรือ่ งๆ หองๆ อยางๆ ฯลฯ
5. เปลีย่ นความหมายจากเดิม : หยกๆ พืน้ ๆ ลวกๆ หมูๆ งูๆ ปลาๆ ฯลฯ
6. บอกความไมตง้ั ใจ : สงๆ เขียนๆ ชอบๆ ฯลฯ
7. ทํากริยานัน้ ไปเรือ่ ยๆ : มองๆ นัง่ ๆ เดินๆ ฯลฯ
8. บอกลักษณะ : หลอๆ อวบๆ ดําๆ สูงๆ ฯลฯ
28. คําสมาส มี 2 Version (ตองเปนภาษาอินเดีย คือ บาลี-สันสกฤต เพราะเปนหลักสูตรของอินเดีย)
28.1 สมาสแบบสมาส ทีพ่ ดู ติดปากวา คําสมาส (ชน)
28.2 สมาสแบบสนธิ ทีพ่ ดู ติดปากวา คําสนธิ (เชื่อม) คือ สมาสแบบกลมกลืนเสียง
* ระวัง ตอไปนีไ้ มใชคําสมาส เพราะมีภาษาไทยแท ภาษาเขมร ภาษาอังกฤษ เขามาปน
พลเมือง ผลไม คุณคา ทุนทรัพย ราชวัง ราชดําเนิน พลความ พลเรือน พระพุทธเจา ตรัสรู สรรพสิง่
มูลคา ชํานาญการ เคมีภัณฑ ภูมลิ ําเนา เครือ่ งจักร บายศรี กลเม็ด กลมทา เมรุมาศ กระยาสารท
BOBBYtutor Thai Note

สมาส สนธิ
ชน เชื่อม
แยกงาย แยกยาก
แยกงาย : มองเห็นศัพทรปู เดิมเปนคําๆ เต็มๆ ไมเปลีย่ นแปลง
แยกยาก : มองไมเห็นศัพทรปู เดิมแตแยกแลว 99% คําหลังขึน้ ตนดวย "อ"
28.1 คําสมาสแบบสมาส มีสตู รงายๆ 2 ขอ (ความหมายหลักจะอยูห ลัง เวลาแปลจะ แปลจากขางหลังไปหนา)
1. ลางใหสะอาด คือ ลาง  และ ะ ของคําหนาทิ้ง
2. ทากาว คือ ตรงรอยตอของ 2 คําใหออกเสียง "อะ"
ศิลปะ + ศาสตร = ศิลปศาสตร
สวัสดิ์ + ภาพ = สวัสดิภาพ
สิทธิ์ + บัตร = สิทธิบตั ร
ภูมิ + ศาสตร = ภูมศิ าสตร
ชาติ + ภูมิ = ชาติภมู ิ
ญาติ + เภท = ญาติเภท
อุบตั ิ + เหตุ = อุบตั เิ หตุ
วีระ + บุรษุ = วีรบุรษุ
ระวัง! เจอคําเหลานีล้ งทายจะเปนสมาสแบบสมาส
"กิจ การ กรรม กร ศึกษา ภัย สถาน ภาพ วิทยา ศิลป ธรรม ศาสตร"
แต ศิลปากร = ศิลป + อากร
ศุลกากร = ศุลก + อากร
คุณากร = คุณ + อากร สนธิ
ประชากร = ประชา + อากร
สรรพากร = สรรพ + อากร
28.2 สมาสแบบสนธิ จะดูแยกออกจากกันแยกยาก แตเวลาแยกแลว คําหลังขึน้ ตนดวย "อ" (แยกยาก คือ
มองไมเห็นศัพทรปู เดิมเปนตัวๆ) สนธิ มี 3 Version
1. สระสนธิ เอาสระกับสระมาเจอกัน
อะอา + อะอา = อา สุข + อภิบาล = สุขาภิบาล
อะอา + อิอี = อีเอ (อิ อี เอ) นร + อิศวร = นเรศวร
อะอา + อุอู = อุอูโอว (อุ อู โอ) นย + อุบาย = นโยบาย
อะอา + เอไอโอเอา = เอไอโอเอา ราช + ไอศูรย = ราไชศูรย
อิอี + อิ = อิ โกสี + อินทร = โกสินทร
อุอู + อุอู = อุอู ครู + อุปกรณ = ครุปกรณ
BOBBYtutor Thai Note

2. พยัญชนะสนธิ เอาพยัญชนะกับพยัญชนะมาเจอกัน (หลักการ คือ 1. เปลีย่ น ส. เปน โ 2. ลบ ส. ทิง้ )


มนสฺ + ภาพ = มโนภาพ
มนสฺ + รถ = มโนรถ
สรชฺ + ช = สโรช
ศิรสฺ + เพฐน = ศิโรเพฐน
เตชสฺ + ชัย = เตโชชัย
นิรสฺ + ภัย = นิรภัย
อาตมนฺ + ภาพ = อาตมภาพ
พรหมนฺ + ชาติ = พรหมชาติ
รหสฺ + ฐาน = รโหฐาน
เตชสฺ + ธาตุ = เตโชธาตุ
นิรสฺ + ทุกข = นิรทุกข
ทุรสฺ + ชน = ทุรชน
ทรสฺ + พล = ทุรพล
ยสสฺ + ธร = ยโสธร
สระ
3. นฤคหิตสนธิ คือ สํ + พยัญชนะวรรค
เศษวรรค
สํ เจอสระ ใหสระผม
สํ + อาคม = สมาคม
สํ + อาทาน = สมาทาน
สํ + อุทยั = สมุทยั
สํ + โอสร = สโมสร
สํ + อาส = สมาส
สํ + อิทธิ = สมิทธิ
สํ เจอพยัญชนะวรรค ใหเปลีย่ นเปนตัวสุดทายของวรรคนัน้
ก ข ค ฆ ง สํ + คม = สังคม
จ ฉ ช ฌ ญ สํ + จร = สัญจร
ฏ ฐ ฑ ฒ ณ สํ + ฐาน = สัณฐาน *เปนภาษาบาลี-สันสกฤต
ต ถ ท ธ น สํ + ธาน = สันธาน
ป ผ พ ภ ม สํ + ผัส = สัมผัส
เศษวรรค : วิรฬุ หยลสํ
สํ เจอเศษวรรค ใหทง้ิ
สํ + โยค = สังโยค
สํ + หรณ = สังหรณ
สํ + วร = สังวร
สํ + วาส = สังวาส
สํ + สันทน = สังสันทน
BOBBYtutor Thai Note

29. คําเปนคําตาย ทองสูตร คือ ดูตวั สะกดอันดับแรก


คําตาย = เจอแม กบด มันก็ตาย จํา : ใครกบฏมันตองตาย เชน โรค ภาพ มรกต ฯลฯ
= ถาไมมตี วั สะกดคอยดูสระเสียงสัน้ จํา : อายุสน้ั มันก็ตาย เชน นะ ดุ ทิ ฯลฯ
คําเปน = เจอแม มนงยว เพราะยังมีชวี ติ เปนๆ เธอเปนสาวชาวพมา เชน สม ชาง ฯลฯ
= ถาไมมตี วั สะกดคอยดูทส่ี ระเสียงยาว เพราะชีวติ ยืนยาวก็เปนๆ เชน ตา ดู ปู ฯลฯ
30. คําครุ คําลหุ ทองสูตร คือ ดูตวั สะกดกอนอันดับแรก
คําครุ : พยางคทม่ี เี สียงหนัก วิธกี ารจําดูจาก ค.
: เจอตัวสะกดทุกแมเปนครุ หมด เชน โรค ภาพ มรกต สม ชาง ฯลฯ
: ถาไมเจอตัวสะกดก็ดทู ส่ี ระเสียงยาว ยิง่ ยาวยิง่ หนัก เชน ชูใจ มานี ฯลฯ
คําลหุ : พยางคทม่ี เี สียงเบา วิธกี ารจําดูจาก ล. เธอเกิดมาอาภัพ
: หามมีตวั สะกดและตองเจอสระเสียงสัน้ เทานัน้ เชน บ ธ ณ ก็ เงอะงะ เกะกะ เอะอะ ฯลฯ
* อํา ไอ ใอ เอา เปนครุ เพราะ มีตวั สะกด
31. คําไทยแท
1. 99% ไทยแทจะมีพยางคเดียว เชน กิน นอน ฉัน ขา ดิน นํ้า บน ใน ฯลฯ
2. 1% จะมี 2 พยางค
จะมาจากการกรอนเสียง (ตัดเสียง) เชน หมากพราว → มะพราว ตัวขาบ → ตะขาบ ฯลฯ
จะมาจากการเพิม่ เสียง เชน หนึง่ → ประหนึง่ โดด → กระโดด ทวง → ประทวง ฯลฯ
3. ไทยแทสะกดตรงตามมาตรา เชน รัก คับ รัด วัง เรือน ผม หาย ผิว ฯลฯ แตบางครัง้ สะกดตรงตามมาตรา
ก็ไมใชไทยแท
ระวัง! โลก กาย ยาน พน ชน ราม ธน มน กนก วัย ชัย อภัย อาลัย → มาจาก บาลี-สันสกฤต
ระวัง! จมูก เดิน ตะบันหมาก ทะเลสาบ ละออง บายศรี เลอโฉม ปลนสะดม โงเขลา โปรด → มาจาก เขมร
4. ไทยแทไมมกี ารันต ยกเวน ผี้ว มาห เยียร = ไทยแท
5. ไทยแทมวี รรณยุกตได แตภาษาอืน่ ไมมวี รรณยุกต
6. ไทยแทไมนยิ มตัวอักษรหยักๆ หัวแตกๆ หางยาวๆ เชน ฆ ณ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ธ ศ ษ ยกเวนบางคําเปน
ไทยแท คือ หญิง หญา ใหญ ระฆัง ฆา เฆี่ยน เศิก ศอก ศึก ธ เธอ ณ ฯลฯ
32. คําบาลี-สันสกฤต
บาลีมสี ระ 8 ตัว = อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
สันสกฤตมีสระ 14 ตัว = อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ เพิม่ ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
บาลีมพี ยัญชนะ 33 ตัว = 5 วรรคๆ 5 ตัว = 25 + เศษวรรค 8 = 33
สันสกฤตมีพยัญชนะ 35 ตัว = เหมือนบาลีทกุ ตัว เพิม่ พิเศษอีก 2 = ศ ษ
คําสันสกฤต ทองสูตร หระนะควบหันเคราะหกด
1. หระ คือ ประสมสระ ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ เปนสันสกฤต เชน ไมตรี เยาวชน ฤดู ฯลฯ
2. นะ คือ ประสมพยัญชนะ ศ ษ เปนสันสกฤต เชน ศาสนา รัศมี ศึกษา มนุษย ฯลฯ
3. ควบ คือ ควบกลํ้า เปนสันสกฤต จะควบกลําศั ้ พทหรูเลิศ เชน ปราชญ จักร อินทร ประทีบ ฯลฯ
4. หัน คือ รร เปนสันสกฤต เชน ธรรม จรรยา สวรรค อุปสรรค ฯลฯ
5. เคราะห คือ มีคาว
ํ า "เคราะห" เปนสันสกฤต เชน อนุเคราะห สังเคราะห วิเคราะห ฯลฯ
6. กด คือ ตัวสะกด ตัวตาม นอกเหนือกฎเกณฑของบาลี ยกใหเปนสันสกฤต เชน อัคนี มุกดา รักษา วิทยา
สัตว มนัส อาชญา ฯลฯ
BOBBYtutor Thai Note

คําบาลี ตองมีตวั สะกด ตัวตามอยูบ รรทัดเดียวกัน


1. ทองวา 1 สะกด 1, 2 ตาม เชน สักกะ จักขุ สัจจะ มัจฉา รัฏฐ อัฏฐิ ทิฏฐิ อัตตา วัตถุ บุปผา กิจจ จิตต นิจจ
เขตต ฯลฯ
2. ทองวา 3 สะกด 3, 4 ตาม เชน อัคคี พยัคฆ วิชชา อัชฌาสัย วัฑฒนะ สิทธิ อัพภาส เวชช ฯลฯ
3. ทองวา 5 สะกด 1, 2, 3, 4, 5 ตาม เชน กังขา สัญญา วันทนา องค สันติ บิณฑบาต คัมภีร การุญญ
หิรญั ญ อรัญญ สามัญญ ธัญญ เบญจ บุญญ ฯลฯ
4. เศษวรรคสะกด แลวเศษวรรคตาม เชน ภัสสร ปสสาวะ วัลลภ มัลลิกา นิสสัย นิสสิต ฯลฯ
33. คําเขมร
1. คนเขมรชอบสะสม จาน หญิง ลิง เรือ เสือ = สะกดดวย จ ญ ล ร ส
2. คนเขมรชอบควบ = ควบกลํ้า (คํางายๆ ธรรมดาๆ)
3. คนเขมรชอบนํา = อักษรนํา
4. คนเขมรชอบอํา = ขึ้นตนดวย "กํา คํา จํา ชํา ดํา ตํา ทํา สํา อํา"
5. คนเขมรชอบระบํา = บํา บัง บัน บรร
1. อํานาจ เสร็จ เสด็จ เพ็ญ สราญ เจริญ ถกล จรัล กํานัล กําธร อร ขจร จํารัส ตรัส ฯลฯ
2. กรวด กระบือ ขลาด เกลอ โปรด ประชุม ประเดิม คลัง กรม เพลา โขลน ไพร ปรุง เพลิง ฯลฯ
3. ขยม เขมา สนอง เสวย เขนย จมูก ถวาย ฉนํา ขนุน ขยํา ขนม จรวด สนิม ฯลฯ
4. กําเนิด จําแนก จําหนาย ชํานาญ ชํารุด ดําเนิน ดําริ ดํารัส ตํารา กําจัด อํานวย ฯลฯ
5. บําเพ็ญ บํานาญ บําบัด บังควร บังอาจ บังคม บันเทิง บันดาล บรรทุก บรรจุ บรรจง ฯลฯ
34. ราชาศัพท จํา 3 อยางตอไปนีใ้ หดๆี
1. ลําดับชัน้ พระราชวงศไทย โดยมี 5 ชั้น (5 level)
2. จําคํานาม ทําใหเปน คํานามราชาศัพท
3. จําคํากริยา ทําใหเปน คํากริยาราชาศัพท
ชัน้ ที่ 1 พระบรม/พระบรมราช
ชัน้ ที่ 2 พระราช * เปนคํานาม
ชัน้ ที่ 3-4-5 พระ
* คํากริยา เจออะไรเอา "ทรง" ขึน้ ตนใหหมด แตเวนอยางเดียวทีท่ รงขึน้ ตนนําหนาไมได คือ คํานั้นเปนกริยา
ราชาศัพทอยูแ ลว
35. ราชวงศ 5 ชั้น
ชัน้ ที่ 1 (พระบาทสมเด็จ ....................)
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั
ชัน้ ที่ 2 (สมเด็จพระบรม ....................)
สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถ
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
BOBBYtutor Thai Note

ชัน้ ที่ 3 (สมเด็จเจาฟา ....................)


สมเด็จพระเจาภคินเี ธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิรโิ สภาพรรณวดี
สมเด็จพระเจาพี่นางเธอเจาฟากัลยาณิวฒ ั นากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร
สมเด็จพระเจาลูกเธอเจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี
ชัน้ ที่ 4 (พระองคเจา ....................)
พระเจาวรวงศเธอพระองคเจาโสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ
พระเจาหลานเธอ พระองคเจาพัชรกิตยิ าภา
* สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก
(สมเด็จวัดอื่นๆ จะใชราชาศัพท ไมได)
ชัน้ ที่ 5 (หมอมเจา ....................)
หมอมเจาสิรวิ ณ
ั วรี มหิดล
ม.ร.ว. ม.ล. ไมใชราชาศัพท
36. การทําคํานามใหเปน คํานามราชาศัพท
1. ใชพระบรมหรือพระบรมราช นําหนาคํานามสําคัญมากๆ ของในหลวงพระองคเดียว เชน พระบรมมหาราชวัง
พระบรมราชินี พระบรมโอรสาธิราช พระสยามบรมราชกุมารี
* พระปรมาภิไธย (พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดีจกั รีนฤบดินทร
สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร)
พระบรมนามาภิไธย (ชั้น 2 ใช พระนามาภิไธย)
* พระบรมราชโองการ (ชั้น 2 ใช พระราชโองการ) แตสมเด็จพระนางเจาฯ ใช พระราชเสาวณีย
พระบรมราโชวาท (ชั้น 2 ใช พระราโชวาท)
พระบรมราโชบาย (ชั้น 2 ใช พระราโชบาย)
* พระบรมราชูปถัมภ (ชั้น 2 ใช พระราชูปถัมภ) แตสมเด็จพระนางเจาฯ ใช พระบรมราชินปู ถัมภ
พระบรมราชวินจิ ฉัย (ชั้น 2 ใช พระราชวินจิ ฉัย)
พระบรมราชวโรกาส (ชั้น 2 ใช พระราชวโรกาส)
พระบรมราชานุเคราะห (ชั้น 2 ใช พระราชานุเคราะห)
พระบรมเดชานุภาพ (ชั้น 2 ใช พระเดชานุภาพ)
2. "พระราช" ใชนาหน ํ าทัว่ ๆ ไปของในหลวง และคํานามสําคัญของราชวงศลําดับ 2 เชน
1. พระราชหฤทัย 4. พระราชดําริ
2. พระราชประวัติ 5. พระราชประสงค
3. พระราชกุศล 6. พระราชนิพนธ
(ไหนนักเรียนลองถอดคําศัพทขา งตนใหราชวงศ ลําดับ 3-4-5 จะใชวา อยางไร)
1. พระหฤทัย 4. พระดําริ
2. พระประวัติ 5. พระประสงค
3. พระกุศล 6. พระนิพนธ
BOBBYtutor Thai Note

3. "พระ" นําหนานามธรรมดาขั้นพื้นฐาน ชั้น 1-5 ใชไดหมด เชน พระเกาอี้ พระสุพรรณราช พระตําหนัก


พระบาท พระหัตถ พระนาสิก ฯลฯ
4. คําราชาศัพทบางคําไมนิยมใช "พระ" จะใช หลวง, ตน แทน เชน ชางหลวง เรือนหลวง ชางตน เรือตน
เรือนตน เครือ่ งตน ฯลฯ
37. การทํากริยา ทําใหเปน กริยาราชาศัพท
1. ทรง + กริยาธรรมดา กริยาราชาศัพท เชน ทรงเปลีย่ น ทรงเจิม ทรงวิง่ ทรงฟง ฯลฯ
2. ทรง + นามธรรมดา กริยาราชาศัพท เชน ทรงกีตาร ทรงมา ทรงสกี ฯลฯ
3. ทรง + นามราชาศัพท กริยาราชาศัพท เชน ทรงพระราชดําริ ทรงพระราชสมภพ ฯลฯ
* คําที่หามใช ทรง นําหนา : ซูบพระองค บรรทม ประสูติ สวรรคต ประทับ เสวย เสด็จ เสด็จแปรพระราชฐาน
ตรัส รับสัง่ สรง โปรด พอพระราชหฤทัย พอพระทัย กริว้ ทอดพระเนตร สุบนิ พระราชทาน สิ้นพระชนม
38. มี, เปน + ราชาศัพท เชน มีพระราชประสงค เปนพระราชโอรส มีพระราชดําริ ฯลฯ
ทรงมี, ทรงเปน + คําธรรมดา เชน ทรงมีความสงสาร ทรงเปนครู ทรงเปนประธาน ฯลฯ
39. สวรรคต = ชั้น 1-2
สิ้นพระชนม = ชั้น 3-4
สิน้ ชีพติ กั ษัย = ชั้น 5
ถึงแกอสัญกรรม = ประธานาธิบดี, ประธาน 3 อํานาจ, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี, รัฐมนตรี
ถึงแกอนิจกรรม = ขาราชการ ซี 9 ขึ้นไป, ทานผูห ญิง
ถึงแกกรรม = พวกเราๆ ทานๆ
40. กราบบังคมทูลรายงาน = พูดรายงาน (ไมตอ งใสถวายขางหนารายงาน)
41. แสดงความจงรักภักดี = มีความจงรักภักดี (ไมตอ งใสถวายความจงรักภักดี)
42. รับเสด็จพระราชดําเนิน = ตอนรับ (ไมตอ งใสถวายการตอนรับ)
43. ทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย = (ทูลเกลาฯ ถวาย) ของเล็กๆ ยกได
นอมเกลานอมกระหมอมถวาย = (นอมเกลาฯ ถวาย) ของใหญๆ หรือของเล็กจํานวนเยอะมาก
44. แปรพระราชฐาน = ไปพักผอน
เสด็จนิวตั พิ ระนคร = ขากลับกรุงเทพฯ
45. "เสด็จ" ใชเหมือนกับ "ทรง" ทุกอยาง แตแพ ทรง อยู 1 อยาง คือ เสด็จ + นามธรรมดาไมได เชน เสด็จกีตาร
เสด็จ + กริยาธรรมดา = เสด็จไป เสด็จออก เสด็จขึ้น เสด็จลง ฯลฯ
เสด็จ + นามราชาศัพท = เสด็จพระราชสมภพ เสด็จพระราชดําเนิน ฯลฯ
46. เสด็จพระราชดําเนิน + V.หลัก (เพือ่ บอกวัตถุประสงค)
เสด็จพระราชดําเนินไปเรียนตอตางประเทศ
เสด็จพระราชดําเนินตรวจพลสวนสนาม
เสด็จพระราชดําเนินกลับประเทศไทย
47. พระบรมฉายาสาทิสลักษณ : รูปวาด
พระบรมฉายาลักษณ : รูปถาย
พระบรมรูป : รูปปน
BOBBYtutor Thai Note

48. พระปรมาภิไธย : ชื่อราชการทูลเกลาฯ ถวาย


พระบรมนามาภิไธย : ชื่อตัว (ภูมพิ ล)
พระราชสมัญญา : ชื่อที่ประชาชนทูลเกลาฯ ถวาย เชน พระปยมหาราช, พระมหาธีรราชเจา
49. วันพระบรมราชสมภพ : วันเกิด (5 ธันวาคม 2470)
วันคลายวันพระบรมราชสมภพ : วันคลายวันเกิด (5 ธันวาคม ของทุกป)
50. อาคันตุกะ : ใชเรียก สามัญชน, K ไปเปนแขกของ สามัญชน
ราชอาคันตุกะ : ใชเรียก สามัญชน ไปเปนแขกของ K
พระราชอาคันตุกะ : ใชเรียก K, ประธานาธิบดี ไปเปนแขกของ K
* ถา กษัตริย ไปเปนแขกของประธานาธิบดี จะใช อาคันตุกะ
* ถา ประธานาธิบดี ไปเปนแขกของกษัตริย จะใช พระราชอาคันตุกะ
* จําเจาบานเปนหลัก
51. ความหมายของคําในภาษาไทยมี 2 Version
1. แปลตรงตัวตามพจนานุกรม = ความหมายนัยตรง
2. แปลไมตรงตัวตามพจนานุกรม = ความหมายโดยนัย ความหมายโดยอุปมา ความหมายนัยประหวัด
ความหมายนัยตรง ความหมายโดยนัย
ดาว = stars ดาว = คนสวย คนเดน คนดัง
ฟน = teeth ฟน = นะ
52. ความหมายแบงตามลักษณะความหมาย มี 5 Version
1. ความหมายเหมือนกัน = ไวพจน (synonym)
2. ความหมายใกลเคียงกัน = (คลายๆ กัน แตไมเหมือนกัน)
3. ความหมายตรงขามกัน = (antonym)
4. พองรูป พองเสียง พองทัง้ รูปพองทัง้ เสียง (พอง แปลวา เหมือน คําจะพองกันไดตอ งมี 2 คําขึ้นไป
5. ความหมายแคบ กวาง
53. ไวพจน เวลาขอสอบ Ent ถาม คือ หลากคํา
พระเจาแผนดิน = ไท ไท บพิตร ขัตติยะ นฤบาล นฤบดี ฯลฯ
ทองฟา = เวหา หาว นภา โพยม นลฯ
ทอง = กนก สุวรรณ สุพรรณ กาญจนา เหม ฯลฯ
พระจันทร = แข แถง บุหลัน โสม รัชนีกร ศศิธร ฯลฯ
พระอาทิตย = ไถง รพี รวี ทิพากร อาภากร ฯลฯ
แผนดิน = ดาว ธาษตรี เมทินี หลา ปฐพี ฯลฯ
54. ความหมายใกลเคียงกัน
ภาพพจน = เปรียบเทียบ ปรบมือ = ยกยอง
ภาพลักษณ = Image ตบมือ = ทัว่ ๆ ไป
สมรรถภาพ = คน จักรวรรดิ = Kingdom (ดินแดน)
สมรรถนะ = เครือ่ งยนต จักรพรรดิ = King (คน)
BOBBYtutor Thai Note

55. ความหมายตรงขามกัน
มงคล ≠ อวมงคล
ทักษิณาวรรต ≠ อุตตราวรรต
โลกียธรรม ≠ โลกุตตรธรรม
นางฟา ≠ เทวดา
สวรรค ≠ นรก
สุรยิ นั ≠ จันทรา (หาม พระจันทร เพราะคนละระดับ)
56. พองรูป = หวงแหน จอกแหน
พองเสียง = ทาร ทาน ธาร
พองทัง้ รูปพองทัง้ เสียง = "อยาลืมฉันนะพี่" "อยาลืมฉันนะหลวงพี่"
*ความหมายทีม่ าพองจะไมเหมือนกัน
57. ความหมายแคบกวาง = สับเซต
ความหมายกวาง สี ภาชนะ มนุษย กีฬา ผลไม
ความหมายแคบ สีแดง หมอ ผูช าย วาว strawberry
58. ประโยคบกพรอง มี 10 Version
1. การใชคําขัดแยงกัน : ความหมายขัดกัน ไปดวยกันไมได
* คุณแมสบั หมูทลี ะชิน้ แกเปน หั่น
* แมวา ลูลจู ะสวย แตเธอก็มแี ฟนหลอ แกเปน ขี้เหร
ถาจะออก Ent หัวขอนี้ ระวัง! คําเชื่อม (บุพบท สันธาน ประพันธสรรพนาม ขัดแยงกัน)
2. ใชคําผิดความหมาย ระวังเรือ่ งคําทีม่ คี วามหมายใกลเคียงกัน Ent จะเอาเขามาหลอก ทําใหสบั สน เวลาอาน
ขอสอบใหสงั เกตวา อานแลวสะดุดตรงไหน แปลกๆ ตรงไหน ไมเคยไดยนิ แปลกๆ ระวังตรงนัน้
* พอกลับมาเหนือ่ ยๆ คุณพอก็อาบนําชํ ้ าระลางสังขารใหสะอาด แลวก็เขานอน
* ทีป่ ระชุมในสภาโตเถียงกันอยางอิสระเสรี
3. ใชสานวนเปรี
ํ ยบเทียบไมเหมาะสม ระวังใชสานวนไทยให
ํ ถกู ตอง จะออกประมาณ 1 ขอ
* คุณครูกบั อาจารยใหญสมุ หัวเรือ่ งกําหนดวันสอบปลายภาค แกเปน ประชุม
* คุณยายตักบาตรเสร็จก็เลยกรวดนํ้าควําขั ่ น แกเปน กรวดนํ้า
4. ใชคําฟุม เฟอย ลักษณะภาษาไทยตองกะทัดรัด ชัดเจน หามเยิ่นเยอ คําไหนแปลเหมือนกันใหตดั ทิง้ มันเกิน
เขามาโดยไมจําเปนก็ใหตดั เสีย แตตอ งไมใหเสียความหมาย
ระวัง! มี ใน ให ทํา + การ, ความ = 99% จะฟุม เฟอย
คุณประเทืองมีความยินดีทจ่ี ะประกวดนางฟาจําแลง
แต 1% ก็อาจไมฟมุ เฟอยก็ได
คุณประเทืองมีความรักใหเด็กๆ ผูชาย
* ในอดีตที่ผานมาชีวิตฉันขมขื่นเมื่ออยูกับเขา (ตัด ทีผ่ า นมา ทิง้ )
* โตขึน้ ฉันอยากอยูก บั เอิน จะไดเปนเกษตรกรชาวนาตัวอยางกับเขาบาง (ตัด ชาวนา ทิง้ )
BOBBYtutor Thai Note

5. ใชสานวนภาษาต
ํ างประเทศ หามใชสํานวนภาษาตางประเทศเด็ดขาด ในการสอบ Ent วิชาภาษาไทย
1. หลักไวยากรณไทย ตองเรียง ประธาน + กริยา + กรรม (Active) หามใช .......... โดย = สํานวนตางประเทศ
(Passive)
* ภาพยนตรเรือ่ ง "The beach" นําแสดงโดย ลีโอ พุฒ (ต.ป.ท.)
แกเปน → * ลีโอ พุฒ แสดงภาพยนตรเรือ่ ง "The beach" (ไทย)
2. ถูก .................... + ความหมายไมดี = ไวยากรณไทย
ถูก .................... + ความดี = สํานวนตางประเทศ
* คุณลอราถูกลวนลามเมือ่ วานตอนกลับบาน (ไวยากรณไทย)
* คุณลูลถู กู เชิญใหมางานเลีย้ งสมาคมแมบา นทหารบก (สํานวนตางประเทศ)
แกเปน → * สมาคมแมบา นทหารบกเชิญคุณลูลใู หมางานเลีย้ ง (ไวยากรณไทย) (S + V + O)
3. มัน ถาแปลวา It's จะเปนสํานวนตางประเทศ
* มันเปนความลําบากของฉันที่จะเข็นครกขึ้นภูเขา (สํานวนตางประเทศ)
แกเปน → * ฉันเข็นครกขึ้นภูเขาลําบาก (ไวยากรณไทย) (S + V + O)
* มันฝรัง่ ใสแกงใชไหม (สํานวนภาษาไทย)
4. ไวยากรณไทยตองมีลกั ษณนามตามหลังตัวเลข
* 3 พรรคการเมืองประชุมอยางเครงเครียด (สํานวนตางประเทศ)
แกเปน → * พรรคการเมือง 3 พรรค ประชุมอยางเครงเครียด (ไวยากรณไทย) S + V + O
5. การวางสวนขยายตองวางไวขางหลัง ถึงจะเปนไวยากรณไทย
* ไมเปนการงายเลยทีต่ ารวจจะตามจั
ํ บนักโทษแหกคุก (สํานวนตางประเทศ)
แกเปน → * ตํารวจจะตามจับนักโทษแหกคุกไมงา ย (ไวยากรณไทย) S + V + O
จําไวหลักๆ คือ ไวยากรณไทยจะตองเรียง S + V + O เปนพืน้ ฐาน
6. ตีความได 2 อยาง : ภาษาไทยบางครัง้ กํากวม แปลได 2 ความหมาย เวลาเจอขอสอบใหแปลตรงตัว
ตามคํานั้นกอน แลวคอยๆ นึกอีกความหมายหนึง่ ทีซ่ อ นอยู
* อาการชักแบบนีส้ งสัยจะโดนของ 1. Something
2. คุณไสย
* ดูนน่ั สิ! ชมพูกําลังกิน 1. Eating
2. กําลังพอเหมาะทีจ่ ะกิน
7. วางสวนขยายผิดที่ ภาษาไทยสวนขยายตองวางขางหลังคําหลัก แตไมจาเป ํ นตองติดกัน
* พระราชินแี หงอังกฤษตอนรับอยางสมเกียรติคณะทูตไทย
แกเปน → * พระราชินแี หงอังกฤษตอนรับคณะทูตไทยอยางสมเกียรติ
* พวกเรากอเจดียท รายในวันสงกรานตอยางสนุกสนาน
แกเปน → * พวกเรากอเจดียท รายอยางสนุกสนานในวันสงกรานต
8. ประโยคไมสมบูรณ อาจจะขาดประธาน กริยา กรรม บุพบท สันธาน หรือขาดอีก 1 ประโยค
* คณะแมบา นสหกรณอําเภอภูเขียวที่พึ่งจะเขาเฝาฯ สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินนี าถ
ขาด กิรยิ า (แลวทําไมตอละ)
* แมวา เขาจะเปนผูบ กุ เบิกการคิดคนยาสมุนไพรสําหรับแกโรคมะเร็งไดสําเร็จเปนคนแรก
ขาด 1 ประโยค
BOBBYtutor Thai Note

9. ภาษาผิดระดับ ไวยากรณไทยใน 1 ประโยค ตองใชภาษาระดับเดียวกัน หามใช 2 ระดับในประโยคเดียวกัน


* คณะมนตรีความมัน่ คงแหงสหประชาชาติอภิปรายเรือ่ งวิกฤตการณในอิรกั อยางเมามัน
* คุณแมจะบอกคุณพอตอนไหนคะ วาหนูสําเร็จการศึกษาปริญญาขัน้ นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
10. เวนวรรคตอนผิด : ระวัง! คําประสมในภาษาไทยจะถูกฉีกใหอา น 2 แบบ แลวถาอานเวนวรรคตอนผิด
ความหมายจะกํากวม
* พีว่ ลิ ลีค่ ะขอจานรองแกวหนอยสิ
* จดหมายลงทะเบียนเสร็จหรือยัง
59. ภาพพจน มี 8 Version (ภาพพจนตอ งมีการเปรียบเทียบ)
1. อุปมา เปรียบ เหมือน มีคาที ํ แ่ ปลวา เหมือน = ดุจ ประดุจ ดัง ดั่ง ปูน เพียง ราว เสมอ ประหนึง่
กล ละมาย คลาย ครุวนา เชน เทียบ เลห พาง ฉัน แมน เฉก ยิง่ ปาน ฯลฯ
"เจางามพักตรผอ งเพียงบุหลันฉาย"
ระวัง ! มีคาตระกู
ํ ล "เหมือน" แตไมใชอปุ มา เพราะ ไมไดเปรียบเทียบ โดยเฉพาะคําวา เหมือน ดัง เชน
2. อุปลักษณ เปรียบ เปน คือ หรือ ละคํา ไมตอ งใส เปน, คือ ก็ได
"ฉันเปนตะเกียงสองทางใหเธอเดิน" = อุปลักษณ
Ent ชอบออก ระวัง! "ฉันก็เปนผูห ญิงคนหนึง่ " (เจิน เจิน) = ไมใชอปุ ลักษณ เพราะ ไมไดเปรียบเทียบ
"พีจ่ ะเปนบัลลังกตระการ แมนอ งคือนางพญา" = อุปลักษณ
แกวกิรยิ าตัดพอขุนแผนวาตัวเองสูน างวันทองไมได จึงพูดวา
"หิง่ หอยหรือจะแขงแสงพระจันทร อยาปน นําให
้ หลงตะลึงเงา"
หิง่ หอย = แกวกิรยิ า
แสงพระจันทร = วันทอง
* อุปลักษณแบบละคํา (Ent' ชอบออก)
แตประโยคนี้ "ฉันเปนดัง่ พฤกษาในวนาลึก" จะยกใหเปนอุปมาหรืออุปลักษณ
* จําเลยนะ เปนดั่ง เปนดุจ เปนเฉก เปนเชน เปนเพียง เปนเหมือน = อุปมา
3. สัญลักษณ, นามนัย = ตระกูลเดียวกัน "พูดปุบ รูป บ " แตคนละตัว
สัญลักษณ = ศัพททจ่ี ะเปนสัญลักษณไดจะตองมีความเหมือน จุดเดนรวมกับหรือ (Intersection) กับคําแปล
เชน
อีกา แปลวา คนชัน้ ตํา่ หงส แปลวา คนชัน้ สูง
ตํา่ ตอย ผูดี
พายุ แปลวา อุปสรรค ดอกมะเขือ แปลวา ความออนนอม
วุนวาย นอมลง
BOBBYtutor Thai Note

นามนัย = ศัพททจ่ี ะเปนนามนัย ศัพทตวั นัน้ ตองเปน จุดสําคัญ เปนสวนหนึง่ หรือเปนแค สับเซตของคําแปล
เชน
ทีมโสม หมายถึงประเทศเกาหลี เมืองนํา้ หอมหมายถึงประเทศฝรัง่ เศส
เปนจุดเดน เปนจุดเดน
นวม หมายถึง นักมวย ปากกา หมายถึงนักเขียน
เปนจุดเดน เปนจุดเดน
จําไววา : เปนสัญลักษณแลวจะเปนนามนัยไมได เปนนามนัยแลว เปนสัญลักษณไมได
จําไววา : สัญลักษณ, นามนัย = พูดปุบ รูป บ สังคมเขากําหนดไวแลว
: อุปลักษณละคํา = แลวแตกวีจะเปรียบเทียบเปนอะไรก็ได
*ระวัง! สัตวในนิทานอีสปถือวาเปนสัญลักษณ เชน
ราชสีห = ผูมีอํานาจ
ลา = คนโง
งูเหา = คนทรยศ
สุนขั จิง้ จอก = พวกเจาเลห
4. บุคลาธิษฐาน : อธิษฐานโดยทําสิง่ ทีไ่ มใชคน ใหทากริ
ํ ยาเหมือนคน ทองสูตรวา "เจาประคุณ ขอใหเปนคนทีเถอะ"
(บุคคลวัต, บุคคลสมมุติ)
"ดอกหญาสายระบําขําเจาลมแลง"
"นํ้าพริกกะปมวั ยัว่ ใหฉนั เกิดกิเลส"
หลักการบุคลาธิษฐานใหดทู ่ี V. + adj.
5. อธิพจน ≠ อวพจน (อ อาง โอเวอร)
อธิพจน
อธิพจน = คนกลาว OVERมากกวาความเปนจริง
อวพจน = คนกลาว OVERนอยกวาความเปนจริง FACT
อวพจน
"เรือ่ งนีส้ บายมาก เรื่องขี้ผง" = อวพจน
"พีค่ ดิ ถึงนองทุกนาที" = อธิพจน
อธิพจน, อวพจน = OVER คนทําเอง
บุคลาธิษฐาน = OVER แบบสิง่ ทีไ่ มใชคนเปนคนทํา
6. สัทพจน = เลียนเสียงธรรมชาติ (ส. เสือ Sound of Music)
"ไกขัน" = ไมใชสทั พจน
"เอกอี๊เอกเอก" = สัทพจน
"ฟารอง" = ไมใชสทั พจน
"เปรีย้ งเปรีย้ ง" = สัทพจน
BOBBYtutor Thai Note

7. ปฏิพากย = การกลาวขัดแยง
"ผูห ญิงสวยเปนบา"
"คุณปาใจดีฉบิ lose"
8. อุปมานิทศั น : เปนการเปรียบโดยยกประโยคยาวๆ มาเปรียบ แตอปุ มายกแคคํา
"นักเรียนก็เหมือนเพชรทีจ่ ะตองถูกเจียระไน ใหเพชรเงางาม สองประกาย บางมุมเหลีย่ มอาจจะไมคม
ตองเจียใหคม เพื่อจะใหสมเปนเพชรนําหนึ
้ ง่ ประดับหัวแหวน โดยครูคนนีแ้ ละจะตัง้ ใจเจียเพชรเม็ดนีใ้ หประณีตทีส่ ดุ "
60. คําประพันธในวรรณคดีไทย
คําประพันธ จํานวนคําใน 1 บท แบงวรรคละ สูตรสัมผัส
กลอนแปด 32 × 2 = 64 8-8-8-8 8 - 11 16 - 24 - 27
กาพยฉบัง 16 16 × 2 = 32 6-4-6 6 - 10 (16 - 22)
กาพยสรุ างคนางค 28 28 × 2 = 56 4-4-4-4-4-4-4 "เมื่อคืนฉันฝน"
กาพยยานี 11 22 × 2 = 44 5-6-5-6 5 - 8 11 - 16
อินทรวิเชียรฉันท 11 22 × 2 = 44 5-6-5-6 5 - 8 11 - 16
โคลงสีส่ ภุ าพ 30 ± 2, 4 = 32, 34 5 - 2 5 - 2 5 - 2 5 - 4 พระลอ, พระราม
โคลงสามสุภาพ 19 + 2 = 21 5-5-5-6 เครือ่ งบินรอนลง
รายยาว ไมแนนอน ไมแนนอน ตรงไหนก็ได
ขอสอบ Ent จะใหประโยคยาวๆ มาแลวใหเราแบงวรรค แลวถามวาเปนคําประพันธชนิดใด
สูตร 1. นับคํา
2. สงสัยวาเปนอะไรใหลองแบงวรรค แลวเอาสัมผัสแทนคาวาลงจังหวะไหม
ระวัง! ตัวหลอก
คูแ รก ฉบัง 16 2 บท = กลอนแปด 1 บท
คูส อง กาพยยานี 11 กับ อินทรวิเชียรฉันท 11 แตกตางตรงฉันท 3 - 6 - 7 - 9 = ลหุ
คูส าม กาพยยานี 11 กับ โคลงสามสุภาพ จํานวนคําใกลเคียงกัน
คูส ่ี กลอนแปด กับ โคลงสีส่ ภุ าพ จํานวนคําใกลเคียงกัน แตโคลงมีเอก 7 โท 4
ทองสูตรสัมผัสของสุรางคนางค : "เมือ่ คืนฉันฝน วาเธอกับฉัน ชวนกันขีค่ วาย ควายมันไลขวิด หวุดหวิดเจียนตาย
ฝนดีหรือราย ทํานายใหท"ี
โคลงสามสุภาพ :
 ก
 ก  ก ( )
* ขอสอบ Ent แบบคําประพันธแนวใหม จะใหวรรคแบงมาเรียบรอยแลว แตสลับวรรคมัว่ กัน ใหนกั เรียนเรียง
ลําดับใหถกู ตอง นักเรียนก็ใชสตู รเดียวกับขางบน
"พระสมุทรสุดลึกลนคณนาสายดิ่งทิ้งทอดมาหยั่งไดเขาสูงอาจวัดวากําหนดจิตมนุษยน้ันไซรยากแทหยั่งถึง"
เปนคําประพันธ โคลงสี่สุภาพ
BOBBYtutor Thai Note

61. ความงามวรรณศิลป มี 8 Version


1. สัมผัสสระ : สระกับตัวสะกดเสียงเดียวกัน แตเสียงพยัญชนะตนหามเหมือนกัน
"เปนแถวทองลองตามกัน"
"เจริญกรุง บํารุงเมือง เฟองนคร"
"จันทรจวง ดวงจันทร"
พร
"อาภาพร นครสวรรค" พร
คร
2. สัมผัสอักษร : (สัมผัสพยัญชนะ) ใหดทู เ่ี สียงพยัญชนะตนเสียงเดียวกัน
"ยุย ญาติเยอะ" เสียงพยัญชนะตน /ย/
"พีจ่ ําใจจําจากเจาพรากมา"
"ตองจําจําใจจากเจาคืนคอย"
3. สัมผัสวรรณยุกต : สัมผัสวรรณยุกตแทนทีจ่ ะเหมือนกันมาเจอกัน แตกลับเรียงวรรณยุกตจาก นอย → มาก
มาก → นอย (2 ตัว หรือ 3 ตัวก็ได)
"บึงบัวตุมตุม ตุม กลางตม"
"แมลงเมาเมาเมาฉม ซมซราบ"
แต "แมนแมมาจักวอน พี่ชี้"
"ดลยังเวียงดานดาว โดยมี"
* ไมใชสมั ผัสวรรณยุกต เพราะตัวสะกดไมเหมือนกัน
4. จินตภาพ : ภาพทีเ่ กิดในสมองจินตนาการ มี 3 Version
1. จินตภาพดาน ภาพ (แสง + สี) "ใบระกาหนาบันบนชัน้ มุข สุวรรณสุกเลือ่ มแกวประภัสสร"
2. จินตภาพดาน เคลือ่ นไหว (นาฏการ) "เรือสิงหวิ่งเผนโผน โจนตามคลื่นฝนฝาฟอง"
3. จินตภาพดาน เสียง = สัทพจน "สายธารไหลจอกจอกเซาะซอกหิน"
หลักการทําใหสงั เกต V. + adj
5. การใชคําทีม่ เี สียงและจังหวะดุจดนตรี (ตองแยกออกเปน 2 ตัว คือ เสียงและจังหวะ)
1. เสียงดุจดนตรี : มีวรรณยุกตหลายๆ เสียงใน 1 วรรค แตไมจําเปนตองเรียงวรรณยุกตเหมือนสัมผัส
วรรณยุกต "ตะลึงเหลียวเปลีย่ วเปลาใหเหงาหงิม"
2. จังหวะดุจดนตรี : ใน 1 วรรค แบงจังหวะการอานไดเทาๆ กัน (ถวง ....................)
"เชาทําเปนหนายบายบอกเหนือ่ ยเย็นเมือ่ ยลา"
"ถือหัตถงา ทาเห็นงาม ตามทํานองตองธรรมเนียม เตรียมทุกหมวดตรวจทุกหมู"
6. การเลนคํา : ใชคาๆ ํ เดียวกันวางทัว่ ๆ ไป แลวความหมายไมเหมือนกัน เชน
"นวลจันทรเปนนวลจริง เจางามพริง้ ยิง่ นวลปลา"
เลนคําวา นวล
BOBBYtutor Thai Note

7. การซํ้าคํา : ใชคาๆ ํ เดียวกันวางทัว่ ๆ ไป แลวความหมายตองแปลเหมือนกันทุกตัว เชน


"งามทรงวงดัง่ วาด งามมารยาทนาดกรกราย
งามพริม้ ยิม้ แยมพราย งามคําหวานลานใจถวิล"
ซํ้าคําวา งาม เพราะทุกตัวแปลวา Beautiful
8. ดุลเสียงและดุลความหมาย : 2 วรรค มีคาเท ํ ากันและตําแหนงเดียวกันมีคาเหมื
ํ อนกัน จึงใหเสียงและความหมาย
เหมือนกัน เชน
"มีเพือ่ นเลนก็ไมเหมือนกับเพือ่ นตาย มีเพื่อนชายก็ไมเหมือนมีเพื่อนชม"
"ยิง่ วายิง่ ยุ" (วรรคเดียวแบบนีอ้ นุโลม)
"รูห ลบเปนปก รูห ลีกเปนหาง"
62. ประโยคความเดียว ความรวม ความซอน
ความเดียว = S1 + V1 สวนขยายยาวไดแตตอ งเปนวลี ของแทมเี ลข 1 (S., V.)
ความรวม = 2 ความเดียว = 1 ความหมาย โดยเอาสันธานเชื่อม ของแทตอ งมีเลข 2 (S., V.)
ความซอน = ซอน แปลวา ขยาย จําอยางนีก้ อ น โดยสวนขยายเปนประโยค แสดงวาก็ตอ งมี 2 ประโยครวมกัน
แตใหดวู า เอา "ที่ ซึ่ง อัน ผูท ่ี ผูซึ่ง วา ให" เชื่อม โดย 2 ประโยคนัน้ นําหนั
้ กไมเทากัน โดยมีประโยคหนึง่ เปนตัวตัง้
แลวมีอกี ประโยคมาขยาย
(ความเดียว) เขาปลูกขาวนาปรังทุกปรมิ แปลงเกษตรสาธิต
(ความรวม) เขาปลูกขาวนาปรังทุกปและเขาขายขาวนาปรังทุกป = "เขาปลูกและขายขาวนาปรังทุกป"
(ความซอน) เขาปลูกขาวนาปรังทีก่ านั ํ นทรงเสนอแนะ
ระวัง! 1. ความรวมกับความซอน สามารถละตัวเชื่อมได แตกม็ วี ธิ ดี ทู ่ี นํ้าหนักประโยค
2. หลัง ที่ ซึง่ อัน .................... จะเปนประโยคขยาย
สรุปความแตกตางระหวาง ความเดียว ความรวม ความซอน
1. เดียว กับ รวม ใหดทู ่ี เลข 1 + 2
2. รวม กับ ซอน ใหดทู ่ี เอาอะไรเชื่อม
3. ซอน กับ เดียว ใหดทู ่ี เอาอะไรขยาย
ลองทําดูวา เปนประโยคความอะไร
(ซอน) 1. นายกรัฐมนตรีใหคําสัญญาแกชาวไทยวา จะแกปญ  หาเศรษฐกิจใหได
(ซอน) 2. คนทีล่ อบยิงทานประธานาธิบดีตอ งเปนคนวงใน
(รวม) 3. แตฉนั ก็ทําสุดความสามารถแลวก็ยงั ไมประสบความสําเร็จ
(เดียว) 4. ตัวอยางทีด่ ตี อ งเปนทีโ่ รงเรียนนายรอย
(เดียว) 5. คุณธรรมของผูใ หญ คือ เมตตาธรรมตอเพือ่ นมนุษยและสัตวโลก
(ซอน) 6. เจาหนาทีข่ องสหรัฐพบวา ทหารอิรกั สะสมขีปนาวุธในโกดังสินคาใกลกรุงแบกแดด
(รวม) 7. สถาบันวิจยั จุฬาภรณรว มกับมูลนิธสิ ายใจไทยจัดงานครัง้ นี้
(เดียว) 8. งานฤดูหนาวของจังหวัดเชียงใหมสาเร็ ํ จไปไดดวยความรวมมือของประชาชนชาวเชียงใหม
(ซอน) 9. บุคคลใดทีไ่ มเคยพบกับความทุกขเลย คือ บุคคลทีไ่ มเคยพบกับประสบการณชีวติ
(รวม) 10. เจาหมูนอ ยหัวใจเทวดาวิง่ งับอนาคอนดาอยางเมามัน
BOBBYtutor Thai Note

(ซอน) 11. ชาวลอนดอนชินกับสภาพอากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลงเสมอๆ


(ซอน) 12. พนักงานขององคการโทรศัพทกาลั ํ งปนเสาอยูใ กลหอประชุมของโรงเรียน
(ซอน) 13. คุณครู Lilly ไมชอบนักเรียนลอกขอสอบ
(ซอน) 14. ชาวไทยตองทนกับสภาพเศรษฐกิจอยางนีจ้ นเสียขวัญหมดแลว
(เดียว) 15. การไมพดู ระหวางรับประทานอาหารเปนนิสยั ทีด่ ขี องลูกผูห ญิง
(ซอน) 16. ภาพทีเ่ ธอสงเขาประกวดและเพือ่ นๆ ชวยกันวาดนั้น ไดรบั รางวัลชนะเลิศ
(รวม) 17. ชาวประมงทําลายปะการังทีท่ างรัฐบาลสงวน แต ส.ส. บางคนเห็นดีดว ยกับชาวประมง
(ซอน) 18. ภาพวาดนางบุษบาเสีย่ งเทียนทีค่ ณ ุ จักรพันธุว าดนัน้ ไดรบั รางวัลพระราชทาน
(รวม) 19. การวายนํ้าเปนกิจกรรมทีม่ ปี ระโยชนตอ รางกายทุกสวน และการพักผอนซึง่ เปนกิจกรรมของคนเรามี
ความสําคัญไมแพกนั
(รวม) 20. หากเราสามารถเก็บเศษใบไมและกระปองนําอั ้ ดลมตามชายหาดไดแลวก็จะทําใหชายหาดพัทยาสวยขึน้
(ซอน) 21. การทีค่ ณ
ุ แมหกั เงินคาขนมพวกเธอเปนการลงโทษอยางเบาๆ
(รวม) 22. หมาของฉันไลกดั นักเรียนกลุม นัน้
(รวม) 23. ครูใชปากกาหมึกซึมตรวจการบานนักเรียน
(ซอน) 24. เขาตบหนาเพือ่ นยืนหลังโตะ
(ซอน) 25. ผลิตภัณฑทส่ี รางจากภูมปิ ญ
 ญาของชาวบาน เปนงานทีน่ า ยกยองอยางหนึง่
63. การอานจับใจความ (ออกสอบเยอะมาก) หลักการทํา คือ
1. ยังสรุปใจความ (Main Idea) ไมได อยาอาน choice 4 ขอ
2. หา 3 W (Who, What, Why)
3. ไลผี คือ เอา choice ทีผ่ ดิ แนๆ ออกไปกอน
ระวัง ! จุดหลอกของการอานจับใจความ
1. การเปรียบเทียบ อันไหนเกิดจริง อันไหนเปรียบเทียบ ตองจับใหได
2. ศัพททแ่ี ปลไมตรงตัว (เราก็อาศัย บริบท ในการตีความ)
3. การตอบดูใหดี มี 2 แง จะตอบคลุมหรือตอบเจาะ (choice 2 ขอ สุดทายจะบอกเราเอง)
4. ระวัง Error ภาษาทีเ่ ขียน choice ตีความดีๆ มันจะหลอก
64. โวหาร ทางรอยแกว มี 7 Version
1. บรรยายโวหาร ไดเรือ่ งราว ขอมูล
2. พรรณนาโวหาร ไดภาพรายละเอียด
3. อธิบายโวหาร ทําใหเขาใจ
4. สาธกโวหาร ยกตัวอยาง
5. เทศนาโวหาร สัง่ สอน
6. อุปมาโวหาร เปรียบเทียบ (คลุมทัง้ หมด 8 ภาพพจน)
7. อภิปรายโวหาร โนมนาวใจ (Persuade)
BOBBYtutor Thai Note

บรรยายโวหาร (เนื้อๆ) = ได Information ใคร ทําอะไร ทีไ่ หน เมือ่ ไร


พรรณนาโวหาร (นํ้าๆ) = ได Detail ใหภาพรายละเอียด บุคคล วัตถุ สถานที่ เหตุการณ มี 2 ลักษณะ
คือ แยกสวนประกอบ : ชีล้ กั ษณะเดน
สูตรการดูพรรณนาโวหาร คือ ตระกูล ว. + แซมเปรียบเทียบ
วิเศษณ วิลิศ วิจติ ร เวอร + แซมเปรียบเทียบ
65. อธิบายโวหาร มี 6 Version เรียกวา กลวิธอี ธิบาย
1. การอธิบายตามลําดับขั้น : ใชกบั เรือ่ งๆ นัน้ ตองเปน ขัน้ ตอน กรรมวิธี
2. การใชตวั อยาง : เพือ่ ให เห็นภาพชัดเจน
3. การเปรียบเทียบความเหมือน/ตาง : ใชเปรียบเทียบของ 2 สิง่ ไมใชภาพพจน
4. การชีส้ าเหตุผลลัพธสมั พันธกนั : ใชใหเหตุผลอธิบาย
5. การนิยาม : จะใชกบั คําศัพท แตไมจาเปํ นตองมี หมายถึง, คือ เสมอไป
6. การกลาวซํ้าดว ยถอยคําทีแ่ ปลกออกไป : อธิบายใหมเปนรอบที่ 2 แตจะใชคํา งายขึ้น มักจะมีคาว ํ า กลาวคือ
แตไมตอ งมี กลาวคือ เสมอไปก็ได ถาไมมี กลาวคือ เขาจะเวนวรรคเอา (ขอความหนาและหลัง กลาวคือ ตองมี
ความหมายเหมือนกัน)
66. ทรรศนะ คือ ความคิดเห็น (Opinion) อาจถูกหรือผิดก็ได เพราะไมใช FACT
คําทีแ่ สดงทรรศนะ คือ คง คงจะ นา นาจะ ควร ควรจะ พึง พึงจะ อาจ อาจจะ หรือ ผมเห็นวา, เขาใจวา,
สรุปวา, มีมติวา , เสนอวา หรืออาจไมมคี ําพวกนีเ้ ลยก็ได
ทรรศนะ มี 3 Version
1. ทรรศนะเชิงขอเท็จจริง (Guess) : เดา, สันนิษฐาน ไมใช บอก ขอเท็จจริง
2. ทรรศนะเชิงคุณคา/คานิยม (Evaluate) : ประเมินคา, ตัดสินใจสิง่ ใดสิง่ หนึง่
3. ทรรศนะเชิงนโยบาย (Suggest) : แนะนํา
* พีช่ ายเธอดูเทหร ะเบิดเลย หุน ดี หนาตาก็ใชได (ทรรศนะเชิงคุณคา)
* ฉันวาเธอเอาเรือ่ งแสงสีกบั กินดีอยูด สี อบดีกวา เหมาะกับเธอดี (ทรรศนะเชิงนโยบาย)
* คงไมใชนกั โทษแหกคุก 4 คนนี่หรอก ฉันวาคงตองเปนผูค มุ ตางหาก (ทรรศนะเชิงขอเท็จจริง)
67. ระเบียบวิธคี ดิ มี 3 Version
1. วิเคราะห : หาสาเหตุ ทําไมเกิด = ทรรศนะเชิงขอเท็จจริง
2. ประเมินคา : ใหความเห็นประเมิน = ทรรศนะเชิงคุณคา/คานิยม
3. สังเคราะห : คิดวิธกี าร Idea ใหญๆ = ทรรศนะเชิงนโยบาย
68. โครงสรางเหตุผล มี 2 องคประกอบ คือ
(เกิดกอน) 1. เหตุ สาเหตุ ขอสนับสนุน
(เกิดหลัง) 2. ผล ผลลัพธ ขอสรุป
ระวัง! สันธานเหลานีจ้ ะเจอเสมอเรือ่ งโครงสรางเหตุผล เพราะ, เนื่องจาก, ดวย, ก็เลย, จึง, ดังนัน้ , เมือ่ .....จึง,
เพราะ.....จึง
เวลาออก Ent เรือ่ งนีใ้ หดู โครงสรางดีๆ วาเขาเอา สาเหตุหรือผลลัพธขน้ึ ตนลงทาย
BOBBYtutor Thai Note

69. อุปนัย = เกือบและ!


นิรนัย = แนแน!
นัย ทองวา จริง อุป ทองวา เกือบ นิร ทองวา แนๆ
อุปนัย : ไมแนนอน ไมจาเป ํ น โอกาสเกิดไมถงึ 100%
นิรนัย : ตอง Sure เกิดแนๆ เปนอยางนัน้ แนๆ 100%
* "ดูผูชายคนนี้สิ แตงตัวดี ทองหยองเต็มตัว ใสสทู ดวย เปนลูกเจาสัวแหงๆ"
ประโยคนีเ้ ปน อุปนัย นิรนัย
* ทุกปชว งตนเดือนธันวาคม นกนางแอนจะมาเกาะตามเสาไฟฟาถนนสีลมเต็มไปหมด เดีย๋ วธันวาคมปนกี้ ต็ อ งมาอีก"
ประโยคนีเ้ ปน อุปนัย นิรนัย
วิธกี ารดูอปุ นัยและนิรนัย คือ ดูวา เกิดแนหรือไมแนไมจําเปน
70. อนุมาน 3 Version แบบสัมพันธเปนเหตุเปนผลกัน
1. การอนุมานจาก สาเหตุ ไปหา ผลลัพธ (เดา อนาคต)
2. การอนุมานจาก ผลลัพธ ไปหา สาเหตุ (เดา อดีต)
3. การอนุมานจาก ผลลัพธ ไปหา ผลลัพธ (เดา อนาคต)
(ไมม!ี การอนุมานจาก สาเหตุ ไปหา สาเหตุ)
สูตรการทํา 1. หาทอน ทีเ่ กิดขึน้ กับทอนเดาใหเจอ
2. ดูวาเดา อดีต เดาอนาคต
* "ปลาลอยเปนแพอยางนี้ ใครชางใจรายปลอยนํ้าเสียลงแมนาอี ้ํ กแลว"
อนุมานจาก ผลลัพธ ไปหา สาเหตุ
* "รีบๆ หนอยคุณพี่ เราคงตองทันแนๆ รถไฟเทีย่ วสุดทาย"
อนุมานจาก สาเหตุ ไปหา ผลลัพธ
* "ยาหมองยีห่ อ นีข้ ายดีเปนอันดับ 1 ทีอ่ เมริกา รับรองถามาขายในเมืองโดยก็ตอ งอันดับหนึง่ แนๆ"
อนุมานจาก ผลลัพธ ไปหา ผลลัพธ
71. การโนมนาวใจ = อภิปราย โวหาร การทําใหใครคนหนึง่ เปลีย่ นความคิด ความเชื่อ แลวมาทําตามเรา มีกลวิธี
การโนมนาวใจ 6 Version
1. ใชความนาเชื่อถือของผูโนมนาวใจ
2. ใชเหตุผลหนักแนน
3. ความรูส กึ รวมหรืออารมณรว ม พวกเดียวกัน ชอบเหมือนกัน
4. ชีใ้ หเห็นทางเลือกทัง้ ดีและเสีย
5. สรางความบันเทิง
6. เราใหเกิดอารมณแรงกลา ภาษารุนแรง OVER
* ระวัง! การโนมนาวใจตองใชหลัก สุภาพ นุม นวล หามขู บีบบังคับ นําเสี ้ ยงออนวอน วิงวอน หรือขอรอง
ปนร้ี ะวัง! จะออกคําขวัญกับลักษณะภาษาโนมนาวใจ
BOBBYtutor Thai Note

72. การโตแยง : ใชเหตุผลสูก นั ถาใชอารมณ เรียกวา โตเถียง


เรือ่ งนีจ้ ะถามวา "อะไรคือประเด็นการโตแยง"
ประเด็นการโตแยง คือ หัวขอ Topic ทีก่ ําลังเห็นไมลงรอยกัน มักอยูใ นรูปประโยคคําถาม
ขอสําคัญของการโตแยง คือ
1. ไมใชอารมณ, สุภาพ
2. มีมารยาทใหเกียรติ
3. เลือกประเด็นโตแยงทีส่ รางสรรค
73. ระดับภาษา มี 5 Level แบงตาม Hi กับ Low ดังนี้
Level 1-2-3 = Hi Level 4-5 = Low
พิธกี าร ทางการ กึง่ ทางการ ไมเปนทางการ กันเอง
กาลเทศะ นานๆ ครั้ง Serious (การลงทาย) ไม Serious ทัว่ ๆ ไป สนิท/สวนตัว
คนที่ใช บุคคล VIP นักธุรกิจ/วิชาการ ความสัมพันธ/ใกลกวา 2 ทุตยิ ภูมิ ปฐมภูมิ
วิธสี ง สาร อาน พูด/เขียน พูด/เขียน พูด/เขียน พูด
ลักษณะภาษา จริงจัง ไพเราะ ตรงไปตรงมา Serious ลด Serious ไมสว นตัว สวนตัว/สนิท
สละสลวย
ปญหาเรือ่ งระดับภาษา คือ ระดับใกลกนั จะตัดสินลําบาก (2 : 3) (4 : 5)
74. โทรเลข : สูตรมีอยูว า สั้น กะทัดรัด ชัดเจน (วัน เวลา สถานที)่
สัน้ ไมจําเปนตองสัน้ มาก ตองไดใจความดวย
75. โทรศัพท ระวัง!
1. หามพูดโทรศัพทวา "ฮัลโหล"
2. หามพูด "ขอสาย" "เรียนสาย" ใหใช ขอพูด เรียนถาม
3. คนโทรไปตองพูดวา "ขอพูดกับ .................... จาก ...................." อยาพูด "นัน่ ทีไ่ หน"
4. คนรับโทรศัพท ตองบอกวาทีน่ ่ี "สถานที่" หามบอกเปน เบอรโทรศัพท
76. การประกาศ ไมใชโฆษณา ดังนัน้ ประกาศก็บอกแค Who What When Where
สูตรการทําประกาศ
1. บอก Who What When Where ใหชัดเจน
2. บอกทีอ่ ยู/เบอรโทรศัพทใหตดิ ตอกลับ เพือ่ สื่อสาร 2 ทาง
3. การเรียง When + Where ตองเรียงจาก วัน เวลา สถานที่
4. รายละเอียดพอเหมาะอยาพรรณนามาก เดีย๋ วกลายเปนโฆษณา
77. การลําดับความ : ขอสอบจะให Passage มาแลวสลับทอน แลวใหเราเรียงใหม
หลักการทํา
1. หามเรียงตาม choice ทีเ่ ขาใหมา 4 ขอ จะโดนหลอก
2. ตัดทอนทีข่ น้ึ ตนดวย Verb สันธาน บุพบท ออกไปกอน
3. จับทอน 2 ทอนทีค่ ดิ วาอยูต ดิ กันแนๆ มาเปนเสาเอก เสาหลัก สัมพันธเชิง ประธาน+กริยา, สาเหตุ+ผลลัพธ
4. เนื้อๆ หลักๆ กวางๆ ตองขึน้ Passage กอน อยาเอานํ้า, สวนขยายอื่นขึ้น
BOBBYtutor Thai Note

78. การเวนวรรคตอน : การแบงจังหวะการเขียนใหถกู ตอง


หลักการทํา
1. ยังไมจบความหามเวนวรรค
2. ที่ ซึง่ อัน ผูที่ ผูซ ง่ึ วา ให ตองอยูต ดิ กับคํานามขางหนา
3. ไดแก อาทิ เชน ตองเวนวรรคหนาหลังของคําเหลานี้
4. มียกตัวอยางของหลายสิง่ สิง่ สุดทายใช และ เชื่อม
79. การพูด : จะออกขอสอบแนววาใหสถานการณมาแลว ใหเราเลือกขอทีก่ ารพูดเหมาะสมทีส่ ดุ ตองยึดหลัก ใจเขา ใจเรา
ระวัง! มารยาทตอไปนี้
1. เวลาเห็นขัดแยงกับใคร หรือปฏิเสธใคร ตองบอกเหตุผล และตองสุภาพใหเกียรติ
2. อยาประชดประชัน
80. การประชุม : จะออก 2 ลักษณะ คือ ศัพทในการประชุมและการพูดจาในการประชุม
1. ประชุมตามขอบังคับ กําหนดปกติ = ประชุมสามัญ
2. ประชุมพิเศษเรงดวน = ประชุมวิสามัญ
3. ผูริเริ่มจัดประชุม กําหนดเรื่อง วางแผนงาน = ผูจ ดั ประชุม
4. จํานวนเต็มของผูประชุม (Fix) = องคประชุม
5. คนที่มาประชุมในวันนั้น (ไม Fix) = ทีป่ ระชุม
6. ผูควบคุมการประชุม = ประธาน
7. ผูจ ดั ระเบียบวาระ บันทึกรายงาน = เลขานุการ
8. เรือ่ งทีจ่ ะประชุม = ระเบียบวาระ
เรือ่ งทีจ่ ะประชุมลําดับที่ 1 = วาระที่ 1
วาระที่ 1 รับรองการประชุมครัง้ กอน (เรือ่ งทีป่ ระธานแจงใหทราบ ตองพูดกอนวาระที่ 1)
วาระที่ 2 สะสางเรือ่ งเกา
วาระที่ 3 Mouth เรือ่ งใหม
9. ขอเสนอ = ญัตติ
10. เห็นดวยกับขอเสนอ = สนับสนุน
11. ไมเห็นดวยกับขอเสนอ = คัดคาน
12. ทัง้ เห็นดวยกับไมเห็นดวยรวมเรียกวา = อภิปราย
13. ขอสรุปของทีป่ ระชุม = มติ
ทุกคน 100% เห็นดวย = มติเอกฉันท
ไมถงึ 100% เห็นดวย = มติเสียงขางมาก
14. ที่ประชุมยอมรับขอเสนอ = ผาน
15. ที่ประชุมไมยอมรับขอเสนอ = ตก
BOBBYtutor Thai Note

การพูดจาในทีป่ ระชุม : จําหลักสําคัญตอไปนี้


1. ใชภาษาใหสอดคลองกับระดับการประชุม (ถาประชุมใหญๆ ใชภาษาระดับทางการ)
2. ประธานตองใหเกียรติผเู ขาประชุม อยาทําใหเขาอาย, โกรธ ตองสุภาพ
3. ประธานตองคอยประนีประนอม
4. ประธานพูดขบขันไดนดิ หนอยเพือ่ คลายเครียด
5. ผูเขาประชุมจะพูดอะไรตองขึ้นตนดวยคําวา "ขอ"
6. ผูเขาประชุมตองพูดจาสุภาพ มีมารยาท ใหเกียรติ เวลาแสดงความเห็นขัดแยงกัน
81. การเขียนรายงาน + เรียงความ
จะใชหลักเดียวกัน เพราะ 2 เรือ่ งนี้ เวลาออกสอบจะใหแตงหรือเขียนเรียงความรายงานไมได จึงออกสอบใน
ลักษณะใหหวั ขอมา แลวใหเราวางโครงเรือ่ ง ดังนัน้ จึงใชหลักเดียวกัน คือ ตองวาง
คํานาม + เนือ้ เรือ่ ง + สรุป
สามารถนําหลักการลําดับความขอ 77. มาประยุกตได
* หมายเหตุ การเขียนรายงานนัน้ ตองใชภาษาระดับทางการ (Level 2)
82. จดหมาย
จําหลักไววา
1. ใชภาษาใหเหมาะสมกับระดับบุคคลทีเ่ ราไปสือ่ สารดวย
2. อยาใชคาํ OVER มากไป ระวังใหดี (สูงไป ตําไป) ่
3. ถอยคํากระชับ ชัดเจน ไมฟมุ เฟอย (เรียนมาแลวขอ 58)
83. ยอความ
ใชหลักเดียวกับขอ 63. (การอานจับใจความ) ขอสอบมักจะใหเปน Passage แลวถามวาทอนใดเปน Main
Idea นีแ่ หละลักษณะการออกสอบยอความ ตองดึง Main Idea มาใหได
BOBBYtutor Thai Note

นิราศพระบาท
ผูแ ตง : สุนทรภู
คําประพันธ : กลอนนิราศ (กลอนแปดชนิดหนึง่ )
ทีม่ า : แตงในโอกาสทีต่ ามเสด็จพระองคเจาปฐมวงศโอรสกรมพระราชวังหลัง ไปนมัสการพระพุทธบาท
สระบุรี
จุดประสงคการแตง : พรรณนาการเดินทางและรําพันถึงนางผูเ ปนทีร่ กั (นางจันทน)
ลักษณะของนิราศ : เดินทาง → คิดถึงนาง → เปรียบเทียบ
การเปรียบเทียบในนิราศ
1. เห็นสิง่ รอบตัว นาง อวัยวะของนาง
2. เห็นสิง่ รอบตัว กวี เบ็ดเตล็ด
3. เห็นสิง่ รอบตัว ไมไดเปรียบเทียบ
* สิง่ รอบตัวไมจําเปนตองเห็นทุกสถานการณ อาจดมก็ได
* สิง่ รอบตัวในนิราศ มีอะไรบาง
1. สถานที่ บาง ....................
2. สิง่ กอสราง
3. นก
4. ปลา
5. ตนไม
* คําทีแ่ ปลวา นางอันเปนทีร่ กั ตองระวังใหดี Ent ชอบถาม
เนือ้ เรือ่ ง : เริม่ ตนดวยการกลาวถึงสาเหตุของการเดินทาง วันเวลาทีอ่ อกเดินทาง คือ วันขึ้น 12 คํ่า เดือน 3 ออก
เดินทางจากวัดระฆังโฆษิตารามโดยขบวนเรือพระทีน่ ง่ั ขึน้ ไปตามลํานํ้าเจาพระยา ผานสถานทีต่ า งๆ ของจังหวัดพระนคร
ธนบุรี นนทบุรี ปทุมธานี อยุธยา คางแรมทีว่ ดั แมนางปลืม้ แลวไปขึน้ บกทีท่ า เรือ เดินขบวนชางไปตามปาเขาลําเนาไพร
จนถึงพระพุทธบาท สระบุรี พักแรมทีพ่ ระพุทธบาท 4 คืน เดินทางกลับเมือ่ วันแรม 3 คํ่า ขณะทีพ่ กั อยูน น้ั ไดชม
ธรรมชาติในบริเวณพระพุทธบาทอยางเพลิดเพลิน
BOBBYtutor Thai Note

กลอนสุภาพ

กลอน 1 บท ประกอบดวยคําประพันธ 4 วรรคหรือ 2 บาท วรรคหนึง่ จะประกอบดวยคํา (พยางค) 7-9 คํา (พยางค)
แตทน่ี ยิ มกันคือ 8 คํา จึงเรียกวา กลอนแปด
7-9 คํา = 1 วรรค
2 วรรค = 1 บาท (บรรทัด)
2 บาท = 1 บท
4 วรรค = 1 บท
(วรรคสดับ) (วรรครับ)
ถึงมวยดินสิน้ ฟามหาสมุทร ไมสน้ิ สุดความรักสมัครสมาน (บาทเอก)
แมเกิดในใตหลาสุธาธาร ขอพบพานพิศวาสไมคลาดคลา (บาทโท)
(วรรครอง) (วรรคสง)
การแบงจังหวะการอานใน 1 วรรค
ถาวรรคนั้นมี 9 คํา จะแบงอานทีละ 3-3-3
ถาวรรคนั้นมี 8 คํา จะแบงอานทีละ 3-2-3
ถาวรรคนั้นมี 7 คํา จะแบงอานทีละ 2-2-3
สัมผัสนอก คือ การสัมผัสสระ นอกวรรคหรือนอกบท เปนสัมผัสบังคับ ซึง่ เปนสัมผัสบังคับ กลอนจะตองมีดงั สูตรนี้
8-11 16-24-27
เกลือกศัตรูจะจูโ จมตี ในทางที่จะขามแมนําใหญ

ถึงชองแคบชองเขาเขาแหงไร อยาไวใจจัดกองออกปองกัน
พระชีช้ มศิลาปะการัง ทีเ่ ขียวดังมรกตสดสี
ทีล่ ายคลายราชาวดี แดงเหลืองเลือ่ มสีเหมือนโมรา

เสียงวรรณยุกตของกลอน : เสียงวรรณยุกตมคี วามสําคัญตอการลงเสียงในทายวรรคของกลอนแตละวรรค จะตองมี


เสียงตรงตามฉันทลักษณ ดังนี้
5 เสียง จัตวา (หามสามัญ)

สามัญ, ตรี สามัญ, ตรี


เรไรจักจัน่ สนัน่ เสียง เพราะเพียงดนตรีปไ ฉน
บุหรงรองพรองเพรียกพงไพร ฟงเพลินจําเริญใจไปมา
BOBBYtutor Thai Note

ตรงนีต้ อ งระวัง
1. "โออาลัยใจหายไมวายหวง
ดังศรสักปกซําระกํ
้ าทรวง เสียดายดวงจันทราพะงางาม
เจาคุม แคนแสนโกรธพิโรธพี่ แตเดือนยีจ่ นยางเขาเดือนสาม
จนพระหนอสุรยิ วงศทรงพระนาม จากอารามแรมรางทางกันดาร
ดวยเรียมรองมุลกิ าเปนขาบาท จํานิราศรางนุชสุดสงสาร
ตามเสด็จโดยแดนแสนกันดาร นมัสการรอยบาทพระศาสดา"
"ดังศรสักปกซําระกํ
้ าทรวง" = ภาพพจน (อุปมา)
"เสียดายดวงจันทราพะงางาม = ในทีน่ ด้ี วงจันทรา หมายถึง นางจันทน
"แตเดือนยีจ่ นยางเขาเดือนสาม = แต แปลวา Since
"ดวยเรียมรองมุลกิ าเปนขาบาท" = ดวย แปลวา เพราะ เรียม แปลวา พี่ (ผูชาย)
ขอ 1 กลอนชวงนี้ 3 บท สุนทรภูบ อกเหตุความจําเปนวาทําไปตองไปนมัสการรอยพระพุทธบาท เพราะเปน
ขารับใชของกรมพระราชวังหลัง (วังหลัง ปจจุบนั คือ ร.พ.ศิริราช)
2. "แสนสลดใหระทดระทวยกาย ไมเหือดหายหวงหวงเปนหวงครัน"
กลอนบทนี้ เดนทางวรรณศิลป ตรงสัมผัสอักษร (สัมผัสพยัญชนะ)
ระทด-ระทวย เหือด-หาย-หวง-หวง-หวง
3. "ถึงคลองขวางบางจากยิง่ ตรมจิต ใครชางคิดชือ่ บางไวกางกัน้
วาชื่อจากแลวไมรกั รูจ กั กัน พิเคราะหครันฤๅมาพองกับคลองบาง
ทัง้ จากทีจ่ ากคลองเปนสองขอ ยังจากกอนั้นก็ขั้นในคลองขวาง
โอวาจากชางมารวบประจวบทาง ทัง้ จากบางจากไปใจระบม"
กลอน 2 บทนี้ เดนทางการประพันธคอื เลนคํา (ใชคาคํ ํ าเดียวกันวางอยูท วั่ กลอน แตความหมายจะไมเหมือนกัน)
ชวงนี้เลนคําวา "จาก"
บางจาก = ชือ่ สถานที่
จากแลว = พลัดพราก
จากที่ = พลัดพราก
จากคลอง = ชื่อคลอง
จากกอ = กอตนไม (กอตนจาก ทีเ่ ขาเอาใบมาทําขนมจาก)
โอวาจาก = พลัดพราก
จากบาง = ชือ่ สถานที่
จากไป = พลัดพราก
4. "ถึงสามเสนแจงความตามสําเหนียก เมือ่ แรกเรียกสามแสนทัง้ กรุงศรี
ประชุมฉุดพุทธรูปในวารี ไมเคลือ่ นทีช่ ลธารบาดาลดิน"
กลอนบทนีบ้ อกทีม่ าของตําบลสามเสน สมัยกอนเรียกวา สามแสน แลวปจจุบนั แผลงเสียงเปนสามเสน
เพราะทีเ่ รียกสามแสนก็คอื มีพระพุทธรูปลอยนํามาแล
้ วคนสามแสนคนฉุดพระพุทธรูปก็ไมขน้ึ จากนํ้า
BOBBYtutor Thai Note

5. ขอใจนุชทีฉ่ นั สุจริตรัก ใหแนนหนักเหมือนพุทธรูปเลขาขํา


ถึงแสนคนจะมาวอนชะออนนํา สักแสนคําอยาใหเคลือ่ นจงเหมือนใจ"
นุช = นางอันเปนทีร่ กั ในทีน่ ้ี คือ นางจันทน
สุนทรภู ก็เปรียบกับคนรักวาคนแสนคนมาจีบมาชอบ ก็ขออยาใหเคลือ่ นไหว โนมเอียงเหมือนพระพุทธรูป
เลย แสดงวาเห็นสิง่ รอบตัวแลวเปรียบเทียบ
6. "ถึงบางพลัดยิง่ อนัตอนาถจิต นิง่ พินจิ นึกนานําตาไหล ้
พี่พลัดนางรางรักมาแรมไกล ประเดีย๋ วใจพบบางริมทางจร"
เลนคําวา "พลัด" บางพลัด = ชือ่ สถานที่ (N.)
พลัดนาง = พลัดพราก (V.)
7. "ถึงบางซื่อชือ่ บางนีส้ จุ ริต เหมือนซือ่ จิตทีพ่ ต่ี รงจํานงสมร
มิตรจิตขอใหมติ รใจจร ใจสมรขอใหซื่อเหมือนชื่อบาง"
เห็นสิง่ รอบตัว "บางซื่อ" ก็เปรียบเทียบกับใจนางขอใหซอ่ื เหมือนชื่อบาง
8. "เห็นจันทนสกุ ลูกเหลืองตรลบกลิน่ แมลงภูบ นิ รอนรองประคองหวง
พฤกษาพองตองนามกานดาดวง พีย่ ลพวงผลจันทนใหหวัน่ ใจ
แมลงภูเ ชยเหมือนพีเ่ คยประคองชิด นัง่ พินจิ นึกนานํ้าตาไหล
เห็นรักรวงผลิผลัดสลัดใบ เหมือนรักใจขวัญเมืองทีเ่ คืองเรา
พีเ่ วียนเตือนเหมือนอยางนํ้าคางยอย ใหแชมชอยชื่นชอเชนกอเกา
โอรกั ตนฤๅมาตองกับสองเรา จึงใจเจาโกรธไปไมไดนาน"
เห็นตนไมคอื ตนจันทน แลวมีแมลงภูม าบินตอมผลจันทน (สิง่ รอบตัว) สุนทรภูก เ็ ลยคิดถึงตัวเองกับ
นางจันทน (ชางบังเอิญวา สิง่ รอบตัวกับชีวติ สุนทรภู ชือ่ ชางพองตรงกัน)
"เห็นรักรวงผลิผลัดสลัดใบ เหมือนรักใจขวัญเมืองทีเ่ คืองเรา"
รักรวง = ดอกรักรวง
รักใจ = นางจันทน
"ใหแชมชอยชื่นชอเชนกอเกา" สัมผัสอักษรเดน
9. "พินจิ นางแมคา ก็นา ชม ทาคมรมเร็วเรงอยูเ ซ็งแซ
ใสเสือ้ ตึงรึงรัดดูอดั แอ พีแ่ ลแลเครือ่ งเลนเปนเสียดาย"
"ใสเสือ้ ตึงรึงรัดดูอดั แอ" นักเรียนเห็นภาพอะไรจากกลอนวรรคนี้
ขอ 9 นี้ เปนความเจาชูของผูชาย (สุนทรภู) ขณะกําลังเศราคิดถึงแฟนตัวเอง แตพอเห็นสาวอืน่ แตงตัว
วาบหวิวก็อดจะแสดงนิสยั อันถาวรของผูช ายออกมาไมไดไชไหมคะ
10. "ถึงหาดขวางบางพูดเขาพูดกัน พี่คิดฝนใจฉงนอยูคนเดียว
เปนพูดชือ่ ฤๅผีภตู ปศาจหลอก ใครชวยบอกภูตผีมานี่ประเดี๋ยว
จะสัง่ ฝากขนิษฐาสุดาเดียว ใครเกินเกีย้ วแลวอยาไวอะไรเลย"
ถึงบางพูด แตเสียงไปพองกับภูต สุนทรภูเ ลยขอฝากนองจันทนไวกบั ภูตผีปศ าจ วาอยาใหใคร
เขามาจีบ เปนอารมณทแ่ี สดงวารักและหวงนางจันทน ขนาดตองฝากกับภูตผีปศ าจ
BOBBYtutor Thai Note

11. "ถึงบางหลวงทรวงรอนดังศรปก พีร่ า งรักมาดวยราชการหลวง


เมือ่ คิดไปใจหายเสียดายดวง จนเรือลวงมาถึงยานบานกระแซง"
เลนคําวา "หลวง" บางหลวง = ชือ่ สถานที่
ราชการหลวง = ในวัง งานของพระเจาแผนดิน
"เสียดายดวง" = เสียดาย นางจันทนไมไดมาดวย
12. "ตาโถงถุงนุง ออมลงกรอมซน เปนแยบยลเมือ่ ยกขยับยาง
เห็นขาขาววาวแวบอยูห วางกลาง ใครยลนางก็เห็นนาจะปรานี
ดูเหยาเรือนหาเหมือนอยางไทยไม หลังคาใหญพน้ื เล็กเปนโลงผี
ระยะบานยานนัน้ ก็ยาวรี จําเพาะมีฝง ซายเมือ่ พายไป"
บรรยายสภาพบานเรือนและการแตงกาย ของชาวมอญ สามโคก จ.ปทุมธานี
ตาโถง = ผานุงชาวมอญ ทอเปนตาโตๆ
13. "เห็นลมอือ้ จะใครสอ่ื สาราสัง่ ถึงรอยชั่งคูเชยเคยถนอม
ใหนม่ิ นองครองศักดิอ์ ยาปลักปลอม เรียมนีต้ รอมใจถึงคะนึงนาง"
รอยชั่ง = นางอันเปนทีร่ กั
พอสุนทรภูเ ห็นลมพัดมาก็จะวอนสายลมไปบอกนางจันทนวา พีค่ ดิ ถึงนอง
นักเรียนพอจะดูเปนหรือยังวานิราศจะเปนลักษณะนี้ รําพึงรําพันแบบออนๆ
14. "โอกระแสแควเดียวทีเดียวหนอ มาเกิดกอเกาะถนัดสกัดหนา
ตองแยกคลองออกเปนสองทางคงคา นีฤ่ ๅคนจะมินา เปนสองใจ"
เห็นแมนาแบํ้ งออกเปนสองทาง เพราะมีสนั ดอนอยูก ลางแมนา้ํ แลวสุนทรภูก าลั ํ งบอกวา ขนาดแมน้ํา
ยังแยกออกเปน 2 สายได แลวใจคนเราจะไมคดิ มี 2 ใจหรือ
"คน" ในกลอนนี้ หมายถึง จะประชดประชัน นางจันทน
15. "นกยางเลียบเหยียบปลานขาหยิก เอาปากจิกบินฮือขึน้ เวหา"
ตรงนีเ้ ดน ดานจินตภาพดานมีการเคลือ่ นไหว คือ ใชคาให ํ เราดูวา มีการเคลือ่ นไหวจริง "บินฮือขึน้ เวหา"
16. "หนาวังหรือจะสัง่ ดวยนะนก ใหแนบอกของพีร่ วู า โหยไห
มิทนั สัง่ สกุณนิ ก็บนิ ไป ลงจับใกลนกตะกรุมริมวุม วน
ศีรษะเตียนเลีย่ นโลงหัวลานเลือ่ ม เหนียงกระเพือ่ มรองแรงแสยงขน
โอหวั นกนีก่ ล็ า นประจานคน เมือ่ ยามยลพีย่ ง่ิ แสนระกําทรวง"
แนบอก = นางอันเปนทีร่ กั
กลอน 2 บทนี้ สุนทรภูเ ห็นนก ก็จะฝากนกไปบอกนางจันทนวา สุนทรภูค ดิ ถึง กลอนตรงนีพ้ อ
จะอนุมานไดวา สุนทรภูเ ปนคนศีรษะลาน "โอหวั นกนีก่ ล็ า นประจานคน"
17. "ถึงเกาะเกิดเกิดเกาะขึน้ กลางนํา้ เหมือนเกิดกรรมเกิดราชการหลวง
จึงเกิดโศกขัดขวางขึน้ กลางทรวง จะตักตวงไวกเ็ ติบกวาเกาะดิน"
BOBBYtutor Thai Note

ความงามวรรณศิลปตรงนีเ้ ลนคําวา "เกิด"


เกาะเกิด = ชือ่ สถานที่
เกิดเกาะ = ผุด, ปรากฏ
เกิดกรรม = มีกรรม
เกิดราชการหลวง = ทํางานรับใชราชการ
เกิดโศก = มีความทุกข
18. "ทัง้ วังหลวงวังหลังก็รง้ั รก เห็นนกหกซอแซบนพฤกษา
ดูปราสาทราชวังเปนรังกา ดังปาชาพงชัฏสงัดคน"
ภาพพจน "อุปลักษณ" = "ดูปราสาทราชวังเปนรังกา"
"อุปมา" = "ดังปาชาพงชัฏสงัดคน"
ตอนนีพ้ รรณนาสภาพเมืองเกาอยุธยาวาเปนเมืองราง หลังจากถูกพมาตี
19. "อนิจจาธานินทรสน้ิ กษัตริย เหงาสงัดเงียบไปดังไพรสณฑ
แมกรุงยังพรัง่ พรอมประชาชน จะสับสนแซเสียงทัง้ เวียงวัง
มโหรีปก ลองจะกองกึก จะโครมครึกเซ็งแซดว ยแตรสังข"
จินตภาพดานเสียงเดน "สับสนแซเสียง"
"กองกึก"
"โครมครึกเซ็งแซ"
20. "กําแพงรอบขอบคูกด็ ลู กึ ไมนา ศึกอายพมาจะมาได
ยังใหมนั ขามเขาเอาเวียงชัย โออยางไรเหมือนบุรไี มมีชาย"
นํ้าเสียงของสุนทรภูก าลั
ํ งติเตียนคนอยุธยา วาทําไมปลอยใหพมามันตีกรุงศรีฯ ได
บุรี = ในทีน่ ค้ี อื กรุงศรีอยุธยา
21. "ขอเทเวศรเขตสวรรคชน้ั ดุสติ ดลใจมิตรอยาใหเหมือนกับกรุงใหญ
ใหเหมือนกรุงเราทุกวันไมพรัน่ ใคร นัน่ แลใจเห็นจะครองกับนองนาน"
สุนทรภูข อพรใหกรุงรัตนโกสินทรอยาลมสลายเหมือนกรุงอยุธยาเลย เพราะอยากอยูก บั นองจันทนนานๆ
"กรุงใหญ" = กรุงศรีอยุธยา
"กรุงเรา" = กรุงรัตนโกสินทร
22. "คอยขืนเคีย้ วขาวคําสักกํามือ พอกลืนครือคอแคนดังขวากคม
จะเจือนํ้าซํ้าแสบในทรวงเสียว ทีเ่ ค็มเปรีย้ วกลํากลื
้ นก็ขื่นขม"
สภาพความรูส กึ ของสุนทรภูท ค่ี ดิ ถึงนางอันเปนทีร่ กั วากินขาว กินนํ้าก็กนิ ไมลง นักเรียนเคยเปน
เหมือนบทกลอนบทนีไ้ หม เวลาถูกแฟนทิง้
23. "เขาลําคลองหัวรอตอระดะ ดูเกะกะรอรางทางพมา
เห็นรอหักเหมือนหนึง่ รักพีร่ อรา แตรอทารัง้ ทุกขมาตามทาง"
BOBBYtutor Thai Note

กลอนบทนี้ เลนคําวา "รอ"


รอ (N.) = เสาหลักปกกัน้ กระแสนําไม ้ ใหตลิง่ พัง
รอ (V.) = รอคอย
หัวรอ = เสา
รอราง = เสา
รอหัก = เสา
รอรา = รอคอย
รอทา = รอคอย
24. "ถึงบอโพงถามีโพงจะผาสุก จะโพงทุกขเสียใหสน้ิ ทีโ่ ศกศัลย"
เลนคําวา "โพง"
บอโพง = ชือ่ สถานที่
มีโพง = (N.) ทีว่ ดิ นํ้าในรองสวน
โพงทุกข = (V.) วิดความทุกข
25. "ถึงบางระกําโอกรรมระยําใจ เคราะหกระไรจึงมารายไมวายเลย
ระกํากายมาถึงทายระกําบาน ระกํายานนีก่ ย็ าวนะอกเอย
โอคนผูเขาชางอยูอยางไรเอย ฤๅอยูเคยความระกําทุกคําคื่ น"
เลนคําวา "ระกํา"
บางระกํา = ชือ่ สถานที่
ระกํากาย = ทรมาน ชอกชํ้า
ระกําบาน = ชือ่ สถานที่
ระกํายาน = ชือ่ สถานที่
ความระกํา = ทรมาน ชอกชํ้า
26. "ถึงอรัญญิกยามแดดแผดพยับ เสโทซับซาบโทมนัสสา
ถึงตะเคียนดวนดวนรีบนาวามา ถึงศาลาลอยแลลิงโลดใจ
เงือ้ มตลิง่ งิ้วงามตระหงานยอด ระกะกอดเกะกะกิง่ ไสว
พยุยวบกิง่ เยือกเขยือ้ นใบ ถึงวังตะไลเห็นบานละลานแล"
กลอน 2 บทนี้ เดนดาน สัมผัสอักษร
เส-ซับ-ซาบ-สา
ลา-ลอย-แล-ลิง-โลด
เงือ้ ม-งิว้ -งาม-หงาน
กะ-กอด-เกะ-กะ-กิง่
ยุ-ยวบ-เยือก-เขยื้อน
ละ-ลาน-แล
BOBBYtutor Thai Note

27. "บางขึน้ บนขนสงคนขางลาง เสียงโฉงฉางชามแตกกระแทกขัน


จนคนบนสัปคับรับไมทนั หมอขาวขันตกแตกกระจายราย
ยามกระสอบกรอบแกรบกระไกรกริก กลักพริกพลิกแพลงตะแคงหงาย"
จินตภาพดานเสียง = "เสียงโฉงฉางชามแตกกระแทกขัน"
จินตภาพดานเคลือ่ นไหว = "หมอขาวขันตกแตกกระจายราย"
สัมผัสพยัญชนะเดน = "กรอบแกรบกระไกรกริก"
28. "กูบกระโดกโยกอยางทุกยางเดิน เขยือ้ นเยินยอบเยือกยะยวบกาย"
สัมผัสอักษรเดน = โยก-อยาง-ยาง-เขยื้อน-เยิน-ยอบ-เยือก-ยะ-ยวบ
ในขณะเดียวกันจินตภาพการเคลือ่ นไหวก็มปี ะปนดวย
29. "รุกขชาติดาษดูระดะปา สกุณาจอแจประจําจับ
ดุเหวาแววหวาดไหวฤทัยวับ จะแลกลับหลังเหลียวยิง่ เปลีย่ วใจ"
สัมผัสอักษรเดน มีทกุ วรรค
30. "เห็นเขาตกเขาแตกมาตกลึก อนาถนึกแลวนานํ้าตาไหล
พี่ตกยากจากนางมากลางไพร วิตกใจตกมาถึงคีร"ี
เลนคําวา "ตก"
เขาตก = ชือ่ สถานที่
ตกลึก = ลวง, ถลําลึก
ตกยาก = ลําบาก
วิตก = กลุม อกกลุม ใจ
ตกมา = เขามาถึง
31. "ประจวบจนสุรยิ นเย็นพยับ ไมไดศพั ทเซ็งแซดว ยแตรสังข
ปร ะนาดฆองกลองประโคมดัง ระฆังหงัง่ หงัง่ หงางลงครางครึม
มโหรีปไ ฉนจับใจแจว วิเวกแววกลองโยนตะโพนกระหึม"
กลอนชวงนี้ ใหจนิ ตภาพดานเสียงเดน
32. "ไฟตะเกียงเรียงรอบพระมณฑป กระจางจบจันทรแจมแอรมผา
ดอกไมพมุ จุดงามอรามตา จับศิลาแลเลือ่ มเปนลายลาย
พระจันทรสอ งตองยอดมณฑปสุก ในหนามุขเงางามอรามฉาย
นกบินกรวดพรวดพราดประกายพราย พลุกระจายชอชวงดังดวงเดือน"
กลอน 2 บทนีใ้ ชคําใหเกิดภาพ ความงาม จินตภาพดานภาพ
ดอกไมพมุ กับนกบินกรวด = ดอกไมไฟชนิดหนึง่
33. "กับหมูไ มไกรกรวยกันเกรากราง พะยอมยางตาพยัคฆพยุงเหียง
ขอยมะขามตามทางสลางเรียง นอกเขาเคียงคูค ปู ระสานคํา"
Ent ชอบถามพวกนิราศบอยๆ วาใหนบั ดอกไม, ปลา, ตนไม วามีกี่ชนิด อยางขอนีใ้ หนกั เรียนนับวา
มีตนไมกี่ชนิด ตอบ 11 ชนิด
ไกร-กราย-กันเกรา-กราง-พะยอม-ยาง-ตาพยัคฆ-พยุง-เหียง-ขอย-มะขาม
BOBBYtutor Thai Note

34. "ทวาราทีต่ รงหนาบันไดนาค มีรปู รากษสสองอสูรขยัน


แสยะแยกโอษฐอา สองตามัน ยืนยิงฟนแยกเขีย้ วอยูอ ยางเปน
บันไดนาคนาคในบันไดนัน้ ดูผกผันเพียงจะเลือ้ ยออกโลดเลน
ขยํ้าเขี้ยวขบปากเหมือนนาคเปน ตาเขมนมองมุง สะดุง กาย"
รากษส = ยักษ
อยูอ ยางเปน = เหมือนมีชีวิตจริง
"ดูผกผันเพียงจะเลือ้ ยออกโลดเลน" = จินตภาพเคลือ่ นไหว
เหมือนนาคเปน = เหมือนมีชีวิตจริง
35. "ทัง้ ซุม เสามณฑปกระจกแจม กระจังแซมปลายเสาเปนบัวหงาย
มีดอกจันทนกา นแยงสลับลาย กลางกระจายดอกจอกประจําทํา
พืน้ ผนังหลังบัวทีฐ่ านบัทม เปนครุฑอัดยืนเหยียบภุชงคขยํา"
สถาปตยกรรมของไทย
36. "นาคสะดุง รุงรังกระดึงหอย ใบโพธิร์ อ ยระเรงอยูเ หงงหงัง่
เสียงประสานกังสดาลกระดึงดัง วิเวกวังเวงในหัวใจครัน"
จินตภาพดานเสียงเดน
37. "แมนกลับชาติเกิดใหมกลายเปนคน ชือ่ วาจนแลวจงจากกําจัดไกล
สตรีหงึ หนึง่ แพศยาหญิง ทัง้ สองสิง่ อยาไดชดิ พิสมัย
สัญชาติชายทรชนทีค่ นใด ใหหลีกไกลรอยโยชนอยารวมทาง"
คําอธิษฐานของสุนทรภูท ข่ี อพรรอยพระพุทธบาท
1. อยาใหเกิดมาจน
2. อยาไดผหู ญิงขีห้ งึ เปนเมีย
3. อยาไดหญิงแพศยาเปนเมีย
4. อยาใหเจอคนเลว
38. "ศาลารีมที ง้ั ระฆังหอย เขาตีบอ ยไปยังคําไม ่ ขาดเสียง"
ความเชือ่ ของพุทธศาสนิกชนทีไ่ ปทําบุญแลวตองตีหรือเคาะระฆัง เพือ่ บอกเทวดาวาตนเองมาทําบุญแลว
หรืออาจจะเปนเคล็ดวาทําใหมบี ญ ุ มีชอ่ื เสียงโดงดังเหมือนเสียงระฆัง
39. "ตีเขาปบรับโปกสองมือปด ประจบติดเตะผางหวัดขวางหวือ
กระหวัดหวิดหวิวผวาเสียงฮาฮือ คนดูอื้อเออเอาสนั่นอึง"
จินตภาพดานการเคลือ่ นไหวรวมกับจินตภาพดานเสียง
40. "อธิษฐานแลวก็ลาฝาพระบาท เทีย่ วประพาสในพนมพนาสัณฑ"
ฝาพระบาท หมายถึง รอยพระพุทธบาท
BOBBYtutor Thai Note

อิเหนา
ผูพ ระราชนิพนธ : พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
ลักษณะคําประพันธ : กลอนบทละคร (กลอนแปดชนิดหนึง่ )
จุดประสงคการแตง : ใชเลนละครใน
เนือ้ เรือ่ งยอ :
มีกษัตริยว งศเทวัญ 4 องค คือ ทาวกุเรปน ทาวดาหา ทาวกาหลัง และทาวสิงหัดสาหรี ทาวกุเรปนมีโอรสองค
สําคัญซึง่ เกงกลาสามารถยิง่ ชื่อ อิเหนา และทาวดาหามีธดิ าซึง่ งามยิง่ นัก ชือ่ นางบุษบา กษัตริยท ง้ั สองนครใหโอรสและ
ธิดาตุนาหงัน (หมัน้ ) กันไวตง้ั แตวยั เยาวตามประเพณีของกษัตริยว งศเทวัญ
เมื่ออิเหนาอายุได 15 ป อิเหนาตองไปชวยปลงศพพระอัยกีทเ่ี มืองหมันหยา ไดพบกับนางจินตะหรา ธิดาทาว
หมันยาก็หลงรักและไมยอมกลับเมืองกุเรปนเพือ่ สมรสกับนางบุษบา ทาวกุเรปนจึงมีหนังสือไปเรียกตัวอิเหนากลับ แลว
นัดทาวดาหาใหเตรียมการวิวาห อิเหนาเมือ่ ทราบเรือ่ งก็ออกอุบายขอไปเทีย่ วปาพรอมบริวาร แลวปลอมตัวเปนโจรปาชือ่
มิสาระปนหยี ตัง้ ใจจะไปเมืองหมันยา ระหวางทางไดสรู บกับกษัตริยห ลายเมือง และมีชัยชนะ เมือ่ ไปถึงเมืองหมันหยา
อิเหนาไดนางจินตะหราเปนชายา ทาวดาหาทรงทราบก็กริว้ ประกาศวาใครมาขอนางบุษบาก็จะยกให
กลาวถึงระตูจรกาซึง่ ปรารถนามีคู จึงใหชา งวาดไปวาดรูปธิดาเมืองตางๆ ชางวาดไดลอบวาดรูปนางจินดาสาหรี
ธิดาของทางสิงหัดสาหรี แลววาดรูปนางบุษบา ธิดาทาวดาหา 2 รูป ปะตาระกาหลาซึง่ เปนองคเทวอัยกา ไดลกั รูปนาง
บุษบาไปจากชางวาดรูปหนึง่ เหลือไวรปู หนึง่ เมือ่ จรกาเห็นรูปนางบุษบาก็หลงรัก จึงออนวอนพีช่ ายใหมาสูข อนางบุษบา
ไปอภิเษก ทาวดาหายอมยกนางบุษบาใหแกจรกาเมือ่ ทรงทราบวาอิเหนาไดตดั รอนการอภิเษกสมรส ฝายองค
ปะตาระกาหลาไดนํารูปนางบุษบาทีล่ กั จากชางวาดนัน้ ไปทิง้ ไวทโ่ี คนตนไทร วิหยาสะกําตามกวางมาพบรูปนาง ก็คลัง่ ไคล
ใหลหลง วอนทาวกะหมังกุหนิง ซึง่ เปนพระราชบิดาใหสง ทูตไปขอนางบุษบา เรือ่ งราวตอจากนีเ้ ปนตอนทีน่ กั เรียนจะได
อานตอไป คือ ทาวกะหมังกุหนิงยกทัพไปตีเมืองดาหา เพราะทาวดาหาไมยอมยกนางบุษบาใหลกู ชายของตน

ตรงนีต้ อ งระวัง

1. "กรุงกษัตริยข อขึน้ ก็นบั รอย เราเปนเมืองนอยกระจิหริด


ดังหิง่ หอยจะแขงแสงอาทิตย เห็นผิดระบอบบุราณมา"
"กรุงกษัตริยข อขึน้ ก็นบั รอย" หมายถึง เมืองของกษัตริยว งศเทวัญทีม่ แี สนยานุภาพ ทีก่ ษัตริยเ มืองตางๆ
ขอนอมเปนเมืองขึ้น
"ดังหิง่ หอยจะแขงแสงอาทิตย" ความเปรียบตรงนี้ เปนคําพูดของระตูปาหยัง กับทาวปะหมันซึง่ เปนนอง
ของทาวกะหมังกุหนิง กราบบังคมทูลเสด็จพีก่ ะหมังกุหนิงวา เมืองของเราเล็กดัง่ หิง่ หอย สวนเมืองของกษัตริย
วงศเทวัญเปรียบเปนแสงอาทิตย
BOBBYtutor Thai Note

2. "ผิดก็ทําสงครามดูตามที เคราะหดกี จ็ ะไดดงั ใฝฝน


พีพ่ ฤกษาพนาวัน จะอาสัญเพราะลูกเหมือนกลาวมาฯ"
ทาวกะหมังกุหนิงรักลูกชายมาก (วิหยาสะกํา) ทีล่ กู ชายอยากไดนางบุษบาเปนเมียก็รบเราใหพอ ไปขอ
บุษบาใหหนอย ทาวกะหมังกุหนิงจึงพูดประโยคขอ 2 นี้วา ถาเขาไมใหบษุ บาก็ตอ งทําศึกสงครามแยงชิงนางบุษบา
กันหนอย
3. "หวังเปนเกือกทองรองบาทา พระผูว งศเทาวาอันปรากฏ"
ขอความในพระราชสารทีท่ า วกะหมังกุหนิงสงไปเมืองดาหา ใชคาพู ํ ดหวานๆ ออนนอมถอมตน เพราะหวัง
อยากไดลกู สาว (บุษบา) ของเขา จึงพูดประโยควา "หวังเปนเกือกทองรองบาทา" ตรงนีเ้ ปนความเปรียบแบบอุปลักษณ
วาทาวกะหมังกุหนิงยอมเปนรองเทาของทาวดาหา
4. "ซึง่ จะรับของสูร ะตูน้ี เห็นผิดประเพณีหนักหนา
ฝูงคนทัง้ แผนดินจะนินทา สิง่ ของทีเ่ อามาจงคืนไปฯ"
ตอนนีท้ า วดาหาเชิดใสคณะทูตจากทาวกะหมังกุหนิงไมยอมรับของบรรณาการ ทีเ่ ขามาสูข อนางบุษบา
เพราะไดมอบนางบุษบาใหกบั ระตูจรกาไปแลว ตรงนีแ้ สดงถึงความเปนกษัตริย "ทีต่ รัสแลวไมคนื คํา" (กษัตริย
วงศเทวัญใชคานํ ํ าหนาวา "ระเดน" กษัตริยเ มืองอืน่ ใชคํานําหนาวา "ระตู")
5. "ถาแมนมิยนิ ยอมอนุญาต ใหพระราชธิดามารศรี
เรงระวังพระองคใหจงดี ตกแตงบุรใี หมน่ั คงฯ"
ทูตจากทาวกะหมังกุหนิงพูดบทนีอ้ ยางอหังการมาก เมือ่ ทาวดาหาไมยอมยกนางบุษบา ก็เลยพูดตาม
ขอ 5 นี้ ถือวาทูตนีส้ นั ดานหยาบ กลาวจาบจวงตอหนาทาวดาหามาก เหิมเกริมวาใหเมืองดาหาระวังตัวใหดจี ะ
โดนบุกแน
6. "เราก็เรืองฤทธาศักดาเดช อาณาจักรนัคเรศกวางขวาง
จําตองมีมานะไมละวาง จะชิงนางบุษบาลาวัณย
แมนมิไดสมคิดดังจิตปอง ไมคนื ครองกรุงไกรไอศวรรย
จะสงครามตามตีตดิ พัน ไปกวาชีวนั จะบรรลัยฯ"
ตรงนีแ้ สดงถึงบุคลิกลักษณะนิสยั ของทาวกะหมังกุหนิง วาเปนคนพาล ซึง่ พอจะอนุมานวาเปนภาพยนตร
เรือ่ ง "2499 อันธพาลครองเมือง" ก็พอเขาไมยอมยกนางบุษบาใหตวั เอง ทาวกะหมังกุหนิงก็แสดงอํานาจวา จะลักพา
นางบุษบาไป ถาเขาไมยนิ ยอมก็จะตีรบราฆาฟนกันยกใหญ แบบนีไ้ มดเี ลยนะ นักเรียนจะทําแบบทาวกะหมังกุหนิง
ไหมคะ
7. "จึงทูลวาถายกวันพรุง นี้ จะเสียชัยไพรีเปนแมนมัน่
งดอยูอ ยาเสด็จสักเจ็ดวัน ถาพนนัน้ ก็เห็นไมเปนไร
ขอพระองคจงกําหนดงดยาตรา ฟงคําโหราหาฤกษใหม
อันการยุทธยงิ ชิงชัยหนักหนวงนําพระทั
้ ยดูใหดฯี "
คํากราบบังคมทูลของโหรตอทาวกะหมังกุหนิงวา อยาเพิง่ ไปรบเลย ใหคอยทาสัก 7 วัน กอนตามฤทธิ์ผา
นาทีแสดงวาความเชือ่ เรือ่ งโหราศาสตรมมี าตัง้ แตโบราณขนาดกษัตริยจ ะออกรบก็ตอ งมีการหาฤกษหายาม
BOBBYtutor Thai Note

8. "เมื่อเราบัญชาการกําหนดทัพ แลวจะกลับงดอยูอ ยางไรได


อายแกไพรฟา เสนาใน จะวากลัวฤทธิไกรไพริน
จําจะไปตานตอรอฤทธิ์ ถึงมวยมิดมิใหใครดูหมิน่
เกียรติยศจะไวในธรณินทร จนสุดสิน้ ดินแดนแผนฟา"
ทาวกะหมังกุหนิงไมฟง คําทํานายของโหรหลวง เพราะไดลน่ั วาจาใหเตรียมกองทัพแลว แสดงลักษณะ
นิสยั วารักษาเกียรติยศของตัวเองมาก ไมยอมใหใครมาดูหมิน่ ได ถาขืนไปยกเลิกกองทัพ คนอาจจะหาวา ขีข้ ลาดได
คือ พระองคพดู คําไหนก็คานั ํ ้น ไมกลับคํา = "เสียชีพ อยาเสียสัตย"
9. "เสียแรงหวังฝงฝากชีวี พระจะมีเมตตาก็หาไม
หมายบําเหน็จจะรีบเสด็จไป ก็รเู ทาเขาใจในทํานอง
ดวยระเดนบุษบาโฉมตรู ควรคูภ ริ มยสมสอง
ไมตาศั
่ํ กดิร์ ปู ชัว่ เหมือนตัวนอง ทัง้ พวกพองสุรยิ ว งศพงศพนั ธุ"
นางจินตะหรา ตัดพออิเหนาทีอ่ เิ หนาจะไปชวยทาวดาหารบ เพราะทาวดาหาเปนพอนางบุษบาตัวจินตะหรา
เองก็ระแวงกลัวอิเหนาจะไปรักนางบุษบา ประโยคทอนนีแ้ สดงความนอยเนือ้ ตํ่าใจ ตัดพอ
"ไมตาศั
่ํ กดิร์ ปู ชัว่ เหมือนตัวนอง ทัง้ พวกพองสุรยิ ว งศพงศพนั ธุ"
นอง = นางจินตะหรา
10. "นี่จําเปนจึงจําจากไป เพราะกลัวภัยพระราชบิดา
แมนเสียดาหาก็เสียวงศ อัปยศถึงองคอสัญหยา
เจากับพีก่ จ็ ะมีแตนนิ ทา แกวตาจงดําริตริตรอง"
3 บาทนี้ แสดงเหตุผลของอิเหนาบอกกับนางจินตะหราวาทําไมตนเองตองไปชวยรบ เพราะ กลัวพระบิดา
(ทาวกุเรปน) จะทําโทษ อิเหนาเคยสรางความเดือดรอนใหกบั ทาวกุเรปนครัง้ หนึง่ คือ ไมยอมแตงงานกับนางบุษบา
ซึง่ เขาหมัน้ กันตัง้ แตเด็กๆ ถาคราวนีไ้ มไปชวยเมืองดาหารบ คงถูกทาวกุเรปนผูเ ปนพอเลนงานแน
"แมเสียดาหาก็เสียวงศ" แสดงวากษัตริยว งศเทวัญนีม้ คี วามรักสมัครสมานสามัคคี ชวยเหลือกัน
รักพวกพอง ถึงแมไมใชเมืองของอิเหนาเอง อิเหนาก็รกั ตระกูลวงศเทวัญ อิเหนามีสามัญสํานึก
11. "แววเสียงสําเนียงบุหรงรอง วาเสียงสามนิม่ นองเสนหา
พระแยมเยีย่ มมานทองทัศนา เห็นแตปา พุม ไมใบบัง
เอนองคลงอิงพิงเขนย กรเกยกายพักตรถวิลหวัง
รสรักรอนรนพนกําลัง ชลนัยนไหลหลัง่ ลงพรัง่ พรายฯ"
พรรณนาความเศราของอิเหนาทีจ่ ากคนรักมา ตอนนี้คนรักมี 3 คน นอกจากนางจินตะหราแลวมี
นางสการะวาตี กับมาหยารัศมี "วาเสียงสามนิม่ นองเสนหา"
BOBBYtutor Thai Note

12. "วาพลางทางชมคณานก โผนผกจับไมองึ มี่


1. เบญจวรรณจับวัลยชาลี เหมือนวันพีไ่ กลสามสุดามา
2. นางนวลจับนางนวลนอน เหมือนพีแ่ นบนวลสมรจินตะหรา
3. จากพรากจับจากจํานรรจา เหมือนจากนางสการะวาตี
4. แขกเตาจับเตารางรอง เหมือนรางหองมาหยารัศมี
5. นกแกวจับแกวพาที เหมือนแกวพีท่ ง้ั สามสัง่ ความมา
6. ตระเวนไพรรอนรองตระเวรไพร เหมือนเวรใดใหนริ าศเสนหา
7. เคาโมงจับโมงอยูเ อกา เหมือนพีน่ บั โมงมาเมือ่ ไกลนาง
8. คับแคจับแคสันโดษเดีย่ ว เหมือนเปลาเปลีย่ วคับใจในไพรกวาง
ชมวิหคนกไมไปตามทาง คะนึงนางพลางรีบโยธีฯ"
ความงามวรรณศิลปตรงนี้ เปนการทีก่ วีเห็นสิง่ รอบตัวแลวเปรียบเทียบกับนางอันเปนทีร่ กั อาศัย
"การเลนคํา" เปนสือ่ ถายทอดออกมา ทําใหเกิดความไพเราะและมีความหมายลึกซึง้ ยิง่ ขึน้ แสดงถึงอารมณ
ความรูส กึ เศราสรอยของอิเหนาทีต่ อ งพรากจากผูห ญิงทีร่ กั 3 คน
เลนคํา 1. เบญจวรรณ-วัน (เบญจวรรณ คือ นกแกวขนาดโต)
2. นางนวล-นวลสมร (นวลสมร คือ คนรัก)
3. จากพราก-จาก (จากพราก คือ นกเปดนํ้า)
4. เตาราง-ราง (เตาราง คือ ตนไมชนิดหนึ่ง)
5. นกแกว-แกวพี่ (แกวพี่ คือ นางอันเปนทีร่ กั )
6. ตระเวนไพร-เวร (ตระเวนไพร คือ นกชนิดหนึ่ง)
7. เคาโมง-โมง (เคาโมง คือ นกชนิดหนึ่ง)
8. คับแค-คับใจ (คับแค คือ นกชนิดหนึ่ง)
13. "ดาบสองมือโถมทะลวงฟน เหลากริชติดพันประจัญรบ
ทหารหอกกลอกกลับสัประยุทธ ปองปดอาวุธไมหลีกหลบ
พวกพลพาชีตกี ระทบ รําทวนสวนประจบโถมแทง
บางสกัดซัดพุง หอกคู เกาทัณฑธนูนา วแผลง
ตะลุมบอนฟอนฟนกันกลางแปลง ตอแยงยุทธยิงชิงชัย
ตายระดับทับกันดังฟอนฟาง เลือดนองทองชางเหลวไหล"
แสดงจินตภาพการเคลือ่ นไหวของการรบสูท าสงครามในสมรภู
ํ มิ แสดงความรูส กึ ตืน่ เตนของการตอสู
สุดทายสงครามมีแตสญ ู เสีย
"ตายระดับทับกันดังฟอนฟาง เลือดนองทองชางเหลวไหล"
14. "เห็นโอรสตองศัสตรา ตกจากอาชาบรรลัย
กริว้ โกรธโกรธาบาจิต จะรอรัง้ ยัง้ คิดก็หาไม
แกวงหอกคูข บั อาชาไนย เขารุกไลสงั คามาระตาฯ"
หัวอกผูเ ปนพอ เห็นลูกชาย (วิหยาสะกํา) ตายก็เลย "กริว้ โกรธโกรธาบาจิต" ใครๆ ก็ตอ งรักลูกเปนธรรมดา
BOBBYtutor Thai Note

15. "เห็นระตูถอยเทากาวผิด พระกรายกริชแทงอกตลอดหลัง


ลมลงดาวดิน้ สิน้ กําลัง มอดมวยชีวงั ปลดปลงฯ"
ขอ 14 ลูกตาย พอมาขอ 15 พอตายบาง (ทาวกะหมังกุหนิง) "เห็นระตูถอยเทากาวผิด" = ทาวกะหมังกุหนิง
16. "ทนตแดงดังแสงทับทิม เพริศพริม้ เพรารับกับขนง
เกศาปลายงอนงามทรง เอวองคสารพัดไมขดั ตา"
พรรณนาความหลอเหลาของวิหยาสะกําตอนตาย บทนีผ้ เู ปนพอของวิหยาสะกําเปนคนพูด คือ ระตูปาหยังกับ
ทาวประหมัน
17. "ครัง้ นีค้ วรหรือมาพินาศ เบาจิตคิดประมาทไมพอที่
เพราะรักบุตรสุดสวาทแสนทวี จะทัดทานภูมไี มเชือ่ ฟง"
การตายของ 2 พอลูก เปนเพราะพอ (ทาวกะหมังกุหนิง) ตามใจลูกชายเกินไป และก็ไมคดิ ใหรอบคอบ
หุนหันพลันแลน เอะอะอะไรก็จะใชกําลังสูก นั แลวสุดทายตัวเองกับลูกก็ตอ งมาตาย

สวรรคชน้ั กวี
ผูแ ตง : พระราชวรวงศเธอ กรมหมืน่ พิทยาลงกรณ
ลักษณะคําประพันธ : กลอนสุภาพ
จุดประสงคการแตง : สดุดี แสดงความคารวะตอกวี
"สรวงสวรรคชน้ั กวีรจุ รี ตั น ผองประภัศรพลอยหาวพราวเวหา
พริง้ ไพเราะเสนาะกรรณวัณณนา สมสมญาแหงสวรรคชน้ั กวีฯ"
"อิม่ อารมณชมสถานวิมานมาศ อันโอภาศแผผายพรายรังสี
รัศมีมเี สียงเพียงดนตรี ประทีปทีฆรัสสะจังหวะโยน
รเมียรไมใบโบกสุโนคเกาะ สุดเสนาะเสียงนกซึง่ ผกโผน
โผตนนัน้ ผันตนไปตนโนน จังหวะโจนสงจับรับกันไป
เสียงนกรองคลองคําลํานําขับ ดุรยิ ศัพทสํานึกเมือ่ พฤกษไหว
โปรยประทิน่ กลิน่ ผกาสุราลัย เปนคลืน่ ในเวหาหยาดยินดีฯ"
"บังคมคัลอัญชลีกวีเทพ ซึง่ สุขเสพยสําราญมาณศรี
ณภพโนนในสวรรคชน้ั กวี แลภพนีใ้ นถอยทีร่ อ งกรอง
ไมมเี วลาวายในภายนา เนาในฟาในดินทัง้ ถิน่ สอง
เชิญสดับรับรศบทลบอง ซึง่ ขาปองสดุดกี วีเอยฯ"
BOBBYtutor Thai Note

ตรงนีต้ อ งระวัง
1. "ผองประภัสรพลอยหาวพราวเวหา" = ใหจนิ ตภาพ ดานภาพเดน วาสวยงามมาก
2. "พริง้ ไพเราะเสนาะกรรณวัณณนา" = ใหจนิ ตภาพ ดานเสียง
3. "อิ่มอารมณชมสถานวิมานมาศ" = มีความรูสึกเปนสุขมาก
4. "รัศมีมเี สียงเพียงดนตรี" = ภาพพจน อุปมา
5. "รเมียรไมใบโบกสุโนคเกาะ สุดเสนาะเสียงนกซึง่ ผกโผน
โผตนนัน้ ผันตนไปตนโนน จังหวะโจนสงจับรับกันไป"
ใหจนิ ตภาพดานเคลือ่ นไหว เดนมาก
6. "โปรยประทิน่ กลิน่ ผกาสุราลัย เปนคลืน่ ในเวหาหยาดยินดี"
ใหความรูส กึ มีความสุข นํ้าเสียงมีความสุขมาก

คําอธิบายศัพท
กรรณ หู
ทีฆรัสสะ จังหวะยาวและสัน้ (ของเสียงดนตรีหรือคําประพันธ)
บทลบอง บททีแ่ ตงขึน้ ตามแบบฉบับ
ประทิน่ เครือ่ งหอม
ประภัศร ปจจุบนั เขียน ประภัส คือ ประภัสสร หมายถึง แสงเลือ่ มพราย
ปอง ปรารถนา
มาณศรี ผูห ญิง ในทีน่ ห้ี มายถึง นางฟา
มาศ ทอง
มาส เดือน
รเมียร ปจจุบนั เขียน "ระเมียร" หมายถึง ดู นาดู
รัตน แกว
รุจ งาม
ลบอง แบบ ฉบับ
ลํานํา บทเพลงทีข่ บั เปนทํานอง
วัณณนา ปจจุบนั เขียน "วัณนา" หมายถึง พรรณนา คือ กลาวอยางละเอียดใหนกึ เห็นภาพได
ศรี ประเสริฐ
สมญา ชือ่ ซึง่ ตัง้ ขึน้ ดวยความยกยอง เปนทีย่ อมรับรวมกันในทีน่ ้ี "สวรรคชน้ั กวี" ถือวาเปนสมญาอยางหนึง่ สวรรค
สรวง สวรรค
สุโนค ปจจุบนั เขียน "สุโนก" หมายถึง นก
สุราลัย ทีอ่ ยูข องเทวดา หมายถึง สวรรค
เนา อยู
BOBBYtutor Thai Note

ธรรมาธรรมะสงคราม
ผูท รงพระราชนิพนธ : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั
ลักษณะคําประพันธ : กาพยยานี 11 และกาพยฉบัง 16
เนือ้ เรือ่ ง : เสนอเนือ้ เรือ่ งในแบบบุคลาธิษฐาน คือ วิธกี ารสมมติใหบคุ คลแทนนามธรรม คือ ธรรมเทวบุตรเปนสัญลักษณ
ของฝายทีม่ คี วามดี และอธรรมเทวบุตรเปนตัวแทนของฝายความชัว่ อันเปนธรรมดาของมนุษยโลก และใหเทวดาทัง้ สองฝาย
รบกัน ผลคือ ฝายธรรมเทวบุตรไดชัยชนะ เพราะเปนผูป ระพฤติดี
กาพย
กาพยท่ี Entrance จะออกทีส่ ําคัญมี 3 ชนิด
1. กาพยยานี 11
2. กาพยฉบัง 16
3. กาพยสรุ างคนางค 28
1. กาพยยานี 11 : บทหนึง่ มี 2 บาท (2 บรรทัด) 4 วรรค วรรคหนามี 5 คํา วรรคหลังมี 6 คํา รวมกัน = 11 คํา
จึงเรียกวา กาพยยานี 11 แตถา นับจริงๆ 1 บทจะมี 22 คํา กาพยยานีมสี ตู รสัมผัสสระ (สัมผัสนอก) ดังนี้
5-8 11-16
"กาพยยานีลาํนํา สิบเอ็ดคําจําอยาคลาย
วรรคหนาหาคํหา มาย วรรคหลังหกยกแสดง
ครุลหุนั้น ไมสาํ คัญอยาระแวง
สัมผัสตองจัดแจง ใหถกู ตองตามวิธ"ี
ระวังตอไปนี้ คือ คูแ ฝดของกาพยยานี 11 คูแฝด คือ อินทรวิเชียรฉันท 11
"องคใดพระสัมพุทธ สุวสิ ทุ ธสันดาน
ปราบมูลกิเลสมาร บมหิ มนมิหมองมัว"
ทุกอยางเหมือนกันหมด จํานวนพยางค ตําแหนงสัมผัส แตอนิ ทรวิเชียรฉันทมสี ตู รการดูครุ-ลหุ คือ ตําแหนง
พยางค 3-6-7-9 = ลหุ
อินทรวิเชียรฉันท
3-6-7-9 = ลหุ
** กาพยจะมีการวางคณะพยางค และสัมผัสคลายกับฉันท แตกาพยจะไมมกี ารบังคับครุลหุเหมือนกับฉันท
2. กาพยฉบัง 16 : บทหนึง่ มี 3 วรรค วรรค 1, 2, 3 จะมีจํานวนคํา 6-4-6 เรียงตามลําดับ บทหนึง่ มี 16 คํา
จึงเรียกวา กาพยฉบัง 16
BOBBYtutor Thai Note

บังคับสัมผัสสระ (สัมผัสนอก) มีสตู รดังนี้


6-10 16-22
"ฉบังสิบหกคําควร ถอยคําสํานวน
พึงเลือกใหเพราะเหมาะกัน
วรรคหนาวรรคหลังรําพัน วรรคหนึง่ พึงสรร
ใสวรรคละหกคําเทอญ"
3. กาพยสรุ างคนางค 28 : บทหนึง่ มี 7 วรรค วรรคละ 4 คํา 1 บท จึงมี 28 คํา จึงเรียกวา กาพยสรุ างคนางค 28
บังคับสัมผัสสระ (สัมผัสนอก) มีสตู รดังนี้
4-8 12-20-24
"สุรางคนางค เจ็ดวรรคจักวาง ใหถกู วิธี
วรรคหนึง่ สีค่ าํ จงจําใหดี บทหนึง่ จึงมี ยีส่ บิ แปดคํา"

ตรงนีต้ อ งระวัง
แนะนําธรรมเทวบุตร
1. "ธรรมเทวบุตร ผูพ สิ ทุ ธิโสภา
สถิตอยู ณ กามา- พจรภพแผนดินสรวง
2. ครองทิพยพิมาน บริวารอมรปวง
ปองธรรมมะบลว ง ลุอานาจอกุ
ํ ศล
3. เมตตาการุญรัก ษะพิทกั ษภวู ดล
ปรานีนกิ รชน ดุจดังปโยรส
4. ครั้นถึง ณ วันเพ็ญ ทีเ่ ปนวันอุโบสถ
เธอมุง จะทรงรถ ประพาสโลกเชนเคยมา
5. เขาที่สนานสรง เสาวคนธธารา
แลวลูบพระกายา ดวยวิเลปนารม
6. ทรงเครือ่ งก็ลว นขาว สวิภษู ณาสม
สําแดงสุโรดม สุจริต ณ ไตรทวาร
7. ทรงเพชราภรณ พระกรกุมพระขรรคกาญจน
ออกจากพิมานสถาน ธ เสด็จ ณ เกยพลันฯ"
1-7 ธรรมเทวบุตรอาศัยอยู ณ สวรรคชน้ั กามาพจร จิตใจใฝธรรมะ มีความเมตตา ดูแลลูกนองบริวารดุจดังลูก
เมือ่ ถึงวันพระ 15 คํ่า ก็จะเสด็จลงมายังโลกมนุษย ฉะนัน้ ก็ตอ งไปอาบนํ้า แตงเนือ้ แตงตัวใหหอม นุงขาว หมขาว และ
ตองทํากาย วาจา ใจ ใหสงบ ถือพระขรรคเปนอาวุธ
BOBBYtutor Thai Note

แนะนําอธรรมเทวบุตร
1. "ปางนัน้ อธรรมะ เทวบุตรผูใ จพาล
เนาในพิมานสถาน ณ กามาพจรสวรรค
2. ครองพวกบริวาร ลวนแตพาลประดุจกัน
โทโสและโมหันธ บมิพงึ บําเพ็ญบุญ
3. เห็นใครนําใจซื ้ อ่ สุจริตะการุญ
เธอก็มกั หันหุน เพราะพิโรธและริษยา
4. ถึงวันทีจ่ นั ทรเพ็ญ ธก็มกั จะไคลคลา
ขับรถะยานมา ณ ชมพูทวีปพลัน
5. แตงองคและทรงลวน พัสตระดําทุกสิง่ อัน
อาภรณกเ็ ลือกสรร- พะสัมฤทธิแ์ ละพลอยดํา
6. หัตถสดําพระกําขวาน อันมหิทธิกํายํา
จรจากวิมานอัม- พรตรงมาทรงรถฯ"
1-6 อธรรมเทวบุตรเปนอันธพาล อยู ณ สวรรคชน้ั กามาพจรเหมือนกัน มีลกู นองเปนคนเลวๆ ทัง้ นัน้ พวกนีก้ อ แต
บาปบุญไมทํา เห็นใครเปนคนดีกจ็ ะอิจฉา ไมชอบ วันนีเ้ ปนวันพระจันทรเต็มดวง ก็ตอ งออกมายังโลกมนุษยเหมือนกัน
จึงแตงตัวชุดดํา เครือ่ งประดับก็สดี าๆ
ํ ถือขวานเปนอาวุธ
พรรณนาการออกเดินทางของธรรมเทวบุตร
1. "ขึ้นทรงรถทองผองพรรณ งามงอนออนฉัน
เฉกนาคราชกําแหง
2. งามกงวงจักรรักตแดง งามกําสําแสง

งามดุมประดับเพชรพราย
3. เลิศลวนมวลมาศฉลุลาย เทพประนมเรียงราย
รับทีบ่ ลั ลังกเทวินทร
4. กินนรฟอนรํารายบิน กระหนกนาคิน
ทุกเกล็ดก็เก็จสุรกานต
5. งานเทวธวัชชัชวาล โบกในคัดนานต
แอรมอรามงามตา
6. พรัง่ พรอมทวยเทวเสนา หอมแหแหนหนา
และหลังสะพรัง่ พรอมนวล
7. จามรีเฉิดฉายปลายทวน หอกดาบปลาบยวน
ยัว่ ตาพินศิ พิศวง"
BOBBYtutor Thai Note

1. ใหจนิ ตภาพทีง่ าม : "ทองผองพรรณ" "งามงอน"


ภาจพจนอปุ มา : เฉก นาคราชกําแหง
2. ศิลปะการประพันธ : ซํ้าคํา "งาม"
3. สัมผัสอักษรเดน : เลิศ-ลวน มวล-มาศ ฉลุ-ลาย
4. มีนาฏการ : กินนรฟอนรํา รายบิน (นาฏการ = การรายรํา)
5. มีการเคลือ่ นไหว : โบกในคัดนานต
6. สัมผัสอักษรเดน : พรัง่ -พรอม ทวย-เทว หอม-แห-แหน และ-หลัง พรัง่ -พรอม
7. สัมผัสสระภายในวรรค : ฉาย-ปลาย ดาบ-ปลาบ นิศ-พิศ
พรรณนาการเดินทางของอธรรมเทวบุตร
1. "รถทรงกงกําทัง้ หมด ตลอดงอนรถ
ลวนแลวดวยไมดําดง
2. บัลลังกมียกั ษยรรยง ยืนรับรองทรง
สลับกระหนกมังกร
3. ลายสิงหเสือสีหม สี ลอน หมาในยืนนอน
อีกทัง้ จระเขเหรา
4. งอนรถมีธวัชตวัดรา สีดําขํานา
สยดสยองพองขน
5. แลดูหมูก องพยุหพล สลับสับสน
ลวนฤทธิค์ าแหงแรงขั
ํ น
6. กองหนาอารักขาะไพรสัณฑ ปกซายกุมภัณฑ
คนธรรพเปนกองปกขวา
7. กองหลังนาคะนาคา สีเ่ หลาเสนา
สาตราอาวุธวาวแสง
8. พวกพลทุกตนคําแหง หาญเหิมฤทธิแรง
พรอมเพือ่ ผจญสงคราม
9. พาหนคํารนคําราม เสือสิงหวง่ิ หลาม
แลลวนจะนาสยดสยอน"
1. ในวรรคเดียวกันมีทง้ั สัมผัสอักษรและสัมผัสสระ "รถทรงกงกําทัง้ หมด"
สัมผัสอักษร : กง-กํา
สัมผัสสระ : ทรง-กง
"ลวนแลวดวยไมดําดง" = สัมผัสอักษร ลวน-แลว ดวย-ดํา-ดง
2. สัมผัสอักษร : ยักษ-ยรร-ยง
4. ใหจนิ ตภาพทีน่ า กลัว : สยดสยองพองขน
7. สัมผัสอักษรแบบ 2 เสียง พรอมๆ กัน : นาคะ-นาคา
8. ทุกวรรคมีสมั ผัสอักษรหมดเลย : พวก-พล หาญ-เหิม ฤทธิ-แรง
9. สัมผัสอักษรแบบ 2 เสียง : คํารน-คําราม สยด-สยอน
BOBBYtutor Thai Note

คําสอนของธรรมเทวบุตร ที่ Ent ชอบออก 12 ขอ


1. "การฆาประดาสัตว ฤประโยชนบพ งึ มี
อันวาดวงชีวี ยอมเปนสิง่ ทีค่ วรถนอม
2. ถือเอาซึง่ ทรัพยสนิ อันเจาของมิยนิ ยอม
เขานัน้ เสียดายยอม จิตตะขึง้ เปนหนักหนา
3. การลวงประเวณี ณ บุตรีและภรรยา
ของชายผูอ น่ื ลา มากิจบบงั ควร
4. กลาวปดและลดเลีย้ ว พจนามิรสู งวน
ยอมจะเปนสิง่ ชวน นรชังเปนพนไป
5. สอเสียดเพราะเกลียดชัง บมยิ งั ประโยชนใด
เสือ่ มยศและลดไม- ตริระหวางคณาสลาย
6. พูดหยาบกระทบคน ก็ตอ งทนซึง่ หยาบคาย
เจรจากับเขาราย ฤวาเขาจะตอบดี
7. พูดจาทีเ่ พอเจอ วจะสาระบมี
ทําตนใหเปนที่ นรชนเขานินทา
8. มุง ใจและใฝทรัพ- ยะดวยโลภะเจตนา
ทําใหผอู น่ื พา กันตําหนิมริ หู าย
9. อีกความพยาบาท มนะมุง จํานงราย
กอเวรบรวู าย ฤจะพนซึง่ เวรา
10. เชือ่ ผิดและเห็นผิด สิจะนิจจะเสือ่ มพา
เศราหมองมิผอ งผา สุกะรืน่ ฤดีสบาย
11. ละสิง่ อกุศล สิกมลจะพึงหมาย
เหมาะยิง่ ทัง้ หญิงชาย สุจริต ณ ไตรทวาร
12. จงมุง บําเพ็ญมา- ตุปต ปุ ฏ ฐานการ
บํารุงบิดามาร- ดรใหเสวยสุข"
1. ไมควรฆาสัตวตดั ชีวติ เพราะชีวติ ใครๆ ก็รกั
2. การขโมย เปนสิง่ ทีท่ าให
ํ เจาทรัพยเสียใจมาก
3. การผิดลูกผิดเมีย เปนสิง่ ทีไ่ มควรทํา
4. การพูดปด ทําใหเปนทีร่ งั เกียจของผูอ น่ื
5. การพูดสอเสียด ไมดเี ลย ทําใหความสัมพันธหายไป
6. การพูดจาไมเพราะ นึกหรือวาเขาจะพูดเพราะกับเรา เขาก็ตอ งพูดกับเราไมเพราะเหมือนกัน
7. พูดจาไรสาระ บาๆ บอๆ คนทัว่ ไปเขาจะนินทาเอาได
8. ถาเราคิดโลภ อยากไดของผูอ น่ื จะถูกนินทาเหมือนกัน
9. การอาฆาต จองลางจองผลาญ ทําใหไมมคี วามสงบ
10. การมีมจิ ฉาทิฏฐิ ทําใหจติ ใจไมสบาย
11. ละความชัว่ ทัง้ ปวง ทํากาย วาจา ใจ ใหบริสทุ ธิ์
12. บํารุงเลีย้ งดู พอแม แสดงความกตัญูตอ ทาน
BOBBYtutor Thai Note

คําสอนเลวๆ ของอธรรมบุตร 12 ขอ ที่ Ent ชอบถาม


1. "ผูใ ฝซง่ึ อํานาจ ก็ตอ งอาจและหาญกลา
ใครขวาง ณ มรรคา ก็ตอ งปองประหารพลัน
2. อยากมีซง่ึ ทรัพยสง่ิ จะมานิง่ อยูเ ฉยฉะนัน้
เมือ่ ใดจะไดทนั มนะมุง และปรารถนา
3. กําลังอยูก บั ใคร สิกใ็ ชกาลั
ํ งครา
ใครออนก็ปรา- ชิตะแนมสิ งสัย
4. สตรีผูมีโฉม ศุภลักษณาไซร
ควรถือวามีไว เปนสมบัติ ณ กลางเมือง
5. ใครเขลาควรเอาเปรียบ และมุสาประดิษฐเรือ่ ง
ลวงลอบตอ งเปลือง ธนะหากําไรงาม
6. เมือ่ เห็นซึง่ โอกาส ผูฉ ลาดพยายาม
สอเสียดและใสความ และประโยชน ณ ตนถึง
7. ใครทวง ฤ ทักวา ก็จงดาใหเสียงอึง
เขานัน้ สิแนจง่ึ จะขยาดและเกรงเรา
8. พูดเลนไมเปนสา- ระสําหรับจะแกเหงา
กระทบกระเทียบเขา ก็สนุกสนานดี
9. ใครจนจะทนยาก และลําบากอยูไ ยมี
คิดปองซึง่ ของดี ณ ผูอ น่ื อันเก็บงํา
10. ใครทําใหขดั ใจ สิกค็ วรจะจดจํา
ไวหาโอกาสทํา ทุษะบางเพือ่ สาใจ
11. คําสอนของอาจารย ก็บรุ าณะเกินสมัย
จะนัง่ ใยดีใย จงประพฤติจามจิตตู
12. บิดรและมารดา ก็ชราหนักหนาอยู
เลีย้ งไวทําไมดู นับจะเปลืองมิควรการ"
1. ใครตองการมีอํานาจก็ตอ งกลาหาญ บาบิน่ ใครขวางทางปนก็ฆา ไปเลย
2. ถาอยากรวย จะมาอยูเ ฉยทําไมก็ปลนซิ
3. เรามีกําลังอิทธิพลก็จดั การเลย คนอืน่ ทีด่ อ ยกวาเราจะไดหงอ
4. หญิงสวยๆ ถาชอบก็จดั การเลย เพราะถือวาเปนสาธารณสมบัตทิ ใ่ี ครๆ ก็สามารถเด็ดดม
5. คนโงยอ มเปนเหยือ่ ของคนฉลาด หลอกไดกห็ ลอกเลย
6. การนินทา ใสรา ยปายสี ควรทําเมือ่ จะสรางประโยชนแกเรา
7. ใครหือกับเราก็ดา มันเลย วันหลังจะไดขยาดเกรงกลัวเรา
8. เวลาจะแกเหงา หาอะไรทําเพลินๆ ก็พดู จาบาบอไมเปนสาระ
9. เราเปนคนจน จะไปยอมทําไม ก็ไปขโมยของคนรวย
10. ใครแกลงเรา ทําใหเราโกรธ จําหนามันไว คิดบัญชีวนั หลัง
11. อาจารยสอนอะไร อยาไปเชื่อมาก เพราะพวกอาจารยหวั โบราณ เชือ่ ตนเองดีทส่ี ดุ
12.!พอแมแกแลวก็ปลอยตามเวรตามกรรมเถอะ เปลืองขาวสุก
BOBBYtutor Thai Note

ราตรี
ผูแ ตง : เจาพระยาธรรมศักดิม์ นตรี
ลักษณะคําประพันธ : อินทรวิเชียรฉันท 11 แตงสลับดวย วสันตดิลกฉันท 14 จึงเรียกเปนคําประพันธใหมวา
อินทวสันตดิลกฉันท
จุดประสงคการแตง : แสดงปรัชญาชีวติ
ฉันท
ฉันทบงั คับ ครุ ลหุ นักเรียนทราบแลว ฉันทท่ี Ent ออกมี 2 ชนิด
1. อินทรวิเชียรฉันท 11
2. วสันตดิลกฉันท 14
อินทรวิเชียรฉันท ถานักเรียนจํากาพยยานี 11 ได ก็ตอ งจําอินทรวิเชียรฉันทได เพราะทุกอยางเหมือนกัน แตแตกตาง
ตรงทีอ่ นิ ทรวิเชียรฉันทบงั คับ ครุ ลหุ ทีส่ ตู ร
3-6-7-9 → ลหุ

วสันตดิลกฉันท 14 ถานักเรียนจําอินทรวิเชียรฉันท 11 ได ก็สามารถจําวสันตดิลกฉันท 14 ได เพราะ 14 เพิม่ มาจาก


11 เทากับ 3 แสดงวาวสันตดิลกฉันท มีพยางค 3 พยางคเพิม่ ขึน้ มาเปน ลหุ 3 ตัวติดกัน ตรงดอกจัน
3 67 9
= อินทรวิเชียรฉันท 11
3 67 9
*** = วสันตดิลกฉันท 14
* จําเลยนะนักเรียน ฉันท 2 ชนิดนีจ้ ะสลับตําแหนง ครุ ลหุ จาก 3-6-7-9 ซึง่ เปนลหุจะไปตําแหนงอืน่ ๆ ไมได
ถาบิดเบือนตําแหนงเดียวก็ไมใชอนิ ทรวิเชียรฉันท และวสันตดิลกฉันท
* ตําแหนงลหุ เราสามารถอนุโลมใชสระ "อํา" เปนลหุไดแคสระเดียว ปกติสระอํา เปนครุ แตถา เปนฉันท
เขาอนุโลม
ราตรี
1. "ราตรีกแ็ มนมี ขณะดีและรายปน
ไปผดิ กะคนๆ คุณโทษประโยชนถม
2. ราตรีกลีกลพิโรธ หฤโหดคระหึมลม
มืดตือ้ กระพือพิรณ ุ พรม และฤเราจะแยแส
3. ราตรีดถิ สี ขุ นิรทุกขประเทืองแด
ฟางามอรามแล ระกะดอกกุดน่ั หาว
4. โสมสองสนองชุษณปกษ ศุภลักษณลายอง,
ํ คราว
ยัว่ ยิม้ ณริมพิภพ, ราว ทิพลาภบําเรอเรา
BOBBYtutor Thai Note

5. พิณฟา ณ ราตรี ธรณีสโุ นกเนา


สงเสียงประสานเสา- วสภาพพะนอสรวง"
4. วรรคที่มีความเดนดานสัมผัสอักษร
"หฤโหดคระหึมลม" หฤ-โหด-หึม
"ธรณีสโุ นกเนา" ณี-โนก-เนา
"พนพุม ผกาไพร" พน-พุม -ผกา-ไพร
"กระพือพิรณ ุ พรม" พือ-พิ-พรม
"โสมสองสนองชุษณปกษ" โสม-สอง-สนอง-ชุษณ
"ริมพิภพราว" พิ-ภพ
"สงเสียงประสานเสา" สง-เสียง-สาน-เสา
"ชลโชยชะดอกใบ" ชล-โชย-ชะ
"คํ่าคืนระรื่นรัก" คํ่า-คืน ระ-รื่น-รัก
"มธุรสธํารงเรือน" รส-รง-เรือน
5. วรรคสุดทายของ "ราตรี" เปนพระเอกของงานเพือ่ บอก Main Idia
"โลกียสุขสุขเหมือน สุขโลกอุดรหรือ"
กําลังจะบอกวาโลกบันเทิงทีเ่ สพกามารมณ ทุกวันนีจ้ ะมีความสุขทีแ่ ทจริงเหมือนโลกนิพพานหรือ
6. เรือ่ งราตรี มีการชมความงามธรรมชาติ 6 ชนิด
1. "ฟางามอรามแล ระกะดอกกุกน่ั หาว" = ชมดาว
2. "โสมสองสนองชุษณปกษ ศุภลักษณลํายอง, คราว" = ชมพระจันทร
3. "พิณฟา ณ ราตรี ธรณีสโุ นกเนา" = ชมนก
4. "กลิน่ หลานภาจรจะปรน สุวคนธบําบวง" = ชมดอกไมหอม
5. "นํ้าคางพระพรางโปรย ชลโชยชะดอกใบ" = ชมนํ้าคาง
6. "ดึกดื่น ณ พืน้ อุทยทิศ สุรยิ ฤ ทธิแพรงพราย" = ชมพระอาทิตย
7. อัพภาส "นํ้าคางพระพรางโปรย"
"พระพราง" เปนคําอัพภาส
อัพภาส คือ การกรอนเสียงจากคําซําแล ้ วตัดพยางคหนาของคําซําให ้ เหลือพยัญชนะตนอยางเดียว จึงใสสระอะลง
แทนสระเดิม เชน
วับวับ วะวับ
เรื่อยเรื่อย ระเรื่อย
แยงแยง ยะแยง
ยุง ยุง ยะยุง
แวมแวม วะแวม
พรางพราง พระพราง
BOBBYtutor Thai Note

คําอธิบายศัพท
กล ราวกับ
กลี เลวราย
กุดน่ั ทองแกมแกว ทําโดยปดทองคําเปลวทับบนลวดลายทีแ่ กะดวยไมหรือปน ดวยปูน แลวประดับดวย
กระจกสี ถาลวดลายเปนดอกเรียก ดอกกุดน่ั ในทีน่ ห้ี มายถึง ดวงดาว ซึง่ แพรวพราวราวดอกกุดน่ั
คระหึม ดังกระหึม่
ชะ ลางใหสะอาด
ชิพ แผลงจากชีพ
ชุษณปกษ ขางขึน้ ชุษณ แปลวา ขาว สวาง ปกษ แปลวา ขาง ฝาย
ดํารู งาม แผลงจากคําวา ตรู
ดิถี วันตามจันทรคติ มักใชคูกับ วาระ
แด ใจ
ถม มาก
เนา อยู
บําบวง บูชา
พน ปา
พระพราง กรอนมาจาก พรางพราง พราง หมายถึง แวววาบ
พิณ เครือ่ งดนตรีชนิดหนึง่ พิณฟา เปนอุปลักษณ หมายถึง เสียงจากฟาดุจเสียงพิณ
มธุ นํ้าหวาน นํ้าผึ้ง มธุรส รสหวาน
รชนิ คือ รัชนี หมายถึง กลางคืน
รมย คือ รมย หมายถึง ความสุขทีน่ า บันเทิงใจ ความสุขอันพึงใจ
ระพิ คือ รพี หรือ รวี หมายถึง พระอาทิตย
เรณู ละอองเกสรดอกไม
ลํายอง สวยงาม
โลกอุดร อุดร แปลวา เหนือ มาจาก อุตร โลกอุดร แปลวา เหนือโลก มาจาก โลกกุตร
โลกียสุข ความสุขอยางชาวโลก เชน มีทรัพยสนิ เงินทอง
ศุภลักษณ ลักษณะดี
สรวง สวรรค
สุโนก นก
เสาวสภาพ สภาพทีด่ งี าม
BOBBYtutor Thai Note

นายขนมตมชกพมาถวายตัวพระเจาอังวะ
ผูแ ตง : กรมหลวงพิชติ ปรีชากร
ลักษณะคําประพันธ : โคลงสีส่ ภุ าพ
เนือ้ เรือ่ ง : ฝายพระเจาอังวะอยู ณ เมืองยางกุง ทําการยกฉัตรยอดพระมหาเจดียเ กศธาตุสาเร็ ํ จแลวใหมกี ารฉลอง
จึงมีขนุ นางพมากราบทูลวา คนมวยเมืองไทยฝมอื ดียง่ิ นัก จึงตรัสสัง่ ใหจดั หามา ไดนายขนมตมคนหนึ่ง เปนมวยดี
มีฝม อื แตครัง้ กรุงเกา เอาตัวมาถวายพระเจากรุงอังวะ จึงใหจดั พมาคนมวยเขามาเปรียบกับนายขนมตม ไดกนั แลวก็ให
ชกกันหนาทีน่ ง่ั และนายขนมตมชกพมาไมทนั ถึงยกพมาก็แพ แลวจัดเอาคนอื่นเขามาเปรียบชกอีก นายขนมตมชกพมา
ชกมอญแพถงึ เกาคนสิบคนสูไ มได พระเจาอังวะทอดพระเนตร ยกพระหัตถตบ พระอุระตรัสสรรเสริญฝมอื นายขนมตมวา
ไทยมีพษิ อยูท ว่ั ตัวแตมอื เปลา ไมมอี าวุธเลยยังสูไ ดคนเดียวชนะถึงเกาคนสิบคนฉะนี้ เพราะเจานายไมดจี งึ เสียเมือง
แกขา ศึก ถาเจานายดีแลวไหนเลยจะเสียกรุงศรีอยุธยา แลวพระราชทานรางวัลแกนายขนมตมโดยสมควร
โคลงสีส่ ภุ าพ
คณะ : บทหนึง่ มี 30 คํา แบงออกเปน 4 บาท (บาท = บรรทัด) บาทละ 7 คํา บาทที่ 4 มี 9 คํา
สัมผัส : คําที่ 7 ของบาทที่ 1 สัมผัสกับคําที่ 5 ของบาทที่ 2 และ 3 (พระลอสัมผัส เพือ่ น-แพง)
คําที่ 7 ของบาทที่ 2 สัมผัสกับคําที่ 5 ของบาทที่ 4 (พระราม สัมผัส สีดา)
คําเอกคําโท บทหนึง่ มีคาเอก
ํ 7 โท 4
คําเอก : ถาใสเอกไมไดใหใช เอกโทษ หรือคําตาย (เอกโทษ = ซู, ฮา, เคี่ยว) = สามเหลีย่ มเบอรมวิ ดา
คําโท : ถาใสโทไมไดใหใช โทโทษ (โทโทษ = แหยง, ผึ้ง, ขอย) = Z สัมผัส
เสียงลือเสียงเลาอาง อันใด (พีเ่ อย)
เสียงยอมยอยศใคร ทั่วหลา
สองเขือพีห่ ลับไหล ลืมตื่น (ฤๅพี)่
สองพีค่ ดิ เองอา อยาไดถามเผือ
* เอกโทษ = ไมเอกทีส่ ะกดผิด แตยอมสะกดผิดเพราะตองการใหถกู ฉันทลักษณ
* โทโทษ = ไมโททีส่ ะกดผิด แตยอมสะกดผิดเพราะตองการใหถกู ฉันทลักษณ
การใชคําตายแทนคําเอก (ขอสอบ Ent' ชอบถาม)
คุณแมหนาหนักเพีย้ ง พสุธา
คุณบิดรดุจอา กาศกวาง
คุณพีพ่ า งศิขรา เมรุ มาศ
คุณพระอาจารยอา ง อาจสูส าคร
นักเรียนสังเกตโคลงบาทที่ 1 ตอไปนี้ ผิดฉันทลักษณตรงไหน
(1) ปากแตกเอาขีผ้ ง้ึ ทาซะ (พีเ่ อย)
(2) เสียงลือเสียงแมเคีย่ ว กะทิ (นะแม)
BOBBYtutor Thai Note

การใชคําเอกโทษและโทโทษ
เนื้อออนหอนซูเนือ้ นองหญิง
ออนแอบแนบอกอิง อุน ลํา้
นวลจันทรนน่ั นวลจริง แตชอ่ื ฤๅเอย
นวลทีพ่ ก่ี ลืนกลํ้า กลิน่ เนือ้ เหลือนวล
ซู ตัวนีเ้ รียกวา เอกโทษ (ตําแหนงนีต้ อ งใสคาว
ํ า "สู" แตถา ใสจะผิดฉันทลักษณ)
ขอฝากซากสวาทสรอย สุนทร
ไวทท่ี า สาคร เขตนี้
ศาลาทาวันพร พีฝ่ าก มาเอย
ใครทีพ่ เ่ี ปนผี้ พีใ่ หอภัยเจริญ
ผี้ ตัวนีเ้ รียกวา โทโทษ (ตําแหนงนีต้ อ งใสคาว
ํ า "พี่" แตถา ใสจะผิดฉันทลักษณ)
* ตําแหนง เอก โท คูแ รกในบาทที่ 1 สามารถอนุโลมสลับเปน โท เอกได  
ตรงนีต้ อ งระวัง
"อังวะธิราชเจา พุกาม
ฉลองธาตุรา งกุง งาม ครึกครืน้
ขนมตมชื่อชาวสยาม ตนหนึ่ง
ขันตอยตีพวกพืน้ มานรูค รูมวยฯ"
(1) พุกาม, มาน แปลวา พมา
(2) ครึกครื้น เปนคําซอนเพือ่ เสียง
(3) "ขนมตมชื่อชาวสยาม ตนหนึง่ " การใชคาว ํ า ตนหนึง่ เปนการยกยองนายขนมตม ปกติคาว
ํ า
ตน จะใชกบั พวก ฤๅษี นักสิทธิ์ วิทยาธร ซึง่ เหนือมนุษยแตไมถงึ กับเทพ
(4) ขันตอยตี แปลวา อาสาไปตอยตี
"ฉับฉวยชกฉกชํ้า ฉุบฉับ
โถมทุบทุม ถองทับ ถีบทาว
เตะตีตอ ยตุบตับ ตบตัก
หมดหมูเมงมอญมาว มานเมื้อหมางเมินฯ"
(1) ภาพพจน แบบสัทพจน (เลียนเสียงธรรมชาติ) ตรง ฉุบฉับ ตุบตับ
(2) โคลงบทนี้ ทุกบาทมีการเลนสัมผัสอักษร (สัมผัสพยัญชนะ)
บาทที่ 1 ฉับ-ฉวย-ชก-ฉก-ชํ้า-ฉุบ-ฉับ
บาทที่ 2 โถม-ทุบ-ทุม -ถอง-ทับ-ถีบ-ทาว
บาทที่ 3 เตะ-ตี-ตอย-ตุบ-ตับ-ตบ-ตัก
บาทที่ 4 หมด-หมู- เมง-มอญ-มาว-มาน-เมื้อ-หมาง-เมิน
(3) คํากริยาทีแ่ สดงอาการตอยมวย มีคาดั ํ งตอไปนี้
ชก ฉก โถม ทุบ ทุม ถอง ทับ ถีบ เตะ ตี ตอย ตบ ตัก
BOBBYtutor Thai Note

(4) คําทีห่ มายถึงพมา มีคาดั


ํ งตอไปนี้
เมง มอญ มาว มาน
"เกินสิบตอยบซ้าํ สองยก
มานกษัตริยห ตั ถลบู อก โอษฐพรอง
ชาติสยามผิยามตก ไรยาก ไฉนนา
ยังแตตวั ยังตอง หอนไดภยั มีฯ"
(1) โคลงบทนีช้ น่ื ชมนายขนมตมวามีความสามารถจริงๆ ตรงบาทที่ 4
(2) เลนคําวา "ยัง"
"ยังแตตวั " = เหลือแตตวั
"ยังตอง" = แมกระนัน้ ยัง
"ฉากนีส้ มพากษพรอง เพลงสุภา-ษิตเอย
เคยปากหากพูดมา มากครัง้
กรุงศรีอยุธยา ไปขาด ดีเลย
รูปฉากพากษตดิ ตัง้ ตอใหเห็นจริง"
โคลงบาท "กรุงศรีอยุธยา ไปขาด ดีเลย" ตรงกับสํานวน กรุงศรีอยุธยาไมสน้ิ คนดี
คําอธิบายศัพท
ขัน อาสา
ตบ อาการทีใ่ ชมอื หรือหมัดฟาด
ตัก อาการที่ใชมือหรือหมัดชอนขึ้น
ทาว ในบทกวีนห้ี มายถึง เทา
ธาตุ พระสถูปเจดียท บ่ี รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุของพระพุทธเจา หรือพระธาตุของพระอรหันต
ธิราช มาจาก อธิราช แปลวา พระราชาผูย ง่ิ ใหญ
พรอง รอง พูด
พุกาม พมา
เพรง กาลกอน
มอญ ชือ่ ชนชาติหนึง่ อยูท างตอนใตของพมา
มาน พมา
มาว ชือ่ ชนชาติหนึง่ ซึง่ อาศัยแถบชายแดนพมา-ไทย (พิจารณาจากบริบท)
เมง ชือ่ ชนชาติหนึง่ ซึง่ อาศัยอยูแ ถบชายแดนพมา-ไทย
เมือ้ ไป กลับ
สมพากษ เหมาะกับคําพูดหรือคําบรรยาย
หมางเมิน หมาง แปลวา หมองใจ เมิน แปลวา ไมมอง หมางเมิน แปลวา เสียใจจนไมมอง
BOBBYtutor Thai Note

เสนาะฉันท
ผูแ ตง : พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ
ลักษณะคําประพันธ : โคลงสีส่ ภุ าพ
เนือ้ เรือ่ ง : เสียงของกวีนพิ นธ ไพเราะกวาเสียงใดในโลก
"ฟาลัน่ ครัน่ กระหึม่ กอง นภากาศ ก็ดี
กรีดดีดสีปพ าทย ขับครึ้ม
สะดิง้ ฤดีเฉกกวีวาท ไพเราะ ไฉนรา
พจนาทรสสวาทพรึม้ เพราะเพีย้ งนิพนธหรือฯ
การเวกหวือวิเวกรอง ระงมสวรรค
เสนาะมิเหมือนเสนาะฉันท เสนาะซึง้
ประกายฟาสุรยิ าจันทร แจรมโลก ไฉนฤๅ
เมฆพยับอับแสงสอึง้ อรามแพประพนธเฉลยฯ"
ตรงนีต้ อ งระวัง
1. สาระสําคัญของโคลงทัง้ 2 บทนี้ คือ เสียงของคําประพันธไพเราะกวาเสียงใดๆ ในโลก
2. ภาพพจนแบบอุปมา : สดิง้ ฤดี เฉกกวีวาท
เพราะเพีย้ งนิพนธหรือฯ
เสนาะมิเหมือนเสนาะฉันท
3. เนือ้ หาจะบอกวา เสียงฟารอง เสียงปพ าทย เสียงหญิงสาว หรือแมกระทัง่ เสียงนกการเวกทัง้ หมดนีไ้ พเราะ
สูเ สียงกวีนพิ นธไมไดเลย
4. จินตภาพดานภาพ : (1) "ประกายฟาสุรยิ าจันทร แจรมโลก ไฉนฤๅ"
(2) "เมฆพยับอับแสงสอึง้ "
5. จินตภาพดานเสียง : (1) "ฟาลัน่ ครัน่ กระหึม่ กอง"
(2) "กรีดดีดสีปพ าทย ขับครึ้ม"
(3) "การเวกหวือวิเวกรอง ระงมสวรรค"
6. โคลงบทที่ 2 ชมความงามของคําประพันธ = รสเสาวรจนี
7. มีการแสดงศิลปะการประพันธ "ซําคํ ้ า"
"เสนาะมิเหมือนเสนาะฉันท เสนาะซึง้ "
BOBBYtutor Thai Note

คําอธิบายศัพท
แจรม คือ แจม เชนเดียวกับคํา จรด มาจาก จด ซึง่ หมายถึง กระจางไมมวั หมอง
นาท เสียงรอง
พจ แผลงมาจาก วจะ แปลวา คําพูด
พรืม้ แผลงมาจาก พริม้ แปลวา งามอยางยิม้ แยม
เพีย้ ง แผลงมาจาก เพียง แปลวา เทาเสมอ เหมือน
สวาท นารัก เปนทีร่ กั
สะดิง้ สันนิษฐานวา เปนคําทีม่ คี วามหมายเดียวกับ สะดุง อาจใชคกู บั คํา สะดิง้ เปนสะดุง สะดิง้ ไดเชนเดียวกับคํา
กระตุง กระติง้ กะหนุงกะหนิง กระจุง กระจิง๋ จึงไมควรเขาใจสับสนกับคําวา สะดิง้ ในปจจุบนั ทีม่ ี
ความหมายในทํานองดัดจริต

มอม
ผูแ ตง : ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
ลักษณะคําประพันธ : รอยแกวประเภทเรือ่ งสัน้ ซึง่ เปนรูปแบบการเขียนทีไ่ ดรบั อิทธิพลจากวรรณกรรมตะวันตก
มีอทิ ธิพลตอการเขียนมาจนถึงปจจุบนั
เนือ้ เรือ่ ง : ฉากของเรือ่ ง มอม คือ กรุงเทพมหานคร แถบถนนเพชรบุรี เรือ่ ยมาจนถึงถนนราชวิถี ชวงเวลาของเหตุการณ
ในเรือ่ งนีเ้ ปนชวงทีป่ ระเทศไทยเขาสูส งครามโลกครัง้ ที่ 2 กรุงเทพถูกโจมตีทางอากาศอยางรุนแรง บานเรือนเสียหายและ
ผูค นลมตายเปนจํานวนมาก ตัวละครในเรือ่ งอยูใ นครอบครัวทีม่ ฐี านะปานกลางครอบครัวหนึง่ มีชวี ติ เรียบงายแบบ
คนไทยทัว่ ๆ ไป ตัวละครในอีกครอบครัวหนึง่ มีฐานะดี มอมตัวเอกเปนเรือ่ งของสุนขั ครอบครัวแรกในตอนตนของชีวติ
แตภยั จากสงครามทําใหมอมตกอยูก บั ครอบครัวหลัง และในทีส่ ดุ เหตุการณกผ็ นั กลับทําใหมอมมาพบกับเจานาย
เจาของเดิมของตน
ตรงนีต้ อ งระวัง
1. "มอมไมไดรกั นายเทาชีวติ แตนายเปนชีวติ ของมอม"
การใชภาษาตรงนี้ สละสลวยกินใจ สําบัดสํานวน แสดงลักษณะนิสยั ของมอมวารักเจานายของมันมากทีส่ ดุ
มากกวารักตัวมันเอง
2. "การถายปสสาวะรดทีต่ วั อืน่ ทําไวแลว จึงเปนอนันตริยกรรมของสุนขั อภัยใหกนั ไมได แลวถาทําการตอหนาก็
เปนการทาทายกันโดยตรง เปนการทําลายเกียรติของหมาตัวผูด ว ยกัน"
สัญชาตญาณของสุนัขนั่นเอง
3. "ครั้นตอมาอาการรักหนักขึ้น มันก็ไมกลับเอาเลย เฝาเวียนวนอยูแ ถวนัน้ คอยไลกดั ตัวผูอ น่ื ๆ ทัง้ หนุม ทัง้ แก
ทีม่ าตอมนางนวลเปนฝูง คนในบานเขาหนวกหูหนักเขา เขาก็ทบุ ตีเอาบาง เอาอิฐขวางเอาบางมอมก็ตอ งทนเพราะ
ความรักกําลังขึ้นหนา"
ตรงนีแ้ สดงความรักของมอมตอหมาตัวเมีย หมาก็มหี วั ใจเหมือนคน
BOBBYtutor Thai Note

4. "พอหัวใจมอมมันหวนกลับไปบาน ตัวมันก็หนั กลับและขาทั้ง 4 ของมันก็พาตัวมันกลับบานทันที"


สํานวนภาษาเลียนแบบสํานวนภาษาตางประเทศ ตรงประโยคทีพ่ มิ พตวั หนา แบบนีภ้ าษาไทยจะไมใช นอกจาก
ภาษานวนิยาย
5. "วันไหนมอมหิวหนักเขา มันก็ไปนัง่ มองขณะทีน่ ายผูห ญิงกําลังกิน ถานายผูห ญิงหันมามอง มันก็เลียปาก
ใหรวู า มันหิวมากเหมือนกัน นายผูห ญิงก็จะนําตากบลู
้ กตารีบอิม่ ขาว แลวเอาของทีเ่ หลือคลุกใหมนั กินทันที"
ตรงนีแ้ สดงความมีนาใจ ํ้ เมตตาของนายผูห ญิงตอสัตว ยอมเสียสละใหมอมกินขาว แมวา ตัวเองจะไมคอ ยมีกนิ
6. ตัง้ แตมอมมันยังตัวเล็กๆ นายเคยหามเด็ดขาดไมใหมนั ไปเก็บของกินนอกบาน มอมมันก็ปฏิบตั ติ ามตลอดเวลา
เพราะเมือ่ ทองมันอิม่ มันก็ไมมคี วามจําเปนทีจ่ ะตองไปหาอะไรกินทีอ่ น่ื แตเดีย๋ วนีม้ อมตองผิดคําสัง่ นาย เพราะทองมันหิว
เต็มทน ก็ตอ งพึง่ ถังขยะเชนเดียวกับหมาขางถนนตัวหนึง่ ดวยความอด"
สัญชาตญาณของสัตวโลก ตองยอมแหกกฎบรรทัดฐานของชีวติ เพือ่ ความอยูร อด ถามอมไมหวิ มันก็ไมจําเปน
ตองคุย ขยะกินหรอก
7. "เพราะมันรูว า มันมีหนาทีจ่ ะตองทํา มันเบียดเขาไปจนชิดตัวนายผูห ญิง มันเลียมือนายผูห ญิงและเลียแขน
คุณหนู เปนวิธเี ดียวทีม่ นั จะบอกใหสองคนนัน้ รูว า ไมตอ งกลัว ไมตอ งตกใจ มอมยังอยู"
ความกตัญูของมอมมีตอ นายผูห ญิง สัตวมนั ยังรูค ณ ุ คนเลย แลวคนละ
8. "เลือดขนๆ ของมันกําลังไหลออกมาแดงฉาน" ตรงนี้ใชภาษาพรรณนาโวหารภาษาวิจติ รใหเห็นภาพ
9. "แตทกี่ ลบนัน้ หนานัก สุดกําลังทีม่ อมจะคุย ผูเ ดียวไหว หมดปญญาเขามันก็เริม่ เหาและหอนอยูท ป่ี ากหลุม
เสียงหอนของมันทําใหชาวบานแถบนัน้ วังเวงใจ เพราะมันเปนเสียงครําครวญของหมาพั ่ นธุท างตัวหนึง่ ทีห่ วั ใจแตกสลายลง"
มอมพยายามชวยนายผูห ญิงและคุณหนูอยางสุดชีวติ แตทาไม ํ สาเร็
ํ จ ภาษาตรงนี้สะเทือนอารมณมาก รูส กึ เศราหด
หูตาม ใชภาษากินใจ
10. "มอมมันอยูก บั คุณแตวมานาน มันรูว า เดีย๋ วนีม้ นั ชือ่ ไอดก๊ิ ถาคุณแตวเรียกมันดวยชือ่ นัน้ มันก็เขาไปหา แตมอม
ไมมวี นั ลืมวาชือ่ จริงทีน่ ายตัง้ ใหคอื "ไอมอม"
มอมไมลืมนายคนเกา แสดงวา มันผูกพันและรักนายคนเกามาก แสดงความจงรักภักดี
11. "เขาสงขาไปไกลขาไมไดขา วคราวจากใครเลย พอกลับมาบานเขาก็บอกวาไฟไหมหมด ลูกเมียถูกระเบิดตาย
งานการทีข่ า เคยทําคนอื่นเขาก็เอาตําแหนงไปหมดแลว ไมมีใครเขาจะมาคอย ขาหมดหนทางจริงๆ มอมเอยแตเอ็งอยา
นึกวาขาลักขโมย ครัง้ นีเ้ ปนครัง้ แรก พอดีพบเอ็ง เอ็งก็ทําใหขา ตองอาย ทําไมลง"
ระบบความลมเหลวของราชการไทย ทีไ่ มรบั ผิดชอบตอทหารผานศึก เขาไปรบเพือ่ ประเทศชาติ แตกลับมา
ไมมสี วัสดิการอะไรเลย สุดทายก็ตอ งไปขโมยเขากิน แตมาเจอมอมรูส กึ ละอายตอบาปเลยทําไมลง
12. "ถึงแมวา มอมมันจะรักคุณแตว มันก็รกั เพราะมือทีใ่ หขา วมันกิน คุณแตวไมใชชวี ติ ของมอม" จากเรือ่ งมอม
ขอความทีพ่ มิ พตวั หนา หมายความวา มอมมีความผูกพันอยูก บั ผูอ น่ื ลึกซึง้ กวาทีร่ กั คุณแตวมาก
13. ขอคิดจากการอานเรื่องมอม
13.1 สงครามเปนสิง่ ทีน่ ําความพินาศและความทุกขทรมานมาใหมนุษย ทัง้ ฝายทีไ่ ดรบั ชัยชนะและฝายแพ
13.2 การดูแลสวัสดิการของครอบครัวทหารในสมัยนัน้ ไมดี แมแตทหารทีผ่ า นสงครามแลว กลับมาบานก็ไมไดรับส
วัสดิการเทาทีค่ วร
13.3 คนทีป่ ระกอบอาชญากรรมนัน้ มิไดทาไํ ปโดยกมลสันดานทุกคน แตทาเพราะความจํ ํ าเปนบีบคัน้ เปนครัง้ คราว
BOBBYtutor Thai Note

พระครูวัดฉลอง
ผูแ ตง : สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ
ลักษณะคําประพันธ : รอยแกวเชิงสารคดี
ทีม่ าของเรือ่ ง : เปนเรือ่ งหนึง่ ใน "นิทานโบราณคดี"
จุดประสงคการแตง : เพือ่ ถายทอดประสบการณของพระองคในสมัยทีท่ รงรับราชการ ประทานแกพระธิดา (หมอม
เจาหญิง พูนพิศมัย ดิศกุล) และเพือ่ ปองกันไมใหเรือ่ งสูญหาย
เรือ่ งเหลานีต้ พี มิ พรวมเปนเลมแลว เรียกชื่อวา นิทานโบราณคดี ทรงชีแ้ จงไวในคํานําวา "เรือ่ งตางๆ ทีจ่ ะเลาตอไป
นีล้ ว นเปนเรือ่ งจริง ซึง่ ตัวฉันไดรเู ห็นเองไมใชคดิ ประดิษฐขน้ึ ใหม แตเปนเรือ่ งเกล็ดนอกพงศาวดาร จึงเรียกวา "นิทาน
โบราณคดี"
ตรงนีต้ อ งระวัง

1. "ขาอยูใ นวัดนีม้ าตัง้ แตยงั เปนเด็กจนถึงอายุปานนีแ้ ลว ทัง้ เปนสมภารเจาวัดอยูด ว ย จะทิง้ วัดไปเสียอยางไรได
พวกสูจะหนีกห็ นีเถิด แตขา ไมไปละ จะตองตายก็ตายอยูใ นวัด อยาเปนหวงขาเลย" พวกลูกศิษยออ นวอนเทาใดทานก็
ยืนคําอยูอ ยางนัน้
ตรงนีแ้ สดงถึงความเปนผูน ํา ถึงแมจะเกิดอะไรขึน้ ผูนําก็ตอ งแสดงความเปนผูน ํา และพระครูวดั ฉลอง
มีความรับผิดชอบเพราะตอนนี้เปนเจาอาวาส
2. แตทา นตอบวา "ขาเปนพระเปนสงฆจะรบฆาฟนใครไมได สูจะรบพุง อยางไรก็ไปคิดอานกันเองเถิด ขาจะใหแต
เครือ่ งคุณพระสําหรับปองกันตัว" คนเหลานัน้ ไปเทีย่ วชักชวนกัน
ความเชือ่ เรือ่ งคุณไสยของคนไทยโบราณ ปจจุบนั ก็ยงั มีใหเห็นอยู เชน ความเลือ่ มใสของชาวไทยตอหลวงพอคูณ
3. ทานพระครูวา "จีนรบสูไ ทยไมไดดว ยตัวมันตองกินขาวตม พวกไทยไมตอ งกินขาวตมจึงเอาชนะไดงา ยๆ"
ตรงนีแ้ สดงอารมณขนั ของทานพระครูวดั ฉลอง (ดวย แปลวา เพราะ)
4. ทานพระครูวา "ขาไมใชพระพุทธรูปจะทํานอกรีตมาปดทองคนเปนๆ อยางนี้ ขาไมยอม" แตคนหาปลาโตวา
"ก็ผมบนไวอยางนัน้ ถาขรัวพอไมยอมใหผมปดทองแกสนิ บน ฉวยแรงสินบนทําใหผมเจ็บลมตายขรัวพอจะวาอยางไร"
ทานพระครูจนถอยคําสํานวนดวยตัวทานก็เชือ่ เรือ่ งสินบน เกรงวาถาเกิดเหตุรา ยแกผบู น บาปจะตกอยูแ กตวั ทานก็ตอ งยอม
ความตอนนีส้ ะทอนความสัมพันธระหวางชาวบานกับพระสงฆ เพราะมีอะไรก็ตอ งอาศัยพึง่ พาพระสงฆ และ
สะทอนความเชือ่ ดานไสยศาสตร เพราะมีการบนบานศาลกลาว ปจจุบนั ชวงสอบเขามหาวิทยาลัยก็มกี ารบนใชไหม
คนหาปลาก็มจี ติ วิทยาในการพูดใหพระครูวดั ฉลองยอมใหปด ทอง ดวยการอางเหตุผลทีห่ นักแนนนาเชือ่ ถือ
พระครูวดั ฉลองมีเมตตาบารมีเห็นแกคนหาปลาจะเปนอันตราย จึงยอมใหปด ทองแมวา จะดูพกิ ลอยูว า ไมมใี คร
เขาปดทองคนเปนๆ
5. "ขาไมใชพระพุทธรูป จะทํานอกรีตมาปดทองคนเปนๆ อยางนีข้ า ไมยอม" คําวา นอกรีต มีความหมายตรงกับ
นอกแบบ
BOBBYtutor Thai Note

6. จากขอความขางตน ขอ 5 แสดงใหเห็นวาผูพ ดู มีทรรศนะวา การปดทองเปนเครือ่ งหมายแสดงความศรัทธาตอ


พระพุทธศาสนาไมควรนํามาใชกับคนเปนๆ
7. "ทานพระครูไมยอมใหแกไขในบริเวณโบสถทท่ี า นเคยลงไปอยูเ มือ่ ตอสูก บั พวกจีน กําแพงแกวทีพ่ วกลูกศิษย
เคยอาศัยบังตัวรบจีนครัง้ นัน้ ก็ไมใหรอ้ื แยงแกไข ยังใหคงอยูอ ยางเดิม" จากเรือ่ งพระครูวดั ฉลอง ขอความนี้อนุมานไดวา
ทานพระครูมคี วามคิดตองการเตือนใจใหอนุชนในชาติใหสามัคคีกนั
8. เราคาดไววา "การไมยอมใหแกไข" ของทานพระครูจะทําใหบงั เกิดประโยชนในดานเปนประจักษพยานของ
เหตุการณในอดีต
คําอธิบายศัพท
กําแพงแกว กําแพงเตีย้ สรางลอมพระอุโบสถ วิหาร หรือเจดีย เปนตน เพือ่ แสดงอาณาเขต
ขรัว เปนคําเรียกบุคคลทีเ่ คารพนับถือ เชน ขรัวยาย ขรัวตา ขรัวพอ (โบราณ)
นอกรีต ไมประพฤติตามจารีตประเพณี รีต นาจะกรอนจาก จารีต
ประเจียด ผาทีล่ งเลขยันต ถือเปนของศักดิส์ ทิ ธิ์ ปองกันอันตราย
พัทธสีมา เครือ่ งแสดงเขตของพระอุโบสถอันเปนทีท่ ําสังฆกรรมไดตามพระวินยั
มณฑล วงรอบ บริเวณ แควน สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย มณฑล คือ สวนหนึง่ ของประเทศ มีสมุห-
เทศาภิบาลเปนผูด แู ลรับผิดชอบมณฑลหนึง่ ๆ มักมี 4-5 จังหวัด การแบงประเทศเปนมณฑลๆ
ไดเลิกไปหลังเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
ยันต รูปซึง่ เขียนลงบนสิง่ ตางๆ เชน ผา โลหะ แลวลงอักขระหรือเลข ใชเปนของขลัง
รูปฉาย รูปถาย
ลับแล ฉากกัน้ หรือบังทีย่ กยายได
โลน หยาบคาย มีความหมายกระเดียดไปทางเรือ่ งเพศ
วิทยาคม เวทมนต ความเกงกลาทางเวทมนต (วิทย + อาคม)
วิปส สนาธุระ การปฏิบตั ธิ รรม บําเพ็ญเพียรทางจิต เพือ่ ใหเกิดปญญาขัน้ สูงสุดในพระพุทธศาสนา คูก บั คันถธุระ
ซึง่ หมายถึง การศึกษาคัมภีรท างพระพุทธศาสนาเพือ่ ความแตกฉานในพระปริยตั ธิ รรม
สังฆปาโมกข หัวหนาสงฆ ตําแหนงเจาคณะจังหวัด
เสนาบดี ขาราชการใหญ รับผิดชอบสูงสุดในกระทรวง ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย
อธิกรณ เหตุ โทษ คดี หรือเรือ่ งราวการกระทําความผิดของพระภิกษุสงฆ
อัจฉริยบุตร คนพิเศษ คนนาอัศจรรย
BOBBYtutor Thai Note

เมื่อหัวถึงหมอน
ผูแ ตง : นายตํารา ณ เมืองใต (นายเปลือ้ ง ณ นคร)
ลักษณะคําประพันธ : รอยแกว ประเภทบทความ
จุดประสงคการแตง : เปนบทความจรรโลงใจ (อานแลวสบายใจ) เพือ่ ใหเปนขอคิดถึงชีวติ และตรึกตรองกอนนอน
เนือ้ เรือ่ ง : แบงเปน 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 กลาวถึงประสบการณของผูเ ขียนในวัยเด็ก
ตอนที่ 2 อธิบายความในชวงแรกใหแจมชัดขึน้
ตอนที่ 3 ผูแ ตงใหขอ คิดเกีย่ วกับธรรมชาติของการนอนวาเปนการตายไปชัว่ ขณะนัน่ เอง
ตรงนีต้ อ งระวัง
1. "เมือ่ กราบลาทาน ทานพูดวา "หลานเอย ตาไมมอี ะไรจะให แตตาอยากใหหลานจําใสใจวาความสัตยหนึง่
ความกตัญูรคู ณ ุ ทานหนึง่ กับความเมตตาหนึง่ ใหหลานถือไวเปนประจําแลวไมมตี กยาก" พูดแลวทานทําปากขมุบขมิบ
เปาลงในฝามือลูบหัวให ขาพเจากราบรับพร" โวหารตรงนีค้ อื เทศนาโวหาร (สัง่ สอน)
2. "นอกจากรูส กึ ขันและพิศวง เมือ่ ทานจะรับประทานขาว ทานตองปน ขาวเปลาเปนกอน ทําปากขมุบขมิบไปพลาง
แลวก็ยกชูขน้ึ เวลาทานจะออกจากบานทานตองยืนนิง่ ทีห่ วั บันไดครูห นึง่ แลวคอยๆ ยางลงไปพอถึงขัน้ สุดทายทาน
ตองกมตัวกาวออมไปทางขวาเสียสองสามกาว แลวจึงเดินตามทางตอไป
การกระทําของคนโบราณ เปนความเชื่อที่ทํากันมาตัง้ แตสมัยเกากอน ทัง้ นีเ้ พราะเปนการรําลึกถึงพระคุณของ
แมโพสพและการขออภัยแมธรณีทต่ี อ งเหยียบลงแผนดิน
3. "แตหวั ถึงหมอน หมอนอันออนนุม ทีน่ อนอันอบอุน ผาขาวสะอาด มุง ผาโปรงถึงกระนัน้ ตาก็มอิ าจ หรีห่ ลับลงได
ตัง้ แตจกั รพรรดิลงมาถึงยาจก ลวนไดรบั ความทรมานจากมานตาซึง่ ไมยอมปด และหัวใจซึง่ ไมยอมระงับในเวลา
ซึง่ ธรรมชาติตอ งการใหเรานอน"
ภาษาทีใ่ ชตรงชวงนีเ้ ปน พรรณนาโวหาร
- "ตัง้ แตจกั รพรรดิลงมาถึงยาจก ลวนไดรบั ความทรมานจากมานตาซึง่ ไมยอมปด"
- "หัวใจซึง่ ไมยอมระงับในเวลาซึง่ ธรรมชาติตอ งการใหเรานอน"
- "หมอนอันออนนุม ทีน่ อนอันอบอุน ผาขาวสะอาด มุงผาโปรง"
4. "บนผิวโลกกําลังเต็มไปดวยเชือ้ สกปรกเหลานี้ ปลิวแทรกซานอขาสูจ ติ มนุษย เราชําระแตกายไมชําระใจ ฉะนั้น
บางคนจึงเปนโรคทางใจงอมแงม มนุษย สังคมและโลกตองสัน่ สะเทือน เรารอนอยูดวยโรคอาธรรม"
บทความยอหนานีม้ คี วามเดนตรงทีใ่ ชคําเปรียบเทียบ (ไมไดแปลตรงตัว)
เชือ้ สกปรก = กิเลส ตัณหา
ชําระใจ = ใจสงบบริสทุ ธิ์
โรคทางใจ = ใจทีอ่ าฆาตพยาบาท โลภ โกรธ หลง
โรคอาธรรม = โรคทางใจ
BOBBYtutor Thai Note

5. "เมือ่ หัวถึงหมอนจงระลึกถึงพุทธคุณและบริกรรมแผเมตตาจิต ถาตางคนตางแผความเมตตา (เพียงแตตง้ั ใจ


เทานัน้ ก็พอ) ใหผิวโลกพรําดวยละอองแหงเมตตาจิต โลกก็จะประสบสันติสขุ โดยแทจริง ในทางตรงขามถาเราปลอย
กระแสแหงความแคนเคือง ความริษยาอาฆาตออกไปจากดวงจิต โลกก็จะระงมไปดวยความเรารอน ความเบียดเบียน
กันก็ยง่ิ แกกลา" โวหารตรงนี้ คือ เทศนาโวหาร (การสัง่ สอน)
ภาษาทีว่ จิ ติ ร : "ผิวโลกพรําดวยละอองแหงเมตตาจิต"
"โลกก็จะระงมไปดวยความเรารอน"
บทความยอหนานี้ กลาวถึงขอดี ขอเสีย 2 ดานเลย
6. "นอน เปนธรรมชาติของสัตวโลกทัง้ หลาย การนอนนัน้ คือการหลับ จิตใจไมมสี ญ ั ญา ไมเห็นไมไดยนิ อะไร
เปรียบเหมือนเปนการตายชัว่ คราว"
ตรงนีเ้ ปนการอธิบายแบบ (1) "นิยาม" ใหคาจํ ํ ากัดความ
(2) "เปรียบเทียบความเหมือนความตาง"
การนิยาม : "การนอนนั้น คือ การหลับ จิตใจไมมสี ญ ั ญา ไมเห็น ไมไดยนิ อะไร"
การเปรียบเทียบ : "เปรียบเหมือนความตายชัว่ คราว"
7. มีคนมิใชนอยที่พาเอายศศักดิ์ ตําแหนงหนาที่ ความเปนกังวล ความอาฆาตพยาบาท ความระแวง ความกลัว
เขาไปในมุง ดวย"
จุดมุง หมายของผูแ ตงตอนนี้ คือ ตองการใหพกั กายพักใจอยางเต็มที่ ไมใชเวลานอนก็คดิ เรือ่ งราวตางๆ นานา
แยกเวลาไมเปนวาเวลาไหนเวลางาน เวลาพักผอน
8. "การนอนนีก้ เ็ ปนปริศนาธรรมประการหนึง่ คลายๆ จะเตือนวา สัตวโลกทัง้ หลายอยาไดลมื ความตาย ใครจะมี
ยศอํานาจทรัพยศฤงคารปานไหน เมือ่ หลับแลวก็เหมือนกันหมด" ปริศนาธรรมเกีย่ วกับการนอน เปนเครือ่ งบอกถึงเรือ่ ง
มนุษยไมควรทะเยอทะยาน
9. "แตในทีส่ ดุ ในเวลานอน เราก็ตอ งเอนตัวลงขนานกับพืน้ ดินเหมือนกันหมด ธรรมชาติยอ มบอกกลาวเราอยู
ทุกวันวา หัวของคนนัน้ ยอมอยูใ นระดับเดียวกันทัง้ สิน้ แมในเวลาตืน่ หัวของเราจะแลดูสงู เดน แตในทีส่ ดุ ก็จะตองลดลง
มาอยูใ นระดับเดียวกับคนทัง้ หลาย"
การอานจับใจความขอสอบ Ent นักเรียนตองจับความหมายของบทความ คําพูดทีผ่ แู ตงไดกลาวไวใหจงได
อยางบทความขอที่ 9 นี้ ความมุง หมายของผูแ ตงคืออะไรนักเรียนตอบไดไหม คือ เขาตองการจะบอกวาผูด มี จี น คนรวย
คนจน สุดทายทุกคนก็เทากัน คือ ความตาย ทุกคนเกิดมาแลวตองตาย
BOBBYtutor Thai Note

ทุกขของชาวนาในบทกวี
ผูพ ระราชนิพนธ : สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ลักษณะคําประพันธ : รอยแกว
เนือ้ เรือ่ ง : พระราชนิพนธเรือ่ งนีแ้ สดงแนวพระราชดําริเกีย่ วกับบทกวีไทยและบทกวีจนี ซึง่ กลาวถึงชีวติ และความทุกข
ยากของชาวนา เนือ้ ความในพระราชนิพนธตอนแรกแสดงถึงความเขาพระทัยปญหาตางๆ ของชาวนา และยังสะทอนให
เห็นพระเมตตาธรรมอันเปย มลมของพระองคทม่ี ตี อ ชาวนาอีกดวย สวนตอนตอมา ทรงแปลบทกวีจนี ของหลีเ่ ซินเปน
ภาษาไทย ทําใหเราเห็นภาพชีวติ ของชาวนาจีนกับชาวนาไทยวา มิไดแตกตางกันเทาใดนัก สวนทีส่ ําคัญทีส่ ดุ ทรงชีใ้ หเห็น
กลวิธนี ําเสนอของกวีทง้ั สองทีแ่ ตกตางกัน
ตรงนีต้ อ งระวัง
"เปบขาวทุกคราวคํา จงสูจําเปนอาจิณ
เหงือ่ กูทส่ี กู นิ จึงกอเกิดมาเปนคน
ขาวนี้นะมีรส ใหชนชิมทุกชั้นชน
เบือ้ งหลังสิทกุ ขทน และขมขืน่ จนเขียวคาว
จากแรงมาเปนรวง ระยะทางนัน้ เหยียดยาว
จากรวงเปนเม็ดพราว ลวนทุกขยากลําเค็ญเข็ญ
เหงือ่ หยดสักกีห่ ยาด ทุกหยดหยาดลวนยากเข็ญ
ปูดโปนกีเ่ สนเอ็น จึงแปรรวงมาเปบกิน
นําเหงื
้ อ่ ทีเ่ รือ่ แดง และนํ้าแรงอันหลัง่ ริน
สายเลือดกูทง้ั สิน้ ทีส่ ซู ดกําซาบฟน"
จิตร ภูมิศักดิ์
1. ครูอยากทราบคําประพันธทง้ั 5 บท นี้เปนคําประพันธชนิดใด นักเรียนตอบไดไหม
2. คําประพันธ 5 บทนี้ เหมือนจะเปนการลําเลิกทวงบุญคุณ วาทุกคนมีขา วกินไดเพราะความยากลําบากของชาวนา
นักเรียนรูส กึ ไหม
3. ปญหาของชาวนาทีส่ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงสรุปมีดงั นี้
3.1 ความชวยเหลือดานปจจัยผลิตยังไมมี
3.2 การพยุงหรือประกันราคายังไมมี
3.3 ชาวนาตางละทิง้ อาชีพเกษตรกรรม ไปอยูใ นภาคอุตสาหกรรม เพราะรายไดดกี วา สวัสดิการดีกวา
3.4 ชาวนาเปลีย่ นจากปลูกขาวมาปลูกพืชเศรษฐกิจ
3.5 ไมรจู ะอุทธรณรอ งฎีกากับใครเวลามีปญ
 หา
4. ความงามของบทประพันธของจิตร ภูมิศักดิ์ อยูต รงบทที่ 4 มีการเลนสัมผัสอักษร
"เหงือ่ หยดสักกี่หยาด ทุกหยดหยาดลวนยากเย็น"
BOBBYtutor Thai Note

5. คําประพันธบทที่ 1 นํ้าเสียงของผูแ ตงเหมือนกับมีความกดดัน และอยากตะโกนบอกวาทีพ่ วกเจาอยูไ ด เพราะ


หยาดเหงือ่ แรงงานของชาวนา เหมือนกับผูแ ตงเปนชาวนาซะเอง
"เปบขาวทุกคราวคํา จงสูจาเปํ นอาจิณ
เหงือ่ กูทส่ี กู นิ จึงกอเกิดมาเปนคน"
นํ้าเสียงผูแ ตงแรงมากเลย พอๆ กับบทสุดทาย เหมือนพวกหัวรุนแรง
"นํ้าเหงือ่ ทีเ่ รือ่ แดง และนําแรงอั
้ นหลัง่ ริน
สายเลือดกูทง้ั สิน้ ทีส่ ซู ดกําซาบฟน"
บทกวีตอ ไปนีส้ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงแปลมาจากบทกวีจนี ของหลีเ่ ซิน
"หวานขาวในฤดูใบไมผลิ ขาวเมล็ดหนึ่ง
จะกลายเปนหมืน่ เมล็ดในฤดูใบไมรว ง
รอบขางไมมนี าทีไ่ หนทิง้ วาง
แตชาวนาก็ยงั อดตาย
ตอนอาทิตยเทีย่ งวัน ชาวนายังพรวนดิน
เหงือ่ หยดบนดินภายใตตน ขาว
ใครจะรับรูบ า งวาในจานใบนัน้
ขาวแตละเม็ดคือความยากแคนแสนสาหัส"
6. ความหมายคลายกับของจิตร ภูมศิ กั ดิ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงพระราชนิพนธตรงประโยควา
"แตกแ็ สดงความขัดแยงชัดเจน แมวา ในฤดูกาลนัน้ ภูมศิ าสตรจะอํานวยใหพชื พันธุธ ญ ั ญาหารบริบรู ณดี
แตผลผลิตไมไดตกเปนประโยชนของผูผ ลิตเทาทีค่ วร"
แสดงวาชาวนาไทยกับชาวนาจีนก็ไมมคี วามแตกตางในดานการเปนอยู ตองลําบากเหมือนกัน ไมใชอาชีพ
ทีร่ ารวย
่ํ
7. เทคนิคการเขียนของกวีทง้ั 2 ทาน
หลีเ่ ซิน : บรรยายภาพทีเ่ ห็นเหมือนจิตรกรวาดภาพใหคนชม
จิตร ภูมิศักดิ์ : ใชวิธีเสมือนกับนําชาวนามาบรรยายเรือ่ งของตนใหผอู า นฟงดวยตนเอง
8. "เวลานีส้ ภาพบานเมืองก็เปลีย่ นไป ตัง้ แตสมัยทีห่ ลีเซินเมือ่ พันปกวา สมัยจิตร ภูมศิ กั ดิ์ เมือ่ 30 กวาปทแี่ ลว สมัยที่
ขาพเจาไดเห็นเอง ก็ไมมอี ะไรแตกตางกันนัก" ฉะนัน้ กอนทีท่ กุ คนจะหันไปกินอาหารเม็ดเหมือนนักบินอวกาศ เรือ่ งความทุกข
ของชาวนาก็คงยังจะเปนแรงสรางความสะเทือนใจใหแกกวียคุ คอมพิวเตอรสบื ตอไป
บทพระราชนิพนธ ตอนนีไ้ พเราะมาก คือ กําลังจะบอกวาชาวนาทุกสมัยก็ลาบากเป ํ นอยูอ ยางนีท้ กุ ยุคทุกสมัย ประโยค
สุดทายตัง้ แต "เรือ่ งความทุกข ..." เปนการสะทอนใหผอู า นไดคดิ วา ชาวนาเปนบุคคลทีต่ อ งชวยเหลือพวกเขากันตอไปหรือไม
BOBBYtutor Thai Note

พระบรมราโชวาท
ผูพ ระราชนิพนธ : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั (รัชกาลที่ 5)
ลักษณะคําประพันธ : รอยแกว เชิงเทศนาโวหาร ในรูปพระราชหัตถเลขา
ทีม่ า : ทรงพระราชนิพนธเปนพระราชหัตถเลขา พระราชทานแกพระเจาลูกยาเธอ 4 พระองคใน
วโรกาสเสด็จไปทรงศึกษาตอ ณ ประเทศในยุโรป
พระโอรสทัง้ 4 พระองค :
1. พระองคเจากิตยิ ากรวรลักษณ ตอมาทรงกรมเปนกรมพระจันทบุรนี ฤนาท ทรงเปนตนสกุล "กิตยิ ากร"
2. พระองคเจารพีพฒ ั นศักดิ์ ตอมาทรงกรมเปนกรมหลวงราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ตนสกุล "รพีพฒ
ั น" ทรงเปนพระบิดา
แหงกฎหมายไทย
3. พระองคประวิตรวัฒโนดม ตอมาทรงกรมเปนกรมหลวงปราจีณษกิตบิ ดี ตนสกุล "ประวิตร"
4. พระองคเจาจิรประวัตวิ รเดช ตอมาทรงกรมเปนกรมหลวงนครไชยศรีสรุ เดช ตนสกุล "จิรประวัต"ิ
จุดมุง หมายทีท่ รงพระราชนิพนธ : เพือ่ ทรงสัง่ สอนพระเจาลูกยาเธอใหปฏิบตั ติ นใหถกู ตองและดีงามขณะทีท่ รงศึกษา
อยูห า งไกล
ตรงนีต้ อ งระวัง
1. ทรงสัง่ สอนวา หามถือยศถือศักดิว์ า เปนเจา ดังพระราชนิพนธตอนนี้ :
"อยาใหไวยศวาเปนเจา ใหถอื เอาบรรดาศักดิเ์ สมอลูกผูม ตี ระกูลในกรุงสยาม คือ อยาใหใชฮสิ รอแยลไฮเนสปรินซ
นําหนาชื่อ ใหใชแตชอ่ื เดิมของตัว" ทรงมีเหตุผลจากตอนนี้ :
"ถาเปนเจานายแลว ตองรักษายศศักดิใ์ นกิจการทัง้ ปวงทีจ่ ะทําทุกอยาง เปนเครือ่ งลอตาลอหูคนทัง้ ปวงทีจ่ ะให
พอใจดูพอใจฟง จะทําอันใดก็ตอ งระวังตัวไปทุกอยาง ทีส่ ดุ จนจะซือ้ จายอันใดแพงกวาสามัญ เพราะเขาถือวามัง่ มี
เปนการเปลืองทรัพยในทีไ่ มควรจะเปลือง"
2. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาทรงใชพระราชทรัพยสว นพระองค ดังจากความตอนนี้ :
"เงินคาทีจ่ ะใชสอยในการเลาเรียนกินอยูน งุ หมทัง้ ปวงนัน้ จะใชเงินพระคลังขางทีค่ อื เงินทีเ่ ปนสวนสิทธิข์ าด
แกตวั พอเอง ไมใชเงินสําหรับจายราชการแผนดิน"
ทรงมีเหตุผล ดังความตอไปนี้ :
"การซึง่ ใชเงินพระคลังขางทีไ่ มใชเงินแผนดินอยางเชนเคยจายใหเจานาย และบุตรขาราชการไปเลาเรียน แตกอนนั้น
เพราะเห็นวาพอมีลกู มากดวยกัน การซึง่ ใหมโี อกาสและใหทนุ ทรัพยซงึ่ จะไดเลาเรียนวิชานี้ เปนทรัพยมรดกอันประเสริฐดี
กวาทรัพยสนิ เงินทองอืน่ ๆ ดวยเปนของติดตัวอยูไ ดไมมอี นั ตรายทีจ่ ะเสือ่ มสูญ ลูกคนใดทีม่ สี ติปญ  ญาเฉลียวฉลาดก็ดี
หรือไมมสี ติปญ  ญาเฉลียวฉลาดก็ดี ก็จะตองสงออกไปเรียนวิชาทุกคนตลอด โอกาสทีจ่ ะเปนไปไดเหมือนหนึง่ ไดแบง
ทรัพยมรดกใหแกลกู เสมอๆ กันทุกคน ก็ถา จะใชเงินแผนดินสําหรับใหไปเลาเรียนแกผซู ง่ึ ไมมสี ติปญ  ญาเฉลียวฉลาด
กลับมาไมไดทําราชการคุม กับเงินแผนดินทีล่ งไป ก็จะเปนทีต่ เิ ตียนของคนบางจําพวกวามีลกู มากเกินไป จนตองใชเงิน
แผนดินเปนคาเลาเรียนมากมายเหลือเกิน แลวซําไม ้ เลือกฟน เอาแตทเ่ี ฉลียวฉลาดจะไดราชการ คนโงคนเงาก็เอาไป
เลาเรียนใหเปลืองเงิน เพราะคาทีเ่ ปนลูกของพอ ไมอยากจะใหมมี ลทินทีจ่ ะพูดติเตียนเกีย่ วกับความปรารถนาซึง่ สงเคราะห
แกลกู ใหทว่ั ถึงโดยเทีย่ งธรรม จึงมิไดใชเงินแผนดิน เพราะเหตุทพ่ี อ ไดเอาเงินสวนทีพ่ อ ไดใชเองนัน้ ออกใหเลาเรียนดวย
เงินรายนีไ้ มมผี หู นึง่ ผูใ ดทีจ่ ะแทรกแซงวาควรใชอยางนัน้ ไมควรใชอยางนัน้ ไดเลย"
BOBBYtutor Thai Note

2.1 พระองคทรงรักพระโอรสเทากันทุกพระองค และพระองคมพี ระโอรสมากและรักเทากันทุกพระองค


2.2 ถาสงพระโอรสทีไ่ มเกงไปศึกษาตอ โดยใชเงินแผนดิน ก็อาจถูกขุนนางและประชาชนนินทาติเตียนเอาได
แสดงวาพระองคมคี วามรอบคอบ เห็นวาอะไรควรอะไรไมควร
2.3 พระองคมพี ระโอรสมากถาใชเงินแผนดินก็เปลืองมาก จึงใชพระราชทรัพยสว นพระองคดกี วา
2.4 การใชพระราชทรัพยสว นพระองคใครจะมาวามาพูดอะไรไมได
2.5 พระองคทรงตระหนักถึงวิชาความรูเ ปนสิง่ สําคัญ จึงแบงใหลกู ๆ เทาๆ กันไดมโี อกาสศึกษาเลาเรียนตอ
ตางประเทศ
3. พระบรมราโชวาท ตอนตอไปนีท้ รงสัง่ สอน เปรียบเทียบรุนแรงมาก แตมไิ ดใหความหมายแรง แตเปนการ
เปรียบเทียบใหเห็นภาพมากกวา ทรงสัง่ สอนใหตง้ั ใจเรียน
"ถาจะถือวาเกิดมาเปนเจานายแลวนิง่ ๆ อยูจ นตลอดชีวติ ก็เปนสบาย ดังนัน้ จะไมผดิ อันใดกับสัตวดริ จั ฉาน
อยางเลวนัก สัตวดริ จั ฉานมันเกิดมากินๆ นอนๆ แลวก็ตาย แตสตั วบางอยางยังมีหนัง มีเขา มีกระดูกเปนประโยชนไดบา ง
แตถา คนประพฤติอยางเชนสัตวดริ จั ฉานแลวจะไมมปี ระโยชนอนั ใดยิง่ กวาสัตวดริ จั ฉานบางพวกไปอีก เพราะฉะนั้น
จงอุตสาหะทีจ่ ะเรียนวิชาเขามาเปนกําลังทีจ่ ะทําตัวใหดกี วาสัตวดริ จั ฉานใหจงได จึงจะนับวาเปนการได สนองคุณพอ
ซึง่ ไดคดิ ทํานุบารุ
ํ งเพือ่ จะใหดตี ง้ั แตเกิดมา"
4. ทรงสัง่ สอนวา ไมใหประพฤติตนเปนคนเกเร โดยอาศัยบารมีพอ วาเปนพระเจากรุงสยาม ดังจากความตอนนี้ :
"อยาไดถอื วาตัวเปนลูกเจาแผนดิน พอมีอํานาจยิง่ ใหญอยูใ นบานเมือง ถึงจะเกะกะไมกลังเกรงคุมเหงผูใ ด
เขาก็คงจะมีความเกรงใจพอ ไมตอ สูห รือไมอาจฟองรองวากลาว การซึง่ เชือ่ ใจดังนัน้ เปนการผิดแททเี ดียว"
ทรงมีเหตุผล ดังจากความตอนนี้
"การทีม่ พี อ เปนเจาแผนดินนัน้ จะไมเปนการชวยเหลืออุดหนุนแกไขอันใดไดเลย อีกประการหนึง่ ชีวิตสังขาร
ของมนุษยไมยงั่ ยืนยืดยาวเหมือนเหล็กเหมือนศิลา ถึงโดยวาจะมีพอ อยูใ นขณะหนึง่ ก็คงจะมีเวลาทีไ่ มมไี ดในขณะหนึง่
เปนแนแท ถาประพฤติความชัว่ เสียในเวลามีพอ อยูแ ลว โดยจะปดบังซอนเรนอยูไ ดดว ยอยางใดอยางหนึง่ เวลาไมมพี อ
ความชัว่ นัน้ คงจะปรากฏเปนโทษติดตัวเหมือนเงาตามหลังอยูไ มขาด เพราะฉะนั้นจงเปนคนออนนอม วานอนสอนงาย
อยาใหเปนทิฐมิ านะไปในทางทีผ่ ดิ จงประพฤติตวั หันมาทางทีช่ อบทีถ่ กู อยูเ สมอเปนนิจเถิด จงละเวนทางทีช่ ว่ั ซึง่ ไดรไู ดเอง
แกตวั หรือมีผตู กั เตือนแนะนําใหรแู ลว อยาใหลว งใหเปนไปเลยเปนอันขาด"
ตรงนีม้ คี วามเปรียบแบบอุปมา "เหมือนเหล็กเหมือนศิลา"
"เหมือนเงาตามหลังอยูไ มขาด"
ความตรงนีเ้ ปนการเทศนา (สัง่ สอน)
5. ทรงสัง่ สอนวา ใหใชเงินอยางประหยัด ดังจากความตอนนี้ :
"อยาทําใจโตมือโตสุรยุ สุรา ย โดยถือวาตัวเปนเจานายมัง่ มีมาก หรือถือวาพอเปนเจาแผนดินมีเงินทองถมไป"
ทรงมีเหตุผลดังจากความตอนนี้ :
"สวนเงินทีพ่ อ ไดหรือลูกไดเพราะพอนัน้ ก็เพราะอาศัยพอเปนผูท านุํ บารุ
ํ งรักษาบานเมือง และราษฎรผูเจาของ
ทรัพยนน้ั ก็เฉลีย่ เรีย่ ไรกันมาใหพอ จะไดเปนกําลังทีจ่ ะหาความสุขคุม กับคาทีเ่ หน็ดเหนือ่ ยทีต่ อ งรับราชการในตําแหนงอันสูง
คือ เปนผูร กั ษาความสุขของเขาทัง้ ปวง เงินนัน้ ไมควรจะนํามาจําหนายในการทีไ่ มเปนประโยชน ไมเปนเรือ่ ง และเปน
การไมมคี ณ ุ กลับใหโทษแกตวั ตองใชแตในการจําเปนทีจ่ ะตองใช ซึง่ จะเปนการมีคณ ุ ประโยชน แกตนและผูอ น่ื ใน
ทางชอบธรรม"
แสดงวาพระองคทรงรูจ กั คุณคาของเงิน ซึง่ จริงๆ แลว กษัตริยม อี านาจมาก
ํ เพราะอยูใ นสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย
BOBBYtutor Thai Note

6. "เงินทองทีจ่ ะใชสอยในคากินอยู นุง หม หรือใชสอยเบ็ดเสร็จทัง้ ปวง จงเขม็ดแขม ใชแตเพียงพอทีอ่ นุญาต


ใหใช อยาทําใจโตมือโตสุรยุ สุรา ย โดยถือวาตัวเปนเจานายมัง่ มีมาก มีพอ เปนเจาแผนดินมีเงินทองถมไป"
6.1 มีความหมายตรงกับลักษณะไมพงึ ประสงคทก่ี ลาวไวในขอความนี้ คือ อีลุยฉุยแฉก
6.2 ขอความดังกลาวมีจดุ มุง หมาย สัง่ สอน
6.3 ความคิดสําคัญของขอความทีย่ กมาคือ การรูจ กั ใชจา ย
7. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั จึงมีพระบรมราโชวาทใหพระเจาลูกยาเธอทัง้ 4 พระองค
ทรงศึกษาภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ใหแตกฉานเพราะจะใชเปนเครือ่ งมือในการแสวงหาความรูไ ดกวางขวาง
8. พระบรมราโชวาทตอนทีส่ ะทอนบทบาทสําคัญทีส่ ดุ ทีผ่ ทู เ่ี ปนบิดามารดา คือ การซึง่ ใหโอกาสและใหทนุ ทรัพย
ซึง่ จะไดเลาเรียนวิชานีเ้ ปนทรัพยมรดกอันประเสริฐดีกวาทรัพยสนิ เงินทองอืน่ ๆ
9. พระราชประสงคทแ่ี ทจริงตามพระบรมราโชวาทนี้
"ใหเขียนหนังสือถึงพอทุกคนอยางนอยเดือนละฉบับ เมือ่ เวลายังเขียนหนังสืออังกฤษไมไดกใ็ หเขียนมา
เปนหนังสือไทย ถาเขียนหนังสืออังกฤษหรือภาษาใดก็ได ใหเขียนภาษาอืน่ นัน้ มาฉบับหนึง่ ใหเขียนคําแปลเปนภาษาไทย
อีกฉบับหนึง่ " คือ ใหรทู ง้ั ภาษาไทยและภาษาตางประเทศ
10. ขอความตอไปนี้ แสดงวาผูก ลาวตองการสอนในเรือ่ ง
"จึงรูไ วเถิดวา ถาเมือ่ ไดทําความผิดมาเมื่อใด จะไดรบั โทษโดยทันที การมีพอ เปนพระเจาแผนดินนัน้ จะไม
เปนการชวยเหลืออุดหนุนแกไขอันใดไดเลย" ตองการสอนไมใหถอื อํานาจประพฤติมชิ อบ
คําอธิบายศัพท
บรรดาศักดิ์ ฐานะของขุนนางในอดีต เชน ขุน หลวง พระ พระยา เจาพระยา ซึง่ ไดรบั พระราชทาน
เนือ่ งจากตําแหนง ผูมีบรรดาศักดิ์จัดวาเปนผูมีตระกูล
เบีย้ หวัด ในบทอานนี้ หมายถึง เงินทีพ่ ระราชทานเปนงวดๆ ใหแกเจานายหรือผูท ร่ี บั ราชการสนอง
พระเดชพระคุณ
หนังสือ หมายถึง วิชาดานภาษา
เงินพระคลังขางที่ ทรัพยสนิ สวนพระองค
เงินถุงแดง เงินพระคลังขางที่
มหาดเล็กวิเศษ บุตรขาราชการทีถ่ วายตัวเปนมหาดเล็ก
นายรองหุม แพรมหาดเล็ก ตําแหนงขาราชการสัญญาบัตรขัน้ ตํ่าสุด
ใจโตมือโต ใชเงินสุรยุ สุรา ย ฟุม เฟอย
ตนมือ ตอนแรก
BOBBYtutor Thai Note

สายใยของธรรมชาติ คือสายใยของชีวิต
ผูแ ตง : นงพงา สุขวานิช
ลักษณะคําประพันธ : สารคดีขนาดสั้น เชิงโนมนาวใจ
จุดประสงคการแตง : สงเสริมการอนุรกั ษธรรมชาติ สิง่ แวดลอม การใหความรู ความเขาใจแกทกุ คน เพือ่ ใหเกิด
ความตระหนักถึงผลทีเ่ กิดขึน้ ใหเห็นแนวทางในการชวยใหสามารถมีชวี ติ อยูใ นสภาพแวดลอมทีม่ นุษยอยูไ ดอยางปกติสขุ
ตรงนีต้ อ งระวัง
1. "นานมาแลวทีธ่ รรมชาติสรางความอุดมสมบูรณขน้ึ ไวใหกบั แผนดินผืนนี้ ดินทุกๆ ตารางนิว้ ตางประกอบขึน้
ดวยธาตุอาหารทีไ่ ดจากความชุม ชืน้ ภายใตรม เงาของปาไม ใบไมแตละใบทีร่ ว งหลนจากลําตนคือระบบเล็กๆ ของธาตุ
อาหารที่เกิดขึ้นบนผิวดิน นัน่ คือเมือ่ ใดทีใ่ บไมรว งหลนถึงพืน้ ดิน มันก็จะผุพงั และเนาเปอ ยดวยความชุม ชืน้ และจุลนิ ทรีย
เล็กๆ ทีช่ ว ยกันยอยสลายใหใบไมนน้ั กลายเปนธาตุอาหารสะสมอยูใ นดิน และดินก็จะสะสมธาตุอาหารใหตวั เองตลอด
เวลาตราบเทาทีม่ ปี า ไม มีนํ้าเปนสายใยธรรมชาติเกือ้ หนุนกันและกัน"
ครูอยากใหนกั เรียนหาคําซอนจากบทความขางตน
อุดมสมบูรณ ชุมชื้น รมเงา รวงหลน ผุพงั เนาเปอย ยอยสลาย เกือ้ หนุน
2. "เมือ่ ธรรมชาติตา งผูกพันกันไวดว ยสายใยแหงชีวติ อันละเอียดออน ความอุดมสมบูรณจงึ เกิดขึน้ บนพืน้ พิภพ
ทุกชีวติ ทีเ่ กิดขึน้ บนพืน้ พิภพ จึงไดรบั การโอบอุม ไวใหอยูอยางรมเย็นเปนสุขภายใตระบบความสัมพันธอนั ซับซอนของ
ธรรมชาติมานานแสนนาน ยิง่ ความสัมพันธมมี ากเพียงใดชีวติ ยิง่ ไดรบั ความรมเย็นเปนสุขมากขึน้ เพียงนัน้ "
สํานวนภาษาสารคดีเรือ่ งนีม้ กี ารใชภาษาทีว่ จิ ติ รมาก คลายๆ จะเปนนวนิยาย เชน
"ดวยสายใยแหงชีวติ อันละเอียดออน"
"ทุกชีวติ ทีเ่ กิดขึน้ บนพืน้ พิภพ จึงไดรบั การโอบอุม "
ภาษาแบบนีเ้ ขาเรียกวา ภาษาพรรณนาโวหาร
3. "ปาไมนน่ั คือแหลงศูนยรวมความชุม ชืน้ ของโลก เมือ่ ปาไดลดลง ความชุม ชืน้ จะคอยๆ สูญสลายไปจากพิภพ
ในทํานองเดียวกัน พืน้ ดินทีถ่ กู แยกออกจากปาใหเปนทองทุง เกษตรกรรมก็คอ ยๆ ลดความอุดมสมบูรณของธาตุอาหาร
ในดินไป เพราะตองนําไปหลอเลีย้ งพืชพันธุธ ญ ั ญาหาร จนในทีส่ ดุ เหลืออยูเ พียงความแหงแลงใหแกโลก"
การอานบทความแตละยอหนา นักเรียนตองหาความสัมพันธของประโยคใดทีเ่ ปนสาเหตุ-ผลลัพธกนั ดวย
เพราะขอสอบ Ent ชอบถามบอยๆ อยางบทความยอหนานี้ ครูจะชีใ้ หเห็นความสัมพันธของประโยคสาเหตุ-ผลลัพธ
ดังตัวอยางตอไปนี้
* "เมือ่ ปาไมลดลง" : สาเหตุ
"ความชุม ชืน้ จะคอยๆ สูญสลายไปจากพิภพ" : ผลลัพธ
* "ก็คอ ยๆ ลดความอุดมสมบูรณของธาตุอาหารในดินไป" : ผลลัพธ
"เพราะตองนําไปหลอเลีย้ งพืชพันธุธ ญ ั ญาหาร" : สาเหตุ
BOBBYtutor Thai Note

4. "ในขณะทีร่ ะบบความสัมพันธของปาไม ดิน และนําถู ้ กรบกวนอยางรุนแรงนัน้ ระบบแหงจักรวาลก็ถกู รบกวน


จากมนุษยเชนเดียวกัน ตัวการซึง่ รุกลําขึ ้ น้ ไปทําลายระบบความสัมพันธในจักรวาลนัน้ คือ ระบบความเจริญแหงการ
พัฒนาทางอุตสาหกรรม ทีเ่ ผาพันธุม นุษยไดคดิ คนควา เพือ่ สรางความยิง่ ใหญใหแกโลกนัน่ เอง อากาศบริสทุ ธิ์ ทีถ่ กู เจือปน
ดวยกาซพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม และจากยวดยานพาหนะนีน้ ําไปสูภ าวะการเกิดฝนกรด การทําลายชั้นโอโซน
ในบรรยากาศ และการอบความรอนในพิภพไมใหกระจายขึน้ ไปสูห ว งบรรยากาศได"
บทความยอหนานีเ้ ปนการอธิบาย เพือ่ ทําใหผูอานเขาใจ แตการอธิบายก็มวี ธิ กี ารหลากหลายวิธีนกั เรียนวา
บทความนีใ้ ชกลวิธใี ดอธิบาย
1. นิยาม
2. การอธิบายตามลําดับขั้น
3. เปรียบเทียบความเหมือนความตาง
4. ยกตัวอยางประกอบ
5. การชีส้ าเหตุและผลลัพธทส่ี มั พันธกนั
6. การกลาวซํ้าดวยถอยคําทีแ่ ปลกออกไป
บทความนี้ เปนการอธิบายโดยชีส้ าเหตุผลลัพธทส่ี มั พันธกนั
5. "หากวันนีโ้ ลกกําลังถูกเปลีย่ นแปลง ธรรมชาติกําลังเสือ่ มสลาย ความรมเย็นเปนสุขของชีวติ กําลังเสือ่ มสูญ
ชีวติ มิอาจอยูไ ดในทามกลางการแตกสลายของพิภพ
ใชภาษาวิจติ ร วิลศิ มาหรา เปนการใชพรรณนาโวหาร
6. "ในวันนีจ้ งึ มีเพียงมนุษยเทานัน้ ทีจ่ ะสามารถฟน ฟูความสมดุลของธรรมชาติใหแกพน้ื พิภพ ขอไดโปรดพิทกั ษ
ธรรมชาติไวเพือ่ ชีวติ อันยัง่ ยืนนานบนพืน้ พิภพนี้"
ตรงนีเ้ ปนสาระสําคัญของเรือ่ งนี้ การชักจูงใจ โนมนาวใจผูอ า นใหรกั ษาธรรมชาติ หวงใยสิง่ แวดลอม "โลกสวยดวย
มือเรา"
BOBBYtutor Thai Note

เก็งแนวขอสอบ
ใชขอความตอไปนี้ตอบคําถามขอ 1-2
ก. วนและวิง่ คืนและวันหวัน่ และไหว
ข. เกิดแลวกอลอแลวเรนเย็นแลวรอน
ค. ไมไดศพั ทเซ็งแซดว ยแตรสังข
ง. ศีรษะออกตลุม ปุม เทาตุม ไห
1. ขอใดมีเสียงพยัญชนะตนนอยทีส่ ดุ
1) ขอ ก. 2) ขอ ข. 3) ขอ ค. 4) ขอ ง.
2. ขอใดมีเสียงพยัญชนะตนมากทีส่ ดุ
1) ขอ ก. 2) ขอ ข. 3) ขอ ค. 4) ขอ ง.
3. ขอความตอไปนีม้ เี สียงพยัญชนะตนกีเ่ สียง
"จนรุง แรงแสงหิรญ ั สุวรรณมาศ ผองโอภาสพรรณรายชายเวหา"
1) 9 เสียง 2) 10 เสียง 3) 11 เสียง 4) 12 เสียง
ใชขอความตอไปนี้ตอบคําถามขอ 4-5
ก. เคลิม้ ถวิลกลิน่ ปรางอบกลางทรวง
ข. รอนจะแผดเผาทรายพริบพรายพราง
ค. หาดกรวดกวางกลางนําเริ ้ ่มครํ่าครวญ
ง. เหมือนทุกกอนกรวดทรายยอมคลายกัน
4. ขอใดมีเสียงพยัญชนะตนเดีย่ วมากทีส่ ดุ
1) ขอ ก. 2) ขอ ข. 3) ขอ ค. 4) ขอ ง.
5. ขอใดมีเสียงพยัญชนะตนควบกลํ้ามากทีส่ ดุ
1) ขอ ก. 2) ขอ ข. 3) ขอ ค. 4) ขอ ง.
6. ขอความตอไปนีม้ เี สียงพยัญชนะประสมกีเ่ สียง
"โปรยประทิน่ กลิน่ ผกาสุราลัย เปนคลืน่ ในเวหาศหยาดยินดี"
1) 1 เสียง 2) 2 เสียง 3) 3 เสียง 4) 4 เสียง
พิจารณาคําตอไปนี้ตอบคําถามขอ 7-8
เฒา อยาก ทรวง โซ ทาย ฆอง อยู ทราย หญา
ถาน ขาว ทรง ยุง เสื้อ ธรรม ไข ฐาน ศาล
7. จากรายการคําขางตนเสียงพยัญชนะตนเสียงใดมีจํานวนมากทีส่ ดุ
1) /ย/ 2) /ซ/ 3) /ท/ 4) /ค/
BOBBYtutor Thai Note

8. จากรายการคําขางตนเสียงพยัญชนะตนเสียงใดมีจํานวนนอยทีส่ ดุ
1) /ย/ 2) /ซ/ 3) /ท/ 4) /ค/
9. ขอใดไมมเี สียงสระประสมปนอยู
1) ชีวติ มนุษยน้ี เปลีย่ นแปลง (จริงนอ)
2) ทุกขและสุขพลิกแพลง มากครัง้
3) โบราณทานจึงแสดง เปนเยีย่ ง (อยางนา)
4) ชั่วนับเจ็ดทีทั้ง เจ็ดขางฝายดี
10. ขอใดมีการเลนเสียงคูส ระกันทัง้ 2 วรรค
1) ประยงคทรงพวงหอย ระยายอยหอยพวงกรอง
2) เหมือนอุบะนวลละออง เจาแขวนไวใหเรียมชม
3) สุวรรณหงสทรงพูห อ ย งามชดชอยลอยหลังสินธุ
4) เพียงหงสทรงพรหมินทร ลินลาศเลือ่ นเตือนตาชม
11. ขอใดออกเสียงสัน้ ทุกพยางค
1) ใจดํา ใจใหม ใจเย็น ใจแคบ 2) ชางเหล็ก ชางปะ ชางแกะ ชางไม
3) นักบิน นักวิง่ นักเรียน นักเตน 4) นํ้าใจ นํ้ามัน นํ้าสุก นํ้าซุป
ใชขอความตอไปนี้ตอบคําถามขอ 12-13
ก. นฤบดีโถมถีบสู ศึกธาร
ข. ฟอนฟาดสุงสุมาร มอดมวย
ค. สายสินธุซ ง่ึ นองพนานต หายเหือด (แหงแฮ)
ง. พระเรงปรีดาดวย เผด็จเสี้ยนเศิกกษัย
12. ขอใดมีเสียงพยัญชนะทายมากทีส่ ดุ
1) ขอ ก. 2) ขอ ข. 3) ขอ ค. 4) ขอ ง.
13. ขอใดมีเสียงพยัญชนะทายเทากัน
1) ขอ ก-ข-ง 2) ขอ ก-ข-ค 3) ข-ค-ง 4) ขอ ก-ค-ง
14. ขอความตอไปนีม้ เี สียงพยัญชนะทายกีเ่ สียง
"แมนเจาครามเคราะหกาจ จงอยายาตรยุทธนา เอาพัสตราสตรี สวมอินทรียส รางเคราะห"
1) 4 เสียง 2) 5 เสียง 3) 6 เสียง 4) 7 เสียง
พิจารณาคําตอไปนี้ตอบคําถามขอ 15-16
ครุฑ ภพ พุธ ญาณ นาฏ โชค รูป บวบ กาฬ เมฆ
ยีราฟ จรัล สด สาร ลาภ เลข คช บาต อากาศ ดาษ
15. จากรายการคําขางตนเสียงพยัญชนะสะกดเสียงใดมีจานวนมากที
ํ ส่ ดุ
1) /ต/ 2) /ป/ 3) /น/ 4) /ก/
BOBBYtutor Thai Note

16. จากรายการคําขางตนเสียงพยัญชนะสะกดเสียงใดมีจานวนนํ อยทีส่ ดุ


1) /ต/ 2) /ป/ 3) /น/ 4) /ก/
17. คําใดมีทง้ั พยางคปด และพยางคเปด
1) นํ้าใจ 2) เสียวัว 3) กําเดา 4) เขาที
18. พยางคสดุ ทายของคําในขอใดมีลกั ษณะเปนพยางคปด ทุกคํา
1) ขาวสวย แชร มอเตอรไซค เจาสัว เสเพล นํ้าไฟ เชียร
2) อาทิตย จุนเจือ สมุดดํา นายทา ตอนเพล รังสรรค สวนครัว
3) ดวงจันทร มะเดื่อ นํ้าเนา ผาไหว วาเหว แมเบีย้ ปเตอร
4) ตมยํา สอดไส อนุสติ สะระตะ นํ้าไหล นงเยาว เหว
19. ขอใดมีวรรณยุกตครบ 5 เสียง
1) ยังลูกออนก็จะออนแตอาหาร 2) นารําคาญคิดมานํ้าตาไหล
3) ทัง้ ผัวแสนอนาถเพียงขาดใจ 4) สุดอาลัยแลวก็กอดกันโศกา
20. ขอใดทีท่ กุ คําออกเสียงวรรณยุกตไมตรงกับรูป
1) เดิน ดวน วิง่ มัน 2) จับ กิน ปูน ขวาง
3) สูง ทาน นอก รอน 4) งาน นํ้า สุก ลอ
21. เสียงของพยางคในขอใดมีโครงสรางตางกับพยางคอน่ื
1) ควํ่า 2) ทราบ 3) ปลํา้ 4) ไพร
22. ขอใดมีโครงสรางของพยางคตา งกับขออืน่
1) ลําพูน 2) ขอนแกน 3) ประจวบ 4) เชียงใหม
23. คําในขอใดมีลกั ษณะโครงสรางพยางคเหมือนกันทุกคํา
1) เปลีย่ น แทรก หวาน ยาว 2) เมื่อ ขรัว เสี่ย เจือ
3) ดรีม ฟลอร พราน ควาย 4) อํ่า ใหญ เขา ตํา่
24. "เด็กเสเพลตีกลองตอนเพล" คําทีพ่ มิ พตวั หนา 2 คํานีม้ เี สียงอะไรเหมือนกัน
1) พยัญชนะตน 2) สระ 3) พยัญชนะทาย 4) ตัวสะกด
25. คําในขอใดมีเสียงพยัญชนะตนกับเสียงพยัญชนะทายเปนเสียงเดียวกัน
1) ตรัส 2) ตาด 3) บาป 4) ภพ
26. ขอใดมีเสียงพยัญชนะทายของพยางคท่ี 1 เหมือนกับเสียงพยัญชนะตนของพยางคท่ี 3
1) กิจกรรม 2) พลโลก 3) ดาษดา 4) กรมหมืน่
27. รูปพยัญชนะทีท่ ําหนาทีเ่ ปนทัง้ ตัวสะกดและพยัญชนะตนในขอใดทีเ่ ปนเสียงเดียวกัน
1) พลความ 2) ภาสกร 3) รูปพรรณ 4) กิจการ
28. ขอใดเปนคําประสมทุกคํา
1) อิม่ ใจ เอาใจ จิตใจ ใจดํา ติดใจ 2) แมทพั แมเหล็ก แมงาน พอแม แมมด
3) ปลาเค็ม นํ้าหวาน รถดวน ทีน่ อน ของกลาง 4) ผูจัดการ ผูสมัคร ผูราย ผูป ระกวด ผูคน
BOBBYtutor Thai Note

29. ขอใดมีคําประสมทีม่ คี วามหมายเชิงอุปมาทุกคํา


1) หัวคะแนน ตีนแมว ตูเ ย็น ปากกา 2) หางเสือ หักหนา ฉีกหนา ถือหาง
3) หนามา ชางปูน ทีด่ นิ นักบิน 4) ปากตลาด เจาะขาว เตาอบ หัวหมุน
30. ขอใดมีคําประสมทีม่ โี ครงสรางเหมือนกับคําวา "โตะกินขาว" ทุกคํา
1) ผาปูโตะ ลวดเย็บกระดาษ ไมตพี ริก รถไฟฟา
2) ทีเ่ ขีย่ บุหรี่ ทีเ่ ปดกระปอง สมุดสะสมแสตมป จานดาวเทียม
3) จานรองแกว ของถวายพระ เครือ่ งตัดหญา เรือหางยาว
4) หองรับแขก เครือ่ งซักผา ทางยกระดับ ไมจม้ิ ฟน
31. คําประสมในขอใดมีโครงสรางเหมือนกันทุกคํา
1) คนขายขนม ชางตัดเสือ้ ยารักษาโรคเอดส หมอกรองนํ้า
2) ถนนวงแหวน โทรศัพทมอื ถือ โทรศัพทเคลือ่ นที่ กระทะไฟฟา
3) กระโดดคํ้าถอ สะพานแขวน เครือ่ งปรับอากาศ นํ้าอัดลม
4) จดหมายดวน ทีเ่ ย็บกระดาษ ประชุมทางไกล ของถวายพระ
32. ขอใดมีคําประสมทุกคําทีป่ ระกอบดวยคํากริยากับคํากริยา
1) ตายดาน ถือดี คิดราย คิดคด 2) จูงใจ ยกราง กินที่ ปดปาก
3) ตบแตง ติดตัง้ เลือกตัง้ ซักซอม 4) บังตา ยกทรง ยอความ พัดลม
33. ขอใดมีคําทุกคําเปนคําซอน
1) เสือ่ สาด ทรัพยสนิ โงเขลา ขมเหง เซอซา 2) แปดเปอ น รือ้ ถอน เบีย่ งเบน กินแกน ใจแตก
3) แกนสาร นัยนตา สรางสรรค อวนพี นอยใจ 4) ทองคํา พัดวี วางเปลา งอแง คนงาน
34. ขอใดทีท่ กุ คําเปนคําซอนเพือ่ ความหมาย
1) หนาตา เจริญรุง เรือง เจ็บปวย ดีเด 2) โกรธแคน ลิดรอน แสวงหา ดื้อดึง
3) ผิดถูก เสื้อผา ดึงดัน เนื้อตัว 4) สูงตํา่ ตมตุน ทิม่ ตํา ทอแท
35. ขอใดทีท่ กุ คําเปนคําซอนเพือ่ เสียง
1) คับแคน จิตใจ เฉลิมฉลอง เบิกบาน 2) ขมขู เจือจาง แกวงไกว ปนปาย
3) ขัดขวาง เหีย่ วแหง ลมลุก แจมแจง 4) ชิงชัง จริงจัง เปะปะ โผงผาง
36. ขอใดความหมายของคําซอนอยูท ค่ี ําหลังทัง้ หมด
1) นํ้าหูนาตา้ํ หูตา ติดอกติดใจ 2) ใจคอ ทักทาย เจ็บปวย
3) เสื้อผา ชือ่ แซ ขาวของ 4) ซุม เสียง กวาดแกวด กินแกน
37. ขอใดมีคําซอนทีท่ กุ คําเกิดจากคํา 4 คํา มาซอนกัน
1) ขาวปลาอาหาร เสกสรรคปน แตง อุปถัมภคาจุ ้ํ น 2) ถวยโถโอชาม ลวงแคะแกะเกา ชางมาวัวควาย
3) หมูเห็ดเปดไก เหยียบยํ่าซําเติ ้ ม ลําบากยากแคน 4) ตมยําทําแกง แตงเสริมเติมตอ วิจติ รพิสดาร
38. ขอใดตอไปนีถ้ อื วาไมใชคําซํา้
1) พีแ่ ลแลเครือ่ งเลนเปนเสียดาย 2) จับศิลาแลเลือ่ มเปนลายลาย
3) รอนรอนออนแสงพระสุรยิ า 4) ถึงบางพูดพูดกันสนัน่ หู
BOBBYtutor Thai Note

39. ขอใดเปนคําสมาสทุกคํา
1) พลเมือง บุญญาธิการ เมรุมาศ กรมทา สัจจาธิษฐาน
2) ปรมินทร ราชดําเนิน เคมีภัณฑ กษัตริยาธิราช ราโชบาย
3) มหัศจรรย คุณคา กิจจานุกจิ ทุนทรัพย อุปท วันตราย
4) อเนก จลาจล ภยันตราย ศตพรรษ ปจจุบนั
40. ขอใดเปนคําสมาสแบบกลมกลืนเสียงทุกคํา
1) อุโบสถกรรม อัครราชทูต สุขนาฏกรรม วินาศภัย มงคลฤกษ
2) อุณหภูมิ สุนทรียภาพ สัมปทานบัตร วิสามัญฆาตกรรม ปรมาภิเษก
3) อากาศธาตุ สุพรรณบัฏ ศาสตราจารย โลกทัศน โภชนาการ
4) เวสสันดร วชิราวุธานุสรณ สุโขทัย มไหศวรรย มหรรณพ
41. ขอใดมีคําสมาสซึง่ ไมมกี ารสนธิทกุ คํา
1) ปฐมทัศน กุศโลบาย นาเคนทร ปจฉิมยาม มัชฌิมวัย
2) วีรชน เบญจราชกกุธภัณฑ ปรมาจารย รัฐสภา วราราม
3) คริสตกาล กาฬปกษ ครุภณ ั ฑ จิตแพทย ชาติภูมิ
4) ทาสกรรมกร คมนาคม ปรมาภิไธย ภัณฑาคาร สุรนารี
42. คําทุกคําในขอใดที่มีคาสมาสที
ํ ป่ ระกอบจากคํา 3 คํา
1) บรรณารักษ พระบรมราโชบาย ทักษิณราชนิเวศน ราชบพิตรสถิตมหาสีมาราม
2) เบญจราชกกุธภัณฑ มหาพฤฒาราม เอกอัครราชทูต อินทรวิหาร
3) สัมมนาคาร เทพศิรนิ ทราวาส พระปฐมเจดีย โสตทัศนอุปกรณ
4) มหรรณพาราม จิรฏั ฐิตกิ าล ประชากรศาสตร พระพุทธจักร มหาวิทยาลัย
43. ขอใดมีตําแหนงของคําครุ ลหุ ไมเหมือนขอความตอไปนี้
"ราตรีกแ็ มนมี ขณะดีและรายปน"
1) เหลือทีจ่ ะแทนทด จะสนองคุณานันต 2) ราคีบพ นั พัว สุวคนธกําจร
3) ฟางามอรามแล ระกะดอกกุดน่ั หาว 4) ตรากทนระคนทุกข ถนอมเลีย้ งฤรูว าย
ใชขอความตอไปนี้ตอบคําถามขอ 44-45
ก. แมนมิไดสมคิดดังจิตปอง
ข. หวังเปนเกือกทองรองบาทา
ค. จะอาสัญเพราะลูกเหมือนกลาวมา
ง. เพราะรักบุตรสุดสวาทแสนทวี
44. ขอใดมีพยางคคาตายมากที
ํ ส่ ดุ
1) ขอ ก. 2) ขอ ข. 3) ขอ ค. 4) ขอ ง.
45. ขอใดมีพยางคคาเป
ํ นมากทีส่ ดุ
1) ขอ ก. 2) ขอ ข. 3) ขอ ค. 4) ขอ ง.
BOBBYtutor Thai Note

46. "ไมทรงเลือกชาติชน้ั เผาพันธุไ หน อยูป า เขาอยูเ มืองไกลอยูฝ ง สินธุ


โปรดใหผรู พู ชื และนําดิ
้ น เสริมอาชีพไทยถิน่ ใหรทู ํา"
คําประพันธนม้ี คี ําเปนกีค่ ํา (ไมนบั คําซํากั
้ น)
1) 20 คํา 2) 21 คํา 3) 22 คํา 4) 23 คํา
47. ขอใดมีคําทีม่ าจากภาษาบาลีทกุ คํา
1) อัคคี อัชฌาสัย สิกขา วัตถุ ปญญา อิทธิ สัจจะ สัตตะ บุปผา อัคนี อัศจรรย
2) ขัตติยะ อัจฉริยะ วิชชา มัชฌิม จักขุ กิตติ สักกะ รุกขทุกข หฤทัย กรีฑา
3) อิตถี หัตถี สัจจะ มนต กัญญา ปจฉิม อิจฉา มัจฉา อัตตา กษัตริย วิทยา
4) หทัย สิริ รังสี ภริยา ปฐม ถาวร ฐาปนา ฐาน จริยา ครุฬ กีฬา นิจ สามี โอฬาร อมตะ
48. ขอใดมีคําทีม่ าจากภาษาสันสกฤตทุกคํา
1) ภรรยา สถาวร จักษุ กันยา ฤทธิ เอารส ภิกษุ สมัคร บุตร สังกร วิชชุดา
2) ปรัชญา สถาปนา จรรยา นิตย โอฑาร ฤษี ลักษมี จันทรา กริยา สังข ทุกข
3) ประถม สถาน ครุฑ สวามี กีรติ ไวทย จักร นิทรา เนตร องค พยัคฆ
4) สตรี อัธยาศัย อมฤต หัสดี ศิริ ศึกษา สัตย วัสดุ รัศมี มัธยม ไพศาล
49. ขอใดมีคําทีม่ าจากภาษาตางประเทศทุกคําโดยไมมีคาไทยแท ํ ปนเลย
1) โลก มน เดิน วิกล กนก จักร สังเกต รถ ชาติ ยศ มาห เศิก นํ้า
2) กาย ชาม ประหยัด พร เลข นัดดา คช เวท มาตรา เทพ เยียร ศึก มะมวง
3) ยาน ธน เขลา บุญ วิหค รัตนะ ครุฑ อาพาธ ศูทร เดชะ ระฆัง ผี้ว ตะวัน
4) พนา จมูก ประหยัด คุณ เมฆ อนุญาต รัฐ ปรากฏ เพชร บาป ลาภ วัฒนะ ผล
ใชขอความตอไปนี้ตอบคําถามขอ 50-51
"นานมาแลวทีธ่ รรมชาติสรางความอุดมสมบูรณขน้ึ ไวใหกบั ผืนแผนดินนี้ ดินทุกๆ ตารางนิว้ ตางประกอบขึน้ ดวย
ธาตุอาหารทีไ่ ดจากความชุม ชืน้ ภายใตรม เงาของปาไม ใบไมแตละใบทีร่ ว งหลนจากลําตน คือระบบเล็กๆ ของธาตุอาหาร
ที่เกิดขึ้นบนผิวดิน นั่นคือ เมือ่ ใดทีใ่ บไมรว งหลนถึงพืน้ ดิน มันก็จะผุพงั และเนาเปอ ยดวยความชุม ชืน้ และจุลนิ ทรียเ ล็กๆ
ทีช่ ว ยกันยอยสลายใหใบนัน้ กลายเปนธาตุอาหารสะสมอยูใ นดิน และดินก็จะสะสมธาตุอาหารใหตวั เองตลอดเวลา ตราบ
เทาทีม่ ปี า ไม มีนํ้าเปนสายใยธรรมชาติเกือ้ หนุนกันและกัน"
50. จากขอความขางตนมีคําซอนเพือ่ ความหมายกีค่ ํา (ไมนบั คําซํากั ้ น)
1) 7 คํา 2) 8 คํา 3) 9 คํา 4) 10 คํา
51. จากขอความขางตนมีคําสมาสกีค่ ํา (ไมนบั คําซํากั ้ น)
1) 1 คํา 2) 2 คํา 3) 3 คํา 4) 4 คํา
52. ขอใดใชคําราชาศัพทถกู ตอง
1) ประธานาธิบดี บลิน คลินตันเปนอาคันตุกะ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ฯ
2) ประธานาธิบดี บลิน คลินตันเปนพระอาคันตุกะ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ฯ
3) ประธานาธิบดี บลิน คลินตันเปนราชอาคันตุกะ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ฯ
4) ประธานาธิบดี บลิน คลินตันเปนพระราชอาคันตุกะ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ฯ
BOBBYtutor Thai Note

53. ขอใดใชคําราชาศัพทผิด
1) สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถทรงถามชาวเขาเผาอีกอ
2) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงระนาด ณ หอประชุมโรงเรียนนายรอยฯ
3) พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ฯ ทรงทอดพระเนตรโครงการแกมลิงในพระดําริ
4) พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ฯ ทรงพระราชนิพนธ "พระมหาชนก"
54. คําทุกคําในขอใดทีไ่ มมคี วามหมายเชิงอุปมาเลย
1) คอสูง คอแข็ง ตาขาว หนาหนา ติดตา
2) เจาะขาว ปากหวาน หัวหมุน ตายดาน ปดปาก
3) หักหนา ไวตวั ฉีกหนา ถือหาง เปนใจ
4) นักเรียน กระถางธูป รถไฟ นํ้าหอม ปลาเค็ม
55. ขอใดใชคําไดถกู ตองตามความหมาย
1) ปากกาดามใหมทค่ี ณ ุ แมซอ้ื ใหตอ งใชอยางทะนุถนอมนะ
2) จักรวรรดิองคแรกของราชวงศถงั คือใครคะ
3) วันนีม้ เี มฆมากหมอกก็หนา ทัศนวิสยั แยจงั
4) เครือ่ งยนตนส้ี มรรถภาพยังดีอยู
56. ขอใดไมมคี ําพองรูปพองเสียง
1) เขาเขียนรายงานดวยปากกาสีแดง ดวยวาปากกาสีน้าเงิ ํ นหายไป
2) เขาชอบกินขาวตมและนําส ้ มในตอนเชา และพีส่ าวคนโตของเขาก็ชอบขาวตมเหมือนกัน
3) บานฉันจนแสนจนจนไมมอี ะไรจะกินอยูแ ลว
4) กันมีบา นทีเ่ ชียงใหม อยากไปเทีย่ วไหมกันยินดีเสมอนะพวก
57. ขอใดใชคําทีม่ คี วามหมายแคบกวางไดเหมาะสม
1) สมรชอบกินขนมหวานและฝอยทอง
2) สมใจชอบกินผลไมและขนมหวาน
3) ประชาชนและชาวนาตางก็พากันมาชุมนุมหนาทําเนียบ
4) เขาไปเดินซือ้ ของตางๆ เชน เครือ่ งใชไฟฟา ทีวี ตูเ ย็น และเครือ่ งเรือน
58. ขอใดมีคําทีม่ คี วามหมายกวาง
1) เครือ่ งกรองนําลดราคา
้ 20% 2) เครือ่ งอบผาลดราคากระหนํา่
3) เครือ่ งปรับอากาศไมลดราคา 4) เครื่องเรือนรานนี้ราคาถูก
59. ขอใดใชคําเชื่อมขัดแยงกัน
1) นักรองทุกคนเมือ่ บันทึกแผนเสียงเสร็จก็รบี เตรียมงานแสดงทันที
2) คนไทยตองผนึกกําลังสามัคคีและประเทศจะไดมน่ั คงเปนปกแผน
3) รีบอาบนําซะนะ
้ เพราะเดีย๋ วดึกไปหนูจะเปนหวัด
4) เธอกินขนมปงก็ไดหรือไมกก็ นิ ขาวตม คุณแมทา นสัง่ มา
60. สํานวนในขอใดตางจากพวก
1) นกสองหัว 2) หมาสองราง 3) สองฝกสองฝาย 4) จับปลาสองมือ
BOBBYtutor Thai Note

61. ขอใดใชภาษาไดกระชับกะทัดรัด
1) เปนนิมติ อันดีทค่ี ณ
ุ กลับเมืองไทย 2) มติมหาชนสวนใหญไมอยากใหรฐั ขึน้ ราคานํ้ามัน
3) เขาทําการบานเสร็จกอนเพือ่ นๆ 4) คุณครูทําการสอนตัง้ แต 6 โมงเชา
62. ขอใดใชสํานวนตางประเทศ
1) นองเขาถูกจับไปเรียกคาไถ 2) สมบูรณถกู ตีโดยครูใหญ
3) มันฝรัง่ กับมันเทศจะขึน้ ราคาสัปดาหหนา 4) ผมคิดวาคุณเหมาะสมแลวครับ
63. ขอใดมีความหมายไมกํากวม
1) "แหม เกงจริงนะ" 2) "คุณแม"
3) "ขนมชัน้ นีใ้ ครหยิบไป" 4) "คุณพอกินขาวเสร็จแลว"
64. ประโยคใดตอไปนีเ้ ปนประโยคทีส่ มบูรณ
1) ตําแหนงทีแ่ สดงจุดพักในแผนทีบ่ นฝาผนังหองนี้
2) การสงเสริมใหชาวญีป่ นุ เขามาลงทุนดานอสังหาริมทรัพยในประเทศไทย
3) คณะครูและนักเรียนแมจะยอมพักขณะเดินทางไกล
4) การสงสินคาไปขายยังตางประเทศจะชวยลดภาวะการขาดดุลการคา
65. ขอความคูใดมีความหมายเหมือนกัน
1) ใหของเขายืม ใหเขายืมของ 2) เงินเขาขาด เขาขาดเงิน
3) เขาทํามาดี เขาทําดีมา 4) ใหเงินคืน ใหคนื เงิน
66. ภาพพจนในขอใดตางจากพวก
1) ทนตแดงดังแสงทับทิม เพริศพริม้ เพรารับกับขนง
2) ตายระดับทับกันดังฟอนฟาง เลือดนองทองชางเหลวไหล
3) หวังเปนเกือกทองรองบาทา พระผูว งศเทวาอันปรากฏ
4) คอยขืนเคี้ยวขาวคําสักกํามือ พอกลืนครือคอแคนดังขวากคม
67. ขอใดมีภาพพจน
1) ทัง้ ซุม เสามณฑปกระจกแจม กระจังแซมปลายเสาเปนบัวหงาย
2) พืน้ ผนังหลังบัวทีฐ่ านปทม เปนครุฑอัดยืนเหยียบภุชงคขยํา
3) ยังใหมันขามเขาเอาเวียงชัย โออยางไรเหมือนบุรีไมมีชาย
4) แลธุลกี ลัดกลุม เกลือ่ นเพีย้ งจักรผัน
68. ขอใดมีภาพพจนตา งจากขออื่น
1) ดูปราสาทราชวังเปนรังกา ดังปาชาพงชัฏสงัดคน
2) ดังหิง่ หอยจะแขงแสงอาทิตย เห็นผิดระบอบบุราณมา
3) มีเพชรใหญขนาดไขนกพิราบ... ชางเทียมทัดแพรวพราวราวกับไฟ
4) ลมระเริงลูห วิวพลิว้ ระลอก สัพยอกยอดไมไปลิว่ ลอง
69. ภาพพจนในขอใดที่ไมใชปฏิพากย
1) เกิดแลวกอลอแลวเรนเย็นแลวรอน 2) เสียงนําซึ
้ ง่ กระซิบสาดปราศจากเสียง
3) ความรูเ จามีแนแคหางอึง่ 4) จักรวาลวุน วายไรสําเนียง
BOBBYtutor Thai Note

70. ภาพพจนในขอใดที่ไมใชบคุ คลสมมติ


1) หาดกรวดกวางกลางนําเริ ้ ่มครํ่าครวญ 2) มโหรีจากราวปามาเรือ่ ยรี่
3) จากคูว นั เดียวให ทุกขปม ปานป 4) พิณพาทยไพรกลอมขับสําหรับดง
71. ภาพพจนในขอใดเปนแบบสัญลักษณ
1) โอลิมปกคราวนีเ้ มืองจิงโจควาไป 10 เหรียญทอง
2) กลุม เพือ่ นๆ พีม่ แี ตสนุ ขั จิง้ จอกทัง้ นัน้ ฉันไมอยากคุยดวย
3) อาชีพนักปากกาอยางพวกเราเงินเดือนนอยจัง
4) ผลัดแผนดินเปลี่ยนราช เยียววิวาทชิงฉัตร
72. "ดุจเหลาพละนา วะเหววา กะปตนั
นายทายฉงนงัน ทิศทางก็คลางแคลง
นายกลประจําจักร จะใชหนักก็นกึ แหนง
จะรอก็ระแวง จะไมทนั ธุระการ
อึดอัดทุกหนาที่ ทุกขทวีทกุ วันวาร
เหตุหา งบดียาน อันเคยไวน้าใจชน

ถาจะวาบรรดากิจ ก็ไมผดิ ณนิยม
เรือแลนทะเลลม จะเปรียบตอก็พอกัน
ธรรมดามหาสมุทร มีคราวหยุดพายุผนั
มีคราวสลาตัน ตัง้ ระลอกกระฉอกฉาน
ผิวพอกําลังเรือ ก็แลนรอดไมรา วราน
หากกรรมจะบันดาล ก็คงลมทุกลําไป
ชาวเรือก็ยอ มรู ฉะนีอ้ ยูท กุ จิตใจ
แตลอยอยูต ราบใด ตองจําแกดว ยแรงระดม"
คําประพันธขา งตนใชภาพพจนชนิดใดมากทีส่ ดุ
1) อธิพจน 2) อวพจน 3) บุคคลวัต 4) อุปมานิทศั น
73. ภาพพจนในขอใดตอไปนี้ตา งจากขออื่น
1) ถวิลทุกขวบคํ่าเชา หยุดไดฉันใด
2) ลูกจักมากับแสงเดือน มาอยูเ ปนเพือ่ น
3) ฉันจนไมมเี งินสักบาท จะมารีดเลือดกับปูผอมๆ อีก
4) แมมคี ชู ชู ดิ สนิทนุม เหมือนหอหุม ผาทิพยสกั สิบผืน
BOBBYtutor Thai Note

ใชคาประพั
ํ นธตอไปนี้ตอบคําถามขอ 74-75
"วาพลางทางชมคณานก โผนผกจับไมองึ มี่
เบญจวรรณกับวัลยชาลี เหมือนวันพีไ่ กลสามสุดามา
นางนวลกับนางนวลนอน เหมือนพีแ่ นบนวลสมรจินตะหรา
จากพรากจับจากจํานรรจา เหมือนจากนางสการะวาตี
แขกเตาจับเตารางรอง เหมือนรางหองมาหยารัศมี
นกแกวจับแกวพาที เหมือนแกวพีท่ ง้ั สามสัง่ ความมา
ตระเวนไพรรอนรองตระเวนไพร เหมือนเวรใดใหนริ าศเสนหา
เคาโมงจับโมงอยูเ อกา เหมือนพีน่ บั โมงมาเมือ่ ไกลนาง
คับแคจับแคสันโดษเดีย่ ว เหมือนเปลาเปลีย่ วคับใจในไพรกวาง
ชมวิหคนกไมไปตามทาง คะนึงนางพลางรีบโยธีฯ"
74. คําประพันธขา งบนมีภาพพจนชนิดใดมากทีส่ ดุ
1) อุปมา 2) อุปลักษณ 3) อวพจน 4) สัทพจน
75. คํปา ระพันธขา งบนนีม้ คี วามงามวรรณศิลปเดนทีส่ ดุ ดานใด
1) ซํ้าคํา 2) เลนคํา
3) ดุลเสียงและดุลความหมาย 4) เลนเสียงและจังหวะดุจดนตรี
76. ขอความขางลางนี้ ถานํามาจัดวรรคใหมจะไดคาประพั ํ นธตามขอใด
"ตอนนีจ้ ะซักผานะคะนาสิอยากวนคืนนีแ้ หละหนูชวนรึจะไมไปดวยกัน"
1) อินทรวิเชียรฉันท 2) กาพยยานี 3) กาพยฉบัง 4) กลอนสุภาพ
77. ขอความขางลางนี้ ถานํามาจัดวรรคใหมจะไดคาประพั ํ นธตามขอใด
"กองหลังนาคะนาคาสีเ่ หลาเสนาศาตราอาวุธวาวแสงพวกพลทุกตนคําแหงหาญเหิมฤทธิแรงพรอมเพือ่ ผจญสงคราม"
1) กาพยยานี 2) กาพยฉบัง 3) กลอนแปด 4) อินทรวิเชียรฉันท
78. ขอความขางลางนี้ ถานํามาจัดวรรคใหมจะไดคาประพั ํ นธตามขอใด
"องคพระภควันตนน้ั ไซรประทับแหงใดก็เขาไปถึงทีน่ น้ั ครัน้ เขาใกลแลวจึง่ พลันถวายอภิวนั ทแดองคสมเด็จทศพล"
1) กลอนสุภาพ 2) กาพยสรุ างคนางค 3) กาพยฉบัง 4) กาพยยานี
79. บาทที่ 1 ของโคลงสีส่ ภุ าพตอไปนี้ ขอใดแตงถูกตองตามผังบังคับ
1) สามารถอาจหามงด วาจา (ตนเฮย) 2) จงจําคําพอสัง่ สอนนา
3) หนึง่ รูบ าเรอให
ํ ขุนพล 4) ทัง้ หลายลวนจัดเจน ไสยศาสตร
80. ขอใดสามารถเติมลงในชองวางใหถกู ฉันทลักษณ และมีเนือ้ ความเปนเอกภาพมากทีส่ ดุ
"ถึงวากษัตริยท ง้ั สีก่ รุง จะมาชวยรบ .......... เปนศึก ..........
กูกไ็ มครัน่ ครามขามใคร จะหักใหเปนภัสมธลุ ลี ง"
1) รา, ไทย 2) รุง, ให 3) พุง , ใหญ 4) พุง , ไป
BOBBYtutor Thai Note

81. ขอใดมีการใชสัมผัสตางจากขออื่น
1) ก็ซ้าแทรกใส
ํ แซมตอแตมเติม จะสงเสริมความสวาดิราชไมตรี
2) เงือ้ มตลิง่ งิว้ งามตระหงานยอด ระกะกอดเกะกะกิง่ ไสว
3) จะจริงจังจริงใจไมใชเจา มาโลมเลาเลาเลาเฝาออนพี่
4) ทรงกางเกงสีแดงดังแสงชาด เข็มขัดคาดขึงขําเสื้อดําขลับ
82. จากประคําประพันธตอ ไปนี้ ขอใดไมมกี ารใชคากวี
ํ ทห่ี มายถึงนาง
1) ขอใจนุชทีฉ่ นั สุจริตรัก ใหแนนหนักเหมือนพุทธรูปเลขาขํา
2) พลางคะนึงนุชนอย แนงเนือ้ นวลสงวน
3) มโหรีจากราวปามาเรือ่ ยรี่ ราชินแี หงนํ้าคางจะหางหัน
4) นิจจาเอยจากเชยมาไกลโฉม มีแตโทมนัสรํ่าระกําจิต
83. คําประพันธในขอใดตอไปนีท้ ไ่ี มใชลกั ษณะของนิราศ
1) ถึงสามเสนแจงความตามสําเหนียก เมือ่ แรกเรียกสามแสนทัง้ กรุงศรี
2) ถวิลทุกขวบคํ่าเชา หยุดไดฉันใด
3) เห็นขาวขาววาวแวมอยูห วางกลาง ใครยลนางก็เห็นนาจะปรานี
4) เห็นฝูงยูงรําฟอน คิดบังอรรอนรํากราย
ใชคาประพั
ํ นธตอไปนี้ตอบคําถามขอ 84-85
ก. รุกขชาติดาษดูระดะปา สกุณาจอแจประจําจับ
ดุเหวาแววหวาดไหวฤทัยวับ จะแลกลับหลังเหลียวยิง่ เปลีย่ วใจ
ข. ไฟตะเกียงเรียงรอบพระมณฑป กระจางจบจันทรแจมแอรมผา
ดอกไมพมุ จุดงามอรามตา จับศิลาแลเลือ่ มเปนลายลาย
ค. คอนทองรองรับกันปกปก นกคุม เปรียวปรือ๋ กระพือบิน...
หารังเรียกคูอ ยูก บั ดิน หยุดกินวิง่ กรากกระตากไป
ง. งามทรงวงดัง่ วาด งามมารยาทนาดกรกราย
งามพริม้ ยิม้ แยมพราย งามคําหวานลานใจถวิล
84. จากคําประพันธขา งตนขอใดมีสมั ผัสอักษรทุกวรรค
1) ขอ ก. 2) ขอ ข. 3) ขอ ค. 4) ขอ ง.
85. ขอใดมีจนิ ตภาพทัง้ เสียงและเคลือ่ นไหวเดนทีส่ ดุ
1) ขอ ก. 2) ขอ ข. 3) ขอ ค. 4) ขอ ง.
86. ขอใดกลวิธกี ารแตงไมเขาพวก
1) ตางแกลวสรรตัวกลัน่ สรรพ แลนโจมทัพไลจบั ทัน
2) สารตัวกลัน่ สรรตัวกลา นาพันลึกนึกพันลาย
3) สารแตหาญสารตัวเหีย้ ม เทียมชางมารทานชางหมืน่
4) ตัวกลางชางตางกลอกเชิด เทิดกระบีท่ กี ระบวน
BOBBYtutor Thai Note

87. ความเปรียบในขอใดตางจากขออื่น
1) สรอยทองยองเยือ้ งชาย เหมือนสายสวาทนาดนวยจร
2) นางนวลนวลนารัก ไมนวลพักตรเหมือนทรามสงวน
3) เหมือนอุบะนวลละออง เจาแขวนไวใหเรียมชม
4) แมลงภูค เู คียงวาย เห็นคลายคลายนาเชยชม
88. "วนและวิง่ คืนและวันหวัน่ และไหว"
"ใจจึงหนายจึงเหนือ่ ยจึงเมือ่ ยลา"
"เกิดแลวกอลอแลวเรนเย็นแลวรอน"
ความงามทางวรรณศิลปของกลอน 3 วรรคนี้ ขอใดมิใชลักษณะเดน
1) จังหวะดุจดนตรี 2) การซําคํ
้ า 3) เสียงดุจดนตรี 4) อุดมดวยกวีโวหาร
89. ขอใดใหจนิ ตภาพตางจากขออืน่ มากทีส่ ดุ
1) เรือสิงหวิ่งเผนโผน โจนตามคลื่นฝนฝาฟอง
ดูยง่ิ สิงหลําพอง เปนแถวทองลองตามกัน
2) ประจวบจนสุรยิ นเย็นพยับ ไมไดศพั ทเซ็งแซดว ยแตรสังข
ปร ะนาดฆองกลองประโคมดัง ระฆังหงัง่ หงัง่ หงางลงครางครึม
3) นกยางเลียบเหยียบปลานขาหยิก เอาปากจิกบินฮือขึน้ เวหา
กระทงนอยลอยทวนนาวามา โอปก ษาเอยจะลอยถึงไหนไป
4) ตนโศกทอดยอดขวางออกกลางหวย พีก่ ช็ ว ยผูกชิงชาใหอาศัย
พวกผูห ญิงชิงขึน้ ใหชา ไกว สนุกใจรองเตือนใหเพือ่ นโยน
90. ขอใดมีการเลนสัมผัสภายในวรรคมากทีส่ ดุ
1) แลประเทืองเรืองรองทองเนือ้ เกา 2) ก็ซ้าแทรกใส
ํ แซมตอแตมเติม
3) ชางชมชืน่ ชอบแลลวนแตผี 4) จึงดัน้ ดัดลัดดงตรงมาหา
91. ขอใดมีการเลนสัมผัสพยัญชนะมากทีส่ ดุ
1) เข็มขัดคาดขึงขําเสื้อดําขลับ 2) วับวาววาบแววแวมแจมจรัส
3) บุษบงเบิกแบงระบัดบาน 4) ทีน่ อนหมอนมุง มานก็ไมมี
92. คําประพันธบทนีใ้ ชคาตายแทนคํ
ํ าเอกกีค่ ํา
"ปญญาคาเปรียบแกว กองเก็จ
แมวา เพชรถูกเพชร กะแทกกะทัน้
งัดงางมลางเมล็ด มลายรูป
เมล็ดหนึง่ อาจถึงสะบัน้ สะบัดกลิง้ ทิง้ สูญ"
1) 4 คํา 2) 5 คํา 3) 6 คํา 4) 7 คํา
BOBBYtutor Thai Note

93. ขอใดไมใชวจั นภาษา


1) มืดมัวชั่วชากวาเกาไป จะดีรายฉันใดชวยบอกมา
2) ขุนแผนปลอนปอกเหงาดูขาวงอน วางอนลองกินเถิดนองรัก
3) พระแยมเยีย่ มมานทองทัศนา เห็นแตปา พุม ไมใบบัง
4) ฝูงคนทัง้ แผนดินจะนินทา สิง่ ของทีเ่ อามาจงคืนไป
94. ขอใดไมใชวจั นภาษา
1) วาเราเลวเราอยาเหลวทําเลวลง ตองทะนงตอตานทานหยามคํา
2) ตนเตือนตนของตนใหพน ผิด ตนเตือนจิตตนไดใครจะเหมือน
3) ถึงชนกชนนีจะชิงชัง ลูกจะวิงวอนงอขอโทษกรณ
4) จงเขียนคัดหัดจําตามคําบอก ความรูศ อกจะเปนวาอยาสงสัย
95. ขอใดเปนประโยคความรวม
1) ฉันไมชอบคนลักขโมยขนมของเพื่อน
2) เพือ่ นทะเลาะกันกอความเดือดรอนใหครูประจําชั้น
3) คุณพอทํางานหนักทุกวันจนตองเขาโรงพยาบาล
4) นํ้าไหลบาสูต วั เมืองอยางรวดเร็ว แตถนนหนทางไมเสียหายมากนัก
96. ขอใดเปนประโยคความซอน
1) หัวหนาของกลุม โจรพูโลตามหลักฐานในแฟมนักโทษของกรมตํารวจไดหลบหนีออกนอกประเทศ
2) การฝกจิตใหสงบกอนนอนเปนกิจทีด่ ี
3) ภายในเดือนนีค้ ณะครูตอ งทํางานใหเรียบรอยทุกประการ
4) เขาไมมาโรงเรียนเพราะเปนไขหวัดใหญ
97. ขอใดเปนประโยคความเดียว
1) การอานหนังสือมิไดใหประโยชนเฉพาะดานความรูเ ทานัน้ แตยงั เปนเครือ่ งมือสําหรับแสวงหาความรูด ว ย
2) เขาตอวาฉันกอน ฉันจึงตอบโตเขาบาง แตคนอืน่ ไดยนิ เฉพาะคําตอบโตของฉัน คนเหลานัน้ จึงหาวาฉันพาล
3) ภาพทองฟาในยามใกลคาฝ ่ํ มอื จิตรกรหนุม หนาใหมคนนีค้ งจะไดรบั รางวัลเปนแน
4) เขาพูดยาวจนคนฟงเบือ่ แตเราก็ทนฟงเขาพูดไปจนจบเพราะเกรงใจประธานในทีป่ ระชุม
98. ขอใดเปนประโยคความเดียว
1) เขาทุม กอนหินกอนโตอยางสุดแรงเกิดเขาไปในพุม ไมทม่ี ขี โมยซอนอยู
2) ขาวเธอสอบชิงทุนไปตางประเทศได และเพือ่ นๆ ฉลองใหอยางหรูหรา ปรากฏในหนาหนังสือพิมพไทยรัฐ
3) เขาตอวาฉันโดยเขารูเ ทาไมถงึ การณ เพราะเขาอาจไดรบั ฟงมาจากผูท ไ่ี มชอบฉันวาฉันไดคา นายหนา
4) ความเห็นอกเห็นใจกันในยามยากแสดงถึงความเปนมิตรแท
99. "ยุคสมัยทีค่ วามเจริญทางวัตถุมอี านาจครอบงํ ํ าทางจิตและวิญญาณของมนุษยอยางแรง"
ขอความนี้มีโครงสรางของภาษาตามขอใด
1) กลุม คํา 2) ประโยคความเดียว 3) ประโยคความรวม 4) ประโยคความซอน
100. ขอใดใชคํา "ที่" เปนคําเชื่อมประโยคทั้ง 2 แหง
1) กิจกรรมทีฉ่ นั สนใจคือไปดูนทิ รรศการทีศ่ นู ยการคาตางๆ
2) ขณะที่ฉันเดินเพลินๆ ก็ไดพบเพือ่ นเกาทีจ่ ากกันไปนาน
3) เมือ่ เขาไปบานทีร่ ะยอง เขาจึงรูว า บานทีเ่ คยอยูถ กู ไฟไหม
4) ฉันดีใจมากทีร่ วู า ครูทฉ่ี นั รักไดรบั รางวัลครูดเี ดน
BOBBYtutor Thai Note

เฉลย
1. 1) 2. 4) 3. 2) 4. 4) 5. 3) 6. 3) 7. 2) 8. 4) 9. 2) 10. 3)
11. 4) 12. 4) 13. 2) 14. 2) 15. 1) 16. 4) 17. 4) 18. 4) 19. 4) 20. 3)
21. 2) 22. 3) 23. 4) 24. 2) 25. 2) 26. 4) 27. 3) 28. 3) 29. 2) 30. 4)
31. 1) 32. 3) 33. 1) 34. 3) 35. 4) 36. 1) 37. 2) 38. 4) 39. 4) 40. 4)
41. 3) 42. 4) 43. 4) 44. 4) 45. 2) 46. 4) 47. 4) 48. 4) 49. 4) 50. 2)
51. 2) 52. -) 53. 4) 54. 3) 55. 4) 56. 3) 57. 4) 58. 2) 59. 4) 60. 2)
61. 4) 62. 3) 63. 2) 64. 4) 65. 4) 66. 1) 67. 3) 68. 4) 69. 4) 70. 3)
71. 3) 72. 2) 73. 4) 74. 3) 75. 1) 76. 2) 77. 2) 78. 2) 79. 3) 80. 1)
81. 3) 82. 3) 83. 3) 84. 3) 85. 1) 86. 3) 87. 1) 88. 4) 89. 4) 90. 1)
91. 2) 92. 3) 93. 2) 94. 3) 95. 2) 96. 4) 97. 4) 98. 3) 99. 4) 100. 1)

!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!
BOBBYtutor Thai Note

การวิเคราะหและสังเคราะหประโยค
การวิเคราะห คือ การจําแนกแยกรายละเอียด การวิเคราะหประโยคก็คอื การพิจารณาเนือ้ ความทีเ่ ราอานวาประกอบ
ดวยประโยคชนิดใดบาง สวนใดเปนกลุม คํา สวนใดเปนประโยคขยาย
การสังเคราะห คือ การสรางประโยคตางๆ ขึน้ ใหถกู ตองตามหลักไวยากรณ และมีความหมายตรงตามทีเ่ รา
ตองการสือ่ สาร
การแบงหนาทีข่ องประโยคตามเจตนาของผูส ง สาร
การแบงประโยคชนิดนีแ้ บงไดเปน 3 ประเภท คือ
1. ประโยคแจงใหทราบ คือ ประโยคทีผ่ พู ดู ใชบอกเลาหรือแจงขอความบางประการใหผฟู ง ทราบ อาจจะเปน
ประโยคสัน้ ๆ ประกอบดวย ประธาน กริยา หรือเปนประโยคทีซ่ บั ซอนก็ได ใหสงั เกตวาถาประโยคแจงใหทราบนัน้
มีเนื้อความปฏิเสธก็จะมีคําปฏิเสธ เชน มิได มิใช ไม หามิได ปรากฏอยูด ว ย เชน
เรื่องวุนวายเชนนี้ ฉันไมสนใจหรอก
2. ประโยคถามใหตอบ คือ ประโยคทีผ่ พู ดู ใชถามขอความบางประการ เพือ่ ใหผฟู ง ตอบสิง่ ทีผ่ พู ดู อยากรู ประโยค
ชนิดนีม้ ลี กั ษณะการสรางประโยคคลายประโยคแจงใหทราบ แตจะมีคาแสดงคํ ํ าถาม หรือคําถามปฏิเสธปรากฏอยูด ว ย
เชน หรือ เมือ่ ไร อะไร ใคร ทีไ่ หน อยางไร เชน
คุณจะหยุดฟงฉันพูดกอนไดไหม
ใครจะไปเทีย่ วสงกรานตทเ่ี ชียงใหมบา ง
3. ประโยคบอกใหทาํ คือ ประโยคทีผ่ พู ดู ใชเพือ่ ใหผฟู ง กระทําอาการบางอยางตามความตองการของผูพ ดู การกลาว
อาจจะใชวิธีขอรอง ออนวอน เชิญชวน บังคับ หรือสัง่ ก็ได ลักษณะประโยคบอกใหทามี ํ ขอ สังเกตดังนี้
3.1 ประธานของประโยคตองหมายถึงผูฟ ง เทานัน้
3.2 ถาประธานเปนคําสรรพนามตองเปนสรรพนามพหูพจนบรุ ษุ ที่ 1 เชน เรา หรือสรรพนามบุรษุ ที่ 2 เชน
คุณ ทาน เธอ แก เทานั้น
BOBBYtutor Thai Note

3.3 ทายประโยคตองมีคาอนุํ ภาค เชน ซินะ นา เถอะ สิ ประกอบอยูด ว ย


3.4 ถาประโยคบอกใหทํามีเนื้อความ หาม หรือปฏิเสธ ตองมี คําวา "อยา" นําหนากริยา ถาประโยคนัน้
มีกริยาชวย "ตอง" ก็ตอ งเติมคําปฏิเสธ "ไม" ประกอบไปดวย เชน
อยาเดินไปในทางเปลีย่ ว อันตราย
คุณตองไมเห็นแกพวกพองมากเกินไป
เธอชวยเฝาบานใหดวยนะ ฉันจะออกไปธุระสักครูห นึง่
โครงสรางของประโยค
ประโยคในภาษาไทยแบงไดเปน 3 ชนิด คือ
1. ประโยคความเดียว ไดแก ประโยคทีป่ ระกอบดวยภาคประธาน และภาคแสดง มีกริยาหลักในประโยคเพียงตัวเดียว
แตกอ็ าจมีคาวิ
ํ เศษณขยายเนื้อความหรือมีคาเชื ํ ่อม (บุพบท) เสริมความใหสมบูรณกไ็ ด
2. ประโยคความรวม ไดแก ประโยคความเดียวตัง้ แต 2 ประโยคขึน้ ไปมารวมกันดวยคําเชือ่ ม (สันธาน) เพือ่ เจตนา
ตางๆ กัน คือ
2.1 บอกความขัดแยงกัน สังเกตจากสันธาน แต แต...ก็ แตทวา ถึง... แต...ก็ ฯลฯ
2.2 บอกความคลอยตามกัน สังเกตจากสันธาน และ กับ แลว...จึง ครั้น...ก็ ฯลฯ
2.3 บอกความเลือกเอาอยางใดอยางหนึง่ สังเกตจากสันธาน หรือ มิฉะนั้น ไมเชนนั้น ฯลฯ
2.4 บอกความเปนเหตุเปนผลกัน (ใหสงั เกตวาประโยคเหตุมากอนประโยคผล) สังเกตจากสันธาน เพราะ...จึง
ฉะนั้น...จึง ดังนัน้ ...จึง
3. ประโยคความซอน ไดแก ประโยคทีป่ ระกอบดวยประโยคหลักและประโยคยอย ประโยคยอยในประโยคความซอน
นี้มี 3 ชนิด คือ
3.1 ประโยคยอยทําหนาทีค่ ลายนามหรือสรรพนาม (นามานุประโยค) ประโยคชนิดนีป้ ระโยคหลักสวนใหญ
จะไมไดความสมบูรณ ประโยคความซอนทีม่ ปี ระโยคยอยชนิดนีม้ กั จะมีกริยาหลัก 2 ตัว แตไมมคี าเชื
ํ ่อม ในประโยค
ความซอนมีคําวา "วา" "ให" ประกอบใหสงั เกตดวยก็ได
3.2 ประโยคยอยทําหนาทีป่ ระกอบนามหรือสรรพนาม (คุณานุประโยค) ประโยคชนิดนี้ตองมีคําประพันธ-
สรรพนาม ที่ ซึง่ อัน ทําหนาทีแ่ ทนนามหรือสรรพนามในประโยคหลัก
3.3 ประโยคยอยทําหนาทีป่ ระกอบกริยาหรือวิเศษณ (วิเศษณานุประโยค) เปนประโยคทีม่ กี ริยาสําคัญ 2 ตัว
อาจมีคําเชื่อม (สันธาน) อยูใ นประโยคไดแตตอ งทําหนาทีข่ ยายกริยาหรือวิเศษณในประโยคหลัก
เขาตัง้ ใจดูหนังสือมาก (ประโยคความเดียว)
เขาตัง้ ใจดูหนังสือมากแตกย็ งั เตรียมตัวไมทนั (ประโยคความรวมขัดแยง)
ขาววามีการเลื่อนกําหนดสอบเขามหาวิทยาลัยไมจริง (ประโยคความซอนนามานุประโยค)
เขาประสบความสําเร็จในชีวติ เพราะความมานะพากเพียร (ประโยคความซอนวิเศษณานุประโยค)
BOBBYtutor Thai Note

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. ขอใดแสดงคําเชื่อมประโยคไดดีที่สุด
"แสงแดดมีประโยชนยง่ิ ตอมนุษย .......... ไดปริมาณมากเกินไป ก็พบวาเปนโทษไดเชนกัน .......... แสงแดด
ประกอบดวยรังสีหลายชนิด รวมชนิดทีก่ อ ใหเกิดโทษได และชนิดกอใหเกิดโทษนีเ้ ปนแสงทีเ่ ราไมสามารถมองเห็น
ไดดว ยตาเปลา ........... รูจ กั กันดี มีชอ่ื เรียกวาแสงอัลตราไวโอเลต"
1) แตถา แต เพราะ 2) แตถา เพราะ แต
3) แต แตถา เพราะ 4) แต เพราะ แตถา
2. "ที่พพิ ธิ ภัณฑแหงนีจ้ ดั การแสดงจะแบงเปนหองๆ"
คําทีพ่ มิ พตวั หนาเปนคําในหมวดใด
1) นาม 2) สรรพนาม 3) บุพบท 4) สันธาน
3. คําวา "แต" ในขอใดเปนคําสันธาน
1) บานหลังนีเ้ กาแตสะอาดเรียบรอยจริงๆ 2) คุณศักดาเขานอนแตหวั คํ่าเปนปกติ
3) เจานายฉันตองการแตลกู นองฉลาดๆ เทานั้น 4) คุณพอกินแตผลไมและผักสดเสมอ
4. ขอใดควรมีสันธาน "แต" ชวย
1) ถึงเขาจะมีฐานะดีขน้ึ เขาก็ยงั ประพฤติตวั เหมือนเดิม
2) ถึงฉันยากจนฉันก็ยงั ไมตอ งเบียดเบียนใคร
3) ถึงเธอจะถูกตัดจากกองมรดกเธอก็ยงั มีเงินลนเหลือ
4) ถึงเขาไมสบายเขาก็ยงั สงลูกเมียไปแทน
5. คําทีพ่ มิ พตวั หนาในขอใดทีท่ ําหนาทีต่ า งกัน
1) ผาที่ตกมาเทีย่ วนีร้ บั รองไมมตี ก 2) ทีคณ ุ จะไปละก็ฉนั ไมเคยวาสักที
3) คนทีร่ กั ดียอมเปนคนดี 4) เด็กๆ พากันมาบริจาคเงินกันคนละ 2-3 บาท
6. "คนไทยสวนใหญมกั จะบริโภคคาเฟอีนโดยไมรตู วั .......... ไมทราบวามีคาเฟอีนในชา กาแฟ นําอั ้ ดลมประเภทโคลา
และยาแกปวด"
1) เนือ่ งจาก 2) อยางที่ 3) ทัง้ นี้ 4) ดวยเหตุ
7. "รัฐบาลพยายามทีจ่ ะใหประชาชนเรียนรูแ ละใชภาษาไทย .......... ใหสํานึกวาภาษาไทยคือภาษาประจําชาติ ..........
พลเมืองไทยทุกคนจะตองใชใหถกู ตอง .......... ทัดเทียมกัน"
1) และ ซึง่ โดย 2) ที่ อัน และ 3) โดย ที่ และ 4) ซึง่ และ โดย
8. คําวา อะไร ในขอใดเปนคําถาม
1) แอวคงกินอะไรมาเรียบรอยแลวนะ 2) แอวทําอะไรอยูต อนทีฉ่ นั มาเรียกนะ
3) แอวไมตอ งการอะไรจากคุณหรอก 4) แอวเห็นเขาขับรถสีอะไรตุน ๆ หนอย
BOBBYtutor Thai Note

9. คุณแม "หนูตอ งทําไมวันนีห้ นูจงึ ไมไปโรงเรียน" (1)


หนูตอ ง "หนูหาโบผูกคอเสือ้ ไมเจอคะคุณแม" (2)
คุณแม "คิดจะไมไปโรงเรียนใชไหมละ (3)
ก็เมือ่ กีแ้ มเห็นเอาไปซุกไวในตูเ สือ้ ผาไมใชหรือ (4)
คราวหนาหนูอยาใชวธิ นี ก้ี บั แมอกี นะ (5)
แมไมชอบ" (6)
หนูตอ ง "คราวหนาหนูจะหาวิธใี หมคะ " (7)
ประโยค 7 ประโยคนี้ เปนประโยคแสดงเจตนาแจงใหทราบกีป่ ระโยค
1) 2 2) 3 3) 4 4) 5
10. ขอใดสือ่ ความหมายตางจากขออืน่
1) เด็กขายของทีร่ า นพบนองสาวของเขาโดยบังเอิญเมือ่ วานนี้
2) เมือ่ วานนีเ้ ด็กขายของพบนองสาวของเขาทีร่ า นโดยบังเอิญ
3) โดยบังเอิญเมือ่ วานนีเ้ ด็กขายของพบนองสาวของเขาทีร่ า น
4) ทีร่ า นเด็กขายของพบนองสาวของเขาเมือ่ วานนีโ้ ดยบังเอิญ
11. ขอใดไมใชประโยคสมบูรณ
1) หยาดนํ้าคางพรางพรมเมือ่ วันฉํ่าดาว ใหเหน็บหนาวนําตาร ้ วงพรู
2) หากตราบใดสายนทียงั รีไ่ หล สูม หาชลาลัยกระแสสินธุ
3) โดยบังเอิญเมือ่ วานนีเ้ ด็กขายของพบนองสาวของเขาทีร่ า น
4) ทีร่ า นเด็กขายของพบนองสาวของเขาเมือ่ วานนีโ้ ดยบังเอิญ
12. ขอใดทีบ่ ง บอกความหมายวา "ฉัน" เปนผูถ กู กระทํา
1) จะใหอะไรฉันทํา 2) จะใหฉนั ทําอะไร 3) จะใหทาอะไรฉั
ํ น 4) อะไรจะใหฉนั ทํา
13. ขอใดไมเปนประโยคเปนแตเพียงวลี
1) นํ้าตก 2) นํ้าจิม้ 3) นํ้าเนา 4) นํ้าแข็ง
14. ประโยคในขอใดทีต่ วั แสดงไมมกี รรม
1) บทเรียนอันโหดรายทีธ่ รรมชาติไดประกาศเตือนครัง้ นีท้ าให ํ เกิดการเคลือ่ นไหวตอสูเ พือ่ พิทกั ษปา ไมของประชาชน
2) ทหารทีโ่ รงเรียนทหารราบทีค่ า ยทหารเดอมาโย อันเปนคายยุทธศาสตรใกลกรุงบัวโนสไอเรส ไดเขายึดตัวโรงเรียนไว
3) รถโวลกาสีเหลืองและสีดาํ 2 คัน นําคณะของพวกเราทองราตรีทเ่ี งียบสงบในเวียงจันทน
4) โครงการตางๆ ทีม่ งุ จะอนุรกั ษปา ไมอยางเปนระบบตามทีป่ รากฏในวารสารเศรษฐกิจฯ เลมลาสุดนาสนใจ
เปนอยางมาก
15. ประโยคในขอใดแสดงถึงอดีตกาล
1) ใครอยูต รงนัน้ มาชวยยกเกาอีห้ นอย 2) ดูซ่ี เขาเดินมาโนนแลวไง
3) ฉันชอบเดินเลนหลังจากกินขาวแลวทุกวัน 4) ตอนฝนตกฉันกําลังกินขาวอยู
16. ประโยคในขอใดมีเจตนาถามใหตอบ
1) ทําไมเขาจึงเกงนักนะหรือใครๆ ก็อยากรู 2) ฉันก็อยากรูจ ริงๆ นะวาทําไมเขาจึงเกงนัก
3) ออ เขาเกงมานานแลวจะใครละทีอ่ ยากรู 4) ไปถามเขาดูซท่ี าไมเขาจึ
ํ งเกงมากนักฮึ
BOBBYtutor Thai Note

17. ประโยคในขอใดแสดงเจตนาตางจากขออืน่
1) เธอทํางานไดถกู ตองนีน่ ะ 2) เธอควรทํางานใหถกู ตองนะ
3) เธออยาทํางานผิดๆ อีกนะ 4) เธอทํางานอยาใหผดิ อีกนะ
18. ขอความใดทีป่ ระกอบดวยประโยคความซอน และประโยคความรวมเรียงตามลําดับ
1) พีอ่ สั นีบอกพีว่ สันตใหตามหาฟกทองทีห่ ายไป พีว่ สันตชว ยตามหาอยางรีบเรง แตกย็ งั ไมพบ
2) คุณบานชืน่ สงสารคนชราทีบ่ า น "โรยไมรบู าน" มาก ทุกวันอาทิตยเธอจะชวนคุณบานไมรโู รย ลูกสาวไปเยีย่ ม
และสอนการฝมอื ใหดว ย
3) สาวดาวกําลังจะไปซือ้ ดอยทีเ่ ธอหมายตาไวทเ่ี ชียงใหม สวนสาวดอยกลับไมมสี ทิ ธิส์ อยดาวอันสุกใสดวงนัน้ เลย
4) สุธปี รารภกับเพือ่ นเขาวา เขาอยากชื่อสุธีสามสี่ชาติ เพื่อนเขาสนับสนุนวาเปนความคิดที่เขาที
19. ประโยคในขอใดมีลกั ษณะเปนประโยคความรวม
1) บานไรกงั วลที่ จ.นครราชสีมาคือบานอัตภาพของพลเอกเปรม
2) เลือดของผูท ม่ี าบริจาคอยางมากมายนัน้ ไดตรวจสอบดูเชือ้ เอดสกนั แลวหรือยัง
3) ปจจุบนั นีน้ ้าปลาที
ํ ผ่ ลิตในประเทศไทยถึง 80% ไมไดมาตรฐานตามทีค่ ณะกรรมการอาหารฯ กําหนด
4) ถึงคุณมีทด่ี นิ เพียงไมกส่ี บิ ตารางวาในปจจุบนั นีก้ ส็ ามารถปลูกมะละกอพันธุเ นือ้ ดีนา รับประทานได
20. ขอใดเปนประโยคความรวม
1) มหาวิทยาลัยเชียงใหมจดั ประชุมสัมมนาวิชาการเมือ่ สัปดาหกอ น
2) ถาคิดในดานเนือ้ ปุย แลว ปุย หมักมีต่ากว
ํ าปุย เคมี
3) มหาวิทยาลัยเชียงใหมไดจดั ทําโครงการเพือ่ เกษตรกรรมแผนใหมแลว
4) ผูอํานวยการกองบริการการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหมไดเชิญประชุมผูบ ริหารโรงเรียนทีเ่ ปนสนามสอบ

เฉลย
1. 2) 2. 3) 3. 1) 4. 2) 5. 4) 6. 1) 7. 3) 8. 2) 9. 3) 10. 1)
11. 2) 12. 3) 13. 2) 14. 4) 15. 4) 16. 3) 17. 1) 18. 1) 19. 4) 20. 2)
BOBBYtutor Thai Note

วัฒนธรรมกับภาษา
วัฒนธรรม
วัฒนธรรม คือ สิง่ ทีม่ นุษยทาให
ํ เกิดขึน้ เพือ่ ประโยชนของสังคมของตน เพือ่ ระบบการดําเนินชีวิต วัฒนธรรมนี้
ครอบคลุมไปถึง ศิลปะ ประเพณี สถาบัน และคานิยมดวย
มนุษยกบั วัฒนธรรม
วัฒนธรรมของมนุษยแสดงใหเห็นในรูปสถาบันตางๆ คือ สถาบันการปกครอง สถาบันการสืบสกุล สถาบันศาล-
สถิตยุตธิ รรม สถาบันศาสนา วัฒนธรรมของมนุษยนผ้ี ดิ แผกกันไปขึน้ อยูก บั สาเหตุดงั ตอไปนี้
1. ภูมอิ ากาศทีแ่ ตกตางกัน
2. มนุษยอาศัยอยูต ามทีต่ ง้ั ทีแ่ ตกตางกัน เชน กลุม ชนทีอ่ ยูร มิ นํ้ามีประเพณีการแขงเรือ
3. ทีอ่ ยูอ าศัยมีความอุดมสมบูรณและความแรนแคนตางกัน
4. กลุม ชนทีอ่ ยูแ วดลอม เชน ถาไปตัง้ ทีอ่ ยูอ าศัยอยูใ นบริเวณกลุม ชนทีม่ อี ํานาจก็ตอ งคอยระมัดระวังตน และ
ถาสังคมใดมีนกั ปราชญ หรือประมุขกลุม ชนทีอ่ ํานาจและความเฉลียวฉลาดมากก็ทําใหกลุม ชนนัน้ เจริญรุง เรือง
เอกลักษณของชาติไทย
เอกลักษณ คือ สิง่ ทีท่ าให
ํ เห็นวา บุคคลคนหนึง่ เปนตัวบุคคลนัน้ มิใชบคุ คลอืน่ เอกลักษณของชาติไทยมีหลายประการ
เชน
1. ความไมหวงแหนสิทธิ
2. เสรีภาพทางศาสนา
3. ความรักสงบ
4. ความพอใจประนีประนอม
5. การไมแบงชัน้ วรรณะ
คนไทยและวัฒนธรรมไทย
คนไทย คือ คนทีถ่ อื สัญชาติไทย คนทีจ่ ะรวมทุกขรว มสุขกับคนไทยทัว่ ไป จงรักภักดีตอ สถาบันตางๆ ในวัฒนธรรมไทย
ใชภาษาไทย และเห็นความสําคัญของภาษาไทยในฐานะทีเ่ ปนภาษาประจําชาติ
เนือ่ งจากคนไทยเปนชาติทเ่ี ปลีย่ นแปลงทีต่ ง้ั และสภาพแวดลอมบอยตามหลักฐานในประวัตศิ าสตร ทัง้ ศาสนา
ประจําชาติของไทยก็คอื พุทธศาสนา ซึง่ เปนศาสนาทีไ่ มเขมงวดในเรือ่ งพิธกี รรม ทําใหวฒ ั นธรรมของไทยอยูใ นลักษณะ
ทีป่ รับตัวงาย ไมมกี ารยึดเหนีย่ วเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ เหนียวแนนนัก
BOBBYtutor Thai Note

ภาพสะทอนวัฒนธรรมจากภาษาไทย
1. ภาษาไทยมีคา ทีใ่ ชเรียกขานบุคคลในครอบครัวทีล่ ดหลัน่ กัน เชน ทวด ปู ยา ปา ลุง นา
2. คําแตเดิมในภาษาไทยมักเปนคําทีใ่ ชสนทนากันในหมูค รอบครัว เพื่อนฝูง ถาใชภาษาทางการ เขามักจะนําคํา
มาจากภาษาอืน่ เชน บาลี สันสกฤต เขมร เปนตน
3. ภาษาไทยมีคําวิเศษณบอกรส เชน ชืด ปรา เปรีย้ ว หวาน
4. ภาษาไทยมีคําทีใ่ ชมคี วามหมายเฉพาะครบถวน จึงไมคอ ยมีคาที ํ จ่ ะเรียกครอบคลุมดังเชนภาษาทางตะวันตก
5. ภาษาไทยมีภาษามาตรฐาน (ภาษากรุงเทพฯ) เปนภาษาทีใ่ ชตดิ ตอสือ่ สารกันในราชการและธุรกิจ
6. ภาษาชวยสืบทอดวัฒนธรรม เพราะการจดบันทึกทําใหรเู รือ่ งราวความเปนไปของบรรพบุรษุ
7. ภาษาไทยนิยมใชคาให ํ มสี มั ผัสคลองจองกัน ไมวาจะเปนชื่อบุคคล สถานที่ หรือ ภาษิต และโดยเฉพาะอยางยิง่
บทรอยกรอง

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. ประเพณีอนิ เดียขอใดทีเ่ ขากันไดกบั วัฒนธรรมไทย
1) ออกบวชเมื่อวัยชรา 2) นักบวชนิยมบําเพ็ญตบะ ณ ฝง แมนา้ํ
3) เมือ่ มีแขกมาถึงบานตองตอนรับขับสูอ ยางดี 4) หญิงไมปลดเปลือ้ งผาคลุมหนาตอหนาชายในทีส่ าธารณะ
2. "โสนริมนํ้าก็ชํ้ากลีบเฉา สะแกตนเกาก็แตกกิง่ กอ
กระพือลมกราวจะหนาวแลวหนอ จะหวิวขลุย คลอประเลงเพลงรัก
กระเดือ่ งไมขอนกระดอนตําขาว เขยงเก็งกาวกระตึกตึกตัก
เพราะแรงสาวเหยียบขยับเยือ้ งยัก สะเทิน้ คําทักสิหนักใจเรา"
บทประพันธนแ้ี สดงใหเห็นสิง่ ใด
1) ธรรมชาติกบั ชุมชน 2) ลักษณะสังคมชนบท
3) วัฒนธรรมชุมชนเกษตร 4) กิจกรรมรับลมหนาวของสาวๆ หนุม ๆ
3. ขอความตอไปนีแ้ สดงใหเห็นลักษณะของภาษาตามขอใด
"คนไทยเหนือใชคาว ํ า "อู"
คนไทยอิสานใชคาว ํ า "เวา"
คนไทยใตใชคาว ํ า "แหลง"
ในความหมายเดียวกับคําวา "พูด" ในภาษาไทยกลาง"
1) ภาษามีระดับตางกัน 2) ภาษามีการเปลีย่ นแปลง
3) ภาษาสะทอนวัฒนธรรมทองถิน่ 4) ภาษาเปนไปตามกําหนดของกลุมชน
4. ขอใดที่เมื่อนํามาเติมในชองวางทีเ่ วนไวจะทําใหเห็นวาคําประพันธทก่ี ําหนดให มีลกั ษณะพิเศษ
"หวานทีใ่ หไยอาบฉาบยาพิษ พิษชําแรกแทรกฤทธิเ์ กินรักษา
สาแกใจทีพ่ ะวงหลงรักมา ..........รูว า พิษรายก็สายเกิน"
1) กวา 2) มา 3) เมื่อ 4) พอ
BOBBYtutor Thai Note

5. ทุกขอทีก่ าหนดให
ํ เปนคําตอบสามารถนํามาเติมในชองวางไดทงั้ สิน้ แตจงเลือกขอทีม่ คี วามประณีตทีส่ ดุ ในการเลือก
ใชคาํ
"ถาชีวติ คิดพะวงหลงประโยชน มัวเฉาโฉด (ก) ซึง่ ทับถม
ถึงเคยเขียนเพียรผานการอบรม หลงชืน่ ชม (ข) เทานั้นเอง"
1) (ก) ทําตัว (ข) คิดเอา 2) (ก) ปลอยตัว (ข) โฉดเขลา
3) (ก) เกลือกตัว (ข) โงเขลา 4) (ก) เกลือกกลัว้ (ข) โงเงา
6. ทุกขอทีก่ าหนดให
ํ เปนคําตอบ สามารถนํามาเติมในชองวางไดทง้ั สิน้ แตจงเลือกคําตอบทีเ่ มือ่ เติมแลวจะเห็น
ลักษณะพิเศษของคําประพันธทก่ี ําหนดให
"ยามยากคนคนความมาหยามเยย
เยยหยามเปรยเปรียบยํ้าคําทับถม
ถมทับใหไหวหวามยามระทม
.......... ขื่นขมจนตรมใจ"
1) รักระทม 2) ยามระทม 3) ระทมยาม 4) ตรมสะอืน้
7. ทุกขอทีก่ าหนดใหํ เปนคําตอบสามารถนํามาเติมในชองวางไดทง้ั สิน้ แตจงเลือกคําตอบทีเ่ มือ่ เติมแลวจะเห็นสัมผัส
อักษรทีป่ ระณีตทีส่ ดุ
"โลกยังมีทห่ี วังรังรองแสง
ทุกทุกแหงแลลวนชวนสุขสันต
ยิม้ ตอยิม้ พิมพภาพอาบสัมพันธ
ทุกทุกวัน ........... ดวยนํ้าใจ"
1) เลิศลํ้า 2) ดื่มดํ่า 3) ชื่นฉํ่า 4) สดสวย
8. ขอใดที่เมื่อนํามาเติมในชองวางทีเ่ วนไวจะทําใหเห็นวา คําประพันธทก่ี ําหนดให มีลกั ษณะพิเศษ
"เมื่อไมรักอยารักอยารักฉัน ไมมีวันสักวัน ........... หวัน่ ไหว
เมื่อไมรักอยารักรักทําไม รักใหใจหมองใจใจระทม"
1) ที่ 2) จะ 3) ฉัน 4) วัน
9. "ภาษาไทยทําใหคนไทยไมวา จะอยูแ หงหนใดรูต วั วาเปนคนไทย เพราะมีภาษาไทยเปนเอกลักษณรว มกัน ภาษาจะ
สะทอนถึงความเปนชาติเดียวกัน มีแผนดินอันหึงหวงแหนทีเ่ ดียวกัน มีความเปนมาทางประวัตศิ าสตรอนั ยาวนาน
รวมกันและนับไดวา ภาษามีความหมายแทนคําวาชาติไทยหรือคนไทย"
ขอความใดทีส่ รุปใจความขางตนไดดที ส่ี ดุ
1) ความเปนคนชาติเดียวกันดูไดจากภาษา 2) ภาษาไทยเปนเครือ่ งหมายบอกความเปนไทย
3) ภาษามีความหมายแทนคําวาชาติไทยหรือคนไทย 4) เอกลักษณรว มกันของคนไทยอยางหนึง่ คือภาษา
10. ขอใดเปนประโยชนที่สําคัญทีส่ ดุ ของภาษามาตรฐาน
1) แสดงเอกลักษณของชาติ 2) สะทอนวัฒนธรรมของชาติ
3) สืบทอดวัฒนธรรมของชาติ 4) ชวยใหคนทัง้ ชาติเขาใจตรงกัน

เฉลย
1. 3) 2. 2) 3. 4) 4. 2) 5. 3) 6. 3) 7. 4) 8. 4) 9. 2) 10. 4)
BOBBYtutor Thai Note

คุณธรรมและมารยาทในการสือ่ สาร
คุณธรรม คือ ความดีงามอันมีอยูใ นตัวบุคคล เกิดจากการปลูกฝง การไดอา น ไดยนิ หรือไดเห็นพฤติกรรมทีแ่ สดง
คุณธรรมของบุคคลทีเ่ คารพรัก คือ พูดดี กระทําดี คิดดี คุณธรรมทีส่ ําคัญทีส่ ดุ ในการธํารงสังคมก็คอื การถือวาจาสัตย
มารยาทในการสือ่ สารใหสมั ฤทธิผ์ ลนัน้ นอกจากจะขึน้ อยูก บั ระดับของการสือ่ สารระหวางมนุษยในสังคมแลวยัง
เกีย่ วของกับวัฒนธรรมและคุณธรรมในการสือ่ สารดวย
1. การสือ่ สารในครอบครัว ถึงแมจะใชภาษากันเอง เพราะความใกลชดิ ของบุคคลในครอบครัว แตผสู ง สาร
ก็ควรคํานึงถึงการใชคําพูดใหเหมาะสม กับวัย ความรู และประสบการณของบุคคลในครอบครัวดวย ตองสือ่ สารใหเกิด
ความเขาใจแจมแจงและตองระวังมารยาทดวย เชน ไมตะโกนพูด เปนตน
2. การสือ่ สารในโรงเรียน การสือ่ สารประเภทนีผ้ รู บั สาร เปนบุคคลหลายระดับ ควรคํานึงถึงความสุภาพเปนสําคัญ
3. การสือ่ สารในทีส่ าธารณะ เปนการสือ่ สารทีต่ อ งคํานึงถึงมารยาทตามวัฒนธรรมของสังคมอยางมาก เพราะผูร บั สาร
มีหลายระดับ หลายวัย หลายฐานะ และหลายอาชีพ
4. การสือ่ สารในสังคมโดยทัว่ ไป
4.1 การปฏิสันถาร เดิมคนไทยไมมีคาทั ํ กทายเปนพิธกี าร มักจะทักทายกันตามโอกาส เชน ไปไหนมา ตอมา
พระยาอุปกิตศิลปสาร กําหนดคําใหคนไทยทักทายกันเชนเดียวกับชาวตะวันตก เปนคําทีใ่ ชไดกลางๆ ไปกําหนดหรือ
จํากัดเวลา คือ คําวา "สวัสดี"
4.2 การแสดงความยินดีและการแสดงความเสียใจ
ก. การแสดงความยินดี อยาแสดงความยินดีจนเกินจําเปน จนกลายเปนประจบประแจง
ข. การแสดงความเสียใจ ควรระวังวาจาอยาพูดพลอยๆ หรือแสดงภูมริ ซู ง่ึ บางทีกไ็ มแนนกั วา จะถูกตอง ควรพูด
ไปในทางใหกาลั ํ งใจ ไมใหสะเทือนใจผูฟ ง

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. คําพูดในขอใดเหมาะสมทีส่ ดุ เมือ่ ไปเยีย่ มผูป ว ย
1) หนูวา คุณปายังไมดขี น้ึ แตไมตอ งตกใจ จะปรึกษาคุณหมอดูคะ
2) ดูคณ ุ ปาแข็งแรงขึน้ มาก อีก 2-3 วันคงกลับบานได
3) หมอจะผาตัดหรือคะ คุณปาคงแย ยิง่ กลัวๆ อยู
4) คุณปาตองพยายามกินมากๆ จะไดหายเร็วๆ นะคะ
2. เมือ่ เพือ่ นสอบแขงขันไดรบั การคัดเลือกไปดูงานตางประเทศ จะกลาวอยางไร จึงจะรูส กึ วาทานยินดีกบั ความสําเร็จนัน้
ดวยใจจริง
1) แมจะไมใชตวั เก็ง แตเธอก็ยอดมากเลย 2) ฉันวาแลวเชียวยังไงๆ เธอก็ตอ งได เยีย่ มจริงๆ เลยเพือ่ น
3) ฉันวาแลวพอเขาไมไป เธอตองได ก็ไดจริงๆ 4) เธอนี่มามืดจริงๆ มาแซงทางโคงวิง่ เขาปายเลยนะ
BOBBYtutor Thai Note

3. เมื่อเพื่อนรวมงานไดเลื่อนขั้นเงินเดือน เพราะทําความดีความชอบเปนพิเศษ จะกลาวแสดงความยินดีอยางไร ผูฟง


จึงจะรูส กึ วาผูพ ดู ไมมอี คติ
1) ยินดีดว ยนะ คนเกงก็อยางนีแ้ หละ โชคดีเสมอ
2) ยินดีดว ยนะ เมือ่ ไหรคณ ุ จะเลีย้ งละ
3) ยินดีดว ยนะ คุณนี่กาวเร็วเกินคาด
4) ยินดีดว ยนะ คนทีเ่ จานายรักก็อยางงีแ้ หละ
4. ขอใดใชภาษาพูดไดเหมาะสมและนาเปนทีพ่ อใจทีส่ ดุ
พยาบาลไดกลาวตอบญาติของคนไขทม่ี าติดตอขอเยีย่ มคนไขวา
1) ขอโทษนะคะ คนไขชื่ออะไร พูดดังๆ หนอย แลวปวยเปนอะไรคะ
2) ขอโทษคะ กรุณาทวนชือ่ คนไขอกี ครัง้ นะคะ ฟงไมคอ ยชัด และปวยเปนอะไรคะ
3) ขอโทษคะ ขอใหพดู ดังๆ ขึ้นอีก คนไขชื่ออะไรกันแน และเปนโรคอะไรคะ
4) ขอโทษนะคะ กรุณาพูดดังกวานีไ้ มไดหรือ จะไดฟง ชัดๆ และปวยเปนโรคอะไรคะ
5. ทานคิดวาขอใดเปนการทักทายทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ ตามสถานการณทก่ี ําหนดมาให
1) อาจารยใหญทกั ทายอาจารยวไิ ลซึง่ มาทํางานแตเชาสมํ่าเสมอ "สวัสดีคะ วันนี้มาแตเชาเชียวนะคะ"
2) ผูจ ดั การทักทายพนักงานทีก่ าลั ํ งเตรียมงานเปดอาคารใหมของบริษทั "เปนไงพวกเราวันนีต้ อ งเหนือ่ ยกันมาก
หนอยนะ"
3) วิรชั ถามนองชายทีเ่ พิง่ กาวเขาประตูบา นมา "เปนยังไงแก ขอสอบนะ ทําไดหรือไดทําละ"
4) วิชกู ลับมาจากกรุงเทพฯ พบมารดาทีส่ ถานีรถไฟ "โอโฮคุณแม อวนขึน้ มากนะคะไมพบคุณแมสองสามเดือน
เทานั้นเอง
6. คําพูดขอใดไมเหมาะสมเมือ่ หลานพูดกับคุณยายของตนทีบ่ า น
1) คุณยายคะ หนูมเี รือ่ งนาสนมาเลาใหคณ ุ ยายฟงคะ
2) เสือ้ ตัวนีแ้ พงจังเลยคุณยาย แตหนูชอบมันสวยดี
3) เมือ่ คุณยายเปนเด็กๆ นะ เชียงใหมเปนอยางไรคะ
4) คุณครูยงั ไมบอกคะแนนเลยคะ หนูจงึ ยังไมทราบผลการสอบ
7. ประโยคใดทีพ่ นักงานขายไมควรจะพูดกับลูกคา
1) พีห่ อ นีแ้ พงนะคะ 2) พีใ่ หงบเทาไรละ
3) ทัง้ สีทง้ั แบบพีจ่ ะใชไดคมุ เลยละ 4) ราคาแพงแตคณ ุ ภาพเราเยีย่ มนะคะ
8. ลักษณะการพูดขอใดเหมาะสมทีส่ ดุ เมือ่ ศิษยพดู กับครู
1) อาจารยพดู เร็วเปนรถดวนหนูฟง ไมทนั เลย 2) อยากใหอาจารยชว ยอธิบายใหชา ลงอีกนิด
3) ถาอาจารยจะเนนใหชดั เจนจะแจวทีเดียว 4) อาจารยพอจะลดสปดลงไดบา งไหม

เฉลย
1. 2) 2. 2) 3. 2) 4. 2) 5. 2) 6. 1) 7. 1) 8. 2)
BOBBYtutor Thai Note

การถามและการตอบ
การถาม คือ การสงสารโดยมีจดุ ประสงคทจ่ี ะใหผรู บั สารบอกเลาขอเท็จจริงหรือความคิดเห็นอยางใดอยางหนึง่
สวนการสงสารเพือ่ ตอบสนองหลังจากทีไ่ ดรบั ทราบคําถามแลว เรียกวา การตอบ
จุดประสงคในการถาม
1. เพือ่ ใหรขู อ เท็จจริงหรือความคิดเห็นจากอีกฝายหนึง่
2. เพือ่ ตรวจสอบวาอีกฝายหนึง่ รูข อ เท็จจริงหรือไม หรือมีความคิดเห็นอยางใด
3. เพือ่ ใชเปนกลวิธใี นการใหความรูห รือใหขอ คิดเห็นบางประการแกผฟู ง
4. เพือ่ แสดงอัธยาศัยไมตรี
5. เพือ่ แสดงความสนใจ
ขอควรคํานึงในการถาม
1. มารยาท ไมควรถามเรือ่ งสวนตัว คําถามทีแ่ สดงความโออวด แสดงการยกตนขมทาน หรือคําถามทีท่ ําใหผฟู ง
เกิดความกระดากอาย
2. บุคคล ควรพิจารณาวาผูท เ่ี ราถามเปนใคร อยูใ นฐานะอยางไร มีความสัมพันธตอ ผูถ ามเพียงไร เพือ่ จะไดใช
ถอยคําใหเหมาะสม
3. กาลเทศะ ควรพิจารณาวาผูถ ามกําลังอยูใ นอารมณอยางไร พอใจทีจ่ ะตอบคําถามนัน้ หรือไม
4. สาระ ในคําถามนัน้ ควรมีสาระทีแ่ สดงวาผูถ ามสนใจจริงหรือมีความรูก บั เรือ่ งนัน้ บางพอสมควร
5. ภาษา ควรตัง้ คําถามดวยถอยคําทีก่ ะทัดรัด ชัดเจน ลําดับความไมสบั สน และไมควรถามหลายประเด็นพรอมกัน
วิธถี าม
1. ถามขอเท็จจริง มักใชคาถามว
ํ า ใคร อะไร ทีไ่ หน เมื่อไร ทําไม อยางไร ฯลฯ
2. ถามความคิดเห็น อาจตัง้ คําถามเชนเดียวกับขอ 1 แตเนือ้ หาของคําถามมักเปนเรือ่ งทีต่ อ งการใหผตู อบใหเหตุผล
เสนอแนะ ประเมินคา วินิจฉัย คาดคะเน ฯลฯ
3. ถามเพือ่ การทดสอบ เปนคําถามทีม่ กั มีการออกคําสัง่ กํากับไวดว ย เพือ่ ใหรวู า ควรจะตอบอยางไรแนวใด
4. ถามโดยบอกทีม่ าของคําถาม เปนคําถามทีช่ ว ยใหผตู อบเขาใจมูลเหตุทถ่ี ามไดอยางดี
5. ถามใหตอบไดหลายทาง เปนคําถามทีช่ ว ยใหไดความรูแ ละความคิดทีก่ วางขวางยิง่ ขึน้ เปนคําถามทีเ่ หมาะสําหรับ
การคิดรวมกันในกลุม เพือ่ ใหไดมาซึง่ ความคิดทีแ่ ยบคายทีส่ ดุ หรือไดขอ เท็จจริงทีถ่ กู ตองทีส่ ดุ
ขอควรคํานึงในการตอบ
1. ตองจับประเด็นในการถามใหไดวา ผูถ ามตองการถามประเด็นใด
2. ตองใชภาษาใหถกู ตองตามระดับของผูฟ ง และกาลเทศะ
3. ควรตอบดวยถอยคําทีส่ ภุ าพนุม นวล และควรหลีกเลีย่ งคําตอบทีจ่ ะกอใหเกิดผลเสียแกตนเองหรือกระทบกระเทือน
ผูอื่น
วิธต
ี อบ
1. ตองตอบใหตรงคําถาม
2. ตอบใหแจมแจง ไมเยิ่นเยอหรือมีเนื้อความคานกันเอง
3. ตองตอบใหครบทุกจํานวน
BOBBYtutor Thai Note

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. ขอใดเปนการถามเพื่อถามความคิดเห็นเดนชัดที่สุด
1) นํ้าขึ้น-นํ้าลงเกิดขึน้ ไดอยางไร
2) ใครเปนคนไทยคนแรกทีไ่ ดรบั รางวัลแมกไซไซ
3) ทําไมนายยอรช บุช จึงชนะคะแนนนายไมเคิล ดูคากิส อยางทวมทน
4) ทีว่ า "ภรณทพิ ยสวยอยางฉลาด และเปดศักราชใหมของนางงามไทยนัน้ " เปนอยางไร
2. "ผมทําขอสอบไมไดเพราะไมเขาใจคําถาม ภาษาของอาจารยไมชัดใชไหมครับ หรือจะเพราะอะไรก็แลวแต
อยากทราบวาอาจารยจะทําอยางไร"
ลักษณะคําถามนีเ้ ปนอยางไร
1) ดี ทีม่ กี ารสรุปจากผลไปหาเหตุ 2) ดี ทีพ่ ดู เปนกลางๆ และใหอสิ ระในการตอบ
3) ไมดี เพราะไมทราบประเด็นทีต่ อ งการถาม 4) ไมดี เพราะถามหลายประเด็น

เฉลย
1. 3) 2. 3)
BOBBYtutor Thai Note

การใชเครื่องหมายวรรคตอน
1. , จุลภาค ใชสาหรั ํ บคัน่ คําหลายๆ คําเพือ่ ความชัดแจง คัน่ คําอุทานหรือคําเรียกรองทีอ่ ยูห นาประโยคคัน่ กลุม คํา
หรือชือ่ เฉพาะทีป่ ระกอบดวยกลุม หลายกลุม คัน่ จํานวนเลขหลักหนวยๆ ละ 3 หลักและคัน่ ประโยคเล็กทีร่ วมกันหลายประโยค
2. . จุดหรือมหัพภาค ใชเขียนไวหลังตัวอักษรเพือ่ แสดงวาอักษรยอ เขียนไวหลังคํายอ เขียนไวหลังอักษรหรือ
ตัวเลขทีบ่ อกลําดับขอ จุดทศนิยมในการเขียนตัวเลข เขียนคัน่ ระหวางชัว่ โมงกับนาทีเพือ่ บอกเวลาและใชเขียนไวทา ยเนือ้ ความ
หรือประโยคเพือ่ แสดงวาจบแลว
3. ? ปรัศนี ใชเขียนไวหลังขอความเพือ่ แสดงความสงสัย ไมแนใจ หรือใชเขียนเมื่อสิ้นสุดความหรือประโยคที่
เปนคําถาม
4. ! อัศเจรีย ใชเขียนไวหลังคําทีเ่ ลียนเสียงธรรมชาติ เพือ่ ใหผอู า นทําเสียงใหเหมาะสม หรือเขียนไวหลังคําวลี
หรือประโยคทีเ่ ปนคําอุทาน
5. ( ) วงเล็บหรือนขลิขติ ใชเขียนกํากับขอมูลบางอยางเพือ่ เตือนความจํา หรือเขียนกันขอความเพือ่ บอกทีม่ าของคํา
หรือขอความทีต่ อ งการขยายอธิบายเพือ่ ความชัดแจง และใชกบั นามเต็มทีเ่ ขียนไวใตลายมือชือ่
6. _____ สัญประกาศหรือขีดเสนใต ใชสาหรั ํ บเปนคําหรือขอความทีต่ อ งการใหผอู า นสังเกตเปนพิเศษ
7. "__ __ __" อัญประกาศ ใชแสดงวาคําหรือขอความนั้นเปนคําพูดหรือความนึกคิด เพือ่ เนนใหผอู า นสังเกต
เปนพิเศษ และเพือ่ แสดงวาคําหรือขอความนัน้ ตัดตอนมาจากทีอ่ น่ื
8. - ยัตภิ งั คหรือขีดสัน้ ใชเขียนแยกคําหรือวรรคในบทรอยกรอง เพือ่ ใหไดจานวนพยางค
ํ ตามขอบังคับ เขียนแยก
คําเพือ่ บอกคําอาน ใชแทนคําวา "ถึง" เพือ่ บอกเวลา จํานวน หรือสถานที่ ใชในความหมายวา "และ" หรือ "กับ" และใช
แทนคําวา "เปน"
9. ..... จุดไขปลาหรือเสนประ ใชสาหรั ํ บละคําหรือขอความทีไ่ มตอ งการอาน หรือแสดงวาขอความนัน้ เลือนหายไป
ไมสามารถหาหลักฐานมายืนยันได เพือ่ แสดงวาตองการใหเติมเนือ้ ความนัน้ ใหสมบูรณ และใชเขียนเพือ่ แสดงวาขอความ
ทีน่ ํามากลาวนีต้ ดั ตอนมาเพียงบางสวนเฉพาะขอความสําคัญเทานัน้
10. ๆ ไมยมก ใชเขียนไวหลังคําวลีหรือประโยคเพือ่ ใหอา นซํ้าอีกครัง้ หนึง่ แตเราจะไมนยิ มใชไมยมกในคําภาษา
อืน่ หรือคําทีต่ า งชนิดกัน
11. ฯลฯ ไปยาลใหญ ใชเขียนไวกลางเนือ้ ความทีก่ ลาวถึงเฉพาะตอนตนและจบเทานัน้ (ใหอา นวา "ละถึง") และ
ใชเขียนไวทา ยเนือ้ ความเพือ่ แสดงวายังมีขอ ความอีกมากมายทีม่ ไิ ดนามากล
ํ าว (ใหอา นเครือ่ งหมายนีว้ า "ละ" หรือ
"และอืน่ ๆ")
12. ฯ ไปยาลนอย ใชเขียนไวทายคําทีร่ จู กั กันดีอยูแ ลวเพือ่ ละขอความ ใชเขียนในคํายอ ฯพณฯ ในสมัยโบราณ
ใชเปนเครือ่ งหมายบอกวันเดือนปทางจันทรคติ เรียกวา คั่นเดี่ยว
13. " บุพสัญญา ใชเขียนละคําหรือขอความทีอ่ ยูบ นเครือ่ งหมายเพือ่ จะไดไมตอ งกลาวซํ้าบอยๆ
14. = เสมอภาคหรือสมพล ใชเขียนคั่นแสดงวาคําหรือขอความทัง้ ขางหนาและขางหลังเครือ่ งหมายนีเ้ ทากัน
BOBBYtutor Thai Note

15. : จุดคูห รือทวิภาค ใชเขียนระหวางคําหรือขอความหรือตัวเลขเพือ่ แสดงสัดสวนมาตราสวน ใชเขียนไวหลัง


ขอความทีจ่ ะมีตวั อยางหรือขอชีแ้ จง และใชไขความแทนคําวา "คือ"
16. ; อัฒภาค ใชเขียนแยกขอความซึง่ เปนประโยคขยายหลายๆ ประโยคออกจากกันใหชัดเจน
17. ° ตาไกหรือฟองมัน ใชเขียนไวตน บทประพันธเพือ่ แสดงวาขึน้ ตนบทใหม เดิมใชเขียนไวตน วรรคหรือขอความ
แตปจ จุบนั ใชยอ หนาหรือมหรรถสัญญาแทน

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. ขอใดใชเครือ่ งหมายวรรคตอนและเครือ่ งหมายอืน่ ๆ ไดถกู ตองตามหลักภาษา
1) ทีน่ ร่ี บั ซักพรม (บาน; รถ) ราคาเยา!
2) ขนง [ขะหนง] น. คิ้ว, ใชเปนราชาศัพทวา พระขนง.
3) เขาเคยมาที่นี่ทุกวันๆ นีท้ าไมไม
ํ มา ใครชวยไปตามเขาทีไดไหม?
4) อาจารยกลาววา "ภาษาเปนสิง่ สําคัญมากในการสือ่ สาร เพราะ "ภาษาเปนอาภรณของความคิด"
นักศึกษาจงตระหนักขอนีไ้ ว"
2. ขอใดไมควรใชไมยมก
1) คนคนนีไ้ มควรคบหาสมาคมดวย
2) เคีย้ วเคีย้ วยาเม็ดนีแ้ ลวรีบกลืนเสีย
3) ลูกหมาตัวนัน้ ตกนําเป ้ ยกปอน ดูสติ วั สัน่ ริกริกทีเดียว
4) ถาแนจริงขอใหมาพบกันซึง่ ซึง่ หนา
3. เราพบกันเวลา 12.30 น. ขอความทีพ่ มิ พตวั หนาอานถูกตองตามขอใด
1) เวลาสิบสองนาฬิกาสามสิบนาที 2) เวลาสิบสองจุดสามศูนยนาฬิกา
3) เวลาสิบสองจุดสามศูนยนอ 4) เวลาสิบสองนาฬิกาครึง่
4. ขอใดแบงวรรคตอนไดดที ส่ี ดุ
1) หนังสือกับคนมีความเกีย่ วของกันเพียงไรนัน้ ดูเหมือนวา / เปนทีป่ ระจักษ / แกนกั อานหนังสือโดยทัว่ ไป / ดีแลว
2) หนังสือกับคน / มีความเกีย่ วของกันเพียงไรนัน้ / ดูเหมือนวา / เปนทีป่ ระจักษแกนกั อานหนังสือโดยทัว่ ไปดีแลว
3) หนังสือกับคน / มีความเกีย่ วของกันเพียงไรนัน้ ดูเหมือนวา / เปนทีป่ ระจักษแกนกั อานหนังสือ / โดยทัว่ ไปดีแลว
4) หนังสือกับคนมีความเกีย่ วของกันเพียงไรนัน้ / ดูเหมือนวาเปนทีป่ ระจักษ / แกนกั อานหนังสือ / โดยทัว่ ไปดีแลว
5. ขอใดไมควรใชเครือ่ งหมายไปยาลใหญ
1) แมซอ้ื หมูและผักตางๆ เชน ผักกาด ผักคะนา ฯลฯ จากตลาดใกลบา น
2) ทีป่ ระเทศเนเธอรแลนดทา นจะไดชมสิง่ ตางๆ เชน ดอกทิวลิป เครื่องปนดินเผา ฯลฯ
3) พิพธิ ภัณฑสตั วนาแห
้ํ งนีม้ ปี ลาขนาดใหญเล็กหลายชนิด เชน ปลาฉลาม ปลาเทวดา ฯลฯ
4) ฉันสะสมแผนเสียงมานานแลว มีเพลงหลายประเภท เชน เพลงลูกทุง เพลงไทยสากล ฯลฯ
BOBBYtutor Thai Note

6. ขอใดใชเครือ่ งหมายไปยาลนอยไดถกู ตอง


1) พณฯ นายกรัฐมนตรีกําลังจะไปเยือนตางประเทศ
2) สมเด็จพระสังฆราชจะเสด็จฯ ประทานพระธรรมเทศนา
3) สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จพระราชดําเนินเปนองคประธาน
4) สมเด็จพระบรมฯ โอรสาธิราชเสด็จพระราชดําเนินเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีนเปนเวลา 2 สัปดาห
7. ขอใดใชเครื่องหมายถูกตอง
1) "จําลอง" สัง่ จับกุมเด็ดขาด 2) ขออภัยในความไมสะดวก!
3) ฯพณฯ เอกอัครราชทูตไทย 4) ผูต ายมีกจิ การอยูม ากมาย ฯลฯ
8. เครือ่ งหมายตอไปนี้ เรียกชือ่ วาอยางไร
1. "..." 2. ฯลฯ 3. . 4. ”
1) อัญประกาศ ไปยาลใหญ มหัพภาค บุพสัญญา
2) สัญประกาศ ไปยาลใหญ มหัพภาค บุพสัญญา
3) อัญประกาศ ไปยาลนอย จุลภาค บุพสัญญา
4) สัญประกาศ ไปยาลใหญ จุลภาค บุพสัญญา

เฉลย
1. 2) 2. 1) 3. 1) 4. 4) 5. 1) 6. 3) 7. 3) 8. 1)
BOBBYtutor Thai Note

การพูดตอประชุมชน
การพูดตอประชุมชน คือ การพูดแสดงความรู ความคิด ความรูส กึ รวมทัง้ ขอเสนอแนะตางๆ ตอผูฟ ง เปนจํานวนมาก
ซึง่ อาจจะมีพน้ื ความรู รสนิยม สภาพทางเศรษฐกิจสังคม ทัศนคติตอ ผูพ ดู และเรือ่ งทีพ่ ดู คลายกันหรือแตกตางกันอยาง
ไรก็ได ฉะนัน้ สิง่ ทีส่ ําคัญทีส่ ดุ ทีผ่ พู ดู ควรคํานึงถึงก็คอื สารทีส่ ง ออกไปนัน้ ตองไมมขี อ จํากัดวาเปนสารทีร่ บั ฟงไดเฉพาะ
กลุม ใดกลุม หนึง่ เทานัน้ และขณะทีพ่ ดู จะตองสังเกตและตีความใหถกู ตองวาผูฟ ง กําลังมีปฏิกริ ยิ าตอบสนองอยางไร
ความสําคัญของการพูดตอประชุมชนในสังคมประชาธิปไตย
1. เพือ่ ความสะดวกรวดเร็วทีจ่ ะเผยแพรความคิดเห็นของบุคคลใหปรากฏแกสาธารณชนอยางกวางขวาง
2. เพือ่ เผยแพรความรู วิทยาการตางๆ ถายทอดวัฒนะธรรมและปลูกฝงคุณธรรมแกประชาชน
3. เพือ่ เปนวิถที างใหมนุษยสามารถชีแ้ นะการแกปญ
 หาตางๆ ในสังคมได
ประเภทของการพูดตอประชุมชน
1. แบงตามวิธนี ําเสนอ
1.1 การพูดโดยฉับพลัน หมายถึงการพูดโดยไมรตู วั ลวงหนามากอน เชน การพูดกลาวอวยพร
1.2 การพูดโดยอาศัยตนราง เปนการพูดทีผ่ พู ดู มีโอกาสเตรียมตัวลวงหนา สามารถเตรียมตนรางทีจ่ ะพูด
ใหเหมาะกับผูฟ ง มีโอกาสเตรียมเนือ้ หาไดครบถวน
1.3 การพูดโดยวิธกี ารทองจํา คือการพูดทีเ่ ตรียมตนรางการพูดอยางละเอียดและทองจําเนือ้ หานัน้ ไดจนขึน้ ใจ
การพูดชนิดนี้มักจะไมคอยเปนธรรมชาติ
1.4 การพูดโดยวิธอี า นจากราง คือการอานตนฉบับทีไ่ ดเตรียมไวเปนอยางดี มักใชในการกลาวปราศรัยหรือ
กลาวเปดประชุม เปนตน
2. แบงตามความมุง หมาย
2.1 การพูดเพือ่ ใหความรูห รือขอเท็จจริง เปนการพูดเพือ่ ใหขอ มูลหรือเพือ่ แจงใหทราบใหผฟู ง เขาใจเรือ่ งราว
ตางๆ ทีเ่ ปนประโยชนเปนสําคัญ
2.2 การพูดเพือ่ โนมนาวใจ เปนการพูดเพือ่ ใหผฟู ง เกิดความเชือ่ ถือ ศรัทธา มีความคิดเห็นคลอยตามหรือ
กระทําการอยางใดอยางหนึง่ ตามทีผ่ พู ดู ตัง้ จุดมุง หมายไว
2.3 การพูดเพือ่ จรรโลงใจ เปนการพูดเพือ่ ยกระดับจิตใจใหสงู ขึน้ เกิดความนึกคิดทีล่ ะเอียดประณีต
2.4 การพูดเพือ่ คนหาคําตอบ เปนการพูดทีม่ งุ หมายใหผฟู ง ชวยขบคิดหาทางแกปญ  หาตาทีผ่ พู ดู ชีใ้ หเห็น
3. แบงตามเนือ้ หาทีจ่ ะพูด เชน เนือ้ หาเกีย่ วกับประวัตศิ าสตร ศิลปวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง เปนตน
4. แบงตามโอกาสทีจ่ ะพูด
4.1 โอกาสทีเ่ ปนทางการ เชน การกลาวปราศรัย การกลาวเปดประชุม
4.2 โอกาสกึง่ ทางการ เชน การบรรยายสรุปใหแกผทู ม่ี าเยีย่ มชมสถานที่ การพูดอบรมประจําสัปดาห
4.3 โอกาสทีไ่ มเปนทางการ เชน การพูดเลาเรือ่ งตลกขบขันใหทป่ี ระชุมฟง
BOBBYtutor Thai Note

5. แบงตามรูปแบบ
5.1 การสนทนาตอหนาประชุมชน
5.2 การปาฐกถา
5.3 การอภิปรายเปนคณะ
5.4 การซักถามหนาทีป่ ระชุม
5.5 การโตวาที
การเตรียมตัวพูดตอประชุมชน
1. กําหนดจุดมุง หมายทีจ่ ะพูดใหชดั เจนวาเปนการพูดเพือ่ ใหความรู เพือ่ ชีป้ ญ  หา หรือชวยคนหาคําตอบ เปนตน
2. วิเคราะหผฟู ง อยางถีถ่ ว นเพือ่ จะไดขอ มูลมาใชเตรียมตัวทัง้ ในดานเนือ้ หาและการใชภาษาทีเ่ หมาะแกผฟู ง
3. กําหนดขอบเขตเรือ่ งทีจ่ ะพูด ถามีโอกาสไดควรเลือกเรือ่ งทีต่ นมีความรู ความสามารถใหเรือ่ งนัน้ และเปนเรือ่ ง
ทีเ่ หมาะกับผูฟ ง ดวย
4. การรวบรวมเนือ้ หาทีจ่ ะพูด อาจรวบรวมโดยการคนควาจากการอาน สัมภาษณ ไตถามผูร กู ไ็ ด
5. การทําเคาโครงลําดับเรือ่ งทีจ่ ะพูด ควรจัดประเด็นใหชดั เจน แบงเปนหัวขอใหญและหัวขอยอยเพือ่ กันการหลงลืม
หรือพูดขามประเด็น
6. การเตรียมวิธใี ชภาษา ควรใชภาษาทีเ่ ขาใจงาย กะทัดรัด ชัดเจนและตรงประเด็น
7. การซักซอมการพูด ควรซอมทัง้ ดานวัจนภาษาและอวัจนภาษาเพือ่ ใหการพูดดูเปนธรรมชาติและผูพ ดู เกิดความมัน่ ใจ
ในขณะที่เสนอสารนั้นตอที่ประชุมชน
สัมฤทธิผลของการพูด
1. ผูพ ดู ตองมีคณ
ุ ธรรม พูดจากความรูข อ มูลหรือขอเท็จจริงทีม่ อี ยูด ว ยความเทีย่ งธรรม มีวจิ ารณญาณในการพูด
2. ผูพ ดู ตองมีความรูจ ริงในเรือ่ งทีจ่ ะพูด
3. ผูพ ดู ควรหาเหตุผลตางๆ มาสนับสนุนการพูดของตน เพือ่ ใหการพูดมีน้ําหนักนาเชื่อถือ
4. ผูพูดควรคํานึงถึงวัย และพืน้ ฐานความรูข องผูฟ ง ดวย
5. ผูพ ดู ควรรวบรวมความคิดใหเปนระบบ จัดเนือ้ ความตามลําดับกอนหลัง และจัดแบงเนือ้ หาใหเหมาะกับเวลาทีพ่ ดู
6. ขณะพูดควรใชภาษาในการสือ่ สารทัง้ วัจนภาษาและอวัจนภาษา
BOBBYtutor Thai Note

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. ถาทานเปนกรรมการฝายวิชาการของโรงเรียน ตองการพูดใหเพือ่ นๆ มาฟงคําแนะนําแนวการสอบเขาศึกษาตอใน
มหาวิทยาลัยโดยวิธรี บั ตรง ทานจะใชการพูดแบบใด
1) การพูดเพือ่ ใหความรู 2) การพูดเพือ่ จรรโลงใจ
3) การพูดเพือ่ โนมนาวใจ 4) การพูดเพือ่ คนหาคําตอบ
2. ถาทานไดรบั เชิญไปบรรยายเรือ่ ง "มลพิษทางการศึกษา" ทานตองเตรียมขอมูลอยางไร
1) รวบรวมปญหาทางมลพิษในสภาวะแวดลอม
2) จัดกลุม ปญหาทางสภาวะแวดลอมและการศึกษา
3) รวบรวมความหมายของมลพิษและความหมายของการศึกษา
4) รวบรวมปญหาและความเสือ่ มโทรมทางการศึกษาตลอดกระบวนการ
3. พิธกี รรายการโทรทัศนรายการหนึง่ แจงแกผชู มวา "อลาภา ปรมาโรคา ความไมมลี าภ คือโรคอันรายกาจ"
ขอความนีล้ อ เลียนสุภาษิตเดิมเพือ่ อะไร
1) สรางอารมณขนั 2) ประชดประชันความอับโชค
3) สรางสรรคคาโฆษณาใหม
ํ 4) เปลี่ยนความเชื่อ
4. สมมติวา ทานเปนพิธกี รในการประชุม ทานแจกแบบสอบถามใหสมาชิกกรอก แตสมาชิกบางคนยังไมคนื แบบ
สอบถามนัน้ ทานควรใชความในขอใดขอแบบสอบถามคืนมา
1) ขอเรียนเตือนสมาชิกกรุณาคืนแบบสอบถามดวย
2) ขอความกรุณาสมาชิกอยาลืมคืนแบบสอบถาม
3) ทานสมาชิกอยาลืมกรอกแบบสอบถามคืนดวย จะเปนพระคุณยิง่
4) ขอเตือนสมาชิกทีย่ งั ไมไดสง แบบสอบถาม กรุณากรอกคืนมาดวย
5. ขอใดควรละเวนในการพูดตอประชุมชน
1) การแสดงขอเท็จจริงประกอบหลักฐาน
2) การแสดงความคิดเห็นสวนตัวเพิม่ เติม
3) การสงสารทีร่ บั ฟงไดเฉพาะบุคคลกลุม ใดกลุม หนึง่
4) การใหความจรรโลงใจแกผฟู ง
6. การเตรียมการพูดทีด่ ี ควรมีลําดับอยางไร
1. กําหนดขอบขายของเรือ่ งทีจ่ ะพูด
2. กําหนดเรือ่ งและจุดมุง หมายทีจ่ ะพูด
3. เตรียมเนือ้ หาและลําดับเรือ่ งทีจ่ ะพูด
4. ซักซอมการพูดและการใชภาษา
1) 1 2 3 4 2) 2 1 3 4 3) 1 3 2 4 4) 2 4 1 3
BOBBYtutor Thai Note

7. สิง่ ทีน่ ํามาประเมินคาพฤติกรรมในการพูดตอประชุมชนไดดที ส่ี ดุ คืออะไร


1) จุดมุง หมาย การใชภาษา และคุณธรรม 2) เนื้อหา ปริมาณ และลําดับ
3) ผูพูด สาร และผูฟ ง 4) ความตัง้ ใจ สนใจ และการตอบสนองของผูฟ ง
8. ถาจะตองการกลาวรายงานในวันเปดอาคารแหงหนึง่ ทานจะจัดลําดับหัวขอตอไปนีอ้ ยางไร
1. รายงานความเปนมาของอาคาร
2. ขอบคุณประธานในพิธี
3. กลาวถึงประโยชนทจ่ี ะไดรบั จากอาคาร
4. เชิญประธานฯ เปดงาน
1) 1 2 3 4 2) 2 1 3 4 3) 1 3 2 4 4) 2 4 1 3
9. ขอใดไมนา จะเปนหัวขอทีจ่ ะนํามาอภิปราย
1) ธรรมะในพุทธศาสนา 2) การเมืองในกัมพูชา 3) ชายเกงกวาหญิง 4) บัณฑิตวางงาน
10. การพูดลักษณะใดเปนการพูดจูงใจใหผฟู ง ยอมรับไดดที ส่ี ดุ
1) พูดออนนอมถอมตน 2) พูดดวยนํ้าเสียงและลีลาทีน่ า ฟง
3) พูดแสดงเหตุผลและขอเท็จจริง 4) พูดวิจารณและใหขอ คิดเห็น

เฉลย
1. 1) 2. 4) 3. 1) 4. 2) 5. 3) 6. 2) 7. 1) 8. 3) 9. 3) 10. 3)
BOBBYtutor Thai Note

การเขียนเชิงวิชาการและกิจธุระ
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
การเขียนรายงานทางวิชาการ หมายถึง การนําเสนอผลการศึกษาคนควาอยางมีระบบโดยอางอิงหลักฐานทีม่ าอยาง
มีแบบแผนแนนอน ขัน้ ตอนแรกทีค่ วรคํานึงถึงก็คอื การจดบันทึกซึง่ จําแนกไดดงั นี้
1. จดบันทึกจากการฟง
เชน การจดคําบรรยาย ปาฐกถา สัมภาษณ อภิปราย หรือจดบันทึกจากรายการวิทยุโทรทัศน การจดบันทึก
จากการฟงนีผ้ บู นั ทึกตองมีประสิทธิภาพในการฟง ตองสามารถจับประเด็น ตีความ และวิเคราะหไดขณะทีจ่ ดบันทึกควรจด
แตเฉพาะประเด็นสําคัญ และเพือ่ ใหบนั ทึกไดอยางรวดเร็ว
1.1 การจดบันทึกการสัมภาษณ
ก. ผูจ ดบันทึกมิไดเปนผูส มั ภาษณเอง ควรแยกบันทึกคําถามและคําตอบออกใหชดั แจง
ข. ผูจ ดบันทึกเปนผูส มั ภาษณเอง อาจจดบันทึกเฉพาะคําตอบของผูใ หสมั ภาษณกไ็ ด
1.2 การจดบันทึกการอภิปรายเปนคณะ
ควรจดเฉพาะขอความสําคัญของคําพูดของผูอภิปรายเปนคนๆ ไปทุกครัง้ ทีพ่ ดู
1.3 การจดบันทึกการประชุม
ควรจดไปตามระเบียบวาระ และใชคาให ํ ถกู ตองกับภาษาการประชุม เชน ขอเสนอ ตัง้ ขอสังเกต สนับสนุน
โตแยง มติ ลงมติเปนเอกฉันท ขอยุติ ขอสรุป การจดบันทึกการประชุมโดยทัว่ ไปจะจดเฉพาะเหตุผล และมติของทีป่ ระชุม
นอกจากการประชุมสําคัญๆ เชน การประชุมรางงบประมาณแผนดิน ตองจดละเอียดตัง้ แตคาพู ํ ดของผูเ ขาประชุม เหตุผล
และมติของทีป่ ระชุม
2. การจดบันทึกจากการอาน
เชน จดบันทึกจากหนังสือ หนังสือพิมพ เอกสารสิง่ พิมพตา งๆ การจดบันทึกจากการอานอาจจดได 4 แบบ คือ
2.1 จับสาระสําคัญของขอความทีอ่ า นและจดบันทึกโดยใชถอ ยคําของเราเองใหตรงกับความเดิม
2.2 ใชถอ ยคําบางคําทีส่ าคั ํ ญจากตนฉบับประสมกับถอยคําของเราเอง
2.3 จดขอความตอนใดตอนหนึง่ จากหนังสือหรือเอกสารโดยใสเครือ่ งหมายอัญประกาศกํากับไว
2.4 จดโดยวิธใี ดวิธหี นึง่ ใน 3 ขอขางตน และแสดงความคิดเห็นหรือขอสังเกตเพิม่ เติมเขาไป โดยแยกตอนที่
เปนความคิดเห็นไวตอนหนึง่ ตางหาก
การจดบันทึกจากการอานจําเปนอยางยิง่ ตองบอกแหลงทีม่ าของขอความทีบ่ นั ทึกดวยเพือ่ เปนการแสดงมารยาท
อันดีในการนําไปอางอิง และใชเปนหลักฐานไดดว ย แหลงทีม่ าของความรูท จ่ี ะจดบันทึกแบบการเขียนเชิงอรรถ ดังนี้
1. หนังสือเลม
ชื่อผูแตง ชื่อเรื่อง ครัง้ ทีพ่ มิ พ สถานทีพ่ มิ พ สํานักพิมพ ปทพ่ี มิ พ หนา
2. นิตยสารหรือวารสาร
ชื่อผูแตง ชื่อเรื่อง ชื่อวารสาร ปท่ี ฉบับที่ วันที่ เดือน พ.ศ. เลขหนา
3. หนังสือพิมพ
ชื่อผูแตง ชื่อเรื่อง ชือ่ หนังสือพิมพ วันที่ เดือน ป เลขหนา
BOBBYtutor Thai Note

3. วิธจี ดบันทึกจากประสบการณตรง
การจดบันทึกชนิดนีผ้ จู ดอาจจดเพือ่ เปนอนุทนิ หรือเพือ่ เรียบเรียงเปนความรูก ไ็ ด การจดควรเรียงลําดับขัน้ ตอนดังนี้
3.1 ระบุเรือ่ งทีจ่ ะบันทึก
3.2 บอกวัน เวลา สถานที่ ใหถกู ตอง
3.3 ระบุชอ่ื ผูท เ่ี กีย่ วของดวย
3.4 บอกสภาพของสิง่ ทีบ่ นั ทึกใหชดั เจน
3.5 เรียบเรียงตามลําดับเหตุการณ
3.6 ถามีขอ สังเกตหรือความคิดเห็นประการใดใหเรียบเรียงไวตอนทายของบันทึก
ขัน้ ตอนในการเขียนรายงานเชิงวิชาการ
1. การเลือกหัวขอเรือ่ ง ควรเลือกเรือ่ งทีต่ นสนใจมากทีส่ ดุ เพือ่ สะดวกในการคนควาหาขอมูล
2. การกําหนดจุดมุง หมายและขอบเขตของเรือ่ ง
3. การคนควาและการรวบรวมความรู
4. การวางโครงเรือ่ ง คือการแยกหัวขอเรือ่ งออกเปนหัวขอยอยๆ การทําโครงเรือ่ งควรทําเปน 2 ตอน คือ
4.1 รางโครงเรือ่ ง
4.2 กําหนดโครงเรื่อง
การเขียนเชิงธุระ
การกรอกแบบฟอรมชนิดตางๆ
แบบฟอรม หมายถึง เอกสารทีจ่ ดั ทําขึน้ โดยเวนชองวางไวสําหรับใหบคุ คลแตละคนกรอกขอความลงไป เพือ่ ให
เปนการสะดวกแกผรู วบรวมในการนําขอความนั้นไปใชประโยชนในดานตางๆ ตอไป
แบบฟอรมทีใ่ ชกนั ในปจจุบนั แบงออกเปน 4 ประเภท
1.1 แบบฟอรมทีใ่ ชในการติดตอกับหนวยงานทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน เชน แบบฟอรมสมัครงาน ขอติดตัง้
นํ้าประปา ขอกูเงิน เสียภาษี โทรเลข ฯลฯ ซึง่ แบบฟอรมดังกลาวนีห้ นวยงานเปนผูจ ดั เตรียมไวเพือ่ ความสะดวกแกผมู าติดตอ
และทําใหหนวยงานไดรบั ขอมูลครบถวน และสามารถจัดเก็บไวไดอยางเปนระเบียบเรียบรอย
1.2 แบบฟอรมทีผ่ อู น่ื ขอความรวมมือใหกรอก เปนแบบฟอรมทีน่ กั วิจยั ใชเพือ่ ตองการทราบขอมูลตางๆ ทัง้ ที่
เปนขอเท็จจริงและทรรศนะของประชาชนกลุม ตางๆ
1.3 แบบฟอรมทีใ่ ชภายในองคการ เชน แบบฟอรมขออนุญาตใชวสั ดุอปุ กรณ แบบฟอรมใบลา แบบฟอรมขอกู
เงินสวัสดิการ แบบฟอรมมอบฉันทะการรับเงินเดือน เปนตน
1.4 แบบฟอรมสัญญา สัญญาคือเอกสารทีม่ ผี ลผูกพันทางกฎหมายระหวางบุคคล 2 ฝาย การกรอกแบบฟอรม
ชนิดนีต้ อ งกรอกดวยความระมัดระวัง และเขาใจเงือ่ นไขขอผูกพันตางๆ ทีร่ ะบุไวในสัญญาอยางละเอียด ควรทีจ่ ะตอง
ปรึกษาหารือกับผูร ู หรือผูมีความชํานาญในดานกฎหมายใหชว ยอธิบายใหเขาใจจริงๆ กอนจะกรอกขอความใดๆ ลงไป
และโดยเฉพาะอยางยิง่ กอนลงลายมือชือ่ ผูก รอกแบบฟอรมไมควรประมาท โดยเซ็นซือ่ ลงไปในแบบฟอรมทีย่ งั ไมได
กรอกโดยไววางใจผูอ น่ื หรือจะโดยกรณีใดๆ ก็ตาม
BOBBYtutor Thai Note

คุณสมบัติพื้นฐานของผูกรอกแบบฟอรม
1. มีความรูความเขาใจทั่วๆ ไปเกีย่ วกับเรือ่ งทีจ่ ะกรอก เชน กรุป เลือด โรคประจําตัว ประวัตกิ ารแพยา กฎหมาย
ทีเ่ กีย่ วของกับเรือ่ งทีจ่ ะกรอก
2. ความสามารถทางภาษา ตองสามารถอานและตีความขอความในแบบฟอรมไดถกู ตอง
3. ความซือ่ ตรง กรอกขอความตามความเปนจริง
4. ความรับผิดชอบ เมือ่ กรอกแบบฟอรมแลวควรรีบสงคืนไปยังผูส อบถาม
5. ความรอบคอบ โดยเฉพาะแบบฟอรมสัญญาตองประณีต รอบคอบ เพือ่ มิใหเกิดผลเสียหายแกตนเอง
การเขียนประกาศ
การประกาศ คือ การทําใหสาธารณชนทราบขาวสารเรือ่ งเดียวกันโดยแพรหลาย โดยอาศัยสือ่ สาธารณะชนิดใดชนิดหนึ่ง
ขาวสารนัน้ แบงเปน 2 ประเภท คือ
1. เรือ่ งทีแ่ จงใหทราบ เชน ประกาศของกรมอุตนุ ยิ มวิทยาเกีย่ วกับดินฟาอากาศ ประกาศรายชือ่ ตางๆ
2. เรือ่ งทีแ่ จงใหรบั ทราบและใหปฏิบตั ติ าม เชน ประกาศรับสมัครงาน ประกาศประกวดราคาสินคา ประกาศของหาย
ประกาศพบของ เปนตน
ประกาศโดยทัว่ ๆ ไปมีสว นประกอบทีส่ าคั ํ ญดังนี้
1. ชือ่ หนวยงานหรือองคการทีอ่ อกประกาศ
2. เรือ่ งทีป่ ระกาศ
3. เนือ้ ความทีป่ ระกาศ แบงออกเปน 2 สวน
3.1 เหตุผลความเปนมา
3.2 จุดประสงคสาคั ํ ญทีต่ อ งการ
4. วันเดือนปทป่ี ระกาศ
5. ลงนามผูอ อกประกาศ
ในการเขียนประกาศผูเ ขียนตองแสดงจุดประสงคของการประกาศทีแ่ นชดั และมีรายละเอียดอยางเพียงพอทีจ่ ะ
ทําใหผรู บั สารเขาใจถึงจุดประสงคของประกาศไดอยางแจมแจง
1. การเขียนประกาศทีไ่ มเปนทางการ
1.1 บอกความตองการ หรือจุดประสงคในการประกาศใหชดั แจง
1.2 ใหรายละเอียดประกอบตามทีจ่ ําเปน
1.3 ใชประโยคสั้นๆ เขียนใหไดใจความกระชับ
2. การเขียนประกาศอยางเปนทางการ ไดแก ประกาศขององคการ สถาบัน หรือหนวยงานใดก็ได ตองประกอบดวย
2.1 บอกวาองคการอะไร เปนผูอ อกประกาศ
2.2 บอกเรือ่ งทีป่ ระกาศ
2.3 เนือ้ หาทีป่ ระกาศ แยกเปน 2 สวน
2.3.1 เหตุผลและความเปนมา
2.3.2 จุดประสงคของการประกาศ
BOBBYtutor Thai Note

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. การใชภาษาในขอใดในการเขียนรายงานเชิงวิชาการได
1) ผูเ ชีย่ วชาญการเมืองของแดนอาทิตยอทุ ยั เปดเผยวา การเลนการเมืองในญีป่ นุ ตองใชเงินอยางตําป
่ ละ 500 ลานเยน
จึงพอจะประคองตัวรอดได
2) ประชาชนจะตองรวมมือกันปองกันมิใหมกี ารแกรฐั ธรรมนูญโดยอาศัยปากกระบอกปนอยางเด็ดขาด
3) วงดนตรี "ฟองนํา"้ เปนวงดนตรีทบ่ี รรเลงโดยใชเครือ่ งดนตรีไทยโบราณ และเครือ่ งดนตรีสมัยใหมตลอดจน
เครือ่ งดนตรีไฟฟาผสมผสานกัน
4) ภาวะคลีค่ ลายทีน่ า จับตามองก็คอื การทีน่ านาชาติจะเสริมสานสายสัมพันธทางการคาและทางการเมืองตอกัน
โดยมิไดเขมงวดตอความแตกตางของลัทธิการปกครอง
2. ขอใดเปนการปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนที่ถกู ตองในการเขียนรายงานเชิงวิชาการ
1) เลือกหัวขอเรื่อง กําหนดจุดมุง หมายและขอบเขตของเรือ่ ง คนควาและรวบรวมความรู วางโครงเรือ่ ง
2) เลือกหัวขอเรื่อง กําหนดจุดมุง หมายและขอบเขตของเรือ่ ง วางโครงเรือ่ ง คนควาและรวบรวมความรู
3) เลือกหัวขอเรื่อง คนควาและรวบรวมความรู กําหนดจุดมุง หมายและขอบเขตของเรือ่ ง วางโครงเรือ่ ง
4) คนควาและรวบรวมความรู เลือกหัวขอเรื่อง กําหนดจุดมุง หมายและขอบเขตของเรือ่ ง วางโครงเรือ่ ง
3. คําถามสัมภาษณเกษตรกรตอไปนี้ ขอใดเปนคําสัมภาษณทก่ี ระชับชัดเจนทีส่ ดุ
1) ไมทราบวาถาสนใจผลไมนจ้ี ะหาซือ้ ไดทไ่ี หนคะ
2) ชวยเลาถึงการบรรจุหบี หอผลไมชนิดตางๆ หนอยคะ
3) ทราบมาวาผลไมทน่ี ม่ี แี ทบจะครบวงจรใชไหมคะ
4) ทีอ่ ําเภอนี้กําลังจะมีงานวันเกษตรกรมีไปหรือยังคะ
4. ขอใดเปนลักษณะของการใชภาษาทีด่ ใี นการเขียนเชิงกิจธุระ
1) ขาพเจา นายขจัด ปลอดภัย ตําแหนงอาจารยพลศึกษา ขออนุญาตใชรถยนต เพือ่ สันทนาการ
2) ผูช นะเลิศการประกวดบทความ จะไดรบั บัตรประกาศเกียรติคณ ุ สมดังเจตนารมณความมุง หมาย
3) หากประชาชนผูใ ชนามี ํ้ ขอ ซักถามสงสัยคลางแคลงใจประการใด โปรดติดตอสอบถามไดทส่ี านั ํ กงานประปาสาขา
ทุกแหง
4) องคการเภสัชกรรมมิไดสง เจาหนาทีข่ ององคการเภสัชกรรมออกไปเรขายยาขององคการเภสัชกรรมไมวา ณ สถานที่
ใดทัว่ ราชอาณาจักร
5. ขอใดแสดงประโยชนสําคัญทีส่ ดุ ของการใชแบบฟอรม
1) ใหความสะดวกแกผกู รอกรายการ 2) ไดขอ มูลครบตามตองการ
3) ไดขอ ความทีก่ ะทัดรัดไมเยิน่ เยอ 4) ประหยัดเวลาของเจาหนาที่
6. ประกาศขอใดมีเนื้อความชัดเจนที่สุด
1) ใหกเู งินสําหรับพอคาแมคา ทีข่ ายอาหารและของชํา รายละ 5,000 บาท สงคืนรายวันไมตอ งมีบคุ คลคํ้าประกัน
2) เปดจองทีด่ นิ ทําเลทอง ใกลสวนสัตวสงิ หทอง แปลงละ 60 ตร.ว. ถมใหเสร็จผอนเดือนละ 2,044 บาท
3) รับสมัครดวน ชางเย็บกระโปรงเด็ก เด็กฝกงาน และชางเย็บผายืด ทุกแผนกกินอยูฟ รี
4) ดวน! ขายที่ดิน 2 ไร ใกลทางดวนบางนา ถามที่ 10 ซอยจาเมฆ ถนนสรรพาวุธ
BOBBYtutor Thai Note

7. ขอใดเปน "ประกาศ" ทีด่ ที ส่ี ดุ


1) "ลําตัดแมประยูร" พบทานแนนอน 2 เม.ย. นี้ เวลาทุม ตรง ทีห่ อประชุมโรงเรียน
2) ชุมนุมการแสดง ขอเชิญชม "ลําตัดแมประยูร" จันทรท่ี 2 เม.ย. นี้ เวลา 19.00 น. เปนตนไป
3) ชุมนุมการแสดง ขอเชิญชม "ลําตัดแมประยูร" วันจันทรท่ี 2 เมษายน 2531 เวลา 19.00-21.00 น.
ณ หอประชุมโรงเรียน
4) จันทรท่ี 2 เม.ย. นี้ อยาพลาดชม "ลําตัดแมประยูร" ทีห่ อประชุมโรงเรียน รายไดสนับสนุนกิจกรรมชุมนุมการแสดง
8. ประกาศของชมรมในโรงเรียนขอใดกะทัดรัดชัดเจนที่สุด
1) รับติววิชาทีห่ อ งทุกวันเวลา
2) รับสมาชิกชมรมอนุรักษฯ เพิ่มอีก 10%
3) ใครพบแฟมเอกสารชมรมภาษาไทย สงคืนทีห่ อ งชมรม
4) เทีย่ วเชียงใหม ไมจํากัดจํานวน ติดตอชมรมทุกวัน
9. ขอใดเปนคําประกาศใหมารับของคืนทีด่ ที ส่ี ดุ
1) กระเปาสตางคของใครหาย มารับคืนได
2) กระเปาสตางคของใครหาย มารับคืนไดทห่ี อ งอาจารยใหญ
3) ผูใ ดทํากระเปาหนังจระเขสนี าตาลหาย
้ํ มารับคืนไดทห่ี อ งอาจารยใหญ
4) ผูใ ดทํากระเปาหนังจระเขสนี าตาลยี
้ํ ห่ อ "รับทรัพย" ขางในมีเงินอยู 100 บาท พรอมกุญแจตกหายในหองนําตึ
้ กหนึง่
ใหมารับคืนไดทห่ี อ งอาจารยใหญ
10. ประกาศอยางเปนทางการจะประกอบดวย
ก. หนวยงานทีป่ ระกาศ
ข. เรือ่ งทีป่ ระกาศ
ค. เนือ้ หาทีป่ ระกาศ
ง. วัน เดือน ป ทีป่ ระกาศ
จ. ลงนามหัวหนาหนวยงานทีป่ ระกาศ
ในการเขียนประกาศอยางเปนทางการจะตองเรียงลําดับอยางไร
1) ก., ข., ค., ง. และ จ. 2) ก., ข., ค., จ. และ ง.
3) ข., ค., ง., จ. และ ก. 4) ข., ค., จ., ก. และ ง.
11. ขอใดไมใชวธิ กี ารจดบันทึกขอความจากการอาน
1) จดสาระสําคัญของขอความนั้นดวยถอยคําของเราเองใหตรงกับความเดิม
2) จดถอยคําสําคัญจากตนฉบับประสมกับถอยคําของเราเองใหตรงกับความเดิม
3) จดขอความตอนใดตอนหนึง่ ใหตรงกับตนฉบับโดยใสเครือ่ งหมายอัญประกาศ
4) จดถอยคําสําคัญจากตนฉบับประสมกับถอยคําของเราเองใหตรงกับความเดิมใสเครือ่ งหมายอัญประกาศ
12. การเขียนรายงานทางวิชาการ ควรปฏิบตั ขิ อ ใดเปนขอแรก
1) การวางโครงเรือ่ ง 2) การเลือกหัวขอเรือ่ ง
3) การคนควาและรวบรวมความรู 4) การกําหนดจุดมุง หมายและขอบเขตของเรือ่ ง
BOBBYtutor Thai Note

13. ขอใดเปนภาษาทีใ่ ชในการเขียนรายงานทางวิชาการ


1) นับตัง้ แตระบบทุนนิยมเขามามีบทบาทในภาคอิสาน การผลิตก็เปลีย่ นแปลงไป เดิมเปนการผลิตเพื่อบริโภค
แตปจ จุบนั เปลีย่ นมาเปนการผลิตเพือ่ จําหนาย
2) หากวากฎเกณฑขอ หนึง่ ขอใดถูกละเมิดได กฎเกณฑขอ อืน่ ๆ ก็ยอ มมีสทิ ธิท์ จ่ี ะถูกละเมิดไดเชนกัน
3) ทัว่ โลกทีเ่ จริญแลวเขาถือหลักวา ในการขนสงมวลชนนัน้ ตองราคาถูก สะดวก รวดเร็วและปลอดภัย
4) การแตงตัง้ คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจนัน้ ควรทีจ่ ะเลือกคนเกงทีม่ คี วามรูค วามสามารถสมกับรัฐวิสาหกิจแตละแหง
และใหแตงตัง้ ผูท รงคุณวุฒิ หรือเอกชนทีม่ คี วามรูค วามสามารถ มีความสําเร็จในอาชีพธุรกิจอันจะเปนประโยชนตอ
การบริหารงานมารวมเปนกรรมการ
14. การเลือกหัวขอเรือ่ งเพือ่ เขียนรายงานทางวิชาการนัน้ ควรเปนหัวขอทีม่ ลี กั ษณะอยางไร
1) ผูเ ขียนรายงานสนใจมากทีส่ ดุ 2) ผูเ ขียนรายงานเห็นวาเปนเรือ่ งทีท่ นั สมัย
3) ผูเ ขียนรายงานเห็นวาหาขอมูลงาย 4) ผูเ ขียนรายงานทราบมาวายังไมคอ ยมีผใู ดเขียน
15. หากทานไดรบั มอบหมายใหเขียนรายงานเชิงวิชาการเรือ่ ง "ยาเสพติด" ทานควรจะกระทําขอใดเปนอันดับแรก
1) ปรึกษากับครูเรือ่ งแหลงทีจ่ ะคนควา
2) วางโครงเรือ่ งและจัดลําดับโครงเรือ่ งใหเหมาะสม
3) กําหนดจุดมุง หมายวาจะเขียนในขอบเขตเพียงใด
4) จัดชวงเวลาใหเหมาะสมกับการรวบรวมความรู

เฉลย
1. 3) 2. 1) 3. 2) 4. 1) 5. 2) 6. 4) 7. 3) 8. 3) 9. 3) 10. 1)
11. 4) 12. 2) 13. 1) 14. 1) 15. 3)
BOBBYtutor Thai Note

การใชถอ ยคําสํานวนใหมปี ระสิทธิผล


การใชถอยคํา
ถอยคํา หมายถึง คําพูดทีม่ นุษยใชสอ่ื สารกันทัง้ ในดานกิจธุระและในดานกิจการอืน่ ๆ มีรปู ลักษณตา งกันไป เชน
เปนคําซอน คําประสม คํามูล เปนตน
ความหมายของถอยคํา
1. ความหมายเฉพาะของคํา แบงออกเปน
1.1 ความหมายตามตัวกับความหมายเชิงอุปมา เชน
ลูกหมอเปนคําเรียกชือ่ ลูกของปลากัด (ความหมายตามตัว)
เขาเปนลูกหมอกระทรวงนีม้ านานแลว (ความหมายเชิงอุปมา หมายถึง ผูท ท่ี างานในตํ
ํ าแหนงขึน้ ตน
จนตําแหนงสูงขึน้ )
1.2 ความหมายนัยตรงกับความหมายนัยประหวัด
โบราณวาเขาปาอยาถามหาเสือ (ความหมายนัยตรง)
คนบานนัน้ เสือทัง้ นัน้ (ความหมายนัยประหวัด)
2. ความหมายเทียบเคียงกับคําอื่น แบงออกเปน
2.1 คําทีม่ คี วามหมายเหมือนกัน เชน
มา = สินธพ แสะ หัย อัสดร อาชาไนย
หญิง = นารี สตรี อิตถี กัญญา
2.2 คําทีม่ คี วามหมายตรงกันขาม เชน
สุจริต - ทุจริต อภิชาตบุตร - อวชาตบุตร
สัมมาชีพ - มิจฉาชีพ ตึง - หยอน
ออน - แข็ง คลาย - ขัน
2.3 คําทีม่ คี วามหมายรวม เชน
ตัด - หัน่ วิง่ - เตน ผูก - มัด
2.4 คําทีม่ คี วามหมายแคบกวางตางกัน เชน
เวชภัณฑ = เครื่องมือผาตัด ยา ผาพันแผล เข็มฉีดยา
เครื่องเขียน = สมุด ดินสอ ปากกา ยางลบ ไมบรรทัด
วิธกี ารใชถอ ยคํา
1. ใชใหตรงตามความหมาย
2. ใชใหตรงตามความนิยมของผูท ใ่ี ชภาษาเดียวกัน
3. ใชใหเหมาะกับบุคคลและกาลเทศะ
4. ใชคาไม
ํ ซาซาก
้ํ ควรเลือกใชคาให
ํ แปลกออกไปเพือ่ ใหเกิดความไพเราะทางภาษา
5. ใชคาให
ํ เห็นภาพ เชน แดงแจ หอมฟุง ออนพลิว้ กวางใหญไพศาล เปนตน
BOBBYtutor Thai Note

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. คําทีพ่ มิ พตวั หนาในขอใดทีไ่ มใชความหมายนัยประหวัด
1) อยามารีดเลือดกับปูเลย รูๆ กันอยูไ มคอ ยมี 2) มันลูกเสือลูกตะเข แกระวังเชียวนะ
3) แข็งกวาเพชรเด็ดกวาทองตองของเรา 4) เปนเตาอยูอ ยางนีจ้ ะไปทันใครเขา
2. คําทีพ่ มิ พตวั หนาในประโยคคูใ ดทีเ่ ปนคําหลายความหมาย
1) จดหมายทีใ่ หสง ดวนนัน้ สงแลวหรือยัง
รถดวนขบวนนีจ้ ะมาถึงสถานีขอนแกนเวลาบายโมงตรง
2) เสียงสระเปนเสียงทีเ่ ปลงออกมาโดยไมกระทบอวัยวะใดๆ ในปาก
ทีแ่ หงนีก้ ลายเปนสระนํ้าใหญมาจนถึงทุกวันนี้
3) ทีฉ่ ลากยาเขียนวายานีใ้ หปา ยตา หามรับประทาน
ทางไปหองประชุมมีปา ยบอกทางเปนระยะๆ
4) เขาไมศรัทธาลัทธิการเมืองใดๆ ทัง้ สิน้
เขาเปนคนรุนใหม มีฝมือ และบุคลิกนาศรัทธา
3. ประโยคใดนาจะกอใหเกิดความหมายนัยประหวัดมากทีส่ ดุ
1) เธอไมไดเปนนางงามทีไ่ หนหรอก ทัง้ ๆ ทีเ่ ธอเปนคนสวยมาก
2) ใครๆ ก็ชอบเขาทัง้ นัน้ เพราะเขาเปนคนใจกวาง
3) รถผาปาสามัคคีพลิกควํ่าลงขางทาง ผูไ ปทําบุญตาย 2 คน
4) ขางบานฉันมีงานเลีย้ งกันบอยๆ ทําใหพวกเราเปนคนนอนดึก
4. ประโยคใดไมกํากวม
1) คนจับเชือกควรจะเปนคนสาว 2) หนังสือพิมพทค่ี รุ สุ ภาขายดี
3) นองของเขาทีเ่ พิง่ กลับมาเสียชีวติ แลว 4) นายสิงหขบั มอเตอรไซครถชนตายแลวหนี
5. ขอใดใชคําอุปมาและคําเปรียบเทียบถูกตองเหมาะสม
1) เขาเปนชายหนุมที่ไรคาเหมือนหญาเจาชู 2) ตาของหลอนวาววามราวกับหมูด าวในทองฟา
3) ถึงแมรา งเขาจะเล็กแตกเ็ ล็กเยีย่ งผงชูรส 4) พอไดยนิ เรือ่ งราวเขาโกรธเปนไฟไหมปา ทีเดียว
6. การใชถอ ยคําในขอใดทีก่ ระทบความรูส กึ ของผูฟ ง ไดรนุ แรงทีส่ ดุ
1) คุณนีช่ า งใจดํา 2) คุณนีช่ า งกระไร 3) คุณละดีนกั หรือ 4) คุณนะวิเศษนักหรือ
7. ขอใดใชคําไดเหมาะสมและกะทัดรัดทีส่ ดุ
1) ประเทศในกลุม อาเซียนสีป่ ระเทศกําหนดเจรจาเรือ่ งกัมพูชาทีส่ งิ คโปร
2) เจาหนาทีอ่ อกไปแนะนําเกษตรกรเรือ่ งการเลีย้ งปศุสตั ว วัว ควาย หมู
3) ดิฉนั หวังเปนอยางยิง่ วาจะไดพบคุณอีกในอนาคตขางหนา
4) เจาภาพปรึกษาเห็นพองกันวาจะถวายผาไตร จีวร สังฆาฏิแกพระภิกษุ
BOBBYtutor Thai Note

8. ขอใดไมมคี ําทีม่ คี วามหมายกวางและแคบอยูด ว ยกัน


1) เตาอบไมโครเวฟ เปนเครือ่ งไฟฟาชนิดหนึง่ ซึง่ มีการโฆษณาทางสือ่ มวลชนอยางแพรหลายในปจจุบนั
2) พุทธศาสนิกชนนับถือพระรัตนตรัย ไดแก พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ
3) ศิลปนทีม่ ชี อ่ื เสียงหลายคนไดพรอมใจกันแสดงละครเรือ่ ง "พันทายนรสิงห"
4) การเดินเปนการออกกําลังกายอยางหนึง่ ซึง่ ทําใหสขุ ภาพแข็งแรง
9. ขอใดมีความหมายนัยตรงไดอยางเดียว
1) เขาลางมือแลว 2) สุดาโดดรมอยางนอยอาทิตยละครัง้
3) ใครๆ ก็ทราบวาเขากินไดทกุ อยาง 4) ฉันตกหมอนเมื่อคืนนี้ คอแข็งเลย
10. คําทีบ่ อกรสในขอใดมีความหมายนัยตรง
1) งานนีก้ รอยเหลือเกิน จืดชืดไมมันเลย
2) เธอไมใชแตจะเปรีย้ วอยางเดียวนะ เค็มเปนเกลือทีเดียว
3) ฉันวาไมฝาดนะ มันอรอยดีออก
4) เรือ่ งนีเ้ ผ็ดรอนถึงอกถึงใจ เปรีย้ วหวานมันเค็มมีพรอม
11. ขอใดไมมคี ําทีม่ คี วามหมายกวางและแคบอยูด ว ยกัน
1) กิจวัตรประจําวันของสาวิตรี ไดแก การอานหนังสือพิมพในเวลาเชาและชมโทรทัศนในเวลากลางคืน
2) การพกอาวุธ เชน ปน มีด ระเบิดขวด ในทีส่ าธารณะเปนสิง่ ทีไ่ มควรกระทํา
3) การสอบคัดเลือกเขามหาวิทยาลัยเปนโอกาสทีน่ กั เรียนจากโรงเรียนตางๆ ไดแขงขันกัน
4) การเดินทางไปตางจังหวัดในปจจุบนั นี้ เราสามารถเดินทางไดหลายวิธี เชน โดยทางเครือ่ งบิน รถไฟ รถยนตสว นตัว
12. คําวา "ดอกไม" ในขอใดมีความหมายตามตัว
1) พูดจาภาษาดอกไม 2) ขอมอบดอกไมใหดว ยใจรัก
3) ดอกไมจากสรวงสวรรควรรณกวี 4) ขอมอบดอกไมในสวนไวเพือ่ มวลประชา
13. ขอใดมีความหมายนัยตรงไดอยางเดียว
1) อะไรคํ้าคอเขานะ เขาจึงตองทําเชนนั้น 2) เรือบินลํานัน้ หายเขากลีบเมฆไปแลว
3) สมศักดิล์ ม ไมเปนทาอีกแลว 4) เขาแสดงละครไดดมี าก

เฉลย
1. 3) 2. 3) 3. 2) 4. 3) 5. 4) 6. 1) 7. 1) 8. 2) 9. 4) 10. 3)
11. 3) 12. 2) 13. 3)
BOBBYtutor Thai Note

การใชสานวน

ความหมายของสํานวน
สํานวน คือ ถอยคําทีเ่ รียบเรียงโดยไมเครงครัดในหลักไวยากรณ แตกถ็ อื วาเปนภาษาทีถ่ กู ตอง สํานวนนีม้ กั จะ
เปนความหมายเชิงเปรียบเทียบ เชน ขวางงูไมพน คอ กินปูนรอนทอง ใจดีสเู สือ ตีววั กระทบคราด
คําพังเพย เปนคําทีม่ ลี กั ษณะติชมหรือแสดงความคิดเห็น เชน ทํานาบนหลังคน ตีงขู า งหาง เสียนอยเสียยาก
เสียมากเสียงาย รักวัวใหผกู รักลูกใหตี
สุภาษิต คือ คํากลาวทีเ่ ปนความสัตยจริงทุกสมัย สอนใหประพฤติดงี าม เชน ความประมาทเปนทางแหงความตาย
ชนะตนนัน่ แหละเปนดี คบคนพาลพาลพาไปหาผิด คบบัณฑิตบัณฑิตพาไปหาผล
ที่มาของสํานวน
1. เกิดจากสัตว เชน ไกแกแมปลาชอน กระตายหมายจันทร
2. เกิดจากธรรมชาติ เชน คลืน่ ใตน้าํ ฝนตกไมทว่ั ฟา
3. เกิดจากประเพณี เชน ขนทรายเขาวัด คนตายขายคนเปน
4. เกิดจากลัทธิศาสนา เชน แกวดั ควํ่าบาตร
5. เกิดจากการละเลน เชน แกลํา สูจ นเย็บตา
6. เกิดจากนิยายตํานาน เชน มากอนไก ปากพระรวง
7. เกิดจากสวนตางๆ ของรางกาย เชน ปากบอน ตาเปนสับปะรด ตีนเทาฝาหอย

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. ขอใดใชสํานวนไมถกู ตอง
1) เขาตองเสียเงินไปทีละเล็กทีละนอย เบีย้ บายรายทางไปเรือ่ ยๆ
2) เขาชอบยุคนโนนคนนี้เปนการเสี้ยมเขาควายใหชนกันแทๆ
3) ถามอะไรก็ไมตอบ กลัวดอกพิกลุ จะรวงหรืออยางไร
4) เขาเปนคนตระหนีถ่ เ่ี หนียว เก็บเบีย้ ใตถนุ รานอยูเ สมอ
2. สํานวนในขอใดจะเติมลงในชองวางไดเหมาะสม
"คุณเทอด งานชิน้ นีผ้ มลงทุนไปหลายลานนะครับ คุณจะทําแบบ .......... อยางทีผ่ า นมาไมไดนะ"
1) หมายนํ้าบอหนา 2) สุกเอาเผากิน 3) ผักชีโรยหนา 4) เหยียบขีไ้ กไมฝอ
3. สํานวนในขอใดจะเติมลงในชองวางไดอยางเหมาะสม
"ขอสอบนี่ดูดีๆ แลวไมยากหรอก ตัวเลือกมันลวงอยูน ดิ เดียว เฉลยแลวจะตองรองออ นี่มัน .......... แทๆ"
1) ผีบงั ตา 2) หญาปากคอก 3) ใกลเกลือกินดาง 4) เสนผมบังภูเขา
4. ขอใดมีความหมายใกลเคียงกับสํานวน "นกสองหัว" มากทีส่ ดุ
1) ตีสองหนา 2) จับปลาสองมือ 3) สองฝกสองฝาย 4) เหยียบเรือสองแคม
BOBBYtutor Thai Note

5. คําในขอใดเปนสํานวนทุกคํา
1) แกเผ็ด แกมอื แกไข แกเกีย้ ว แกลํา 2) คูป รับ คูห ู คูมือ คูควร คูใ จ
3) มือปน มือมีด มือขวา มือออน มือรอง 4) หนามา หนาแดง หนาเปน หนาเลือด หนาบาง
6. "คนที่รูอะไรดานเดียว แลวเขาใจวาสิง่ นัน้ เปนอยางนัน้ " ตรงกับสํานวนในขอใด
1) ตาบอดไดแวน 2) ตาบอดคลําชาง 3) ตาบอดสอดตาเห็น 4) ตาบอดตาใส
7. ขอใดใชสํานวนไดถกู ตองทีส่ ดุ
1) เด็กๆ พวกนีค้ กึ คักกันยังกับจับปูใสกระดงเชียวนะ
2) เขามีตาเปนสับปะรดเชียวนะ เพราะฉะนัน้ เราจะพูดจาจะทําอะไรตองระมัดระวังเอาไวบา ง
3) คนสมัยใหมไมคอ ยจะเชือ่ กฎแหงกรรม แตสําหรับฉันเชือ่ วากรรมติดตามเราเหมือนกงจักรกับดอกบัว
4) เราอยาไปเอาอยางงานศพของครอบครัวนัน้ เลย ทําแตพอสมฐานะดีกวา เดีย๋ วจะไดชอ่ื วานอนตายตาไมหลับ
8. สํานวนใดชีใ้ หเห็นวาภาษาไทยเปนภาษาทีม่ รี ะดับ
1) เชือ้ ไมทง้ิ แถว แนวไมทง้ิ ตระกูล 2) มะพราวตืน่ ดก ยาจกตืน่ มี
3) สําเนียงสอภาษา กิรยิ าสอสกุล 4) คนยากวาผี ผูดีวาศพ
9. ขอใดสะทอนใหเห็นความเชือ่ ทีเ่ ปนปรัชญาพุทธศาสนา
1) ปดทองหลังพระ 2) ผีซ้าดํ
ํ ้าพลอย
3) วัวใครเขาคอกคนนั้น 4) ตืน่ แตดกึ สึกแตหนุม
10. สํานวนคูใด มีความหมายใกลเคียงกันมากทีส่ ดุ
1) หนาเนือ้ ใจเสือ - ปากวาตาขยิบ 2) ขิงก็ราขาก็แรง - ขนมพอสมนํ้ายา
3) เกีย่ วแฝกมุงปา - ตํานํ้าพริกละลายแมน้าํ 4) เอาไมซกี ไปงัดไมซงุ - เอาเนื้อหนูไปปะเนื้อชาง
11. ขอความตอไปนีต้ รงกับสํานวนไทยขอใด
"ทัง้ สองประเทศตางประสบปญหาเรือ่ งเดียวกัน การเขามาชวยเหลือกันก็เทากับคนกําลังจะจมนําตายช ้ วยคนที่กําลัง
จะจมนํ้าตายดวยกัน"
1) เตีย้ อุม คอม 2) กอดคอกันตาย 3) เคียงบาเคียงไหล 4) รวมทุกขรว มสุข
12. ผูม อี าชีพทีค่ นทัว่ ไปนับถือ คอยแนะนําสัง่ สอนคนใหเปนคนดี แตกลับปฏิบตั ติ นเองในทางตรงกันขาม คนลักษณะนี้
ตรงกับสํานวนขอใด
1) หนาเนือ้ ใจเสือ 2) มือถือสากปากถือศีล
3) ปากหวานกนเปรีย้ ว 4) ปากปราศรัยนํ้าใจเชือดคอ
13. สํานวนขอใดมีความหมายไมตรงกับขออืน่
1) กบเกิดในกะลาครอบ 2) กบเกิดใตบวั บาน
3) มดแดงแฝงพวงมะมวงงอม 4) จวักตักแกง
14. สํานวนขอใดสอนใหระวังในการพูด
1) ไปไหนมา สามวาสองศอก 2) กําแพงมีหู ประตูมชี อ ง
3) แยมปากก็เห็นไรฟน 4) สิบปากวาไมเทาตาเห็น
BOBBYtutor Thai Note

15. "เจาพูดจาใชถอ ยคําวนเวียนเหมือนลูกหมาไลกดั หางตัวเอง" ขอความทีพ่ มิ พตวั หนาตรงกับสํานวนในขอใด


1) จับตนชนปลายไมถกู 2) ชักแมนาทั ํ้ ง้ หา
3) มะกอกสามตะกราปาไมถกู 4) พายเรือในอาง
16. มีคาเปรี
ํ ยบเทียบคนอานหนังสือวา "คนหนึง่ กินยาบํารุงอีกคนหนึง่ กินยาพิษ" ขอความทีเ่ ปรียบเทียบนีต้ รงกับขอใด
1) ลางเนือ้ ชอบลางยา 2) ตัวใครตัวมัน 3) ตางรสนิยม 4) ตางลิน้ ตางรส
17. "กําลังของเรานอย จะไปสูเ ขาไหวหรือ มันเขาทํานอง .......... นะเพื่อน"
1) เกลือจิม้ เกลือ 2) ทองรูก ระเบือ้ ง 3) จอมปลวกกับภูเขา 4) ไมซกี งัดไมซงุ
18. "สองคนนีเ้ ขารูจ ดุ ออนและเลหเ หลีย่ มของกันและกันเหมือน .......... นัน่ แหละ
1) ไกเห็นตีนงู งูเห็นนมไก 2) ขิงก็รา ขาก็แรง
3) คอหอยลูกกระเดือก 4) ขนมพอสมนํ้ายา
19. "ฉันอยากจะเลือกเขาเปนหัวหนาเหมือนกัน แตไดยนิ วาเขาเปนคนโกง มิหนํายังเคยเปนนักเลงฆาคนมามาก
ฉันเลยรูส กึ เหมือน..........อยางนัน้ แหละ"
1) นํ้าทวมปาก 2) กินนํ้าเห็นปลิง
3) แกวงเทาหาเสีย้ น 4) ชักนํ้าเขาลึก ชักศึกเขาบาน
20. "คุณคิดอยางไรนะ อยากจะปรับปรุงทุกอยางใหดี มีโครงการเสียใหญโต แตกลัวจะตองใชเงินมาก ไมกลาลงทุน
อยางนีเ้ ขาเรียกวา .........."
1) คิดเล็กคิดนอย 2) ฆาควายเสียดายพริก
3) กินขาวตมกระโจมกลาง 4) ขีช่ า งจับตัก๊ แตน
21. "วัวหายลอมคอก" มีความหมายตรงกับขอใดมากทีส่ ดุ
1) เรือ่ งเกิดขึน้ แลวจึงคิดปองกัน 2) ของหายแลวจึงคิดปองกัน
3) ไมคดิ ปองกันกอนทีจ่ ะเกิดเรือ่ งขึน้ 4) ไมคดิ ปองกันกอนทีข่ องจะหาย
22. ขอใดใชสํานวนไมถกู ตอง
1) เขาเปนคนดี คงจะไมเปนอะไรหรอก เพราะคนดียอ มตกนํ้าไมไหล ตกไฟไมไหม
2) ใครๆ ก็ยอ มทําผิดพลาดไดเสมอ เพราะสีต่ นี ยังรูพ ลาด นักปราชญยงั รูพ ลัง้
3) ลูกชายของเขาเกงเหมือนพอ อยางนีเ้ ขาเรียกวาเชือ้ ไมทง้ิ แถว
4) เธอไปหวานลอมเขาอยูท ําไม จะชักใบใหเรือเสียเทาไรเขาก็ไมยอมทําตามหรอก
23. ขอใดใชสํานวนถูกตอง
1) สามีภรรยาคูน เ้ี หมาะกันเหมือนไมเบือ่ ไมเมา
2) เด็กคนนี้ฉลาด บอกอะไรนิดเดียวก็เขาใจไมตอ งจํ้าจีจ้ าไช ้ํ
3) เขาคิดจะขีช่ า งจับตัก๊ แตนอีกแลว มีเงินอยูแ สนเดียว แตคดิ จะปลูกบานราคาหาแสน
4) เขายอมขายผาเอาหนารอด เพือ่ เอาเงินไปจัดงานใหคณ ุ พออยางสมเกียรติ
24. "พีน่ อ งคูน เ้ี ขาใกลกนั ทีไรเปนตองทะเลาะกันทุกที" ขอความนีต้ รงกับสํานวนวาอะไร
1) ขิงก็ราขาก็แรง 2) ขนมพอสมนํ้ายา 3) ขมิน้ กับปูน 4) เกลือจิม้ เกลือ
BOBBYtutor Thai Note

25. สํานวนในขอใดเหมาะสมทีจ่ ะเติมในชองวาง


"พอแมตอ งไมเลีย้ งลูกอยางตามใจ แตควรฝกใหรจู กั อดทนตอความยากลําบากบาง ลูกจะไดไมกลายเปนคน
ประเภท .........."
1) ใสสาแหรกแขวนไว 2) ทาดีทเี หลว 3) เหยียบขีไ้ กไมฝอ 4) ไมหลักปกเลน
26. ขอใดใชสํานวนถูกตอง
1) เขาอยากเปนหัวหนาชั้น แตปากก็บอกวาไมอยากเปน เขาทํานองปากวาตาขยิบนัน่ แหละ
2) การทีค่ วามลับรัว่ ไหลไปถึงฝายตรงขามไดแสดงวาเผอเรอกระเชอกนรัว่
3) เมือ่ ทราบวาทุกคนในชัน้ สอบผานหมด ทุกคนก็ดใี จยังกับปลากระดีไ่ ดน้าํ
4) พีค่ นโตชอบลอนองชายคนเล็กแรงๆ เหมือนหมาหยอกไก
27. สํานวนใดเหมาะทีส่ ดุ สําหรับเติมในชองวาง
"ทานจะทําอะไรก็ปลอยทานไปเถอะ อยา .......... เลย ทานไมฟง เสมียนอยางเราหรอก ดีไมดีจะถูกทานเขมนเอาดวย"
1) เอามือซุกหีบ 2) เอาไมสั้นไปรันขี้ 3) แกวงเทาหาเสีย้ น 4) เอาไมซกี ไปงัดไมซงุ
28. จงเติมสํานวนในขอความตอไปนีใ้ หมคี วามหมายสอดคลองกัน
"เขาเปนคนประเภท .......... ไมนา ไวใจ กลับกลอกโลเล เดีย๋ วก็ไปเขากับฝายโนน เดี๋ยวก็มาเขากับฝายนี้"
1) เด็กเลีย้ งแกะ 2) นกสองหัว 3) จับปลาสองมือ 4) คดในขอ งอในกระดูก
29. สํานวนใดเหมาะสมทีส่ ดุ จะเติมในชองวาง
"ถาเธอทําขนมเปนจริงๆ ฉันคงไมตอ ง .......... บอกวิธที าโดยละเอี
ํ ยดอยางนี้"
1) แจงสีเ่ บีย้ 2) ชักแมนํ้าทัง้ หา 3) สอนหนังสือสังฆราช 4) สีซอใหควายฟง
30. สํานวนใดเหมาะสมทีส่ ดุ จะเติมในชองวาง
"เพลงทีเ่ ขาแตงมีลกั ษณะ .......... ขึน้ ตนกับลงทายเปนคนละเรือ่ ง ทําใหเขากันไมสนิท ฟงดูไมไพเราะ"
1) คาบลูกคาบดอก 2) ลูกผีลกู คน 3) หัวมังกุทา ยมังกร 4) ดาบสองคม

เฉลย
1. 4) 2. 2) 3. 4) 4. 4) 5. 2) 6. 2) 7. 2) 8. 4) 9. 3) 10. 2)
11. 1) 12. 2) 13. 1) 14. 2) 15. 4) 16. 1) 17. 4) 18. 1) 19. 2) 20. 2)
21. 1) 22. 4) 23. 4) 24. 3) 25. 3) 26. 3) 27. 4) 28. 2) 29. 1) 30. 3)
BOBBYtutor Thai Note

การใชวิจารณญาณในการฟง
การฟงอยางมีวิจารณญาณ
การฟง วิจารณญาณ
ไดยิน วิเคราะห
รับรู ใครครวญ
เขาใจ วินิจฉัย
ประเมินคา
ใชประโยชน
วิจารณญาณเปนการสมาสคําจากคําวา วิจารณ + ญาณ
วิจารณ หมายถึง การคิด ใครครวญโดยใชเหตุผล
ญาณ หมายถึง ปญญา ความรูในชั้นสูง
วิจารณญาณ คือ ปญญาสามารถสันนิษฐานเหตุผล การใชวจิ ารณญาณในการฟงเริม่ ดวยผูร บั สารฟงสารดวยความตัง้ ใจ
พยายามทําความเขาใจกับเนือ้ ความทีไ่ ดฟง พรอมทัง้ คิดใครครวญตามไปดวย การใชวจิ ารณญาณในการฟงอาจจะเปนไป
ในแงตา งๆ เชน
1. พิจารณาวาผูพ ดู มีจดุ มุง หมายในการพูดอยางไร
2. เรือ่ งทีฟ่ ง มีสารประโยชน ใหแงคดิ ในเชิงสรางสรรคอยางไรบาง
3. เรือ่ งทีไ่ ดรบั ฟงมีความเปนไปไดมากนอยเพียงใด
4. เรือ่ งทีไ่ ดรบั ฟงมานาเชือ่ ถือเพียงใด
5. ผูพ ดู มีความจริงใจหรือไมเพียงใด
6. ผูพ ดู ใชวธิ ใี นการถายทอดความรูส กึ นึกคิดอยางไร
ในการฟงทีถ่ อื วาผูฟ ง ไดใชวจิ ารณญาณในการฟงไปดวยก็ตอ เมือ่ ไดใชความคิดวิเคราะหใครครวญ และตัดสินใจวา
ขอความทีไ่ ดฟง มาสิง่ ใดเปนใจความสําคัญ สิง่ ใดเปนพลความ ทัง้ วินจิ ฉัยไดวา ขอความทีไ่ ดฟง มานัน้ ควรเชือ่ ถือได
หรือไมเพียงใด
BOBBYtutor Thai Note

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. จงพิจารณาคําประพันธตอ ไปนี้
สักวา "แบบวา" ผมยินดี "แบบวา" มีสกั วาขึน้ มาใหม
ตามแบบทีส่ ยามรัฐเคยจัดไว แต "แบบ" เลิกราไปมานานชา
จึง "แบบ" เขียนสักวามารวมดวย "แบบวา" ชวยเลนกันใหหรรษา
แบบภาษาไทยใหมใชเจรจา "แบบ" ไมลา หลังใครจริงไหมเอย
(ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช)
ผูเ ขียนมีจดุ ประสงคอยางไรในการแตงบทสักวาขางตนนี้
1) บันทึกคําสมัยใหมไวเปนหลักฐาน 2) ลองใชคาสมั
ํ ยใหมเพือ่ จะไดไมลา หลัง
3) เสียดสีความไมใสใจการใชภาษา 4) ลอเลียนการใชคําติดปาก
2. "ยาสีฟน .....ปองกันฟนผุได 100% เพิม่ เสนหใ หแกทา นชายหญิงอยางไดผล ทานทีไ่ มตอ งการใหฟน ผุตอ งการมีเสนห
ใหใชยาสีฟน ....."
ขอความนีเ้ ปนสารประเภทใด
1) สารประเภทใหความรู 2) สารประเภทโนมนาวใจ
3) สารประเภทใหขอ เท็จจริง 4) สารประเภทใหความจรรโลงใจ
3. ".....ในฐานะทีเ่ ราเปนคนไทยคนหนึง่ เราจะทนไดหรือทีจ่ ะปลอยใหนอ งผูห วิ โหยซึง่ เปนเพือ่ นรวมชาติของเราตอง
หิวโหยอีกตอไป"
ขอความขางตนนีผ้ พู ดู มีจดุ ประสงคอยางไร
1) เพือ่ จูงใจ 2) เพือ่ ปลุกใจ 3) เพือ่ แกปญ หา 4) เพือ่ ใหขอ เท็จจริง
4. จงอานขอความตอไปนี้
".....แตกอ นจะจบก็เห็นจะตองยืนยันไวสว นหนึง่ วา ใครก็ตามทีเ่ ห็นวาเพือ่ นของผมคนนีเ้ ลวสนิทจนไมมที ต่ี ิ ผมวา
คงไมถกู ตองนัก อยางนอยทานก็มคี วามดีอยูบ า งตรงทีส่ ามารถใชเปนมาตรฐานวัดไดวา ไอทเ่ี ลวทีส่ ดุ นัน้ มันเปนอยางไร
ก็หลายคนมีโอกาสเปนคนดีไดบา งในขณะนีก้ เ็ พราะไดใชทา นเปนมาตรฐานเทียบไมใชหรือ"
ขอความขางบนนีผ้ พู ดู มีความรูส กึ อยางไร
1) อยากปกปองไมตอ งการใหใครตําหนิเพือ่ น 2) เห็นใจเพือ่ น มองเห็นความดีของเพือ่ น
3) หลายๆ คนดีเหมือนเพื่อนของเขา 4) ตองการกลาวเสียดสี เห็นวาเพือ่ นเปนคนเลว
5. ขอใดเปนภาษาโนมนาวใจผูฟง
1) พืน้ ทีส่ เี ขียวในประเทศไทยกําลังลดนอยลงทุกป
2) ใครเขาจะแตงงานกันอยางหรูหราแคไหนก็เรือ่ งของเขา
3) สะอาดกายเจริญวัย สะอาดใจเจริญสุข
4) ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยมามากกวา 50 ปแลว
BOBBYtutor Thai Note

6. "ทุกสิง่ ทุกอยางทีเ่ ปนอยูแ กเราทุกวันนี้ ยอมมีตน เรือ่ งมากอน เชนที่ทานมีความรูมีปริญญาอยูขณะนี้ ก็เปนเพราะ


ไดลงทุนลงแรงเลาเรียนมา" จากขอความนี้ขอใดเปนเหตุผล
1) ทุกสิง่ ทุกอยางทีเ่ กิดทีเ่ ปนอยูแ กเราทุกวันนี้ 2) ยอมมีตน เรือ่ งมากอน
3) เชนที่ทานมีความรูมีปริญญาอยูขณะนี้ 4) ก็เปนเพราะไดลงทุนลงแรงเลาเรียนมา
7. "ทําดีไดดี มีทไ่ี หน ทําชัว่ ไดดี มีถมไป" หลังจากการใชวจิ ารณญาณในการอานหรือการฟงขอความนีแ้ ลว ขอใด
เปนแนวปฏิบตั ทิ ด่ี ที ส่ี ดุ
1) พยายามปกปดความดีความชัว่ ของตนเองและผูอ น่ื
2) เลือกทําความชั่วในหมูคนชั่วเมื่อมีโอกาส
3) ทําแตความดีโดยไมหวังผลตอบแทนในทันที
4) เลือกทําแตความดีทเ่ี หมาะสมกับกาลเทศะและบุคคลเทานัน้
8. ถาเปนคําพูด บทกลอนตอไปนี้ ตรงกับจุดมุง หมายของการพูดในขอใด
"ในเพลงปว า สามพีพ่ ราหมณเอย ยังไมเคยเชยชิดพิสมัย
ถึงรอยรสบุปผาสุมาลัย จะชืน่ ใจเหมือนสตรีไมมเี ลย
พระจันทรจรสวางกลางโพยม ไมเทียบโฉมนางงามพีพ่ ราหมณเอย
แมนไดแกวแลวคอยประคองเคย ถนอมเชยชมโฉมประโลมลาน"
1) พูดชีแ้ จง 2) พูดขยายความ 3) พูดใหความรู 4) พูดชักจูงใจ
9. "พระอนุชาวาพีน่ ข้ี ข้ี ลาด เปนชายชาติชา งงาไมกลาหาญ
แมนชีวนั ยังไมบรรลัยลาญ ก็เซซานซอกซอนสัญจรไป
เผือ่ พบพานบานเมืองทีไ่ หนมัง่ พอประทังกายาอยูอ าศัย
มีความรูอ ยูก บั ตัวกลัวอะไร ชีวติ ไมปลดปลงคงไดด"ี
ขอความขางตนนี้ ผูพ ดู ใชศลิ ปะการพูดในขอใด
1) พูดสัมผัสสัญชาตญาณการหนีภยั 2) พูดสัมผัสสัญชาตญาณการตอสู
3) พูดสัมผัสสัญชาตญาณการปกปกรักษา 4) พูดสัมผัสสัญชาตญาณทางเพศ
10. "แมจะมีคํากลาววา สิง่ ทีแ่ นนอนคือความไมแนนอน ก็ยงั มีสง่ิ หนึง่ ทีแ่ นนอนนัน่ คือ ความตาย ความตายเปนสิง่ ที่
ทุกคนไมปรารถนาแตไมสามารถจะหลีกเลีย่ งได ถึงกระนัน้ เวลาของความตายก็สามารถยืดออกไปได เลือดของ
ทานทุกคน ไมวา บุรษุ สตรี ยากดีมจี น มีคา เทาเทียมกัน เหลาทหารหาญยังสละเลือดทุกหยาดเปนชาติพลีแลวทานละ
ความเจ็บปวดแคปลายเข็มแทง ทานจะแลกกับชีวติ เพือ่ นมนุษยไมไดเชียวหรือ"
ทานเขาใจวาผูพ ดู มีจดุ ประสงคอะไรเปนสําคัญ
1) เพือ่ แสดงสัจธรรมของชีวติ 2) เพือ่ ใหเห็นความสําคัญของชีวิต
3) เพือ่ ชักชวนใหทากุ ํ ศล 4) เพือ่ ใหตระหนักถึงหนาทีข่ องมนุษย

เฉลย
1. 4) 2. 2) 3. 1) 4. 4) 5. 3) 6. 4) 7. 3) 8. 4) 9. 2) 10. 3)
BOBBYtutor Thai Note

นิทานเวตาล
1. ผูป ระพันธ พระราชวรวงศเธอ กรมหมืน่ พิทยาลงกรณ พระนามเดิมวา พระองคเจารัชนีแจมจรัส จึงทรงใช
พระนามแฝงวา น.ม.ส. โดยนํามาจากอักษรตัวสุดทายของแตละคําในพระนามเดิม
2. รูปแบบ (ลักษณะคําประพันธ) เปนนิทานซึง่ แตงเปนรอยแกว มีคาประพั ํ นธแทรกบางบางตอน
3. ทีม่ าของเรือ่ ง
น.ม.ส. ทรงใชนทิ านเวตาลฉบับภาษาอังกฤษของเซอร อารเอฟ เบอรตนั เปนหลักในการเรียบเรียงเปนภาษาไทย
เมื่อ พ.ศ. 2461
นิทานเวตาลเดิมเปนวรรณคดีสนั สกฤต ซึง่ ศิวทาสแตงไวเปนนิทานชุด ชื่อ "เวตาลปญจวีสติ" แปลวา นิทาน 25
เรื่องของเวตาล เรือ่ งทีก่ ําหนดใหเรียนเปนนิทานเรือ่ งที่ 6
4. โครงเรือ่ งนิทานเวตาล
พระวิกรมาทิตย ผูซ ง่ึ เปนกษัตริยม ปี ญ
 ญาและอานุภาพเมือ่ 2,000 กวาปมาแลว รับปากกับโยคีศานติศลี ทีจ่ ะนําตัว
เวตาลมาให พระวิกรมาทิตยกบั พระโอรสธรรมธวัชไดไปนําตัวเวตาลจากปาชาแหงหนึง่ มาให เวตาลเปนอมนุษยชนิดหนึง่
ในเรือ่ งกลาววาเปนศพ แตเปนศพทีพ่ ดู ได ผูท ไ่ี ปเอาตัวเวตาลมานัน้ จะตองปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขอันหนึง่ คือตองไมตรัสอะไรเลย
มิฉะนัน้ เวตาลก็จะลอยหลุดจากผูท จ่ี บั มานัน้ กลับไปแขวนอยูท ต่ี น อโศกตามเดิม เวตาลยัว่ เยาดวยการเลานิทานทีม่ ี
ปริศนาใหคดิ แลวตัง้ คําถามจนพระวิกรมาทิตยตอ งตอบปญหานัน้ จนถึงนิทานเรือ่ งที่ 25 พระองคไดสติจงึ ไมตรัสตอบ
จึงสามารถชนะเวตาลได
5. เนือ้ เรือ่ งยอ
ในกรุงธรรมสถลมีพราหมณผหู นึง่ ชือ่ เกศวะ เมือ่ เปนเด็กประพฤติตนเหลวไหล ยามเปนหนุม ก็มวั เมาในกามคุณ
วันหนึง่ ถูกบิดามารดาวากลาวอยางรุนแรง จึงหนีออกจากบานไปถึงหมูบ า นแหงหนึง่ ไดปส สาวะรดเทวรูปชือ่ วา เทวรูป
ปญจานน คือ รูปพระอิศวร 5 พักตร และผลักตกลงสระนําไปด ้ วยความคิดลามก จากเหตุนเ้ี อง ตอมาพราหมณเกศวะ
สํานึกผิดเพราะความเกรงกลัวจะถูกลงโทษถึงแกชวี ติ จึงกลับตัวเปนคนดี หมัน่ ศึกษาหาความรู จนเปนผูมีความรูดี
ตอมาแตงงานมีครอบครัว มีบตุ รชายหญิง บุตรหญิงนัน้ ชือ่ มธุมาลตี เปนหญิงงดงาม บิดามารดาและพีช่ ายถือเปน
หนาทีท่ จ่ี ะตองหาคูค รองใหนาง แตมไิ ดปรึกษากันกอน จึงตางคนตางยกนางใหแกพราหมณหนุม ทีต่ นพอใจในเวลา
ไลเลีย่ กันชายทัง้ สามมีรปู วิชา อายุ คุณความดีเสมอกัน พราหมณเกศวะจึงใหชายทัง้ สามกลาวสุภาษิตโบราณแขงขันกัน
ก็ปรากฏวาชายทัง้ สามกลาวสุภาษิตไดดเี สมอกันอีก ปญหานีย้ ตุ ลิ งเมือ่ มีงพู ษิ กัดนางมธุมาลตีตาย พราหมณหนุม ทัง้ สาม
เสียใจมากไดพยายามหาวิธตี ดั ความทุกขตามแนวทางของพระอินทร ชายคนแรกเก็บกระดูกของนาง และประพฤติตวั
เปนไวเศษิก ชายคนทีส่ อง เก็บเถาถานทีเ่ ผาศพของนาง แลวประพฤติตนเปนวานปรัสถ สวนชายคนที่สามบวชเปนโยคี
ทองเทีย่ วไปจนไดตําราสํชีวนีวิทยามาชุบชีวติ นางจากเถาและกระดูกนางทีป่ า ชาอันเปนทีเ่ ผาศพนาง เมื่อนางฟนคืนชีวิต
ชายหนุม ทัง้ สามก็ววิ าทแยงชิงนาง ปญหาก็เริม่ เกิดขึน้ อีกวานางควรเปนภรรยาของใคร เวตาลยัว่ ยุจนพระวิกรมาทิตย
ตอบปญหานี้ โดยกลาววา ชายคนทีส่ อง สมควรไดนางเปนภรรยา เพราะเปนผูเ ก็บเถาถานไว ชายคนทีห่ นึง่ เก็บกระดูกนางไว
จึงสมควรอยูใ นฐานะลูก ชายคนทีส่ ามเปนผูช บุ ชีวติ นาง ยอมอยูใ นฐานะบิดา เวตาลจึงลอยกลับไปแขวนทีก่ งิ่ อโศกตามเดิม
6. ขอคิดทีไ่ ดจากเรือ่ ง
1. คนทีก่ ลับตัวได ควรไดรบั การใหอภัย เชน พราหมณเกศวะ
2. พระวิกรมาทิตย เปนกษัตริยม ปี ญ  ญาและอานุภาพมาก เพราะเปนผูม วี าจาสัตย มีความกลาหาญ มานะอดทน
และมีความเพียรพยายามไมยอ ทอตอความลําบาก และอุปสรรคนานาสมควรไดรบั การเคารพยกยองและเปนแบบอยางที่ดีงาม
BOBBYtutor Thai Note

3. สมาชิกในครอบครัวควรปรึกษาหารือกันในการตัดสินใจทําสิง่ ใดก็ตามมิฉะนัน้ อาจเกิดปญหายุง ยากตามมา


ภายหลังได
4. การเดินทางทองเทีย่ วไปในโลกกวางจะนําความสุขและความรูม าให
5. ไทยและอินเดียมีประเพณีบางอยางทีค่ ลายคลึงกัน เชน การตอนรับเลีย้ งดูแขกผูม าเยือนถึงบานเรือนของตน
อยางดี
7. ศัพทสํานวนที่ควรทราบ
เทวรูปปญจานน = รูปพระอิศวร 5 พักตร พักตรทห่ี า อยูข า งบน เชือ่ วาบูชาเทวรูปปญจานนแลว
โรคภัยไขเจ็บจะหายไป และจะขอลูกจากพระปญจานนได
รตี = ความรัก นางรตี คือ มเหสีของกามเทพ
พากันชีเ้ ปนนิว้ เดียวกัน = เห็นตรงกัน
นิโลตบล = บัวขาบ, บัวสีนาเงิ้ํ น (นิล + อุตบล)
นกจโกระ = นกเขาไฟ, นกกด เปนนกในนิยายเชือ่ กันวากินแสงจันทรเปนอาหาร
รสาภิรส = รสอันเลิศ (รส + อภิรส)
ไวเศษิก = ผูทาตนให
ํ หลุดพัน ไมตอ งเกิดอีก ถือศีลคลายศีล 5, ศีล 8
วานปรัสถ = พราหมณพวกหนึง่ ออกไปบําเพ็ญพรตในปา บูชาไฟ
โยคี = ผูป ฏิบตั ติ ามลัทธิโยคะ, ฤษี
พระมนู = พระผูส รางโลกและปกครองโลก ถือกันวาเปนผูอ อกกฎหมายหรือธรรมศาสตร
ธรรมศาสตร = คัมภีรห ลักกฎหมาย
อัคนิโหตร = การบูชาพระอัคนี โดยมากใชนํ้านมกับนํ้ามัน
นางจัณฑี = เปนชือ่ ในปางโหดรายของพระอุมา ชือ่ อืน่ ๆ ไดแก จัณฑิกา เจาแมกาลี เจาแมทรุ คา
นางบรรพดี
8. คานิยมในการประพฤติปฏิบตั ขิ องคนอินเดีย
1. "ลูกหญิงซึง่ อายุควรมีคู ไมมีคู ยอมเปนเชนกอนอุบาทวหอ ยอยูเ หนือหลังคาเรือน"
2. "หญิงยอมไปปลดเปลือ้ งผาคลุมตอหนาชาย"
3. ประเพณีการตอนรับแขกของอินเดีย ตองเลีย้ งขาวปลาอาหาร และใหทพ่ี กั ผอนหลับนอนคลายกับประเพณี
ของไทย "ประเพณีไทยแทแตโบราณ ใครมาถึงเรือนชานตองตอนรับ"
4. มีลทั ธิศาสนาหลายลัทธิในประเทศอินเดีย จะเลือกนับถือปฏิบตั ติ ามลัทธิใดก็ไดตามแตจะศรัทธา
9. ขอคิดทีไ่ ดจากภาษิตของกวีโบราณตามทีป่ รากฏในเรือ่ ง
1. จะทราบไดวา ชายผูใ ดมีความกลาหาญ ตองดูยามศึกสงคราม จะดูความซือ่ สัตยของคนดูไดจากการสงหนีส้ นิ
จะดูมติ รแทดจู ากยามทีม่ ที กุ ข และจะทราบวาภรรยามีความซือ่ สัตยกย็ ามเมือ่ สามีเจ็บไข ไรทรัพยสนิ
2. ผูห ญิงทีด่ ตี อ งอยูใ นโอวาทของพอแม ไมเอาแตเทีย่ วสนุก ไมเปลือ้ งผาคลุมตอหนาชาย ไมเอาแตนอน
ไมดม่ื เหลา ไมนอกใจสามี
3. สิง่ ทีไ่ มสามารถวางใจได คือ 1. ทะเล 2. สัตวทม่ี เี ขีย้ วเล็บงา 3. ผูถืออาวุธ 4. สตรี 5. พระมหากษัตริย
ทัง้ 5 อยางนีไ้ วใจไมได หากประมาทอาจถึงตาย
10. งานพระนิพนธของ น.ม.ส.
ทรงนิพนธเรือ่ งลงในหนังสือทีอ่ อกใชรชั กาลที่ 5 คือ วชิรญาณ ทวีปญ  ญา และลักวิทยา
งานวรรณกรรมทีส่ าคั ํ ญ ไดแก นิทานเวตาล จดหมายจางวางหรํา่ กนกนคร พระนลคําฉันท และลิลติ สามกรุง
BOBBYtutor Thai Note

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. การทีพ่ ระเจาวิกรมาทิตยหลงแกปญ  หาใหเวตาลแสดงวาพระองคไมไดปฏิบตั ติ ามหลักภาษิตนฤทุมนาการขอใด
1) ยินคดีมเี รือ่ งนอย ใหญไฉน ก็ดี
ยังบลงเห็นไป เด็ดดวน
2) ยินดีมมี ากหมัน้ สันดาน
ใครเกะกะระราน อดกลัน้
3) สามารถอาจหามงด วาจา ตนเฮย
ปางเมือ่ ยังโกรธา ขุน แคน
4) ไปฟง คนพูดฟุง ฟน เฝอ
เท็จและจริงจานเจือ คละเคลา
2. ภาพพจนเปรียบเทียบขอใดใหภาพที่ตา งจากธรรมเนียมของวรรณคดีไทย
1) ชายหนุม ทัง้ 3 ก็พากันนิง่ ดูเดือนเพ็ญคือหนาแหงนาง
2) เราไดเคยคิดวาริมฝปากของนางเหมือนผลไมสกุ อกเหมือนบัวตูม
3) นางมธุมาลตี เหมือนนิโลตบลซึง่ บานเต็มที่ มีแขนเหมือนกานบัว มีผมยาวหอยเหมือนความมืดแหงกลางคืน
4) นีห่ รือรูปทีช่ ายหลงใหล สิง่ นีม้ ใิ ชอน่ื ไกล คือตะกราซึง่ มีหนังหุม ภายนอก หัวใจคือ กระดูก เลือดเนื้อ คือ
สิง่ โสโครกทัง้ หลายเทานัน้
3. ประเพณีอนิ เดียขอใดทีเ่ ขากันไดกบั วัฒนธรรมไทย
1) ออกบวชเมื่อวัยชรา
2) นักบวชนิยมบําเพ็ญตบะ ณ ฝง แมนา้ํ
3) เมือ่ มีแขกมาถึงบาน ตองตอนรับขับสูอ ยางดี
4) หญิงไมปลดเปลือ้ งผาคลุมหนาตอหนาชายในทีส่ าธารณะ
4. ขอความที่วา "ธรรมะในเวลานัน้ ยกไดเปนสามแพรง เพราะชายหนุมสามคน" มีความหมายตรงกับขอใด
1) ชายหนุม ทัง้ สามตางก็เดินตามทางธรรมะ
2) ชายหนุม ทัง้ สามตางรองขอธรรมะ
3) ชายหนุม ทัง้ สามตางอางสิทธิทจ่ี ะครอบครองนางมธุมาลตี
4) ชายหนุม ทัง้ สามตางอางความชอบธรรมทีจ่ ะครอบครองนางมธุมาลตี
5. นิทานเวตาลใหขอ คิดอยางไรสําหรับการดํารงชีวติ ในปจจุบนั
1) ควรมีปฏิภาณไหวพริบ 2) ควรไตรตรองดวยเหตุผล
3) ควรมีวจิ ารณญาณทีด่ ี 4) ควรมีสติสมั ปชัญญะ
6. เหตุใดภาษิตหลายๆ บทในนิทานเวตาล จึงกลาวถึงโทษลักษณะของ "กษัตริย" อยูเ สมอ
1) เปนอุบายยัว่ ยุใหผฟู ง โกรธ 2) เปนคําปรามาสใหผฟู ง เจ็บแคนใจ
3) เปนการสัง่ สอนกษัตริยโ ดยออม 4) เปนการเปรียบเทียบเพือ่ ใหกษัตริยไ ดสติ
BOBBYtutor Thai Note

7. น.ม.ส. ไดสอดแทรกคติทางพระพุทธศาสนาเขาไวในนิทานเวตาลเปนจํานวนมาก จากขอความตอไปนี้ ขอใดเปน


หลักปฏิบตั ธิ รรมทีล่ กึ ซึง้ ทีส่ ดุ
1) หนาทีข่ องเราคือ เขาหาพระผูเปนเจา ผูเ ปนตนเหตุแหงสังขาร เลิกความเอาใจใสในสิง่ ทัง้ หลาย ซึง่ เปนเหตุให
เกิดความสําราญหรือความเรารอน
2) ถาเราไดเห็นหนานางอีก เราก็คงจะกลาววา นีห่ รือรูปทีช่ ายหลงใหล สิง่ นีม้ ใิ ชอน่ื ไกล คือตะกราซึง่ มีหนังหอหุม
ภายนอก ขางในคือกระดูก เลือดเนือ้ และสิง่ โสโครก
3) ตัง้ ใจมัน่ วาการไมทาร ํ ายคนและสัตวอน่ื เปนทางเวนทีช่ อบ แมผใู ดทําผิดก็ไมควรเอาชีวิต อนึง่ ศีลทัง้ 5 คือ
ไมกลาวเท็จ ไมกนิ เนือ้ สัตว ไมขโมย ไมดื่มนํ้าเมา ไมมีภรรยานั้น ตองถือมัน่ เปนนิตย
4) ถือศีลเวนบาปใหญทง้ั 8 อยาง คือ กินกลางคืน 1 ฆาชีวิต 1 กินผลไมเกิดบนตนทีม่ ยี าง หรือกินฟกทองหรือ
หนอไมไผ 1 กินนํ้าผึง้ หรือเนือ้ สัตว 1 ลักทรัพยของผูอ น่ื 1 ขมขืนหญิงมีสามี 1 กินดอกไมหรือเนยแข็งหรือ
เนยเหลว 1 บูชาเทวดาในศาสนาอืน่ 1

เฉลย
1. 3) 2. 3) 3. 3) 4. 4) 5. 4) 6. 3) 7. 1)
BOBBYtutor Thai Note

วิธสี อ่ื สารในการประชุม


การประชุม คือ กิจกรรมของบุคคลกลุม หนึง่ ทีไ่ ดมาพบกันตามกําหนดนัดหมายเพือ่ แลกเปลีย่ นความรูค วามคิด
รับทราบขอเท็จจริง ขอเสนอแนะ นโยบาย หรือเพือ่ ชวยกันพิจารณาแกปญ
 หา เปนตน
รูปแบบของการประชุม
1. การประชุมเฉพาะกลุม เปนการประชุมเฉพาะผูม สี ทิ ธิและหนาทีเ่ ขาประชุมเทานัน้ แตในบางกรณีอาจมีผไู ดรบั เชิญ
เปนกรณีพเิ ศษเขารวมประชุมดวยก็ได
2. การประชุมตามปกติ หมายถึง การประชุมทีก่ ระทําตามวัน เวลา สถานทีท่ ไ่ี ดตกลงนัดหมายกันไวลว งหนา
เปนการแนนอน
3. การประชุมพิเศษ หมายถึง การประชุมทีก่ าหนดวัํ นนอกเหนือไปจากการประชุมตามปกติ เนือ่ งจากมีเรือ่ งสําคัญ ที่
ตองรีบพิจารณา
4. การประชุมสามัญ หมายถึง การประชุมตามทีข่ อ บังคับกําหนดไวตายตัว เชน ปละครัง้ เดือนละครั้ง เปนตน
5. การประชุมวิสามัญ หมายถึง การประชุมตามทีข่ อ บังคับเปดโอกาสใหกระทําตามความจําเปนได เชน มีเรื่อง
สําคัญทีต่ อ งพิจารณาโดยดวนและไมอาจรอคอยไปถึงกําหนดเวลาประชุมสามัญได
6. การประชุมลับ เปนการประชุมเฉพาะกลุมเชนเดียวกัน แตตอ งเปดเผยเฉพาะมติหรือขอปฏิบตั เิ ทานี้ และตอง
เปดเผยตามกําหนดเวลาทีเ่ ห็นสมควร โดยประธานหรือผูท ไ่ี ดรบั มอบหมายจากทีป่ ระชุม
7. การประชุมปรึกษา เปนการประชุมของบุคคลทีม่ ภี ารกิจรวมกัน เชน การคนหาความจริง การวางนโยบายหรือ
การเสนอแนวทางปฏิบตั ิ เปนการประชุมทีผ่ เู ขาประชุมจะปรึกษาหารือกันจนไดผลสรุปออกมา
8. การประชุมปฏิบตั กิ าร เปนการประชุมเพือ่ แสวงหาความรู ความเขาใจ และแนวทางปฏิบตั งิ านใหเกิดผลสัมฤทธิ์
เทาทีจ่ ะทําได การประชุมปฏิบตั กิ ารจะประกอบดวยขัน้ ตอนดังนีค้ อื รับฟงคําบรรยายจากวิทยากร แยกกลุม พิจารณา
ทดลองลงมือปฏิบตั ิ ประชุมสรุปเพือ่ ทําความเขาใจพรอมกันอีกครัง้ หนึง่
9. การประชุมสัมมนา เปนการประชุมเฉพาะกลุม ตามหัวขอทีก่ ําหนดไว ซึง่ อาจจะเปนเรือ่ งวิชาการโดยตรงหรือ
ขอทีเ่ ปนประโยชนตอ สังคมสวนรวมก็ได เพือ่ แลกเปลีย่ นความรู ความคิด และประสบการณ แลวประมวลขอคิดและ
ขอเสนอแนะจากทีป่ ระชุม
10. การประชุมชีแ้ จง เปนการประชุมทีห่ วั หนาหรือผูร บั ผิดชอบหนวยงานมาประชุมกันเพือ่ รับทราบขอเท็จจริง นโยบาย
หลักการ แนวทางปฏิบตั งิ าน การประชุมชนิดนี้ผูนําการประชุมมักจะเปนผูพ ดู เปนสวนใหญ ไมมกี ารอภิปรายแลกเปลีย่ น
ความคิดกันโดยตรง
11. การประชุมใหญ เปนการประชุมทีเ่ ปดโอกาสใหสมาชิกขององคการ (เชน สมาคม สโมสร ชมรม) เขารวม
ประชุมแสดงความคิดเห็น ซึง่ อาจจัดเปนประจําป หรือตามระยะเวลาทีก่ ําหนดไวในขอบังคับขององคการก็ได
12. การประชุมสาธารณะ หมายถึง การประชุมทีเ่ ปดโอกาสใหบคุ คลภายนอกเขารวมฟงได และเปดโอกาสใหซกั ถาม
แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับประเด็นตางๆ ตามหัวขอประชุมไดอกี ดวย การประชุมชนิดนีผ้ อู ยูใ นทีป่ ระชุม แบงเปน 2 ฝาย คือ
12.1 ฝายผูอ ภิปราย หรือผูบ รรยาย
12.2 ฝายผูฟ ง และซักถามแสดงความคิดเห็น
หลังจากอภิปรายแลวชวงเวลาทีเ่ ปดโอกาสใหซกั ถามเรียกวา "คาบเวลาอภิปรายทัว่ ไป" หรือ "คาบเวลาอภิปราย
สาธารณะ"
BOBBYtutor Thai Note

ศัพทที่ใชเรียกบุคคลที่เกี่ยวของกับการประชุม
1. ผูจ ดั ประชุม คือ ผูริเริ่มใหเกิดกิจกรรมการประชุมขึ้น เปนผูกําหนดเรือ่ งประชุม วางกําหนดการประชุม
กําหนดตัวบุคคลเขาประชุม และเตรียมการบันทึกผลการประชุมดวย
2. ผูม สี ทิ ธิเ์ ขาประชุม ไดแก ผูท ไ่ี ดรบั เชิญหรือแตงตัง้ ใหเขาประชุม มีสทิ ธิอ์ ภิปรายตัง้ ขอเสนอในทีป่ ระชุม
รวมทัง้ ลงมติในทีป่ ระชุมดวย
3. ผูเขาประชุม ไดแก บุคคลทีเ่ ขามาปรากฏตัวในทีป่ ระชุมและพรอมทีจ่ ะทําหนาทีม่ สี ว นรวมแสดงความคิดเห็น
ในการประชุม
4. องคประชุม หมายถึง จํานวนผูเขาประชุมตามที่กําหนดไวในขอบังคับ ซึง่ มักจะถือกันวาตองมีผมู าประชุม
ไมนอ ยกวากึง่ หนึง่ ของจํานวนสมาชิกทัง้ หมดทีม่ สี ทิ ธิแ์ ละหนาทีเ่ ขาประชุมจึงจะเรียกวาครบองคประชุม
5. ทีป่ ระชุม หมายถึง บรรดาผูเ ขาประชุมทัง้ หมดไมวา จะเปนการประชุมเฉพาะกลุม หรือการประชุมสาธารณะ
6. ประธาน ทําหนาทีค่ วบคุมการประชุมทัง้ หมด
7. รองประธาน ทําหนาทีแ่ ทนประธานเมือ่ ประธานไมอยู
8. เลขานุการ ทําหนาทีจ่ ดั ระเบียบวาระการประชุม อํานวยความสะดวกในการประชุม และเปนผูบ นั ทึกรายงาน
การประชุมดวย
9. ผูชวยเลขานุการ ทําหนาทีช่ ว ยเลขานุการ หรือปฏิบตั หิ นาทีแ่ ทนเมือ่ เลขานุการไมอยู
10. กรรมการ ทําหนาทีพ่ จิ ารณาเรือ่ งทีอ่ ยูใ นวาระการประชุม และตัง้ ขอเสนอเพือ่ ใหทป่ี ระชุมพิจารณา
11. คณะอนุกรรมการ คือ คณะบุคคลทีไ่ ดรบั แตงตัง้ ใหทําหนาทีเ่ ฉพาะเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ ทีแ่ คบลงไปกวาขอบเขต
หนาทีข่ องคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการนีจ้ ะมีตาแหน ํ งและหนาทีท่ านองเดี
ํ ยวกันกับในคณะกรรมการทุกประการ
12. เหรัญญิก ทําหนาทีร่ บั ผิดชอบในดานการเงิน
13. ประชาสัมพันธ ทําหนาทีเ่ ผยแพรขา วสารและสรางสรรคความสัมพันธทด่ี กี บั ทุกฝายทีเ่ กีย่ วของ
14. ประธานฝายหาทุน ทําหนาทีห่ าทุนใหแกองคการ เพือ่ ใชจา ยสําหรับกิจกรรมตางๆ
15. ประธานฝายวิชาการ ทําหนาทีจ่ ดั กิจกรรมทางวิชาการและงานดานวิชาการอืน่ ๆ
หมายเหตุ สําหรับการประชุมสาธารณะ คําวา ประธาน มีความหมาย 2 นัย
1. ก. ประธานในพิธเี ปดประชุม มักจะเปนผูมีอาวุโส มีตําแหนงประจําอยูใ นฐานะสูง
ข. ประธานในพิธปี ด ประชุม อาจเปนเจาของสถานทีท่ ใ่ี ชประชุม เชน ผูอํานวยการโรงเรียนก็ได
อนึง่ ประธานในพิธเี ปดประชุม และพิธปี ด ประชุมนีอ้ าจเปนคนๆ เดียวกันก็ได ทัง้ นีข้ น้ึ อยูใ นดุลพินจิ ของผูจ ดั ประชุม
2. ประธาน ไดแก บุคคลทีผ่ จู ดั ประชุมกําหนดตัวขึน้ ทําหนาทีค่ วบคุมการประชุมเปนชวงๆ ไปตามทีก่ าหนดไว ํ ใน
ลําดับของการประชุม
3. พิธกี ร การประชุมสาธารณะจําเปนตองมีพธิ กี รอีกคนหนึง่ ทําหนาทีด่ แู ลความเรียบรอยของทีป่ ระชุมทัง้ หมด
คอยชีแ้ จงใหความสะดวกแกผเู ขาประชุม เชือ้ เชิญคณะผูอ ภิปราย และผูบ รรยายใหเริม่ รายการเมือ่ ถึงกําหนดเวลา เปนตน
BOBBYtutor Thai Note

ศัพทที่ใชเรียกเรื่องที่ประชุม
1. ระเบียบวาระ หมายถึง เรือ่ งทีป่ ระชุมซึง่ เลขานุการโดยความเห็นชอบของประธานเปนผูจ ดั ไวเปนเรือ่ งๆ เรียกวา
"วาระ" วาระที่ 1 ของการประชุม คือ การรับรองรายงานการประชุมครัง้ กอน
2. กําหนดการประชุม ใชกบั การประชุมทีม่ เี รือ่ งสําคัญพิจารณาเพียงเรือ่ งเดียว เชน การประชุมปฏิบตั กิ ารหรือ
การสัมมนา เปนตน
ศัพทที่ใชเรียกวิธีการสื่อสารในการประชุม
1. เสนอ คือ การแจงความคิดเห็นเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ ใหทป่ี ระชุมพิจารณา
2. ขอเสนอ คือ เรือ่ งทีจ่ ะนําเสนอตอทีป่ ระชุม
3. สนับสนุน คือ การที่ผูเขาประชุมมีความคิดเห็นเดียวกับขอเสนอ
4. คัดคาน คือ การทีผ่ เู ขาประชุมแสดงความไมเห็นดวยกับขอเสนอนัน้
5. อภิปราย คือ การแสดงความคิดเห็นของผูส นับสนุนและคัดคานขอเสนอ
6. ผาน คือ การทีป่ ระชุมยอมรับขอเสนอ
7. ตก คือ การทีป่ ระชุมไมยอมรับขอเสนอ
8. มติ คือ ขอตัดสินใจของทีป่ ระชุมเพือ่ ใหนาไปปฏิ
ํ บตั ิ
8.1 มติโดยเอกฉันท คือ ขอตัดสินใจของผูเ ขาประชุมทีเ่ ห็นพองตองกันทุกคน
8.2 มติโดยเสียงขางมาก คือ ขอตัดสินใจของผูเขาประชุมที่มีผูเขาประชุมสวนนอยไมเห็นดวย

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. ถาทานจะตองเขียนจดหมายถึงหนวยงานหนึง่ เพือ่ ขอใชสถานทีป่ ระชุม ขอใดเหมาะสมทีส่ ดุ
1) จึงเรียนมาเพือ่ โปรดทราบ และหวังในความกรุณา
2) จึงเรียนมาเพือ่ โปรดอนุมตั ิ ขอขอบพระคุณลวงหนา
3) จึงเรียนมาเพือ่ พิจารณาชวยเหลือ และขอขอบพระคุณมา ณ ทีน่ ้ี
4) จึงเรียนมาเพือ่ โปรดพิจารณาใหความอนุเคราะห จักเปนพระคุณยิง่
2. คําในขอใดจะใชแทนคําทีข่ ดี เสนใตไดอยางถูกตองตามลําดับ
"การประชุมวันนี้ มีเรือ่ งทีจ่ ะประชุมมาก ผูน ําการประชุมอาจตองขอการตัดสินใจของทีป่ ระชุม วาจะใหบรรจุ
เรือ่ งทัง้ หมดในคราวนีห้ รือไม และอาจตองยอมใหแสดงความคิดเห็นกันกอนก็เปนได"
1) ญัตติ หัวหนา ความคิดเห็น อภิปราย 2) ญัตติ ประธาน มติ ถกเถียง
3) ระเบียบวาระ หัวหนา ความคิดเห็น ถกเถียง 4) ระเบียบวาระ ประธาน มติ อภิปราย
BOBBYtutor Thai Note

3. ขอความในขอใดทีป่ ระธานการประชุมกลาวไดเหมาะสมเมือ่ ไดเสนอความเห็นของตนแลว


1) เรือ่ งนีผ้ มทราบดีพอสมควร ควรหาขอยุตไิ ดงา ย
2) เทาทีผ่ มเสนอมาทานคงตองพิจารณากันเอง
3) เรื่องที่ผมเสนอ ทานจะเชือ่ หรือไมกแ็ ลวแต
4) ผมก็ไมเชี่ยวชาญเรื่องนี้หรอก ก็ไดแตลองเสนอมาใหฟง กัน
4. "ทีป่ ระชุมมีมติใหประธานชมรมภาษาไทยนําขอเสนอแนะทีส่ รุปไดเสนอตอผูอ านวยการต
ํ อไป "ทีป่ ระชุม" หมายถึงใคร
1) ชมรมภาษาไทย 2) กรรมการและสมาชิกชมรม
3) ผูเขาประชุมทั้งหมด 4) ผูจัดการประชุมและผูเขาประชุมทั้งหมด
5. เมื่อสมาชิกตองการเสนอความเห็นในที่ประชุมเพื่อคัดคานขอเสนอของรัฐมนตรี เขาตองพูดขึ้นตนตามขอใด
1) ทานรัฐมนตรีทเ่ี คารพ 2) ทานประธานทีเ่ คารพ
3) ทานผูม เี กียรติทเ่ี คารพ 4) ทานสมาชิกทีเ่ คารพ
6. ในตราสารจัดตัง้ บริษทั กลาววา การประชุมใหญจะดําเนินการไดกต็ อ เมือ่ กรรมการบริษทั จํานวนไมนอ ยกวา 10 คน
เขาประชุม ในการประชุมครัง้ หนึง่ กรรมการจําเปนตองออกจากทีป่ ระชุม จึงเหลือผูเ ขาประชุม 9 คน การประชุม
ครัง้ นัน้ ตองยุตเิ พราะเหตุใด
1) ไมเปนไปตามกําหนดการประชุม 2) ผิดระเบียบวาระการประชุม
3) ไมครบองคประชุม 4) ยังลงมติไมได
7. การประชุมสภากรุงเทพมหานครเมือ่ สัปดาหทแ่ี ลว คณะผูบ ริหารไดเสนอรางญัตติงบประมาณรายจายประจําปตอ
สภาทีป่ ระชุมไดอภิปรายกันอยางกวางขวางและในทีส่ ดุ มีมติใหรา งญัตตินต้ี กไป ผลการประชุมแสดงวาทีป่ ระชุม
ใหปฏิบตั ติ ามขอใด
1) ไมพจิ ารณาญัตตินอ้ี กี แมจะเสนอเขามาใหม 2) ใหคณะผูบ ริหารถอนญัตตินไ้ี ปปรับปรุงมาใหม
3) เลือ่ นญัตตินไ้ี ปพิจารณาใหม 4) ไมรบั ญัตติน้ี
8. ขอใดไมใชหนาทีข่ องพิธกี รในการบรรยายตอหนาประชุม
1) ดูแลใหการบรรยายดําเนินไปอยางเรียบรอย
2) บรรยายและใหรายละเอียดเกีย่ วกับเรือ่ งทีจ่ ะบรรยาย
3) โนมนาวใหผเู ขาประชุมเกิดความรูส กึ อยากทราบเกีย่ วกับเรือ่ งทีจ่ ะบรรยาย
4) ใหรายละเอียดของผูบ รรยายและเชือ้ เชิญผูบ รรยายใหเริม่ รายการเมือ่ ถึงเวลา
9. ประโยคใดใชภาษาไดตรงตามระเบียบแบบแผนของการประชุมมากทีส่ ดุ
1) ขณะนีท้ กุ คนมาพรอมหนาพรอมตาแลว ดิฉันขอเปดประชุมเลยนะคะ
2) บัดนีค้ ณะกรรมการไดมาประชุมครบองคประชุมแลว ดิฉันขอเปดประชุม
3) บัดนีม้ วลสมาชิกไดพรอมกัน ณ ทีป่ ระชุมนีแ้ ลว ดิฉันใครขอเปดการประชุม
4) บัดนีไ้ ดเวลาอันเปนมงคลและปวงสมาชิกมาครบถวนแลว ดิฉันใครขอเปดการประชุม
10. คําในขอใดจะแทนทีข่ อ ความทีพ่ มิ พตวั หนาไดอยางมีลําดับถูกตอง
"ในการประชุมเมือ่ วานนี้ ไดมกี ารแสดงความคิดเห็นกันอยางกวางขวาง ทัง้ ฝายทีเ่ ห็นชอบกับขอเสนอและฝายที่โตแยง"
1) ถกเถียง เห็นดวย คัดคาน 2) ถกเถียง สนับสนุน คัดคาน
3) อภิปราย เห็นดวย คัดคาน 4) อภิปราย สนับสนุน คัดคาน
BOBBYtutor Thai Note

11. กรณีใดแสดงการใชภาษาอยางเหมาะสมกับหนาทีแ่ ละบทบาทของประธานในทีป่ ระชุม


1) ในการประชุมอยางเปนทางการขณะสมาชิกยังมาไมครบ
"เอาละครับ ถึงเวลาแลว ผมไมรอละ ขอเปดประชุมเลย"
2) เมือ่ เห็นราตรีนง่ิ เงียบไมแสดงความคิดเห็น
"คุณราตรีวา ไงครับ นัง่ เงียบเลย ชวยใหขอคิดเราหนอย"
3) เมือ่ ไดใหโอกาสแสดงความคิดเห็นกันพอสมควรแลว
"เอาละนะครับ ทุกทานก็พอจะเห็นแนวทางแลว เพราะฉะนัน้ ผมขอมติ ใครเห็นดวยยกมือครับ... ใครไมเห็นดวย
ยกมือครับ..."
4) เมื่อสมาชิก 2 คนโตแยงกันยืดเยือ้ ประธานจําเปนตองตัดบท
"เอาละๆ ผมวาพอแลว ทุกทานตางก็หวังดีตอ หนวยงานของเราทัง้ นัน้ ตางคนตางมีเหตุผล แตมนั ก็ตอ งมี
คนหนึง่ ผิด คนหนึง่ ถูก เอาเปนวาอยาใสใจเลย ตอนนีเ้ ลิกประชุมดีกวา"
12. เมือ่ มีความเห็นขัดแยงกับทีป่ ระชุมและทานตองการคัดคาน ทานควรหลีกเลีย่ งการคัดคานลักษณะใด
1) โดยการอางหลักฐาน 2) อางความจําเปนเกีย่ วกับเวลา
3) อางเหตุผลสวนบุคคล 4) อางบุคคลสวนใหญ
13. การจัดการประชุมเพือ่ คนหาความจริง วางนโยบายและเสนอแนะแนวทางปฏิบตั เิ ปนการประชุมแบบใด
1) การประชุมชีแ้ จง 2) การประชุมปรึกษา
3) การประชุมสัมมนา 4) การประชุมปฏิบตั กิ าร
14. ขอใดใชภาษาไดเหมาะสมทีส่ ดุ ในการประชุม
1) ดิฉนั ขอทราบขอเท็จจริงเกีย่ วกับเรือ่ งนีเ้ พิม่ เติมอีกเล็กนอย
2) ดิฉนั อยากทราบขอเท็จจริงเกีย่ วกับเรือ่ งนีเ้ พิม่ เติมอีกเล็กนอย
3) ดิฉนั ประสงคจะทราบขอเท็จจริงเกีย่ วกับเรือ่ งนีเ้ พิม่ เติมอีกเล็กนอย
4) ดิฉนั ตองการทราบขอเท็จจริงเกีย่ วกับเรือ่ งนีเ้ พิม่ เติมอีกเล็กนอย
15. ขณะทีม่ ผี อู ภิปรายขัดแยงกันอยูใ นทีป่ ระชุม ทานตองการแสดงความคิดเห็นเพือ่ ชวยบรรยากาศในทีป่ ระชุม
ทานจะพูดวาอยางไร
1) ขอโอกาสใหไดเสริมความคิดของทานทัง้ สองบาง
2) ขอใหไดแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับเรือ่ งทีท่ า นกําลังอภิปรายแยงกันอยู
3) ขอใหประธานโปรดเลือ่ นวาระการประชุมไป
4) ขอใหประธานโปรดลงความเห็นชี้ขาด

เฉลย
1. 4) 2. 4) 3. 4) 4. 3) 5. 2) 6. 3) 7. 4) 8. 2) 9. 2) 10. 4)
11. 3) 12. 3) 13. 2) 14. 1) 15. 1)
BOBBYtutor Thai Note

โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค
และโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
1. ผูแ ตง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั
2. รูปแบบ (ลักษณะคําประพันธ) โคลงสีส่ ภุ าพ
3. ความหมายของชื่อเรื่อง
สุภาษิต แปลวา "คําพูดทีถ่ อื เปนคติ" ทัง้ นีเ้ พราะสุภาษิตเปนความคิดทีด่ งี าม ซึง่ ผานการไตรตรองของปราชญมาแลว
จึงปรากฏเปนถอยคําสัน้ ๆ จํางายและมีความไพเราะจับใจ ผูฟ ง สุภาษิตของไทยทีเ่ ปนทีร่ จู กั กันแพรหลาย ไดแก สุภาษิต
พระรวง สุภาษิตโลกนิตคิ ําโคลง พุทธศาสนสุภาษิต
"โสฬสไตรยางค" แยกเปน โสฬส แปลวา สิบหก, ไตรยางค แปลวา องคสาม สุภาษิตนีจ้ ําแนกเนือ้ ความเปน
16 หมวด หมวดละ 3 ขอ
"นฤทุมนาการ" แยกเปน นฤ แปลวา ไม, ทุมน แปลวา เสียใจ, อาการ แปลวา สภาพ กิรยิ า ทีผ่ ปู ระพฤติยงั
ไมเคยเสียใจ มีความหมายวา กิจ 10 ประการ
4. การอธิบายสุภาษิตเกีย่ วกับนามธรรม มีวธิ อี ธิบายได 2 วิธีคือ
1. อธิบายโดยการยกธรรมขึน้ แสดงโดยตรง
2. อธิบายโดยการเปรียบเทียบ
5. ฉันทลักษณของโคลงสีส่ ภุ าพ
ผังภูมิ
0 0 0 0 ้ 0  0 0 (00) บาท 1
0 0 0 0 0 0 0 บาท 2
0 0 0 0 0 0 0 (00) บาท 3
0 0 0 0 0 0 0 0 0 บาท 4
ตัวอยาง
เสียงลือเสียงเลาอาง อันใด พีเ่ อย
เสียงยอมยอยศใคร ทัว่ หลา
สองเขือพีห่ ลับใหล ลืมตืน่ ฤๅพี่
สองพีค่ ดิ เองอา อยาไดถามเผือ
(ลิลติ พระลอ)
BOBBYtutor Thai Note

โคลงสี่สุภาพ บังคับเรือ่ ง คณะ สัมผัส เอก โท


คณะ = จํานวนคําในวรรค บาท บท
1 บทมี 4 บาท 30 คํา บาทที่ 1-3 มีบาทละ 7 คํา วรรคหนา 5 วรรคหลัง 2
บาทที่ 4 มี 9 คํา วรรคหนา 5 วรรคหลัง 4
สัมผัส = 1 บท มี 3 แหง
เอกโท = มีคาเอก ํ 7 คําโท 4
คําเอก = คํทา ม่ี รี ปู วรรณยุกตเอก กํากับ คําตาย ใชแทนเอกได
คําโท = คําทีม่ รี ปู วรรณยุกตโท กํากับ
คําเอกโทษ = การใชเอกแทนโท
คําโทโทษ = การใชโทแทนเอก
"เชิญดูตูคา เหลน โคลงโลด โผนเทอญ
ยกคอยอประโยชน เคาเหยีย้ ง
(ลิลติ สามกรุง)
คําเอกโทษ ไดแก คา คอ เคา (ปกติคอื คํา ขา ขอ เขา)
คําโทโทษ ไดแก เหลน เหยีย้ ง (ปกติคอื คํา เลน เยีย่ ง)
6. สาระสําคัญของเรื่อง
โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค กลาวถึงสิง่ ทีค่ วรปฏิบตั แิ ละสิง่ ทีค่ วรละเวน 16 หมวด หมวดละ 3 ขอ ดังตอไปนี้
1. สามสิง่ ควรรัก คือ ความกลา ความสุภาพ ความรักใคร
2. สามสิง่ ควรชม คือ อํานาจปญญา เกียรติยศ มารยาทดี
3. สามสิง่ ควรเกลียด คือ ความดุราย ความหยิง่ กําเริบ ความอกตัญู
4. สามสิง่ ควรรังเกียจติเตียน คือ ชัว่ เลวทราม มารยา ริษยา
5. สามสิง่ ควรเคารพ คือ ศาสนา ยุตธิ รรม ความประพฤติเปนประโยชนทว่ั ไปไมเฉพาะตัวเอง
6. สามสิง่ ควรยินดี คือ งามตรงตรง ไทยแกตน
7. สามสิง่ ควรปรารถนา คือ ความสุขสบาย มิตรสหายทีด่ ี ใจสบายปรุโปรง
8. สามสิ่งควรออนวอนขอ คือ ความเชื่อถือ ความสงบ ใจบริสทุ ธิ์
9. สามสิง่ ควรนับถือ คือ ปญญา ฉลาด มั่นคง
10. สามสิง่ ควรจะชอบ คือ ใจอารีสจุ ริต ใจดี ความสนุกเบิกบานพรอมเพรียง
11. สามสิง่ ควรสงสัย คือ ยอ หนาเนือ้ ใจเสือ กลับกลอก
12. สามสิง่ ควรละ คือ เกียจคราน วาจาฟน เฟอน หยอกหยามแลแสลงฤๅขัดคอ
13. สามสิง่ ควรกระทําใหมี คือ หนังสือดี เพื่อนดี ใจดี
14. สามสิง่ ควรจะหวงแหนฤๅตอสูเ พือ่ รักษา คือ ชือ่ เสียงยศศักดิ์ บานเมืองของตน มิตรสหาย
15. สามสิง่ ควรครองระวัง คือ กิรยิ าทีเ่ ปนในใจ มักงาย วาจา
16. สามสิง่ ควรเตรียมรับ คือ อนิจจัง ชรา มรณะ
BOBBYtutor Thai Note

โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ กลาวถึงกิจ 10 ประการ ทีผ่ ปู ระพฤติยงั ไมเคยเสียใจเพราะเปนความประพฤติดใี น


ไตรทวาร (กาย วาจา ใจ) อันจะยังใหเกิดผลดีแกผปู ระพฤติเองและตอสังคมสวนรวม ดังนี้
1. เพราะทําความดีทว่ั ไป
2. เพราะไมไดพดู รายตอใครเลย
3. เพราะถามฟงความกอนตัดสิน
4. เพราะคิดเสียกอนจึงพูด
5. เพราะอดพูดในเวลาโกรธ
6. เพราะไดกรุณาตอคนทีถ่ งึ อับจน
7. เพราะขอโทษบรรดาที่ไดผิด
8. เพราะความอดกลัน้ ตอผูอ น่ื
9. เพราะไมฟง คนพูดเพศนิทาน (พูดเท็จ, พูดเพอเจอ)
10. เพราะไมหลงเชือ่ ขาวรายทีค่ นลือกัน
7. คําศัพททค่ี วรทราบ
มาติกา = แมบท (อานวา มาด-ติ-กา)
ธัญลักษณ = ลักษณะดี
โสด = อิสระ
หึงสจติ = ริษยา
เสีย่ ม = เสงีย่ ม (เปนคําแผลง)
มารษา = คําเท็จ, คําไมจริง (อานวา มาน-สา)
โทษาคติ = คติอนั เนือ่ งมาจากโทสะ ความโกรธ
พรอง = พูด
ปกไว = ปกปดไว
ไขษย = กษัย, สิน้ ไป, หมดไป
เฉียบ = จัด, ยิง่ ขึน้
เพศนิทาน = เรือ่ งเกินจริง
ปายโทษ = ใหรา ย
8. ขอคิดทีไ่ ดรบั
สุภาษิตทัง้ ปวงยอมมีเนือ้ หาสาระทีใ่ หคติในการดํารงชีวติ ชีใ้ หเห็นสิง่ ควรปฏิบตั แิ ละสิง่ ควรเวน ผูป ระสงค
ความเจริญในชีวิต ควรอานดวยความพินจิ พิจารณา แลวเลือกนําสุภาษิตนัน้ ๆ ไปปฏิบตั ใิ หเกิดประโยชนแกชวี ติ ของตน
และสังคมสวนรวมเทาทีจ่ ะสามารถทําได
BOBBYtutor Thai Note

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. แมวา ชูชกจะมีรปู รางทีอ่ ปั ลักษณเขาลักษณะ "บุรษุ โทษสิบแปดประการ" แตชชู กก็ยงั คงมีสว นดีอนั เปนคุณสมบัติ
อยูบ า ง อะไรคือคุณสมบัตสิ ําคัญของชูชก
1) ฉลาดยิง่ สิง่ แยบคาย คาดรู
2) อํานาจศักดิศ์ ฤงศาร มัง่ คัง่
3) คําพูดพางลิขติ เขียนราง เรียงแฮ
4) ความรักประจักษใจ จริงแน นอนฤๅ
2. การทีพ่ ระเจาวิกรมาทิตยหลงแกปญ  หาใหเวตาลแสดงวาพระองคไมไดปฏิบตั ติ ามหลักภาชิตนฤทุมนาการขอใด
1) ยินคดีมเี รือ่ งนอย ใหญไฉน ก็ดี
ยังบลงเห็นไป เด็ดดวน
2) ขันตีมีมากหมั้น สันดาน
ใครเกะกะระราน อดกลัน้
3) สามารถอาจหามงด วาจา ตนเฮย
ปางเมือ่ ยังโกรธา ขุน แคน
4) ไปฟง คนพูดฟุง ฟน เฝอ
เท็จและจริงจานเจือ คละเคลา

เฉลย
1. 1) 2. 2)
BOBBYtutor Thai Note

มหาเวสสันดรชาดก กุมารบรรพ (กัณฑที่ 8)


1. ผูแ ตง เจาพระยาพระคลัง (หน)
2. ลักษณะคําประพันธ (รูปแบบ) แตงเปนรายยาว มีคาถาบาลีแทรก สันนิษฐานวา คําประพันธประเภทราย
เปนคําประพันธชนิดแรกของไทย บทหนึง่ จะมีกว่ี รรคก็ได วรรคหนึง่ จะมีจานวนคํ
ํ าตัง้ แต 6 คําขึน้ ไป มีสมั ผัสระหวางวรรค
คําสุดทายของวรรคหนาสงสัมผัสไปยังคําหนึง่ คําใดของวรรคตอไป
3. จุดประสงคในการแตง ใชสําหรับเทศน มีการยกศัพทบาลีขน้ึ นํากอน แลวแตงรายตาม มีคาถาบาลีสลับแทรก
เปนระยะ
4. ความหมายของชาดก
"ชาดก" มาจากคําวา "ชาตก" แปลวา การเกิด หมายถึง เรือ่ งราวของพระโพธิสตั ว ซึง่ บําเพ็ญบารมีในพระชาติ
ตางๆ เพือ่ จะตรัสรูเ ปนพระพุทธเจา อาจจะเปน เทวดา มนุษย สัตว ก็ไดเรือ่ งราวของพระพุทธเจาตอนทีเ่ สวยพระชาติ
เปนพระโพธิสตั วนน้ั มีหลายชาติ แตพระชาติทส่ี าคั
ํ ญมี 10 ชาติ เรียกวา "ทศชาติชาดก" ไดแก
1. พระเตมีย (ใบ) ทรงบําเพ็ญเนกขัมมบารมี คือ การออกบวช
2. พระมหาชนก ทรงบําเพ็ญวิรยิ บารมี คือ มีความเพียร
3. พระสุวรรณสาม ทรงบําเพ็ญเมตตาบารมี คือ ความมีเมตตา
4. พระเนมิราช ทรงบําเพ็ญอธิษฐานบารมี คือ มีความตัง้ ใจมัน่
5. พระมโหสถ ทรงบําเพ็ญปญญาบารมี คือ ความมีปญ  ญา
6. พระภูรทิ ตั ทรงบําเพ็ญศีลบารมี คือ มีศีล
7. พระจันทกุมาร ทรงบําเพ็ญ ขันติบารมี คือ มีความอดทน
8. พระนารท ทรงบําเพ็ญอุเบกขบารมี คือ รูจ กั ทําใจวางเฉย
9. พระวิทรู ทรงบําเพ็ญสัจจบารมี คือ มีสจั จะ
10. พระเวสสันดร ทรงบําเพ็ญทานบารมี คือ การให, เสียสละ
รายยาวมหาเวสสันดรชาดกเปนชาดกเรือ่ งใหญทส่ี ดุ ในชาตินพ้ี ระโพธิสตั วไดบาเพ็
ํ ญบารมีอนั ยิง่ ใหญครบถวน 10
ประการ มีทานบารมีเปนสูงสุด เรียกการเทศนเรือ่ งมหาเวสสันดรวา "เทศนมหาชาติ"
5. วรรณกรรมทีเ่ กีย่ วของกับเรือ่ งมหาเวสสันดรชาดก มี 3 เลม คือ
1. มหาชาติคาหลวง
ํ เมือ่ พ.ศ. 2025 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถไดโปรดใหประชุมนักปราชญและกวีแตงดวย
คําประพันธหลายชนิด คือ โคลง ฉันท กาพย ราย ใชสําหรับสวดใหพทุ ธศาสนิกชนฟง
2. กาพยมหาชาติ เมือ่ พ.ศ. 2170 สมเด็จพระเจาทรงธรรมไดโปรดใหนกั ปราชญราชบัณฑิตแตงมหาเวสสันดร-
ชาดกเปนรายยาว ใชสําหรับเทศน แตไมเปนทีน่ ยิ ม เพราะไมสามารถเทศนจบในวันเดียว
3. มหาชาติกลอนเทศน หรือรายยาวมหาเวสสันดรชาดก เปนมหาชาติฉบับแปลสําหรับเทศนใหจบภายในวันเดียว
แตงดวยรายยาวมีมากมายหลายสํานวน เมือ่ กระทรวงศึกษาธิการจะนํามาใชเปนแบบเรียน ไดคดั เลือกสํานวนทีด่ รี วมกัน
13 กัณฑ เรียกวา รายยาวมหาเวสสันดรชาดก ฉบับกระทรวงศึกษา ซึง่ ไดรบั ยกยองจากวรรณคดีสโมสรใน รัชกาลที่ 6
ใหเปนยอดวรรณคดีประเภทกลอนกาพย
BOBBYtutor Thai Note

6. การเทศนคาถาพัน คือการเทศนเรื่องมหาเวสสันดรชาดก ซึง่ มีความยาว 1,000 พระคาถา (คาถา = ฉันท


บทหนึง่ มีสบ่ี าท ฉันททใ่ี ชในการแตงมหาเวสสันดรชาดกเรียกวา ปฐยาวัตฉันท) มีทง้ั หมด 13 กัณฑ ดังนี้
กัณฑ จํานวนคาถา สํานวนทีไ่ ดรบั เลือก เพลงประจํากัณฑ
ทศพร 19 สมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส สาธุการ
หิมพานต 134 สมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส ตวงพระธาตุ
ทานกัณฑ 209 สํานักวัดถนน พญาโศก
วนปเวสน 57 รัชกาลที่ 4 พญาเดิน
ชูชก 79 สํานักวัดสังขกระจาย เซนเหลา
จุลพน 35 รัชกาลที่ 4 คุกพาทย
มหาพน 80 พระเทพโมฬี (กลิน่ ) เชิดกลอง
กุมาร 101 เจาพระยาพระคลัง (หน) โอดเชิดฉิ่ง
มัทรี 90 เจาพระยาพระคลัง (หน) ทยอยโอด
สักกบรรพ 43 รัชกาลที่ 4 กลม
มหาราช 69 รัชกาลที่ 4 กราวนอก
ฉกษัตริย 36 สมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส ตระนอน
นครภัณฑ 48 สมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส กลองโยน
รวม 1,000
7. ประเพณีการเทศนมหาชาติ
ประเพณีการเทศนมหาชาติมมี าตัง้ แตสมัยอยุธยา ตามปกตินยิ มจัดเทศนมหาชาติระหวางเดือน 12 (พฤศจิกายน)
กับเดือนอาย (ธันวาคม) บริเวณทีจ่ ดั เทศนมหาชาติ มีการประดับดวยตนกลวย ตนออย ใหคลายนิโครธาราม (นิโครธ
= ตนไทร) ซึง่ เปนสถานทีท่ พ่ี ระพุทธเจาตรัสเทศนาเรือ่ งมหาเวสสันดรชาดก
ความนิยมในการฟงเทศนมหาชาติ หรือเทศนคาพัน คือ ตองฟงใหจบใน 1 วัน เพือ่ จะไดมหานิสงสไดพบศาสนา
พระศรีอาริยเมตไตรยในทีส่ ดุ
8. เนือ้ เรือ่ งยอ
ชูชกเดินทางไปถึงอาศรมพระเวสสันดร ตามทางทีอ่ จั จุตฤๅษีชใ้ี หในเวลาโพลเพลใกลคา่ํ ชูชกยังไมเขาไปทูลขอสอง
กุมารทันทีเพราะพระนางมัทรีกลับสูอ าศรมแลว เกรงวาพระนางมัทรีจะทรงขัดขวางการทําทานของพระเวสสันดร ชูชก
จึงนอนคางคืนอยูท ซ่ี อกผาใกลพระอาศรม คืนนัน้ พระนางมัทรีเสวยบุรพนิมติ วา มีชายอวนใหญผิวดํานุง ผาและคาดพุง
ดวยผายอมฝาด ทัดดอกไมแดงทัง้ สองหู มือขวาถือดาบพังประตูเขามา ฉวยมุน มวยผมพระนางฉุดกระชากใหนอนหงาย
ฟนแขนสองขางของพระมัทรี ควักดวงตาดวงใจไป พระนางมัทรีขอใหพระเวสสันดรทํานายความฝน พระเวสสันดรทรง
ทํานายเลีย่ งวาพระสุบนิ นีเ้ กิดจากธาตุทง้ั สีว่ ปิ ริตมิควรกังวล รุง เชาพระนางมัทรีทรงฝากฝงพระโอรสพระธิดาไวกบั
พระเวสสันดร ชูชกขึ้นมาเฝาพระเวสสันดร ทูลขอพระกัณหาชาลีซง่ึ พระเวสสันดรก็ทรงยกให สองกุมารเกรงภัยจากชูชก
จึงหนีลงไปซอนตัวในสระบัว พระเวสสันดรเสด็จไปตามสองกุมาร ไดตรัสเรียกสองกุมารขึน้ มาจากสระเปนอุปมาโวหาร
โดยเปรียบสองกุมารเปนดุจเรือสําเภาทองทีพ่ ระองคจะทรงใชเสด็จไปสูพ ระโพธิญาณ สองกุมารเกิดขัตติยมานะขึน้ มาจากสระ
พระเวสสันดรก็ทรงกําหนดคาไถสองกุมาร เมือ่ พระเวสสันดรพระราชทานสองกุมารแกชชู กแลว ชูชกเฆี่ยนตีสองกุมาร
เฉพาะพระพักตร ฉุดกระชากลากไปโดยไมปรานี สองกุมารไดพรํ่ารําพันจนพระเวสสันดรเกิดความเศราโทมนัสและ
จะฆาชูชกเสีย แตกท็ รงใชปญ  ญาบารมีและอุเบกขาบารมี ตรัสสอนพระองคเองวาพระราชทานสองกุมารใหชชู กไปแลว
ไมควรยุง เกีย่ วดวย ในทีส่ ดุ ชูชกก็พาสองกุมารเดินทางออกพนประตูปา ในเวลาเย็นยําคํ
่ ่า
BOBBYtutor Thai Note

9. ขอคิดทีไ่ ดจากเรือ่ ง
9.1 เราควรเสียสละประโยชนสว นตนเพือ่ ประโยชนยง่ิ ใหญของสวนรวมได ถึงแมจะลําบากสักเพียงใดก็ตาม
9.2 การรักษาวาจาสัตย ความกตัญูกตเวที ความมีขนั ติและอุเบกขา เปนคุณธรรมทีค่ วรประพฤติปฏิบตั ิ
9.3 คานิยมทีป่ รากฏในเรือ่ งเวสสันดรชาดกเปน คานิยมเชิงโลกุตระ คือ คานิยมทีเ่ หนือโลกเหนือสามัญชน
เปนคานิยมของอริยบุคคลทีป่ รารถนาในพุทธภูมิ (อธิษฐานขอเปนพระพุทธเจา) เพือ่ ชวยสัตวโลกใหพน จาก วัฏสงสาร
คือ การเวียนวายตายเกิด
10. ความรูป ระกอบเรือ่ ง
10.1 นิบาตชาดก คือ ชาดกทีม่ ปี รากฏในคัมภีรพ ระพุทธศาสนา ถือเปนพระพุทธวัจนะ มีทง้ั หมด 550 เรื่อง
10.2 ปญญาสชาดก คือ ชาดกนอกนิบาต หรือ พาหิรกชาดก เปนชาดกนอกคัมภีรพ ระพุทธศาสนา พระภิกษุ
ชาวเชียงใหมเปนผูแ ตงขึน้ ราว พ.ศ. 2000-2200
10.3 มหานิบาตชาดก คือ ชาดกทีม่ พี ระคาถามากกวา 80 พระคาถา
10.4 จุณณียบท คือ บทนําเรือ่ งในแตละกัณฑ
10.5 แหลสาเภาทอง
ํ คือ บทแหลตอนพระเวสสันดรทรงเรียกสองกุมารขึน้ จากสระ การแตงกัณฑเทศนใน
กัณฑกมุ าร จะตกแตงเปนรูปเรือสําเภา
10.6 ลักษณะฝน 4 ลักษณะ คือ
1. บุรพนิมติ ฝนบอกลางลวงหนา
2. จิตนิวรณ ฝนเพราะใจเปนหวงเปนกังวลถึง
3. เทพสังหรณ ฝนดวยเทวดาบันดาลใหฝน
4. ธาตุโขภ ฝนเพราะธาตุในกายวิปริต
10.7 สมดึงสบารมี คือ บารมี 30 ประการ มีทศบารมี 10 ประการ อุปบารมี 10 ประการ และปรมัตถบารมี
(บารมีสงู สุด) 10 ประการ
10.8 สัตตสดกมหาทาน คือ การบริจาคทานหมวดละ 700 สิง่ ไดแก ชาง มา รถ นางสนม โคนม ทาสหญิง
ทาสชาย อยางละ 700
BOBBYtutor Thai Note

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. การแสดงกิรยิ า "จําจะขูเ สียใหราบปราบเสียแตเดิมที" ของชูชกเมือ่ พบชาลีกณ ั หาครัง้ แรกเปนกิรยิ าชนิดใด
1) ตัดไมขมนาม 2) ตีปลาหนาไซ 3) เชือดไกใหลงิ ดู 4) ตัดไฟแตตน ลม
2. การบริจาคบุตรเปนทานในเรือ่ งเวสสันดรชาดก เปนการกระทําทีต่ รงกับการกระทําในขอใด
1) การทําดีตอ งใชเวลามาก 2) การทําดีตอ งอดทนมาก
3) การทําดีตอ งเสียสละมาก 4) การทําดีตอ งลงทุนมาก
3. หนังสือมหาชาติทเ่ี กาแกทส่ี ดุ คือเรือ่ งใด
1) มหาชาติกลอนเทศน 2) มหาชาติคาหลวง ํ 3) กาพยมหาชาติ 4) รายยาวมหาชาติ
อานขอความตอไปนีแ้ ลวตอบคําถามขอ 4-7
อันวาเฒาชราทิชาชาติ เมือ่ ไดรบั พระราชทานสองกุมารไดแลว เฒาใจแกลว ก็ฉดุ กระชากลากสองกุมารมา ผูกพัน
พระพีน่ อ งสองกระสันเขาใหมน่ั กับมือ ปลายเชือกขางหนึง่ นัน้ ถือตามตีตอ นสองบังอรมาตอหนาสมเด็จพระบิดา
ไมปรานี...
เมือ่ ชูชกพฤฒาจารยพาสองกุมารมาเต็มพัก ถึงทางตะกุกตะกักกอนศิลา เฒาชราเดินทะลุทะลาดเหยียบ
พลาดลมผลุง เครือเถาสะดุง หลุดออกจากขอพระกร สองบังอรก็วง่ิ มาสูส านั ํ กพระบิดา เฒาชราฉวยไดไมเรียว
ไมไลขบฟน ฉุดลากกระชากรันดวยโทโส เสมือนหนึง่ จะเชือดเนือ้ หนังกินเสียทัง้ เปนเห็นเวทนา...
4. เหตุผลขอใดสําคัญทีส่ ดุ ทีก่ วีแตงใหสองกุมารถูกทารุณจากชูชก
1) ใชเปนบทเทศนใหกนิ ใจผูฟ ง 2) กวีตอ งการแสดงอารมณนา เวทนา
3) เนนการเสียสละอันยากยิง่ ของพระเวสสันดร 4) แสดงบุคลิกภาพดานรายของชูชกใหปรากฏชัดเจน
5. คําวา "ทิชาชาติ" นอกจากจะใชพราหมณแลว ยังใชกบั อะไรไดอกี
1) นก 2) ลิง 3) เสือ 4) สุนขั จิง้ จอก
6. ถาเทียบเคียงสภาพการณปจ จุบนั การบริจาคทานของพระเวสสันดรจะใกลเคียงกับลักษณะใดทีส่ ดุ
1) คุณธรรมทีน่ กั ปกครองพึงมี 2) การชวยลดชองวางระหวางชนชัน้
3) การสังคมสงเคราะหแกผปู ระสบภัย 4) การเตรียมการเพือ่ ประโยชนแหงตนของนักการเมือง
7. ขอความที่ยกมานี้ ดีเดนในดานใด
1) ดําเนินเรื่องรวดเร็ว 2) ใชคาได
ํ กระชับรัดกุม
3) คําทีใ่ ชสอ่ื ภาพไดอารมณ 4) ใหภาพพจนเปรียบเทียบ
8. เหตุการณใดตอไปนี้ เกิดขึน้ กอนเหตุการณอน่ื ๆ ในเรื่อง "มหาเวสสันดรชาดก"
1) ฝนโบกขรพรรษตกทีก่ รุงกบิลพัสดุ
2) ฝนโบกขรพรรษตกทีบ่ รรณศาลา เขาวงกต
3) พระอินทรประทานพร 10 ประการ แกพระนางผุสดี
4) พระอินทรประทานพร 8 ประการ แกพระเวสสันดร
BOBBYtutor Thai Note

9. ขอใดแสดงใหเห็นความเชือ่ ตามคติทางพระพุทธศาสนา อันเปนแนวคิดรวบยอดของมหาเวสสันดรชาดรกัณฑกมุ าร


1) จึงเอาพระปญญาวินิจฉัยเขามาขมโศก วาบุตรวิโยคทัง้ นีบ้ งั เกิดเพราะมีความรัก จําจะเอาอุเบกขาเขามาประหาร
หักใหเสือ่ มหาย
2) หญิงชายผูใ ดเลยเกิดมาในหวงมหรรณพภพสงสาร ยังมิถงึ ซึง่ พระนิพพานตราบใดก็ยอ มตองทุกขโพยภัย ประหาร
ปานประหนึง่ วาตัวเราฉะนี้
3) ขาแตเทพเจาทัง้ หลายเอย อันศักดิส์ ทิ ธิส์ ถิตทีเ่ ครือหญาลดาวัลยอนั ทรงทิพยกรรณ ทิพยเนตร ไดโปรดเกศเกลา
กระหมอมฉันดวยชวยบอกพระมารดา
4) กรรมเอยกรรม ชะรอยวากรรมกัณหานอยนีไ้ ดกระทําไวแตชาติหลัง จึงไดเผอิญพระพอเจาชิงชังไมดหู นามา
เมินเฉย โอกรรมเอยเห็นจะสิน้ วาสนาของแกวกัณหานีเ้ สียจริงๆ
10. "พราหมณเอยจงมารับพระราชทานสองกุมารแตโดยดี เธอก็หลัง่ อุทกวารีลงในมือพราหมณ" พฤติกรรมที่
พระเวสสันดรกระทํานี้ มีแนวคิดเปนไปในทํานองเดียวกันกับพิธกี รรมใด
1) การกรวดนํ้า 2) การรดนําศพ ้
3) พระภิกษุประพรมนํ้าพุทธมนต 4) การหลัง่ นําในงานสมรส

11. ถาจะรับเปนเจาของกัณฑเทศนมหาชาติ กัณฑกมุ าร แตตอ งการเลีย่ งไมใชสาเภาทองจํ ํ าลองเปนเครือ่ งกัณฑเทศน
ควรจะใชสง่ิ ใดแทนจึงจะเหมาะทีส่ ดุ
1) ดอกบัว และใบบัว 2) กลวย ออย และผลไม
3) ตุก ตาเด็กหญิง เด็กชาย 4) ใบทองพันชัง่ และตุก ตาสัตวตา งๆ

เฉลย
1. 1) 2. 3) 3. 2) 4. 3) 5. 1) 6. 3) 7. 3) 8. 1) 9. 4) 10. 4)
11. 2)
BOBBYtutor Thai Note

ลิลต
ิ ตะเลงพาย
1. ผูป ระพันธ สมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระปรมานุชติ ชิโนรส
พระประวัติ สมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระปรมานุชติ ชิโนรส มีพระนามเดิมวา พระองคเจาวาสุกรี เปนพระเจา
ลูกยาเธอในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก เมื่อพระชนมายุ ประมาณ 12 พรรษา ทรงผนวชเปนสามเณร
และทรงไดรบั อุปสมบทเปนพระภิกษุ ประทับทีต่ ําหนักวาสุกรี วัดพระเชตุพนฯ
ผลงาน พระนิพนธตา งๆ มีทง้ั ตําราและวรรณคดี ไดแก พระราชพงศาวดารฯ ตํารับฉันท มาตราพฤติ
และวรรณพฤติ สรรพสิทธิค์ าฉั ํ นท กฤษณาสอนนองคําฉันท ลิลติ ตะเลงพาย มหาชาติ 11 กัณฑ (เวนกัณฑมหาพน
และมัทรี) พระปฐมสมโพธิกถา และยังมีหนังสือเบ็ดเตล็ดตางๆ เชน โคลงฤๅษีดดั ตน โคลงกลบท และเพลงยาวเจาพระ
ป พ.ศ. 2533 เปนป 200 ป กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
2. จุดประสงคในการแตง เพือ่ งานพระราชพิธฉี ลองตึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
3. ลักษณะคําประพันธ (รูปแบบ) เปนลิลติ สุภาพ ซึง่ ประกอบดวย รายสุภาพและโคลงสุภาพ (โคลงสองสุภาพ
โคลงสามสุภาพ โคลงสีส่ ภุ าพ) สลับกันตามความเหมาะสมของเนือ้ ความในเรือ่ ง
4. กลวิธใี นการประพันธ
ลิลติ ตะเลงพาย เปนลิลติ ทีไ่ ดรบั การยกยองวาเปนหนังสือประเภทมหากาพย ศัพท สํานวนและโวหาร ใชถอยคํา
ประณีตไพเราะ มีคณ ุ คาทางวรรณศิลป ใหความรูใ นดานตางๆ เชน ประวัตศิ าสตร ประเพณี ตําราพิชยั สงคราม
ตลอดจนหลักธรรมะ
ลิลติ ตะเลงพาย จัดอยูใ นประเภทวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริยเ ชนเดียวกับลิลติ ยวนพายซึง่ เปนวร
รณคดีในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนตน
เนือ้ เรือ่ งเปนการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในการทํายุทธหัตถีกบั พระมหาอุปราชาจนไดรบั ชัยชนะ
5. สาระสําคัญของเรื่อง
เริม่ ตนเปนรายกลาวถึงพระบรมเดชานุภาพของพระมหากษัตริย ตามขนบการแตงลิลติ ดําเนินเรือ่ งตามพระราช-
พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ตัง้ แตพระมหาธรรมราชาสวรรคต (พ.ศ. 2133) พระราชโอรสทัง้ สองพระองคคอื พระนเรศวร
และพระเอกทศรถ ขึน้ ปกครองประเทศ พระนเรศวรเตรียมทัพไปรบเขมร ทางฝายเมืองมอญ (พมา) พระเจาหงสาวดี
เตรียมทัพมารบกับไทย เพราะคาดคะเนวา เมื่อขึ้นแผนดินใหม อาจจะมีการแยงชิงราชสมบัตกิ นั พระมหาอุปราชา
เปนแมทพั ยกมารบไทย พระนเรศวร จัดกําลังทัพไปรับศึกนอกพระนครศรีอยุธยาทันเวลา ทัพไทยและทัพมอญไดเขา
ประชิดกัน ณ ตําบลตระพังตรุ พระนเรศวรไดชยั ชนะในการรบหัวเมืองเหนือทัง้ หมดเขามาสวามิภกั ดิต์ อ แผนดินไทย
ขยายพระราชอาณาจักรออกไปไดกวางขวาง
6. ความรูป ระกอบเรือ่ ง
6.1 "ตะเลง" เปนภาษาพมา แปลวา "ชนชาติมอญ" เมือ่ พมาไดมอญเปนเมืองขึน้ ไดยา ยเมืองหลวงจากตองอู
มาอยูห งสาวดีซง่ึ เปนเมืองหลวงของมอญ พมายกกองทัพมาตีไทย ไดเกณฑหวั เมืองมอญมารวมรบ คนไทยจึงเรียก
กองทัพของพมาวาเปนกองทัพมอญไปดวย ดังนัน้ คํา "ตะเลงพาย" จึงแปลวา "มอญแพ" ทัง้ นีห้ มายถึง "พมาแพ" นัน่ เอง
6.2 ผูช ว ยทรงนิพนธเรือ่ งลิลติ ตะเลงพาย คือ พระองคเจากปษฐาขัตติยกุมาร กรมหมืน่ กูบาลบริรกั ษ
BOBBYtutor Thai Note

6.3 ตัดไมขม นาม เปนพิธอี ยางหนึง่ กระทํากอนยกทัพไปปราบศัตรู กิจการพิธคี อื ตัง้ โรงพิธวี งสายสิญจน
แลวใหเอาดินปน เปนขาศึกเขียนชือ่ และลงยันตกํากับ หอดวยกาบกลวยนําเขาพิธปี ลุกเสกแลวนําไปมัดติดกับตนไมทม่ี ี
ชือ่ รวมตัวอักษรกับชือ่ ขาศึกนําตนไมนมี้ าปกลงในหลุมในโรงพิธพี อถึงกําหนดฤกษ ผูท รี่ บั มอบอํานาจจากพระเจาแผนดิน ก็
เชิญพระแสงอาญาสิทธิไ์ ปยังโรงพิธี ยางเขาฟนไมและรูปขาศึกนัน้ แลวไปเขาเฝาพระเจาแผนดินกราบทูลวาไดปราบปราม
ขาศึกมีชยั ชนะตามพระกระแสรับสัง่ แลวเปนอันเสร็จพิธี
6.4 โขลนทวาร ประตูปา ทําตามตําราพราหมณ เปนซุม สะดวยกิง่ ไมและใบไมสาหรั ํ บใหกองทัพเดินลอด
มีพราหมณนง่ั บนรานสูงทีป่ ระตูขา งละคน คอยพรมนํ้าเทพมนตร เปนการบํารุงขวัญทหารเพือ่ ความสวัสดีมชี ยั
6.5 ละวาเซนไก เปนประเพณีของชาวละวามาแตเดิม ทีพ่ ธิ บี วงสรวงเทวดาเจาปาโดยผูท าพิ ํ ธตี ง้ั เครือ่ งสังเวย
บวงสรวงเทวดา อธิษฐานขอใหทาการสํ ํ าเร็จแลวเสีย่ งทาย โดยถอดกระดูกคางไกเครือ่ งเซนตัวหนึง่ มาดู ถากระดูกยาวเรียง
มีขอถี่ถือวาเปนนิมิตดี พิธนี ช้ี าวละวาอาจไดมาจากอินเดียก็ได
6.6 เคลือ่ นพลตามเกล็ดนาค ตําราพิชยั สงครามกําหนดวันเคลือ่ นทัพวา วันใดนาคหันหัวไปทางทิศใด
แลวใหเคลือ่ นทัพไปทางทิศนัน้ คือ "ตามเกล็ดนาค" ถือวาเปนสิรมิ งคล
6.7 ชัยภูมิ คือ ทีต่ ง้ั คายซึง่ จะทําใหชนะขาศึกได มีปรากฏในตําราพิชยั สงคราม
"ครุฑนาม" คือ มีตน ไมใหญ 1 ตนขึ้นอยูเหนือจอมปลวกหรือภูเขา
"สีหนาม" คือ มีตน ไมใหญ 3 ตนขึน้ อยูบ นจอมปลวกหรือภูเขา เรียกอีกชือ่ หนึง่ วา ชัยภูมิ "พยุหไกรสร"
6.8 ลักษณะความฝนตามคติโบราณ มี 4 ลักษณะ คือ
ก. บุรพนิมติ คือ ฝนบอกลาง หรือฝนบอกเหตุการณลว งหนา
ข. จิตนิวรณ คือ ฝนเพราะใจกังวล
ค. เทพสังหรณ คือ ฝนเพราะเทวดาบันดาลใหฝน
ง. ธาตุโขภ คือ ฝนเพราะธาตุในกายวิปริต

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
จงอานคําประพันธตอ ไปนีแ้ ลวตอบคําถามขอ 1-3
บัดดลวลาหกซือ้ ชระอับ อยูแ ฮ
แหงทิศพายัพยล เยือกฟา
มลักแลกระลายกระลับ ลิวลง ไปเฮย
เผยผองภาณุเมศจา แจมแจงแสงฉาน
1. ลักษณะธรรมชาติทป่ี รากฏในคําประพันธน้ี โบราณถือวาเปนเครือ่ งชีแ้ นะอนาคตอยางไร
1) การปกครองการงานจะประสบผลดี 2) การประกอบการงานจะไดรบั ความสะดวก
3) การประกอบการงานจะแคลวคลาดภยันตราย 4) การประกอบการงานจะไดรบั ความสบายใจ
2. คําประพันธขา งตนนาจะแสดงความรูต รงกับขอใดมากทีส่ ดุ
1) อึดอัดใจแลวสบายใจ 2) หดหูห วั ใจแลวสบายใจ
3) เกือบหมดหวังแลวสมหวัง 4) กลัดกลุม ใจ แลวโลงอก
BOBBYtutor Thai Note

3. ลักษณะสัมผัสชิดในคําประพันธขา งตนเหมือนกับสัมผัสในขอใด
1) พอประสบพบเห็นเยนเนอรัล 2) หมทายเยิน่ เดินคูก นั
3) งามดังเปลวเพลิงปามาเนรมิต 4) ขุนชางชิงนางจากหอหอง
4. "เขารวิวารมหันต วันสิบเอ็ดขึ้นคํ่า ยํ่ารุง สองนาฬิกา เศษสังขยาหาบาท" ตรงกับวันเวลาใด
1) วันอาทิตยขน้ึ 11 คํ่า เวลา 8 นาฬิกา 30 นาที
2) วันอาทิตยขน้ึ 11 คํ่า เวลา 2 นาฬิกา 5 นาที
3) วันอาทิตยท่ี 11 ขึ้น 1 คํ่า เวลา 2 นาฬิกา 5 นาที
4) วันอาทิตยท่ี 11 ขึ้น 1 คํ่า เวลา 8 นาฬิกา 30 นาที
5. จากขอ 4 วันเวลาดังกลาวเปนวันสําคัญอะไร
1) พระนเรศวรเสวยราชย 2) พระนเรศวรทรงพระสุบนิ
3) พระนเรศวรทรงยกกองทัพไปรับศึกพมา 4) พระนเรศวรทรงมีชยั ในสงครามยุทธหัตถี
6. ขอความจาก "ลิลติ ตะเลงพาย" ที่คิดมานี้คําวา "ธ" คําใดเปนสรรพนามแทนบุคคลทีต่ า งจากขอความอืน่
1) ธ ใหเชิญพระอัยการศึก ปรึกษาโทษขุนทัพ สรรพทัง้ มวลหมูม าตย
2) ขาศึกยลแสยงฤทธิ์ บพิตร ธ เทียบทัพหลวง โดยกระทรวงพยุหบาตร
3) แลว ธ บรรหารตระบัด วาเราจัดจตุรงค จะไปยงยอยุทธ ยังกัมพุชพารา
4) ศรีสวัสดิฤ์ กษอดุ ม บรมนรินทรดาลสดับ ธ ใหตรวจทัพเตรียมพล โดยชลมารคพยูห 
7. "จึง่ สมเด็จพระวันรัต วัดปาแกวแคลวคลา กับราชาคณะสงฆ ยีส่ บิ หาองคสองแผนก" คือทีพ่ มิ พตวั หนานีห้ มายความวา
อยางไร
1) คามวาสีกบั อรัญวาสี 2) มหายานกับหินยาน
3) คันถธุระกับวิปส สานาธุระ 4) มหานิกายกับธรรมยุตกิ นิกาย
8. นอกจากจะไมปรากฏบทแสดงอารมณขนั ซึง่ ถือเปนลักษณะเดนประการหนึง่ ของวรรณคดีไทยแลว ลิลติ ตะเลงพาย
ยังขาดรสวรรณคดีไทยรสใด
1) เสาวรจนี 2) นารีปราโมทย 3) พิโรธวาทัง 4) สัลลาปงคพิสยั
9. จากคําประพันธบทนี้ ขอใดไมสอดคลองกับความคิดของผูเ ขียน
ขุนเสียมสามรรถตาน ขุนตะเลง
ขุนตอขุนไปเยง หยอนหาว
ยอหัตถเทิดลบองเลบง อังกุศ ไกวแฮ
งามเรงงามโททาว ทานสูศ กึ สาร
1) คูศ กึ งามสมกัน 2) คูศ กึ เกงพอกัน
3) ขุนเสียมมีความสามารถมากกวาขุนตะเลง 4) ขุนเสียมหาวหาญกวาขุนตะเลง
10. ขอใดทีม่ าจากอารมณสะเทือนใจที่ตา งจากกลุม
1) จําใจจําจากสรอย อยูแ มอยาละหอย หอนชาคืนสม แมแล
2) นวลพระพักตรผอ งเผือด เลือดสลดหมดคลํ้า ชํ้ากมลหมองมัว
3) นํ้าพระทัยเธอขอนๆ คิดไมขาด เสด็จนิวตั ลิ ลี าศคืนหลัง
4) ทันใดนํ้าตาเจากรรมพลัดไหลออกมา เมือ่ มองสะดุดไปเห็นถุงยาเสนกับกลองของเขาเขา
BOBBYtutor Thai Note

11. เมือ่ พิจารณาจากการใชคาในคํ ํ าประพันธตอ ไปนี้ ผูแ ตงนาจะมุง ใหผอู า นรูส กึ อยางไร
"อุรารานราวแยก ยลสยบ
เอนพระองคลงทบ ทาวดิน้
เหนือคอคชซอนซบ สังเวช
วายชีวาตมสดุ สิน้ สูฟ า เสวยสวรรค"
1) เห็นใจ 2) สะเทือนใจ 3) สะใจ 4) สมเพช
12. คําประพันธในขอ 11 ดีเดนในดานใด
1) จังหวะ 2) ความหมาย 3) การสรรคํา 4) ภาพพจน
13. ขอใดดีเดนทั้งคําและภาพพจนเปรียบเทียบ
1) วูว างวิง่ ฉับฉิว ปลิวประเลหล มพาน
2) เสียงคระโครมเครงครื้นครั่น นํ้าฝนสวรรคกเ็ ฟอ งฟุง เปนฟองฝอย
3) เมขลาเหาะลอยลอแกวอยูว บั วับ รามสูรขยับขยิกขยี้
4) หยาดเยิม้ เปนหยาดแยม อาบสองแกมแกมยินดี
14. "เจาอยุธยามีบตุ ร ลวนยงยุทธเชีย่ วชาญ
หาญหักศึกบมยิ อ ตอสูศ กึ บมหิ ยอน
ไปพกั วอนวาใช ให ธ หวง ธ หาม
แมนเจาครามเคราะหกาจ จงอยายาตรยุทธนา
เอาพัสตราสตรี สวมอินทรียส รางเคราะห"
ขอความทีย่ กมามีจดุ มุง หมายใหผถู กู วาเกิดความรูส กึ อยางไร
1) เสียใจ 2) อับอาย 3) เกิดความมานะ 4) รูผิดชอบชั่วดี
15. ในการเขียนงานวรรณกรรมจากพงศาวดาร กวีมกั จะตองสอดแทรกจินตนาการเขาไวดว ย เพือ่ ใหงานเขียนนาอาน
ยิง่ ขึน้ ขอความตอไปนีข้ อ ใดเปนเรือ่ งทีแ่ ทรกเขามา
1) ธ ใหโทรหามหุตฤิ กษ ซึง่ จะเบิกพยุหยาตรา
2) ธ ใหตรวจทัพเตรียมพล โดยชลมารคพยูห  สูต ําบลปาโมก
3) ธ ก็สรงธาราเสาวรภย ตรลบสุคนธกําจร ทรงบวรวิภษู า รัดพัสตราตรูเนตร
4) แลว ธ สัง่ พวกขุนพล เทียบพหลทุกทัพ สรรพแตสามยามเสร็จ ตีสบิ เอ็ดนาฬิกา

เฉลย
1. 1) 2. 1) 3. 4) 4. 1) 5. 3) 6. 2) 7. 3) 8. 2) 9. 2) 10. 1)
11. 1) 12. 4) 13. 1) 14. 3) 15. 3)
BOBBYtutor Thai Note

พระบรมราโชวาท
1. ผูป ระพันธ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช
2. ลักษณะคําประพันธ
รอยแกวเชิงเทศนาโวหาร จํานวน 2 องค มีลกั ษณะแตกตางกันดังนี้
องคท่ี 1 เปนวาทนิพนธ คือ มีตน ฉบับเรียบเรียงไวกอ น
องคท่ี 2 เปนพระบรมราโชวาททีไ่ มมตี น ฉบับ แตเรียบเรียงขึน้ ตามทีไ่ ดบนั ทึกพระสุรเสียงไว
3. ความหมายของวาทนิพนธ
วาทนิพนธ หมายถึง ขอความทีแ่ ตงหรือเรียบเรียงขึน้ ไวสาหรั ํ บพูดโดยตรง ภาษาทีใ่ ชจงึ กะทัดรัด สละสลวย
ลําดับความคิดและถอยคําอยางมีระเบียบงดงาม แตถา มีความยาวมากเกินไปผูฟ ง อาจคลายความสนใจไดงา ย รวมทัง้
ถาใจความทีก่ ลาวไมเหมาะสมสอดคลองกับภาวะ เหตุการณ และสถานภาพของผูฟ ง
การพูดแบบไมมตี น ราง ผูก ลาวไมมโี อกาสเลือกเฟน ขัดเกลา เนือ้ หาสาระ ถอยคําสํานวนภาษาทีใ่ ชอาจจะ
ไมกะทัดรัด สละสลวย หรือพูดวกวนไปบาง แตสามารถเรียกรองความสนใจจากผูฟ ง ไดนานกวา เนือ่ งจากเปนการพูด
ตามธรรมชาติ เขากับเหตุการณ สถานการณแวดลอมจึงมีโอกาสทีจ่ ะใชอวัจนภาษาดึงดูดความสนใจจากผูฟ ง ไดมากกวา
วาทนิพนธ
4. การพิจารณาวาทะของบุคคล พิจารณาไดจาก
4.1 เนือ้ หาความคิด พิจารณาวาจุดมุง หมาย ความคิดที่ปรากฏเปนขอความรู ขอคิดเห็น ขอสังเกต ฯลฯ
เปนความคิดทีม่ เี หตุผลหรือไม มีหลักฐานนาเชือ่ ถือเพียงใด
4.2 การลําดับความคิด พิจารณาวากลวิธใี นการเริม่ ตน การคลีค่ ลาย และการลงสรุป มีความพอเหมาะพอดี
หรือไม วิธีการใชภาษาชัดเจนเพียงใด
4.3 การใชภาษาแสดงความคิด พิจารณาวาภาษาทีป่ รากฏในวาทะนัน้ แจมแจง กระชับและมีชวี ติ ชีวาหรือไม
การเขาประโยคและการเรียบเรียงประโยคกลมกลืนกันเปนอยางดีหรือไม
5. สาระสําคัญของพระบรมราโชวาท
พระบรมราโชวาททัง้ 2 องค คัดมาจากหนังสือชุดประมวลพระราชดํารัสและพระบรมราโชวาททีพ่ ระราชทาน
ในโอกาสตางๆ ซึง่ สํานักราชเลขาธิการไดจดั พิมพเนือ่ งในโอกาสงานพระราชพิธฉี ตั รมงคลทุกป
5.1 พระบรมราโชวาทองคท่ี 1 พระราชทานแกคณะอาจารย ครู และนักเรียนโรงเรียนวังไกลกังวล ณ ศาลาเริง
พระราชวังไกลกังวล เมือ่ วันจันทรท่ี 13 มิถนุ ายน 2520
ทรงแสดงความยินดีกบั ผูท ไ่ี ดรบั รางวัลเรียนดี การไดรบั รางวัลแสดงถึงความตัง้ ใจและความอุตสาหะพยายาม
ทีจ่ ะเลาเรียนและหาความรูใ สตวั วิธที จ่ี ะหาความรูน น้ั จะตองทําใจใหแนวแน เขมแข็ง พรอมดวยความหมัน่ ขยัน
ทีจ่ ะเรียน เชือ่ ฟงและเคารพครู ในสวนครูกม็ หี นาทีจ่ ะตองใหความรูแ กเด็กๆ ดวยความเมตตาดวยความหวังดี ทรงแนะนํา ให
ทัง้ ครูและนักเรียนทําหนาทีข่ องตนเองใหเต็มความสามารถ เพือ่ ใหไดชอ่ื วาชวยสวนรวมคือชาติใหมคี วามมัน่ คง และ
ทรงจบพระบรมราโชวาทดวยการพระราชทานพรแกครูและนักเรียนทุกคน
5.2 พระบรมราโชวาทองคท่ี 2 พระราชทานแกคณะศูนยกลางนักเรียนอาชีวศึกษาแหงประเทศไทย ณ ศาลา-
ดุสดิ าลัย วันศุกรท่ี 28 ธันวาคม 2516
BOBBYtutor Thai Note

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงเริม่ ตนโดยกลาวถึงคณะศูนยกลางนักเรียนอาชีวศึกษาแหงประเทศไทยเขาเฝาฯ


เพือ่ ทูลเกลาฯ ถวายเงินและสิง่ ของโดยเสด็จพระราชกุศลชวยเหลือผูป ระสบภัยธรรมชาติทางภาคใตซง่ึ นับเปนการกระทําทีด่ ี
เพราะนอกจากเปนการบําเพ็ญประโยชนชว ยเหลือผูอ น่ื ในยามเกิดทุกขภยั แลวยังกอใหเกิดความสามัคคี อันเปนกําลังสําคัญที่
ทําใหชาติมน่ั คงอยูไ ด ตอนทายของพระบรมราโชวาทมีพระราชดํารัสพระราชทานเงินทุนสําหรับใหศนู ยใชเพือ่ กิจการของศูนย
และทรงจบพระบรมราโชวาทดวยการพระราชทานพรปใหมใหผฟู ง ไดรบั ความสุขและความดี โดยพลังของกุศลทีไ่ ดทํา
และใหประสบความสําเร็จทุกประการ

ศิลาจารึกพอขุนรามคําแหง
1. ผูป ระพันธ พอขุนรามคําแหงมหาราช
2. ลักษณะคําประพันธ รอยแกว บางตอนมีสมั ผัสคลองจอง
3. ลักษณะศิลาจารึก
เปนแทงศิลารูปสีเ่ หลีย่ ม มียอดแหลม สูง 1 เมตร 11 เซนติเมตร กวาง 35 เซนติเมตร จารึกขอความไวทงั้ 4 ดาน
ดานที่ 1 กลาวถึง พระราชประวัติของพอขุนรามคําแหง ใชสรรพนามแทนพระองควา "กู" จึงสันนิษฐานวาอาจ
ทรงจารึกเอง
ดานที่ 2 กลาวถึง พระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจของพอขุนรามคําแหง
ดานที่ 3 กลาวถึง เหตุการณสาคั ํ ญในรัชสมัยของพอขุนรามคําแหง เชน เรือ่ งการสรางพระแทนมนังคศิลาบาตร
ในดงตาล
ดานที่ 4 กลาวถึง เรือ่ งการประดิษฐอกั ษรไทย การสรางพระมหาธาตุเมืองศรีสชั นาลัย การสรรเสริญพระเกียรติ
พอขุนรามคําแหงและอธิบายขอบเขตอํานาจอาณาจักรสุโขทัย
ดานที่ 3 และดานที่ 4 นี้ สันนิษฐานวานักปราชญราชบัณฑิตเปนผูจ ารึก เพราะใชสรรพนามวา พอขุนรามคําแหง
แทนสรรพนามวา "กู"
4. ความรูเ กีย่ วกับตัวอักษรไทยและอักขรวิธใี นสมัยพอขุนรามคําแหง
พอขุนรามคําแหงทรงประดิษฐอกั ษรไทยขึน้ ใชเองในป พ.ศ. 1826 โดยทรงดัดแปลงมาจากอักษรขอมหวัดและ
มอญโบราณ มีลกั ษณะดังนี้
4.1 สระและพยัญชนะอยูบ นบรรทัดเดียวกัน สระสวนใหญอยูห นาพยัญชนะ
4.2 ตัดศกหรือหนามเตยออก (ศกหรือหนามเตย คือสวนทีอ่ ยูเ หนือตัวอักษรของขอม)
4.3 ไมมไี มหนั อากาศ ใชอกั ษรหันหรือการซอนตัวสะกดแทน เชน วนน = วัน หวว = หัว
4.4 ใช "ย" แทน "เอีย" ในกรณีทเ่ี อียมีตวั สะกด เชน คยว = เคียว วยง = เวียง
4.5 ทรงประดิษฐวรรณยุกตขน้ึ ใช 2 รูป คือ  (ไมเอก)  (ไมโท)
+
4.6 ใช ° แทนตัว "ม" ทีเ่ ปนตัวสะกด เชน กลํ (กลม) สํ (สม)
4.7 สระออ ไมตอ งใช อ เคียง เชน พ (พอ) ท (ทอ)
BOBBYtutor Thai Note

5. ประวัตคิ วามเปนมาของศิลาจารึก
เมื่อ ป พ.ศ. 2376 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั ขณะทรงผนวชอยูย งั ไมไดขน้ึ ครองราชสมบัติ
ไดเสด็จไปธุดงคทางเหนือ ไดทรงพบหลักศิลาจารึก และพระแทนมนังคศิลาทีเ่ ปนปราสาทเกา เมืองสุโขทัย จึงโปรดให
ชะลอมาไวทก่ี รุงเทพฯ ศิลาจารึกหลักนีเ้ ปนทีร่ จู กั กันตอมาวาเปนศิลาจารึกของพอขุนรามคําแหง โปรดใหจารึกไวประมาณ
ป พ.ศ. 1826 เปนตน มาจนกระทัง่ หลัง พ.ศ. 1835 จึงครบทัง้ 4 ดาน
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั ทรงพระราชอุตสาหะอาน ศึกษา และนําออกเผยแพรเปนพระองคแรก
เมือ่ ศาสตราจารย ยอรช เซเดส ชาวฝรั่งเศส ผูเ ชีย่ วชาญภาษาตะวันออกเขามาเปนบรรณารักษใหญในหอพระสมุด
วชิรญาณ ไดพยายามตรวจ แปลศิลาจารึกตางๆ ใหถกู ตองบริบรู ณ และไดแปลเปนภาษาฝรัง่ เศสจนเปนทีร่ จู กั แพรหลาย
ในดานการแปลศิลาจารึกนัน้ ศาสตราจารยฉ่ํา ทองคําวรรณ ไดอา นและแปลประชุมศิลาจารึกหลักภาษาเขมร สันนิษฐาน
เทียบการเขียนอักษรไทยกับอักษรขอมในสมัยพอขุนรามคําแหง
6. คุณคาสาระ
6.1 ศิลาจารึกสุโขทัยของพอขุนรามคําแหง นอกจากจะเปนหลักฐานในการศึกษาประวัตศิ าสตรและโบราณคดี
แลวยังมีคณุ คาในการศึกษาคนควาทางดานรัฐศาสตร นิตศิ าสตร เศรษฐศาสตร สังคมวิทยา อักษรศาสตร และวรรณคดี
แสดงลักษณะชีวติ สภาพสังคมของชาวสุโขทัยไวอยางชัดเจน กอใหเกิดความภูมใิ จในเกียรติภมู ขิ องประเทศชาติ
6.2 แนวคิดสําคัญทีไ่ ดรบั จากศิลาจารึกหลักทีน่ ามาเรี ํ ยนคือ พระจริยวัตรอันงดงามของพอขุนรามคําแหง
ทีก่ อปรดวย ความกตัญูกตเวที ทรงเปนกษัตริยน กั รบทีก่ ลาหาญ
6.3 คานิยมทีป่ รากฏในเรือ่ ง ไดแก คานิยมเรือ่ งความกตัญูกตเวทีตอ บุพการี รวมทัง้ ผูน ําประเทศตอง
มีความกลาหาญ กลาตัดสินใจ พรอมทีจ่ ะปกปองคุม ครองประเทศชาติ
7. ศัพทสํานวน
กู = สรรพนามบุรษุ ที่ 1 เอกพจน พหูพจนใชวา "ตู"
บานเมือง = ทําใหบา นเมืองเบิกบาน
เขา = ป (เขาปจจุบนั เขียนเปนขาว ปหนึง่ ปลูกขาว 1 ครัง้ จึงมีความหมายวาป) เชนเดียวกับ
มีผูใช "ฝน" หรือ "พรรษา" เปนเครือ่ งบอกเวลา
โสง = สอง
เผือ = เรา (เปนพหูพจน)
อาย = พีช่ ายคนแรก ตรงขามกับ "เอื้อย" พีส่ าวคนแรก
เตียมแต = ตัง้ แต
เกลื่อนเขา = ขับไพรพลเขามา
ไพรฟา หนาใส = ประชาชน ไพรพล
หนีญญายพายจแจ = หลีกหนีไปอยางชุลมุน
ท = ตี ตอดี รบพุง กวาดตอน
เบกพล = เบิกพล, บุกพล (เบิก ในภาษาเขมร แปลวา ขับตอน) ตอนพลเขาไป
ตอชาง = ชนชาง
พุง ชาง = ขับชางเขาตอสู
แพ = ภาษาไทยเดิมมีความหมายวา ชนะ พาย หมายความวา "แพ"
บําเรอ = ปรนนิบตั ริ บั ใช
BOBBYtutor Thai Note

หมากสมหมากหวาน = ผลไมทม่ี รี สเปรีย้ วรสหวาน


ตีหนังวังชาง = คลองจับชางดวยเชือกหนัง
ไดปว ไดนาง = ไดเชลยชายเชลยหญิง
ไดชา งไดงวง = งวงเปนลักษณนามของชาง
ไดเงือน = ไดเงิน
เวน = นํามาให มอบให
พรํา่ = บอยๆ เสมอ
ทัง้ กลม = ทัง้ หมด

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. ป พ.ศ. ใดทีร่ ฐั บาลไทยจัดงานฉลอง 700 ป ลายสือไทย เพือ่ รําลึกถึงพระราชกรณียกิจของพอขุนรามคําแหงมหาราช
ทีท่ รงประดิษฐอกั ษรไทยขึน้
1) พ.ศ. 2525 2) พ.ศ. 2526 3) พ.ศ. 2529 4) พ.ศ. 2530
2. เมือ่ พิจารณาศิลาจารึกหลักที่ 1 ในฐานะวรรณคดี ประโยชนทส่ี ําคัญทีส่ ดุ ของศิลาจารึกนีต้ รงกับขอใด
1) ใหความรูด า นประวัตศิ าสตรและโบราณคดี 2) เปนตนแบบของการใชภาษาไทย
3) เปนหลักฐานทางสังคมวัฒนธรรม 4) แสดงใหเห็นความสัมพันธกบั ชนชาติตา งๆ
3. คําจากศิลาจารึกขอใดเปนคําทีไ่ มมีใชแลวในภาษาไทยปจจุบนั
1) กูบห นี กูขช่ี า งเบกพลกูขบั เขากอนพอกู 2) พีเ่ ผือผูอ า ยตายจากเผือเตียมแตยงั เล็ก
3) กูพรําบํ
่ าเรอแกพก่ี ดู ง่ั บําเรอแกพอ กู 4) พีก่ ตู ายจึงไดเมืองแกกทู ง้ั กลม
4. ขอใดเปนทีม่ าของพระนาม "พระรามคําแหง"
1) ไพรฟา หนาใส พอกูหนีญญายพายจแจ 2) ตนกูพงุ ชางขุนสามชนตัวชือ่ มาสเมืองแพ
3) ขุนสามชนเจาเมืองฉอดมาทเมืองตาก 4) กูขช่ี า งเบกพลกูขบั เขากอนพอกู
5. ขอความใดในศิลาจารึกขอใดมิใชกลุมคําทีม่ เี สียงสัมผัสกลางคํา
1) ไพรฟา หนาใส 2) หนีญญายพายจแจ 3) ตัวเนือ้ ตัวปลา 4) ตีหนังวังชาง

เฉลย
1. 2) 2. 2) 3. 2) 4. 2) 5. 3)
BOBBYtutor Thai Note

เราคือลูกของแมพระธรณี
1. ผูป ระพันธ อิศรา อมันตกุล
2. รูปแบบ (ลักษณะคําประพันธ) รอยแกว ประเภทเรือ่ งสัน้
3. ลักษณะของเรือ่ งสัน้
เรือ่ งสัน้ เปนรูปแบบของการประพันธทไ่ี ดรบั แบบอยางมาจากยุโรป เรือ่ งสัน้ เปนศัพทเฉพาะ หมายถึง วรรณกรรม
รอยแกว บันเทิงคดีประเภทหนึง่ มีโครงเรื่อง ซึง่ ประกอบดวยเหตุการณ ตัวละครในเรือ่ งมีนอ ย ขอขัดแยงหรือปญหา
ชีวติ ของตัวละครจึงนอย เนือ้ เรือ่ งมักเกีย่ วของกับชีวติ ของคนทัว่ ไป
เรือ่ งสัน้ ตางกับนวนิยาย คือ นวนิยายกลาวถึงชีวติ คนหลายคน หลายดาน มีเหตุการณในเรือ่ งซับซอนหลายเหตุการณ
4. ประวัตผิ แู ตง
นายอิศรา อมันตกุล เริม่ ทํางานหนังสือพิมพและเปนนักประพันธตงั้ แต ป พ.ศ. 2483 เปนผูท ไ่ี ดรบั การยกยองมาก
ในวงการหนังสือพิมพของประเทศไทย ภายหลังถึงแกกรรมจึงไดมผี ตู ง้ั "มูลนิธิอิศรา อมันตกุล" ขึ้น เพือ่ ใหดอกผล
สงเสริมวิชาชีพและการศึกษาวิชาการหนังสือพิมพ
นายอิศรา อมันตกุล ใชนามแฝงในการเขียน เชน อโศก มะงุมมะงาหรา เจดียก ลางแดด ทรงกลดกลางหาวและ
แฟรงค ฟรีแมน ฯลฯ
5. การเสนอแนวคิด อันเปนแนวคิดสําคัญทีผ่ แู ตงใชเปนแกนสําคัญในการสรางโครงเรือ่ ง ไดแก มนุษยอยูไ ด
ดวยความหวัง เกษตรกรทุกคนยอมรักและหวงแหนแผนดินของตน
6. เนือ้ เรือ่ งยอ
เนือ้ เรือ่ งกลาวถึงการทํามาหากินของสามีภรรยาคูห นึง่ ทีท่ ง้ิ ความเจริญรุง เรืองในกรุงเทพฯ มาพลิกแผนดินเพือ่ งาน
ทางดานการเกษตร เอินและรมณียไ ดพยายามทุกวิถที างทีจ่ ะตอสูก บั อุปสรรคตางๆ ดวยความอดทน ทัง้ สองตองพบกับ
ความผิดหวังซําแล ้ วซําเล
้ าจนตองเสียลูกในครรภไปคนหนึง่ รมณียห มดกําลังใจในการตอสู และตองการหนีใหพน จาก
สภาพของผูส ญ ู เสีย เมือ่ ใกลจะคลอดลูกคนทีส่ อง ในระหวางการหนี รมณียไ ดพบตนหญาเล็กๆ ชูใบอันเขียวขจีของมัน
ทามกลางความเหีย่ วแหงของตนขาวซึง่ ตายกรังไปนานแลว เธอเขาใจทันที ตนหญาเปนสัญลักษณของความหวังวา ถึงแม
ผืนแผนดินทีอ่ าศัยอยูจ ะเปนอยางไรก็ตาม แตกย็ งั เปนทีร่ วมแหงความรักและความหวัง เปน "แมพระธรณี" ทีจ่ ะเลีย้ ง
คนไทยทุกคนในแผนดินนีต้ ลอดไป ในทีส่ ดุ เธอจะตัดสินใจตอสูก บั ความยากลําบาก เคียงคูก บั สามีดว ยความรักและ
ความเขาใจ
7. ขอคิดทีไ่ ดจากเรือ่ ง
1. มนุษยอยูไ ดดว ยความหวัง
2. หญิงผูท เ่ี ปนแมยอ มมีความรักและความหวงใยในลูกของตนยิง่ กวาสิง่ ใด
3. อาชีพกสิกรรมเปนอาชีพทีต่ อ งอาศัยความอดทนในการตอสูท ง้ั เพือ่ เอาชนะธรรมชาติ ไดแก ความแหงแลง
กันดารและหางไกลความเจริญ เมือ่ ฝนไมตกตองตามฤดูกาล ก็จะเปนอุปสรรคสําคัญในการเพาะปลูก
4. ธรรมชาติอาจจะทําใหมนุษยเกิดขอคิดในการดําเนินชีวิตได เชน ตนหญาเขียวขจีในกอขาวแหงก็แสดง
สัญลักษณของความหวังทามกลางความทุกขรอ น
BOBBYtutor Thai Note

8. ความรูป ระกอบ
องคประกอบของเรือ่ งสัน้ ไดแก
1. กลวิธใี นการเสนอเรือ่ ง
1.1 ใหตวั ละครสําคัญเปนผูเลา โดยใชสรรพนามบุรษุ ที่ 1 เชน ผม ขาพเจา ดิฉัน
1.2 ใหตวั ละครซึง่ ไมใชตวั สําคัญเปนผูเลา โดยใชสรรพนามบุรษุ ที่ 1 เชนกัน
1.3 ผูแ ตงเลาเอง ในฐานะเปนผูร เู รือ่ งทุกอยาง วิธนี ผ้ี แู ตงสามารถเลารายละเอียดและพฤติกรรมความรูส กึ นึกคิด
ของตัวละครไดอยางชัดเจน
2. โครงเรือ่ ง ตองเรียงลําดับตามเหตุการณในเรือ่ ง มีขอ ขัดแยง อันเปนสาเหตุสาคั ํ ญในการดําเนินเรือ่ งใหชวนติดตาม
3. ตัวละคร คือ ผูม บี ทบาทในเรือ่ ง อาจจะเปนมนุษย สัตว หรือสิง่ ของใดๆ ก็ได
4. ฉาก หมายถึง เวลาและสถานทีอ่ นั เกีย่ วของกับเหตุการณในเรือ่ ง และมีผลกระทบตอชีวติ และพฤติกรรมของตัว
ละคร
5. สาระของเรือ่ ง เปนแนวคิดสําคัญทีผ่ แู ตงใชเปนแกนของเรือ่ ง เชน ความรัก ความหวัง ความเมตตา ความผิดหวัง
ฯลฯ
6. ตอนสุดขัน้ คือจุดขัดแยงทีผ่ แู ตงสรางขึน้ โดยผูกปมใหผูอานคิด และตองจบใหผอู า นคิดตอไป
ในเรือ่ งเราคือลูกของแมพระธรณี จัดเปนเรือ่ งสัน้ ทีเ่ ขาลักษณะของเรือ่ งสัน้ ทีด่ ี และจบลงอยางนาสนใจวา มนุษย
ควรมีความอดทนตัง้ ใจจริง มีความหวังทีจ่ ะตอสูเ พือ่ เอาชนะอุปสรรคทัง้ ปวง ความอดทนจะทําใหไดรางวัลทีล่ าค ้ํ า

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. ขอความตอนสุดทายของเรือ่ ง เราคือลูกของแมพระธรณี ทีก่ ลาววา "เราจะอยูท น่ี ต่ี ลอดไปตราบกระทัง่ ลูกหลานของเรา
เพราะวา เราคือทายาท ของแมพระธรณี" ทานคิดวาตรงกับคํากลาวขอใด
1) เราเลือกทีเ่ กิดไมได 2) ทุกคนควรรักมาตุภมู ิ
3) ความอุตสาหะทําใหชวี ติ สมหวัง 4) ชีวติ ยังไมสน้ิ จะตองดิน้ รนตอไป
2. ในเรื่อง "เราคือลูกของแมพระธรณี" ปมความขัดแยงทีเ่ กิดขึน้ ในเรือ่ งมีลกั ษณะตรงกับขอใด
1) ขัดแยงกับธรรมชาติ 2) ขัดแยงกับสังคม
3) ขัดแยงกับผูอ น่ื 4) ขัดแยงกับตัวเอง
3. เอินมีความปรารถนาในสิง่ ใดจึงทําใหเขาผิดสัญญากับรมณีย
1) เอินตองการทุนรอนจากการเก็บเกีย่ วพืชผล
2) เอินตองการใหลกู เกิดบนทีด่ นิ ของเขาเอง
3) เอินตองการขุดลํากระโดงจากคลองสงนํ้ามาทีน่ า
4) เอินตองการทํานาแบบใหมเปนตัวอยางแกชาวนาคนอืน่
BOBBYtutor Thai Note

4. เรื่อง "เราคือลูกของแมพระธรณี" จะไมมตี อนจบดังในเรือ่ ง ถาไมมีเหตุการณใดเกิดขึน้


1) ฝนตก 2) เอินควบมาตามหารมณีย
3) เอินสัญญาจะกลับกรุงเทพฯ พรอมรมณีย 4) รมณียเ หลียวกลับไปดูตน ขาวทีถ่ อนทิง้
5. "ดวงอาทิตยทส่ี าดแสงแรงกลา บนฟาเปลือย ดูเหมือนจะหยามเยาะในความสะเพราของหลอน" ขอความทีพ่ มิ พ
ตัวหนา มีความเดนในดานใด
1) อุปลักษณ 2) บุคลาธิษฐาน 3) รอยแกวมีสมั ผัส 4) ใชภาษาแหวกแนว
6. "หลอนเห็นตนหญาเล็กๆ สามสีต่ น ชูเรียวยาวอันเขียวขจีของมันขึ้นมาเปนเขียวขจีแหงชีวิต ซึง่ ซอนตัวอยู
ทามกลางความเหีย่ วแหง และแลงระแหงซุม อยูก บั ตนขาวทีต่ ายกรังไปนานแลว ความตืน่ ใจอันลําลึ
้ กและความแจมใส
วิง่ เขาสูด วงจิตของหลอนทันที"
ขอความนี้ มีความหมายตรงกับขอใดมากทีส่ ดุ
1) ตนหญาเปนสัญลักษณแหงชีวติ 2) มนุษยนน้ั อยูไ ดดว ยความหวัง
3) สิง่ เล็กนอยทีด่ ไู รคา อาจกอใหเกิดความจรรโลงใจ 4) ตนหญาออนเปรียบไดกบั ชีวติ ทีเ่ ริม่ ตนใหม

เฉลย
1. 2) 2. 4) 3. 4) 4. 4) 5. 2) 6. 2)
BOBBYtutor Thai Note

ดวงอาทิตยที่รัก
1. ผูป ระพันธ ศ.ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ
2. ลักษณะคําประพันธ เรือ่ งสัน้ แนวสังคมอิงวิทยาศาสตร
3. ทีม่ าของเรือ่ ง นิตยสารโลกวิทยาศาสตร
ผูป ระพันธไดเขียนเรือ่ งนีจ้ ากจินตนาการทีต่ ง้ั อยูบ นฐานของขอเท็จจริงเชิงวิทยาศาสตร กําหนดใหฉากอยูท จ่ี งั หวัด
พระนครศรีอยุธยา ใน พ.ศ. 2613 อันเปนปทน่ี กั ดาราศาสตรไดคานวณไว ํ วา จะเกิดสุรยิ ปุ ราคาเต็มดวงขึน้ อีกในประเทศไทย
ครอบครัวของชินสะทอนใหเห็นสภาพของผูค นทีอ่ าศัยอยูภ ายใตแผนแดด ไมเคยเห็นแสงอาทิตย แสงจันทร
สวนระรินเด็กสาวทีย่ า ยมาอยูใ หมเพราะบานถูกไลทเ่ี พือ่ สรางสถานีอวกาศแหงใหม ระรินเปนผูป ลุกจิตสํานึกใหชนิ เห็นถึง
ความสําคัญของดวงอาทิตย ความไมเทาเทียมกันของการใชพลังงานจากแสงอาทิตย ความมัง่ มีและความยากจน การถูก
ปดกัน้ ขาวสารจากรัฐบาล การถูกลิดรอนสิทธิในการรับขาวสาร การถูกเอารัดเอาเปรียบจากสังคม เรือ่ งจบลงดวยความรู
สึกผิดของผูร กั ษากฎ เชน ชิน
4. ขอคิดทีไ่ ดรบั
1. การใชทรัพยากรอยางฟุม เฟอยจะกอใหเกิดวิกฤตการณขาดแคลนพลังงานในอนาคต
2. ความแตกตางกันระหวางบุคคลทางดานฐานะ ทําใหเกิดความไมเทาเทียมกันในสังคม และคนยากจนจะ
เปนฝายถูกเอาเปรียบตลอดมา
BOBBYtutor Thai Note

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. ขอใดมิไดกลาวถึงสิง่ ประดิษฐทป่ี รากฏในเรือ่ งดวงอาทิตยทร่ี กั
1) เธอใสรองเทาและถุงมือทีช่ นิ จําไดวา เปนชุดแมเหล็ก
2) เขาเก็บไทมแมชชีนใสกลองใบสุดทาย
3) หลอนเอือ้ มไปกดสวิตชเครือ่ งงวง
4) แผนแดดนีส้ รางขึน้ มากอนชินเกิดตัง้ หลายป
2. เพราะเหตุใดจึงตองสรางแผนแดดเพือ่ เก็บแสงแดดไปเปลีย่ นเปนไฟฟา
1) เพราะพลังงานขาดแคลน
2) เพราะไมมสี ารพิษตกคาง
3) เพราะมนุษยใชทรัพยากรอยางฟุม เฟอย จนทรัพยากรขาดแคลน
4) เพราะเขือ่ นถูกทําลายหมดสิน้
3. เรือ่ งดวงอาทิตยทร่ี กั เปนเหตุการณในสมัยใด
1) พ.ศ. 2543 2) พ.ศ. 2603 3) พ.ศ. 2613 4) พ.ศ. 2643
4. ปญหาดานการสือ่ สารในเรือ่ งดวงอาทิตยทร่ี กั คืออะไร
1) ไมสามารถรับขาวสารได 2) รัฐบาลปดกัน้ ขาวสาร
3) กระดาษแพงจึงไมสอ่ื สารทางหนังสือพิมพ 4) ไมมเี ครือ่ งมือในการสือ่ สารอืน่ นอกจากโทรทัศน
5. "แผนแดด" ในเรือ่ งดวงอาทิตยทร่ี กั คือสิง่ ใด
1) แบตเตอรี่ 2) แผงไฟฟา (โซลาเซลล)
3) เครือ่ งกําเนิดไฟฟา 4) เครือ่ งทําความรอน

เฉลย
1. 4) 2. 3) 3. 3) 4. 2) 5. 2)
BOBBYtutor Thai Note

บทรอยกรอง
บทรอยกรองทัง้ 5 เรื่อง ทีเ่ ลือกมาใหเรียนนีเ้ ปนวรรณกรรมปจจุบนั
วรรณกรรมปจจุบนั หมายถึง วรรณกรรมทีเ่ ริม่ ตัง้ แตตน สมัยรัชกาลที่ 5 มาจนถึงสมัยปจจุบนั ทัง้ นีเ้ พราะสมัย
รัชกาลที่ 5 เปนระยะเริม่ แรกทีว่ รรณกรรมของไทยแบบใหมๆ เกิดขึ้นมาก วรรณกรรมปจจุบนั มีการพัฒนาทัง้ รูปแบบ
การประพันธและความนึกคิดของกวี บางชนิดก็เขียนตามแนวฉันทลักษณเดิม บางชนิดก็เปนรูปแบบทีค่ ดิ ขึน้ ใหมตาม
ความพอใจของผูป ระพันธแฝงขอคิด คติธรรมหรือคานิยมทีส่ อดคลองกับความเปลีย่ นแปลงของสังคม
ควรแกสรรเสริญกราวคือชาวนา
1. ผูป ระพันธ แสงทอง ซึง่ เปนนามปากกาของหลวงบุณยมานพพาณิชย (อรุณ บุณยมานพ)
ประวัตผิ แู ตง หลวงบุณยมานพพาณิชย เริม่ เปนนักเขียนตัง้ แต พ.ศ. 2454 มีผลงานการประพันธหลายประเภท
ทัง้ รอยแกวและรอยกรอง บทละคร นวนิยาย เรือ่ งสัน้ เรือ่ งแปล บทรอยกรองทีม่ ชี อ่ื เสียง คือ "นิราศรอบโลก" และ
หนังสือรวมบทประพันธในชือ่ "อักษราวลี"
2. รูปแบบ (ลักษณะคําประพันธ) กลอนสุภาพ
3. สาระสําคัญของเรื่อง
กวีไดกลาวยกยองวา ชาวนาเปนผูค วรแกการสรรเสริญอยางยิง่ เพราะนอกจากจะเปรียบเหมือนเปนกระดูกสันหลัง
ของประเทศแลว ยังเปนศิลปนอีกดวย เพราะเปนผูส รางสรรคผนื นาใหมคี วามสวยงาม คําวา "กราว" มีความหมายถึง
เสียงปรบมืออยางพรอมเพรียง
4. ขอคิดทีไ่ ดจากเรือ่ ง
1. ชาวนาเปนผูม บี ทบาทสําคัญในการผลิตขาวทีม่ คี ณุ ภาพของไทย และสรางสรรคผนื นาใหอดุ มสมบูรณ
2. ความงามและความอุดมสมบูรณของทองนาทําใหชาวนาสมควรไดรบั การยกยองวาเปนกระดูกสันหลังของ
ชาติรวมทัง้ เปนศิลปนในการสรางทุง ขาวใหงดงาม
3. ผูม คี วามมานะบากบัน่ ในการประกอบอาชีพอยางตัง้ ใจ สมควรไดรบั การยกยอง
นํ้าตา
1. ผูป ระพันธ นายกําชัย ทองหลอ
ประวัตผิ แู ตง นายกําชัย ทองหลอ ไดรบั ปริญญาศิลปศาสตรดษุ ฎีบณ
ั ฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาภาษา และวรรณคดี
ไทยจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ผลงานประพันธมี ตําราหลักภาษาไทย อินทรียห ก (ทางคดีโลก) นิทานสําหรับเด็ก
นิราศ บทรอยกรองราชสดุดี บทละคร เรือ่ งสัน้ และบทวิทยุหลายเรือ่ ง
2. รูปแบบ (ลักษณะคําประพันธ) กาพยยานี 11
3. สาระสําคัญของเรื่อง
นํ้าตาเปรียบเหมือนเพือ่ น ยามเรามีความสุข ดีใจ รักสมหวัง เศราหมอง ชิงชัง โกรธ เกลียด ยามตาย
บวชเรียน แตงงาน พลาดรักอกหัก หรือพลัดพรากกัน ก็รอ งไหนาตาเปรี
้ํ ยบเหมือนเพือ่ น ใหระลึกถึงทัง้ ยามเศรา สุข
ความตาย ความรื่นเริง นํ้าตาเปนเครือ่ งระบายความในใจ และเห็นใจเราเสมอ
4. ขอคิดทีไ่ ดจากเรือ่ ง
1. นํ้าตาเปนเพือ่ นทัง้ ยามทุกขและยามสุข
2. มนุษยใชนําตาเป
้ นเครือ่ งระบายอารมณความรูส กึ ทุกๆ ดาน ไมวา จะเปนทุกขสขุ เศรา ดีใจ
BOBBYtutor Thai Note

ชโย สยาม
1. ผูป ระพันธ น.ม.ส. ซึง่ เปนพระนามแฝงของพระราชวงศเธอ กรมหมืน่ พิทยาลงกรณ (พระองคเจารัชนีแจมจรัส)
2. รูปแบบ (ลักษณะคําประพันธ) สยามมณีฉนั ท มีผงั ภูมแิ ละฉันทลักษณดงั นี้

(บทที่ 1) -ุ -ั -ุ -ั -ุ -ั -ุ -ั -ุ -ุ -ุ -ุ
-ุ -ุ -ุ -ุ -ุ -ั -ุ -ั -ุ -ั -ุ -ั
-ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั
(บทที่ 2) -ุ -ุ -ุ -ุ -ุ -ุ สั-ุมผั-ุ สระหวางบท
-ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั
สยามมณีฉนั ท มีลกั ษณะคลายกลอนแปด แตใชครุ ลหุสลับกันทัง้ วรรค ทําใหเกิดจังหวะนาฟง น.ม.ส. ทรงริเริม่
คิดคนฉันทแบบนีเ้ ปนครัง้ แรก นับเปนของใหมในสมัยภายหลัง เปลีย่ นแปลงการปกครองเมือ่ พ.ศ. 2475 สวนคําวา "ชโย"
ก็พง่ึ มีใชเปนครัง้ แรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั
3. สาระสําคัญของเรื่อง
ประเทศไทยกําลังพัฒนา เยาวชนไทยซึง่ กําลังเจริญวัย ยามเรียนก็ขยันศึกษาหาความรูด ว ยความเพลิดเพลิน
ไมมใี ครเสมอเหมือนเด็กไทย เด็กไทยยอมระลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระมหากษัตริยไ ทยและพระราชวงศทส่ี ราง
ประเทศชาติบา นเมือง เด็กไทยพยายามศึกษาหาความรูต ามทีต่ อ งการ ประเทศชาติจะมัน่ คงไดเพราะวิชาความรูป ระเทศไทย
จะเจริญรุง เรือง เพราะเยาวชนไทยมีการศึกษาอันจะพาใหประเทศชาติมน่ั คงสืบไป
4. ขอคิดทีไ่ ดจากเรือ่ ง
1. เยาวชนไทยควรภูมใิ จทีไ่ ดเกิดมาเปนคนไทย และควรจงรักภักดีตอ พระมหากษัตริยแ ละแผนดินไทย
2. ประเทศชาติรงุ เรืองไดเพราะเยาวชนมีความรู ความสามารถในวิชาการและนําวิชาการเหลานัน้ มาชวยพัฒนา
ประเทศ
3. เด็กเปนกําลังสําคัญของประเทศ
ณ ยามสายัณห
1. ผูป ระพันธ นายสุภร ผลชีวิน
ประวัตผิ แู ตง นายสุภร ผลชีวิน มีผลงานในดานดนตรี เปนผูแ ตงเพลงเชียรกฬี าใหจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย
และไดรว มกับคุณหญิง สมโรจน สวัสดิกลุ ณ อยุธยา เขียนคํารองสําหรับเพลงพระราชนิพนธ "มหาจุฬาลงกรณ"
ดานงานประพันธไดเขียนบทรอยกรองทัง้ ขนาดสัน้ และขนาดยาวหลายเรือ่ งใชนามจริงบาง นามแฝง
"แสงกรานต" บาง บทประพันธเหลานี้ มีจดุ มุง หมายในการสงเสริมศิลปกรรมและวัฒนธรรมของชาติไทย
2. รูปแบบ (ลักษณะคําประพันธ) เปษณนาทฉันท มีผงั ภูมแิ ละฉันทลักษณดงั นี้
(บทที่ 1) -ุ -ั -ั -ั -ุ -ั -ั -ั -ุ -ั -ั -ั -ุ -ั -ั -ั
-ุ -ุ -ุ -ุ
-ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั
-ุ -ุ -ุ สั-ุมผัสระหวางบท
-ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั
เปษณนาทฉันทนม้ี ที ม่ี าจากเสียงตําขาวของชาวนา มีลหุ และครุ ทีท่ าให ํ เกิดจังหวะคลายเสียงครกกระเดือ่ ง
ตําขาว นายสุภร ผลชีวิน เปนผูคิดประดิษฐขึ้น เมื่อ ป พ.ศ. 2489
BOBBYtutor Thai Note

3. สาระสําคัญของเรื่อง
เวลาใกลคา่ํ ตะวันใกลจะตกดิน ชาวนาตางเรงมือตําขาว พวกผูห ญิงก็รอ งเพลงคลอกับเสียงแคนสลับกับเสียง
ครกกระเดือ่ งนาสนุกสนาน เสียงครกกระเดือ่ งสลับกับเสียงหัวเราะสรวลสันต หญิงตําขาว ชายรับขาวไปฝด ประเพณี
ไทยเปนเชนนีม้ านานและคงจะมีอยูส บื ไปถาลูกหลานไทยชวยกันรักษาไว
4. ขอคิดทีไ่ ดจากเรือ่ ง
1. ประเพณีเปนสมบัตทิ างวัฒนธรรมทีเ่ ราพึงรักษาไว
2. ความสนุกสนานรื่นเริง เปนบุคลิกของคนไทย ไมวา จะเหน็ดเหนือ่ ยก็หาความสุขใจได
3. การรวมแรงรวมใจกันทํางานดวยความพรอมเพรียง เปนความสุขใจอยางหนึง่
4. ลูกหลานไทยมีสว นชวยธํารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมของไทยใหมน่ั คงสืบไป
พระจันทรกระจาง
1. ผูป ระพันธ นายสุภร ผลชีวิน
2. รูปแบบ (ลักษณะคําประพันธ) มุทงิ คนาทฉันท มีผงั ภูมแิ ละฉันทลักษณดงั นี้

บทที่ 1 -ุ -ั -ุ -ั -ุ -ั -ั -ุ -ุ -ุ
-ุ -ุ -ุ -ุ -ั -ุ -ั -ุ -ั -ั
-ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั
-ุ -ุ -ุ -ุ -ุสัม-ุ ผัสระหวางบท
-ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั -ั
มุทงิ คนาท แปลวา เสียงตะโพน การทีเ่ รียกชือ่ ฉันทเชนนีก้ เ็ พราะมีเสียงจังหวะเหมือนจังหวะตะโพนทีเ่ ลนกัน
ในสมัยกอน สวนการรําโทนนั้นเปนการรําทีใ่ ชโทนเปนเครือ่ งเคาะจังหวะ ซึง่ เปนเครือ่ งดนตรีประเภทเดียวกัน การละเลน
ชนิดนีม้ ใี นทองถิน่ ชนบทของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นายสุภร ผลชีวิน เปนผูริเริ่มคิดขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2489
3. สาระสําคัญของเรื่อง
ณ คืนวันเพ็ญ พระจันทรสอ งแสงสวาง ทีจ่ งั หวัดลพบุรใี นฤดูหนาวคืนหนึง่ หญิงและชายตางสนุกสนาน
สงเสียงเกรียวกราวในการรําโทน เสียงโทนเปนจังหวะ หญิงชายรายรําตามทํานองอยางงดงาม เสียงฆองและกรับสลับกับ
เสียงแคน รางกายคลายจากความออนเพลีย รูส กึ สนุกสนานทีไ่ ดฟง ตะโพนแตกอ นเกา กวีจงึ คิดประดิษฐคาฉั ํ นทชื่อ
"มุทงิ คนาท" เสนอไวเปนกํานัลแดวงวรรณคดีของเมืองไทย
4. ขอคิดทีไ่ ดรบั จากเรือ่ ง
1. ดนตรีทําใหจติ ใจแจมใส สมองคลายความเครงเครียด
2. เสียงดนตรี ลีลาฟอนรํา ตลอดจนจังหวะและลีลาของการรําโทนเปนแรงบันดาลใจใหกวีสรางสรรคงานดาน
วรรณศิลปขน้ึ
3. ศิลปะพืน้ บานจัดเปนมรดกทางวัฒนธรรมทีส่ าคั
ํ ญยิง่ อันควรทีจ่ ะอนุรกั ษไวตลอดไป
พรมงคล
1. ผูป ระพันธ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช
2. ลักษณะคําประพันธ กลอนหก
3. สาระสําคัญ พรสูงสุด คือ คิดดี พูดดี ทําดี อันเปนการกระทําของตน
BOBBYtutor Thai Note

ยามมืด
1. ผูป ระพันธ ไมปรากฏนามผูแ ตง
2. ลักษณะคําประพันธ โคลงสีส่ ภุ าพ 5 บท
3. สาระสําคัญ มนุษยควรเขาใจสัจธรรมวา ทุกขสุขเปนของคูกัน เมือ่ ยังมีชวี ติ ก็ควรมีความหวัง ไมควรทอแท
หมดกําลังใจ
บทที่ 1 ยามมืดในเวลากลางคืน ถึงไมมดี วงจันทร ก็ยงั มีดาวศุกรสอ งสวาง
บทที่ 2 ยามหิว ก็ยงั ดืม่ นํ้ากลัว้ ทองแทนไดบางขณะไมถงึ กับอดตาย
บทที่ 3 ถึงจากกันก็มโี อกาสไดพบ เมือ่ มีทกุ ขกจ็ ะตองสุขสักวันหนึง่
บทที่ 4 เมือ่ ประสบเหตุรา ย ถาพิจารณาอยางมีสติกจ็ ะพบกับความสุขได
บทที่ 5 ขอใหมคี วามสุขกับเวลาในปจจุบนั ความสงบจะชวยใหเขมแข็ง รูจ กั ใชปญ ญาในการพิจารณาหาเหตุผล
เพือ่ ใหเกิดโลกทัศนกวางไกล
4. ขอคิดทีไ่ ดรบั สิง่ รายยอมคลีค่ ลายไปได เมือ่ ใชสติปญ
 ญาพิจารณาดวยเหตุและผล
คําขาน
1. ผูป ระพันธ ทานผูห ญิงสมโรจน สวัสดิกลุ ณ อยุธยา
2. ลักษณะคําประพันธ กลอนสุภาพ
3. ทีม่ าของเรือ่ ง ตัดตอนมาจากบทอาศิรวาทบรมมหาธรรมิกราชสดุดี ในหนังสือพรรณไมในสวนหลวง ร.9
พ.ศ. 2530
4. สาระสําคัญ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ไดเสด็จพระราชดําเนิน
ผานถิ่นทุรกันดาร ภูเขาลําเนาไพรทัว่ ทุกแหงในประเทศไทยเพือ่ บําบัดทุกข บํารุงสุขใหแกราษฎร พระราชทานทีท่ ากิํ น
หาแหลงนํา้ ทําฝนหลวง พระราชทานแนะนําอาชีพ โปรดใหแพทยทต่ี ามเสด็จรักษาราษฎรทีป่ ว ยไข
5. ขอคิดทีไ่ ดรบั
ประชาชนชาวไทยมีความสุขสงบไดดว ยพระเมตตาบารมี ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั และพระนางเจาฯ
พระบรมราชินีนาถ พรอมดวยพระบรมวงศศานุวงศ จึงสมควรทีจ่ ะระลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ดวยความจงรักภักดี
กาญจนกานท
"กาญจนกานท" หมายถึง บทรอยกรองทีส่ งู คา ซึง่ ไดรวบรวมบทรอยกรองของกวี 5 ทาน รวมทัง้ สิน้ 9 บท ตัง้ แต
สมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงปจจุบนั
กวินทรปณิธาน
1. ผูป ระพันธ ไมปรากฏนามผูแ ตง สันนิษฐานวา ผูแ ตงเปนผูใ กลชดิ กับราชสํานัก ในสมัยสมเด็จพระบรม-
ไตรโลกนาถ
2. ลักษณะคําประพันธ โคลงดัน้
3. สาระสําคัญ เนนบทกวียอพระเกียรติสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ใชถอ ยคําไพเราะ แสดงถึงพระปรีชาสามารถ
ของพระมหากษัตริยไ ทย
4. ทีม่ าของเรือ่ ง ลิลติ ยวนพาย
BOBBYtutor Thai Note

นรชาติ
1. ผูป ระพันธ สมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระปรมานุชติ ชิโนรส
2. ลักษณะคําประพันธ อินทรวิเชียรฉันท
3. ทีม่ าของเรือ่ ง กฤษณาสอนนองคําฉันท
4. สาระสําคัญ วัว ควาย ชางเกิดมาเมือ่ สิน้ ชีวติ ยังคงมีเขามีงาเหลืออยู มนุษยจะเหลือเพียงคุณงามความดี หรือ
ความชัว่ เทานัน้ ทีป่ รากฏอยูใ นโลก
5. ขอคิดทีไ่ ดรบั ควรทําความดีใหสมกับเกิดมาเปนมนุษย
ความกรุณาปรานี
1. ผูป ระพันธ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั
2. ลักษณะคําประพันธ กลอนสุภาพ
3. สาระสําคัญ ความกรุณาปรานี เกิดขึ้นจากใจ มีประโยชนทง้ั ผูใ หและผูร บั
ไทยเอย
1. ผูป ระพันธ พระราชวรวงศเธอกรมหมืน่ พิทยาลงกรณ
2. ลักษณะคําประพันธ โคลงสีส่ ภุ าพ
3. สาระสําคัญ คนไทยควรมีความรักสามัคคี รูจ กั ใชสติปญ
 ญา ไมควรกลัน่ แกลง ขมเหงกันเอง ใหระลึกถึง
บรรพบุรษุ ทีย่ อมสละชีวติ เพือ่ รักษาแผนดินไทยไว
4. ทีม่ าของเรือ่ ง ลิลติ สามกรุง
บทนมัสการพระพุทธคุณ
ผูแ ตง พระยาศรีสนุ ทรโวหาร (นอย อาจารยางกูร)
ลักษณะคําประพันธ อินทรวิเชียรฉันท
บทนมัสการพระธรรมคุณ
ลักษณะคําประพันธ กาพยฉบัง
บทนมัสการพระสังฆคุณ
ลักษณะคําประพันธ กาพยฉบัง
บทนมัสการมาตาปตค
ุ ณ

ลักษณะคําประพันธ อินทรวิเชียรฉันท
บทนมัสการอาจริยคุณ
ลักษณะคําประพันธ อินทรวิเชียรฉันท
BOBBYtutor Thai Note

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. โสนริมนํ้าก็ซากลี
้ํ บเฉา สะแกตนเกาก็แตกกิง่ กอ
กระพือลมกราวจะหนาวแลวหนอ วะวิว่ ขลุย คลอประเลงเพลงรัก
คําประพันธขา งตนนีใ้ ชรปู แบบฉันทลักษณใดในการแตง
1) มุทงิ คนาทฉันท 2) สยามมณีฉนั ท
3) เปษณาทฉันท 4) สยามรัตนฉันท
2. ขอใดใหความรูส กึ ฮึกเหิม
1) บุรษุ ระริกขยิกตอน นรีราร
ํ อนระเริงรา
เคาะฆองและกรับสลับนา ทะแคน ณ คราเสนอเพลง
2) บรขู ยาดยอทัพ บรขู ยับยอศึก คะคึกเขาตอแกลว คะแคลวเขาตอกลา
3) มอญพมาดาดืน่ เดินดุจคลืน่ คลาฟอง นองนานในอรรณเวศ
4) ทัง้ พญาพาฬมฤคราชเสือโครงคระครางครึม้ กระฮึมเสียงสําเนียงกอง รองปะปบ ถีบทะยานยอง แยกเขีย้ วเคีย้ วฟน
ตัวสัน่ อยูร กิ ๆ
3. ขอใดไมมคี วามหมายในทางเชิญชวน
1) ดนูสดับประทับใจ แนะนาจะไดประดิษฐฉนั ท
"มุทงิ คนาท" เสนอวรรณ- คดีกํานัลนครไทย
2) ชายใดไมเทีย่ วเทียวไป ทุกแควนแดนไพร
มิอาจประสบพบสุข
3) จงประชาราษฎรนอ ม คํานึง
จารพระคุณพระตรึง ตรึกไว
4) ประเพณีไทยสมัยกอนเกา ก็คงมีเคาจะเนานานถา
ดรุณลูกหลานสถานทองนา สมัครรักษาขนบธรรมเนียม
4. "ดรุณสยามมิครามอุสา ห หทัยจะหาวิชาประสงค
ประเทศจะงามสยามจะยง จะมัน่ จะคงเพราะเหตุวชิ า"
คําประพันธมี ครุ และลหุ ตรงกับขอใด
1) -ุ -ั -ั -ุ -ั -ั -ุ -ั 2) -ั -ุ -ุ -ั -ุ -ุ -ั -ุ

3) -ุ -ั -ุ -ั -ุ -ั -ุ -ั 4) -ั -ุ -ั -ุ -ั -ุ -ั -ุ
BOBBYtutor Thai Note

5. ขอใดดีเดนในดานศิลปะการใชคําทีม่ ที ง้ั แสง เสียง ภาพ และอาการเคลือ่ นไหวไดมากทีส่ ดุ


1) ปะโทนปะโทนปะโทนโทน บุรษุ สิโอนสะเอวไหว
อนงคนําเคลือ่ นเขยือ้ นไป สะบัดสไบวิไลตา
2) แจก แจก จะ แจะ จํ้า สรซําสิ
้ สําเนียง
นกรองขรมเพียง ชนพูดนะภาษา
3) พระพายฮืดกระพือหวน ประมวลลวนสมุทรเกลียว
ระดมพัด ณ บัดเดีย๋ ว ขยายแยกและแตกฉาน
4) มโหรีจากราวปามาเรือ่ ยรี่ ราชินแี หงนํ้าคางจะหางกัน
ฝกตอยติง่ แตกจังหวะประชันกัน จักจัน่ จีเ่ จือ้ ยรับเรือ่ ยรอง
6. คําประพันธทย่ี กมานี้ ขอใดใกลเคียงกับ "หัวใจนักปราชญ" มากทีส่ ดุ
1) กาพยยานี 11
นํ้าตาเปรียบเหมือนเพือ่ น คอยตักเตือนอนุสรณ
เศราสุขทุกขมวยมรณ รื่นเริงใจใชนาตา ํ้
2) สยามมณีฉนั ท
ดรุณสยามมิครามอุสา ห หทัยจะหาวิชาประสงค
ประเทศจะงามสยามจะยง จะมัน่ จะคงเพราะเหตุวชิ า
3) กลอนสุภาพ
สรุปแลวแกวธัญญพชื พันธุน ้ี คุณภาพมีศรีปานอาหารสวรรค
ในพรรษานาอุดมสมบูรณธญ ั ญ ควรแกสรรเสริญกราวคือชาวนา
4) โคลงสีส่ ภุ าพ
วิธพี ทิ กั ษปอ ง ปกเมือง
ยามวิบตั ภิ ยั เคือง ขุกใกล
วิจยั วิจารณเนือง เนืองอยู
หมัน่ สอบเหตุเลิศให แจมแจงแหงการณ
7. จากเรือ่ ง "ยามมืด" ขอใดมิใชสาเหตุของความทุกขของมนุษย
1) ความหิว 2) ความพลัดพราก 3) ความรัก 4) การประสบภัยพิบตั ิ
8. "พรากหายใชพรากราง นิรนั ดรกาล
มีพรากมีพบพาน เพือ่ นพอง
ชิงโศกพาผลาญ เผาจิต
วันหนึง่ นัน้ จักตอง กลับรายกลายดี"
คําประพันธน้ีไมปรากฏลักษณะของภาษาในขอใด
1) การเลนคํา 2) การใชคาตายแทนคํ
ํ าเอก
3) สัญลักษณ 4) สัมผัสอักษร
9. "ฉันทชนิดนีม้ ลี กั ษณะคลายกลอนแปด แตใชลหุและครุสลับกันทัง้ วรรค" "ฉันทชนิดนี้" หมายถึง ฉันทประเภทใด
1) สยามมณีฉนั ท 2) สยามรัตนฉันท 3) สยามวิเชียรฉันท 4) สยามอินทรวิเชียรฉันท
BOBBYtutor Thai Note

10. "พรสูงสุด" ทีส่ มเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชไดกลาวไวในเรือ่ งพรมงคล ตรงกับขอใด


1) เมตตา กรุณา อุเบกขา 2) มุทติ า อุเบกขา ปญญา
3) คิดดี พูดดี ทําดี 4) ศีล สมาธิ ปญญา
11. สารสําคัญของเรือ่ งคําขานคือขอใด
1) การยกยองพระมหากษัตริยว า เปนสมมติเทพ
2) การแสดงถึงพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริยท ท่ี รงบําบัดทุกขบํารุงสุขแกราษฎร
3) บุญญาธิการของพระมหากษัตริยไ ทยรวมทัง้ พระเมตตาบารมี
4) พระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระมหากษัตริยไ ทยทีม่ ตี อ ปวงชนชาวไทย
12. ขอใดคือประโยคทีส่ อ่ื ความหมายสําคัญทีส่ ดุ ของคําประพันธบทนี้
1) ไมทรงเลือกชาติชน้ั เผาพันธุไ หน อยูป า เขาอยูเ มืองไกลอยูฝ ง สินธุ
2) โปรดใหผรู พู ชื และนําดิ
้ น เสริมอาชีพไทยถิน่ ใหรทู ํา
3) เสด็จไหน ธ ทรงมีแพทยอาสา เยียวยาผูป ว ยชวยอุปถัมภ
4) ทุกพระองคบรมวงศทรงตรากตรํา เราไดยนิ แตคาถวายชั
ํ ย
13. "เปนสิง่ ดีสองชัน้ พลันปลืม้ ใจ"
"เปนสิง่ ดีสองชัน้ " หมายถึงอะไร
1) ความสุข ความสมหวัง 2) ความรัก ความเมตตา
3) ความซือ่ สัตย ความยุตธิ รรม 4) ผูใ ห และผูร บั
14. "กวินทรปณิธาน" หมายความวาอยางไร
1) ความปรารถนาของกวีผยู ง่ิ ใหญ 2) ความสุขของมนุษย
3) ความมีศลิ ปะในการประพันธ 4) ความยิง่ ใหญของกวี
15. เรื่อง "นรชาติ" นํามาจากเรือ่ งใด
1) เวนิชวานิช 2) กฤษณาสอนนองคําฉันท
3) ลิลติ ยวนพาย 4) หัวใจนักรบ

เฉลย
1. 1) 2. 2) 3. 1) 4. 3) 5. 1) 6. 2) 7. 3) 8. 3) 9. 1) 10. 3)
11. 2) 12. 4) 13. 4) 14. 1) 15. 2)

!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!
BOBBYtutor Thai Note

ธรรมชาติของภาษา
ภาษาของมนุษยทว่ั ไปมีลกั ษณะรวมกันทีส่ ําคัญมี 4 ประการ ดังนี้
1. ใชเสียงสือ่ ความหมาย บางภาษามีตวั อักษรเปนเครือ่ งถายเสียง
- เสียงสัมพันธกบั ความหมาย คําไทยบางคําอาศัยเลียนเสียงธรรมชาติและเสียงสัตว เชน โครม เพลง ปง
กริง่ หวูด ออด ตุก ๆ กา แมว จิง้ จก อึง่ อาง ตุก แก
- เสียงไมสมั พันธกบั ความหมาย คือ การตกลงกันของกลุม แตละกลุม วาจะใชคาใดตรงกัํ บความหมายนัน้ ๆ
ฉะนัน้ แตละชาติจงึ ใชคาไม
ํ เหมือนกัน
สวนมากเสียงกับความหมายไมสมั พันธกนั ถาเสียงกับความหมายสัมพันธกนั ทัง้ หมดแลวคนตางชาติตา งภาษา
ก็จะใชคําตรงกัน
2. ภาษาประกอบกันจากหนวยเล็กเปนหนวยใหญ เชน เสียง (พยัญชนะ สระ วรรณยุกต) คํา ประโยค ขอความ
เรือ่ งราว ภาษาแตละภาษามีคาจํ
ํ านวนจํากัดแตสามารถประกอบกันขึน้ โดยไมจากั
ํ ดจํานวน เชน มีคาว ํ า ใคร ใช ให ไป หา
สามารถสรางเปนประโยคไดหลายประโยคและตอประโยคใหยาวออกไปไดเรือ่ ยๆ
3. ภาษามีการเปลีย่ นแปลง ซึง่ มีสาเหตุดงั นี้
- การพูดจาในชีวติ ประจําวัน เสียงอาจกลายหรือกรอนไป
- อิทธิพลของภาษาอืน่ เชน ภาษาอังกฤษ มักมีคําทีไ่ มกะทัดรัด เชนคําวา ไดรบั ตอการ นํามาซึง่ พรอมกับ
สําหรับ มัน ในความคิด สั่งเขา สงออก ใชชีวิต ไมมลี กั ษณนาม ตัวอยาง เขาไดรบั ความพอใจ, ขอสอบนีง้ า ยตอการคิด
ฯลฯ
- ความเปลีย่ นแปลงของสิง่ แวดลอม
- การเรียนภาษาของเด็ก
BOBBYtutor Thai Note

4. ภาษาตางๆ มีลกั ษณะทีต่ า งและเหมือนกัน


ทีต่ า งกันคือ การใชคาํ เสียง ลักษณนาม ไวยากรณ การเรียงคํา
ทีเ่ หมือนกันคือ
- ใชเสียงสือ่ ความหมาย
- มีวธิ สี รางศัพทใหม
- มีสํานวน
- มีชนิดของคํา เชน คํานาม สรรพนาม กริยา วิเศษณ เปนตน
- มีการขยายประโยคใหยาวออกไปไดเรือ่ ยๆ
- มีประโยคบอกเจตนาคลายกัน เชน แจงใหทราบ ถามใหตอบ บอกใหทํา
- มีการเปลีย่ นแปลงไปตามกาลเวลา

ลักษณะที่ควรสังเกตในภาษาไทย
อักษรไทย คือ เครือ่ งหมายทีใ่ ชแทนเสียงในภาษาไทย ประกอบดวย
1. พยัญชนะ
2. สระ
3. วรรณยุกต
1. พยัญชนะมี 44 รูป 21 เสียง
หนาทีข่ องพยัญชนะ คือ
1. เปนพยัญชนะตน มี 21 เสียง ดังนี้
1. ก 12. บ
2. ค ข ฃ ฅ ฆ 13. ป
3. ง 14. พ ผ ภ
4. จ 15. ฟ ฝ
5. ช ฉ ฌ 16. ม
6. ซ ศ ษ ส 17. ร (ฤ)
7. ย ญ 18. ล ฬ
8. ด ฎ (ฑ) 19. ว
9. ต ฏ 20. อ
10. ท ฐ ฑ ฒ ถ ธ 21. ฮ ห
11. น ณ
- พยัญชนะตนประสม คือ พยัญชนะควบกลํ้า เชน เกรง กลัว กวาง
- พยัญชนะตนเดีย่ ว คือ พยัญชนะไมควบกลํ้า เชน กอง แผน หมาย จริง สราง ทราบ
BOBBYtutor Thai Note

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. ตัวพยัญชนะในภาษาไทยทีอ่ อกเสียงซํากั ้ นมากทีส่ ดุ มีกต่ี วั
1) 3 ตัว 2) 4 ตัว 3) 5 ตัว 4) 6 ตัว
2. ขอใดมีเสียงพยัญชนะตนแตกตางจากคําอื่น
1) ถํ้า เฒา แทน ฐาน โธ 2) แสรง ทราย ศรี ไซร สรร
3) ควร เขย เฆี่ยน ขันธ ควัน 4) เฉี่ยว ชาติ เชาวน ฉัน ฌาน
3. ขอใดใชเสียงพยัญชนะตนเปนเสียงเดียวกันทุกคํา
1) ลนลาน ลูกหลาน ลุฤกษ 2) พริง้ เพริศ พรพรหม พรักพรอม
3) ศึกษา สมศรี ทรุดโทรม 4) ขวักไขว เควงควาง ขางขวา
2. เปนพยัญชนะทาย (สะกด) มี 8 เสียง รวม 35 ตัว (สะกดไมได 9 ตัว ฃ ฅ ฉ ฌ ผ ฝ อ ห ฮ)
1. เสียงแมกก ไดแก ก ข ค ฆ
2. เสียงแมกง ไดแก ง
3. เสียงแมกด ไดแก ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ถ ต ท ธ ศ ษ ส
4. เสียงแมกบ ไดแก บ ป พ ฟ ภ
5. เสียงแมกน ไดแก น ณ ญ ร ล ฬ
6. เสียงแมกม ไดแก ม
7. เสียงแมเกย ไดแก ย
8. เสียงแมเกอว ไดแก ว
- พยัญชนะบางตัวไมออกเสียง เชน องค สังข สามารถ ปรารถนา พรหม พุทธ สมุทร จริง สราง ทราย อยู หวาน
- บางคํามีเสียงพยัญชนะแตไมมรี ปู ไดแก คําทีป่ ระสมดวยสระอํา (อะม) ใอ ไอ (อะย) เอา (อะว) เชน จําใจไกลเขา
4. ขอใดมีพยัญชนะทีไ่ มออกเสียงมากทีส่ ดุ
1) ฝายสมณะชีพราหมณทง้ั หลาย 2) ทศกัณฐรบกับพระรามพระลักษณ
3) พิจกั ขณปรารถนาจะสรางวัดจริง 4) นวลอนงคยงั สวยอยูอ ยางไมสราง
5. ขอใดมีเสียงพยัญชนะทายนอยทีส่ ดุ
1) ยามคํ่าคืนฝนทนหนาว 2) มุง เรียนตองหมัน่ อาน
3) จันทรสอ งหลาฟาสวางใส 4) มารรายรายรําลวง
6. คําในขอใดมีเสียงพยัญชนะตนกับพยัญชนะทายเปนเสียงเดียวกัน
1) เณร 2) ภาพ 3) ธาตุ 4) ศิษย
7. ขอใดมีเสียงพยัญชนะสะกดของพยางคตน ตางจากเสียงพยัญชนะตนของพยางคถดั มา
1) ชัยภูมิ 2) นามรูป 3) กุลบุตร 4) คุณภาพ
BOBBYtutor Thai Note

2. สระ มี 21 รูป 32 เสียง แบงเปนดังนี้


1. สระแท (เดีย่ ว)
รัสสระ ทีฆสระ
อะ อา
อิ อี
อึ อือ
อุ อู
เอะ เอ
แอะ แอ
โอะ โอ
เอาะ ออ
เออะ เออ
อํา (อะม)
ใอ (อะย)
ไอ (อะย)
เอา (อะว)
ฤ ฤๅ
ฦ ฦๅ
2. สระประสม (เลือ่ น)
อัวะ อัว
เอียะ เอีย
เอือะ เอือ
8. ขอใดประสมดวยสระแททกุ คํา
1) เรือชัยไววองวิง่ 2) รวดเร็วจริงยิง่ อยางลม
3) เสียงเสาเราระดม 4) หมทายเยิน่ เดินคูก นั
9. คําประพันธตอ ไปนีไ้ มมเี สียงประเภทใด
“โบราณทานวาชา ยอมจะไดสองพรา
เพริศแททางภา ษิตเอย”
1) เสียงสระเดีย่ ว 2) เสียงสระประสม 3) เสียงพยัญชนะเดีย่ ว 4) เสียงพยัญชนะประสม
สระในบางคํารูปไมเหมือนกัน
- คําทีม่ าจากสระอะ เชน รัก (ระก) จํา (จะม) สรรค (สะน) ไป (ปะย) ใน (นะย) เรา (ระว)
- คําทีม่ าจากสระเออ เชน เทอม เดิน เลย
- คําทีม่ าจากสระอัว เชน บัว ชวน
- คําทีม่ าจากสระออ เชน รอ กร บวร
BOBBYtutor Thai Note

สระในบางคําออกเสียงไมตรงรูป
- สระเสียงสัน้ แตออกเสียงยาว เชน เกา เทา เชา นํ้า ได
- สระเสียงยาวแตออกเสียงสัน้ เชน ทาน เงิน สอย นอง แหมม แวว เกง เลน
- สระในบางคําไมออกเสียง เชน กษัตริย เหตุการณ ภูมิลําเนา จักรพรรดิ
10. ขอใดมีเสียงสระอะลวน
1) พนัน กรมธรรม หํ้าหัน่ สะบัด 2) วัฒนธรรม กํายํา รัชสมัย วสันต
3) สัมพันธ วัชระ วรวรรณ จํากัด 4) หัตถกรรม ทรลักษณ จํ้าหมํ้า จรจัด
11. ขอใดใชรสั สระทุกคํา
2) จันอับ จริมจิต เจาพระเดช 2) เบ็ดเสร็จ บุรพทิศ บุษบง
3) กะรัด กิตติคณ ุ เกษตรกร 4) ประเคราะห ปฏิสนธิ์ เบิกพระเนตร
12. ขอใดทุกคําประสมดวยเสียงสระเดียวกัน
1) เตาเผา เหลาเกา เทาเปลา 2) แลงแปง แบงแยก แจกแจง
3) ยํ่าคํ่า นํ้าครํา ลํานํา 4) ไยไหม ใสไส ไขไก
13. คําในขอใดออกเสียงสระสัน้ เหมือนกันหมด
1) แคน คั่ว ของ 2) สอย แลน หอง
3) รอง วาว เนิ่น 4) ยอง เกง ไข
14. คําในขอใดทีพ่ ยางคหนาออกเสียงสัน้ หรือยาวไดโดยความหมายไมเปลีย่ น
1) ใตถนุ นํ้าคํา ผูห ญิง 2) ตะราง ปนใจ วังหิน
3) ขันรับ มิดี วันนี้ 4) ไขมัน ตักดิน มะพูด
15. ขอใดมีสระออกเสียงตางจากรูป
1) ภาคใตน้ําตานองเพราะขาวของถูกนําท ้ วม 2) ภาคเหนืออากาศหนาวจัดกวาทุกปทผ่ี า นมา
3) ภาคอีสานเดือดรอนใจเพราะปาใหญถกู ทําลาย 4) ภาคกลางนัง่ หมนหมองเพราะขาวเปลือกราคาไมดี
3. วรรณยุกต มี 4 รูป 5 เสียง
การผันวรรณยุกต มีหลักสังเกตดังนี้
- อักษรกลาง ผันไดครบ 5 เสียง เชน กา กา กา กา กา
- อักษรกลางและสูง รูปกับเสียงวรรณยุกตตรงกัน (ใสวรรณยุกตเอกก็เปนเสียงเอก เปนตน) เชน ไกแจ กระตาก
- อักษรตํารู ่ ปกับเสียงไมตรงกัน (ใสวรรณยุกตเอกเปนเสียงโท เปนตน) เชน พอ แม นอง รู
- รูปวรรณยุกตตรีใชไดกบั อักษรกลางเทานัน้
16. ขอใดใชรปู วรรณยุกตถกู ตอง
1) โคด บุค ตัว๋ 2) โละทิง้ เฟย วฟาว 3) กิบ๊ ชิป๊ ปง 4) เจีย๊ วจาว วุย วาย
17. คําทุกคําทีร่ ปู กับเสียงวรรณยุกตไมตรงกันคือขอใด
1) เสื้อ เชิ้ต เกา 2) ปบ ขาว ใหม 3) นั่ง หาง โตะ 4) ที่ ลุม ชื้น
18. ขอใดมีเสียงวรรณยุกตทง้ั เอก โทและตรี
1) บูเ ช็กเทียน 2) ซิยน่ิ กุย 3) ซิเตงชัน่ 4) ฮัน่ เถงมุย
BOBBYtutor Thai Note

ใหใชคําประพันธตอ ไปนีต้ อบคําถามขอ 19-21


"เห็นฝูงยูงรําฟอน คิดบังอรรอนรํากราย"
19. คําประพันธนม้ี เี สียงพยัญชนะตนกีเ่ สียง
1) 7 เสียง 2) 8 เสียง 3) 9 เสียง 4) 10 เสียง
20. คําประพันธนม้ี เี สียงวรรณยุกตกเ่ี สียง
1) 2 เสียง 2) 3 เสียง 3) 4 เสียง 4) 5 เสียง
21. คําประพันธนม้ี เี สียงพยัญชนะทายกีเ่ สียง
1) 4 เสียง 2) 5 เสียง 3) 6 เสียง 4) 7 เสียง
โครงสรางหรือองคประกอบของพยางค ไดแก
1. เสียงพยัญชนะตน ใหดวู า คํานัน้ เปนพยัญชนะตนประสม (ควบแท) หรือพยัญชนะตนเดีย่ ว (ไมควบแท)
2. เสียงสระ ใหดวู า คํานัน้ มีสระออกเสียงสัน้ หรือออกเสียงยาว (สระบางคํารูปกับเสียงสัน้ ยาวไมตรงกัน)
3. เสียงวรรณยุกต ใหดวู า เปนเสียงอะไร (สามัญ เอก โท ตรี หรือจัตวา)
4. เสียงพยัญชนะทาย (ตัวสะกด) ใหดวู า คํานัน้ มีตวั สะกดหรือไมมี
22. เสียงของพยางคในขอใดมีโครงสรางตางจากพยางคอน่ื
1) กริว้ 2) ไขว
3) สรอย 4) ครั่ง
23. คําในขอใดมีลกั ษณะโครงสรางของพยางคเหมือนกันหมด
1) ดั่ง ไร นั่ง ชั่ว 2) ถอย ทอ ทัว่ ถา
3) ขา ปา หลา วา 4) พลาย ความ เกรง กลืน
24. คําในขอใดมีลกั ษณะโครงสรางพยางคเหมือนกันทุกคํา
1) ขวาน หวาน หยาม ผลาญ 2) เกีย้ ว เชื่อม นวม หวง
3) พลัด ครุฑ ผลุบ พริบ 4) เปด ซูบ โขก ชอบ
25. คําในขอใดเหมือนกันเฉพาะเสียงสระกับเสียงวรรณยุกต
1) วรรค พักตร 2) ฤกษ เทอด
3) นํ้า ชํา้ 4) เนตร เพชร
BOBBYtutor Thai Note

ระดับภาษา
ระดับภาษา คือ การแบงการใชภาษาออกเปนระดับตางๆ ใหเหมาะสมกับบุคคล โอกาสและสถานที่ มี 5 ระดับ คือ
1. ระดับพิธกี าร ใชสอ่ื สารในทีป่ ระชุมทีเ่ ปนพิธกี าร
2. ระดับทางการ ใชบรรยายหรืออภิปรายอยางเปนทางการ หรือใชในการเขียนขอความใหปรากฏตอสาธารณชน
3. ระดับกึง่ ทางการ ใชภาษาทีล่ ดความเปนการเปนงานลงบางเพือ่ ความใกลชดิ กัน เชน การประชุมกลุม หรือ
อภิปรายเปนกลุม เล็ก หรือบทความในหนังสือพิมพ
4. ระดับไมเปนทางการ ใชสนทนาของบุคคลหรือกลุม คน 4-5 คน หรือการเขียนจดหมายระหวางเพือ่ น
5. ระดับกันเอง ใชสอ่ื สารกันในวงจํากัด เชน ในครอบครัว เพือ่ นสนิทในสถานทีท่ เ่ี ปนสวนตัว
26. “มีผแู จงวาไดพบใบอนุญาตขับรถยนตของทานแลว” ขอความนี้ควรเปนภาษาในระดับใด
1) ระดับกันเอง 2) ระดับไมเปนทางการ 3) ระดับทางการ 4) ระดับกึง่ ทางการ
27. ขอใดใชภาษาระดับทางการ
1) ในระยะนีจ้ ะมีเตามาวางไขทช่ี ายฝง ทะเลวันละหลายตัว
2) พิธีรดนําศพมั
้ กจะทําทันทีหลังจากบุคคลนัน้ เสียชีวติ
3) ในหนาหนาวจะมีนกั ทองเทีย่ วมาชมทัศนียภาพทีน่ เ่ี ปนจํานวนมาก
4) เพือ่ ทําความสะดวกในการเบิกจาย อาจขออนุมตั ถิ วั กันไปทุกรายก็ได
28. “เกิดพสุธาไหวทีจ่ งั หวัดกาญจนบุร”ี ประโยคนี้ใชคาไม ํ เหมาะสมเพราะเหตุใด
1) ใชภาษาเขียนในภาษาพูด 2) ใชคาไม
ํ เหมาะสมกับฐานะของบุคคล
3) ใชคาคะนองในข
ํ อความทีเ่ ปนทางการ 4) นําคําบางคําทีค่ วรจะใชในรอยกรองมาใชในสํานวนภาษาสามัญ
29. ขอใดใชภาษาไดเหมาะแกบคุ คล
1) “นักเรียน กรุณานัง่ เงียบๆ”
2) เขาจะเชิญพระ 5 รูป มาฉันเพลทีบ่ า น
3) ประธานาธิบดีสหภาพโซเวียตถึงแกอนิจกรรมเสียแลว
4) สมเด็จพระสังฆราชเสด็จมาประทานพระโอวาทแกพระภิกษุใหมเมือ่ วานนี้
30. ขอใดใชภาษาระดับเดียวกันทั้งขอ
1) พอแมอยากใหฉนั เปนหมอแตฉนั อยากเปนครูบา นนอก
2) แมอยากใหดฉิ นั คาขาย แตบดิ าอยากใหดฉิ นั เปนแพทย
3) หนังสือเลมนีม้ หี วังขายไดเกลีย้ งเพราะรวบรวมวาทะสําคัญๆ ของผูท ม่ี ชี อ่ื เสียงหลายคน
4) กระผมขอเรียนวากระผมไมไดเกงาน เมียกระผมออกลูกเมื่อวานนี้ กระผมเลยตองหยุดงาน
31. ขอใดใชภาษาเหมาะแกโอกาสและสัมพันธภาพระหวางบุคคล
1) เมือ่ อยูบ า นเธอแลวลําบาก ก็มาอยูก บั ฉันอีกนะ (นายจางพูดกับลูกจาง)
2) ถาทีอ่ น่ื ถูกกวาก็ไปดูซคิ ะ หรือจะแวะกลับมาอีกก็ได (แมคา พูดกับลูกคา)
3) ถาจะใหลกู ไปเรียนกวดวิชาละกอ พอจายเงินใหลกู วันนีน้ ะ (ลูกพูดกับพอ)
4) ดิฉนั เอาหนังสือไปวางไวบนโตะแลวนะคะ แตตอนนีไ้ มรวู า อาจารยไปไหน (นักศึกษาพูดกับอาจารย)
32. ขอใดใชภาษาระดับทางการ
1) กรุณาติดแสตมปและทิง้ จดหมายใหดว ย 2) เขาใหเจาหนาทีป่ ระทับตราหนังสือแลว
3) เลขานุการไมมีสิทธิ์ออกความเห็นในที่ประชุม 4) หัวหนายังไมไดแทงเรื่องลงมาใหเจาหนาที่ธุรกิจ
BOBBYtutor Thai Note

ราชาศัพท
ราชาศัพท แปลวา คําพูดสําหรับพระเจาแผนดิน ปจจุบนั รวมถึงการใชกบั บุคคลดังตอไปนี้
1. พระเจาแผนดิน
2. พระบรมวงศานุวงศ
3. พระภิกษุ
4. ขาราชการ
5. สุภาพชน
คําราชาศัพททต่ี กแตงขึน้ จากภาษาตางๆ ดังนี้
- คําไทยดัง้ เดิม เชน พระเจาลูกยาเธอ พระยอด ทรงถาม ทรงชาง
- คําบาลี เชน พระอัฐิ พระหัตถ พระอุทร
- คําสันสกฤต เชน พระเนตร พระจักษุ ทรงพระอักษร
- คําเขมร เชน พระขนง ตรัส เสวย โปรด บรรทม
การใช "ทรง"
1. นําหนาคํานาม และคํากริยาสามัญ เชน ทรงมา ทรงชาง ทรงธรรม ทรงกีฬา ทรงฟง ทรงยินดี ทรงขอบใจ
2. นําหนาคํานามราชาศัพท เชน ทรงพระเมตตา ทรงพระประชวร ทรงพระดําริ ทรงพระสุบนิ
3. หามนําหนาคําทีเ่ ปนกริยาราชาศัพทอยูแ ลว เชน ตรัส เสด็จ ประทับ พระราชทาน ทอดพระเนตร โปรด ฯลฯ
การใช "คําเสด็จ"
- ใชนาหน
ํ าคํากริยาบางคําใหเปนกริยาราชาศัพท เชน เสด็จไป เสด็จกลับ เสด็จขึ้น เสด็จลง
- นําหนาคํานามใหเปนกริยาราชาศัพท เชน เสด็จพระราชดําเนิน เสด็จพระราชสมภพ
การใช "คําพระบรม"
ใชกบั สิง่ สําคัญของพระมหากษัตริยเ ทานัน้ เชน พระบรมเดชานุภาพ พระบรมราชสมภพ พระบรมราชโองการ พระ
ปรมาภิไธย พระบรมมหาราชวัง พระบรมราชชนนี ฯลฯ
การใช "คําอาคันตุกะ" (แขกผูมาเยือน)
แขกของกษัตริยใ หใช พระราชอาคันตุกะ ถาไมใชแขกของกษัตริยใ หใช อาคันตุกะ เชน
- ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาเปนพระราชอาคันตุกะของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั
- พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงเปนอาคันตุกะของพระธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา
การใช "คําทูลเกลา ฯลฯ" ใชกบั ของเบาและเล็ก เชน เงิน ดอกไม เสื้อผา ฯลฯ
การใช "คํานอมเกลา ฯลฯ" ใชกบั ของใหญหรือหนัก เชน รถยนต อาคาร ทีด่ นิ ฯลฯ
การทีป่ ระชาชนไปรอตอนรับพระเจาแผนดิน ควรใชวา ประชาชนไปเฝาฯ รับเสด็จ หามใชวา ถวายการตอนรับ
ประชาชนถวายความจงรักภักดี ก็ผดิ ควรใชวา ประชาชนแสดงความจงรักภักดี หรือมีความจงรักภักดี
BOBBYtutor Thai Note

33. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ใหปริญญาบัตรแกนสิ ติ ผูจ บการศึกษา


1) ประทาน 2) ทรงประทาน 3) พระราชทาน 4) ทรงพระราชทาน
34. “เมือ่ คราวทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั เสด็จพระราชดําเนินไปยังจังหวัดเชียงใหม ผูว า ราชการจังหวัดไดจดั ใหมี
การแสดงละคร..........”
1) หนาพระทีน่ ง่ั 2) หนาพระพักตร 3) เฉพาะพระพักตร 4) เบือ้ งหนาพระทีน่ ง่ั
35. เขาจะ ........... สมเด็จพระวันรัตไป ........... ทีบ่ า นพรุง นี้
1) ทูลเชิญ ฉันภัตตาหาร 2) นิมนต ฉันภัตตาหาร
3) นิมนต เสวยพระกระยาหาร 4) ทูลเชิญ เสวยพระกระยาหาร
36. คณะกรรมการมูลนิธสิ ายใจไทย..........ถวาย..........แดสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินนี าถ
1) ทูลเกลาทูลกระหมอม ผาเช็ดหนา 2) ทูลเกลาทูลกระหมอม ผาซับพระพักตร
3) นอมเกลานอมกระหมอม ผาเช็ดหนา 4) นอมเกลานอมกระหมอม ผาซับพระพักตร
37. ขอใดใชราชาศัพทถกู ตอง
1) เมือ่ พระเจาลือไทยผนวชเปนสามเณรแลวไดเสด็จออกไปอุปสมบทเปนพระภิกษุอยู ณ วัดปามะมวงในอรัญญิก
2) เมื่อเสด็จพิธีพระราชทานปริญญาบัตร พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั พระราชทานพระบรมราโชวาทแกบณ ั ฑิตใหม
3) ประธานาธิบดีแหงสาธารณรัฐสังคมนิยมแหงสหภาพพมา เคยมาเยือนเมืองไทยในฐานะอาคันตุกะของพระบาท-
สมเด็จพระเจาอยูห วั
4) คณะกรรมการจัดงานวัดพิทกั ษไทย ไดเขาเฝาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั และสมเด็จพระนางเจาพระบรม-
ราชินีนาถ เพือ่ นอมเกลานอมกระหมอมถวายเงินจํานวน 200,000 บาท
38. ขอใดใชภาษาไดถกู ตอง
1) นักศึกษาพยาบาลถวายการตอนรับสมเด็จพระบรมราชินนี าถ
2) สมเด็จพระบรมราชินนี าถทรงลงพระปรมาภิไธยในสมุดเยีย่ ม
3) วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 เปนวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั
4) มีผทู ลู เกลาฯ ถวายเสือ้ ผาแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั เพือ่ พระราชทานแกนกั เรียนยากจน

การอธิบาย การบรรยายและการพรรณนา
การอธิบาย คือ การทําใหผอู น่ื เขาใจความจริงในเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ มี 5 วิธี
1. อธิบายตามลําดับขั้น ใชอธิบายสิง่ ทีเ่ ปนกระบวนการ หรือกรรมวิธี
2. ใชตวั อยาง ใชอธิบายในสิง่ ทีเ่ ขาใจยาก
3. เปรียบเทียบความเหมือนและตางกัน ใชอธิบายในสิง่ ทีแ่ ปลกใหมหรือสิง่ ทีย่ งั ไมคนุ เคย
4. ชีส้ าเหตุและผลลัพธทส่ี มั พันธกนั ใชอธิบายเพือ่ บอกเหตุผลหรือสาเหตุ
5. นิยามหรือใหคาจํํ ากัดความ ใชอธิบายความหมายของคําศัพทหรือขอความ
การบรรยาย คือ การเลาเรือ่ งราวใหผฟู ง หรือผูอ า นไดรวู า ใคร ทําอะไร ทีไ่ หน เมือ่ ไร อยางไร เพือ่ อะไร อาจเปนเรือ่ งจริง
เชน ประวัตขิ องบุคคล หรือเรือ่ งสมมุตกิ ไ็ ด เชน นิทาน นิยาย เปนตน
BOBBYtutor Thai Note

การพรรณนา คือ การใหรายละเอียดสิง่ ใดสิง่ หนึง่ จะมีชวี ติ หรือไมกไ็ ด โดยมุง ใหผอู า นหรือผูฟ ง นึกเห็นภาพเกิด
จินตนาการตามทีผ่ สู ง สารตองการ มักใชคาอุ ํ ปมาเปรียบเทียบ
ทัง้ 3 อยางนีอ้ าจใชรวมกันได เชน ในบทความหรือนิทานเรือ่ งหนึง่ อาจมีทง้ั การอธิบาย บรรยายและพรรณนาคละ
กันได
39. ขอความตอไปนีจ้ ดั อยูใ นกลวิธขี องการอธิบายชนิดใด
“นักเรียนคือผูท อ่ี ยูใ นวัยเรียน ตัง้ แตอายุ 3 ขวบจนถึง 17 ป กอนทีจ่ ะถึงภาวะนักศึกษาในมหาวิทยาลัย”
1) อธิบายตามลําดับขั้นตอน 2) นิยามหรือใหคาจํ
ํ ากัดความ
3) การยกตัวอยางประกอบ 4) ชีส้ าเหตุและผลลัพธทส่ี มั พันธกนั
40. “กาบหอหุม หนอไมสเี หลือง มันเผยออาเล็กนอยประดุจดอกไมแรกผลิแยมกลีบบานฉะนัน้ ”
ขอความทีย่ กมาเปนการเขียนประเภทใด
1) บรรยาย 2) อภิปราย 3) อธิบาย 4) พรรณนา
41. วัฒนธรรมทีเ่ ปนมรดกสืบทอดกันมา มีทง้ั ทีเ่ ปนวัฒนธรรมสรางสรรคอนั ดีงามทีย่ กระดับจิตใจและพฤติกรรม
ตลอดจนอุดมการณแหงชีวติ ทีเ่ ปนประโยชนตอ ตัวเราและสังคม และมีทง้ั วัฒนธรรมทีไ่ มสรางสรรคทเ่ี ปนตัวถวง
ความเจริญของสังคม ทําใหชมุ ชนงมงายไมเปนตัวของตัวเอง ถูกชักจูงไดงา ย มีทศั นคติทเ่ี ปนอันตรายตอตัวเรา
และตอสังคม” กลวิธใี นการอธิบายในขอความขางตนนีต้ รงกับขอใดมากทีส่ ดุ
1) การอธิบายตามลําดับขั้น 2) การเปรียบเทียบความตางกัน
3) การยกตัวอยาง 4) การชีส้ าเหตุและผลลัพธทส่ี มั พันธกนั
42. “กระดาษทีใ่ ชหอ หรือใสอาหารโดยเฉพาะพวกกลวยทอด มันทอด กลวยปง นัน้ ไมควรเปนกระดาษทีม่ ตี วั หนังสือ
ทัง้ นีเ้ พราะหมึกพิมพนน้ั จะมีพวกโลหะหนัก เชน ตะกัว่ โครเมี่ยม แคดเนีย่ มเปนสวนประกอบ ถาหมึกพิมพไป
ถูกอาหารก็จะติดอาหารไป เรารับประทานเขาไปจะสะสมในรางกายทําใหเกิดโรคตางๆ ได”
ขอความนี้เปนการเขียนลักษณะใด
1) การอธิบายโดยยกตัวอยาง 2) การบรรยายตามลําดับขั้นตอน
3) การอธิบายโดยชีเ้ หตุผล 4) การอธิบายโดยการเปรียบเทียบ
43. ขอความตอไปนีม้ กี ลวิธใี นการอธิบายแบบใด
“การตายเปนรางวัลชีวติ บัน้ ปลาย เปนการใหความยุตธิ รรมแกสตั วทกุ หมูเ หลาทัง้ ยังเปนโอกาสใหทาความดี

อยางนอยก็ใหความสําราญใจแกผชู งิ ชังและกอใหเกิดความเสียดายอาลัยรักแกผทู เ่ี คารพนับถือรักใครยง่ิ กวานัน้ ยัง
เปนทูตสวรรคบอกผูย งั มีชวี ติ อยูใ หทราบวาตนก็จะตองตกอยูใ นสภาพอยางนีเ้ หมือนกัน อยาประมาทเรงทําความดีเถิด”
1) การนิยาม 2) การใชตวั อยาง 3) การใชเหตุและผล 4) การเปรียบเทียบ
44. ขอใดมีลกั ษณะเปนการเขียนแบบบรรยาย
1) ฝนฟากระหนํ่าพายุซากรรโชก ้ํ 2) แสนวิปโยคอนิจจานําตาเอ
้ ย
3) ทุกสิง่ ลวนไมเปนเหมือนเชนเคย 4) ตัวเราเอยแสนอาภัพอับปญญา
45. การพรรณนาภาพในขอใดไมแสดงความเคลือ่ นไหว
1) กลิน่ หลานภาจรจะปน สุวคนธบําบวง 2) ดาวเดือนก็เลือนรชนิหาย ระพีจา ทิวาแทน
3) นํ้าคางพระพรางโปรย ชลโชยชะดอกใบ 4) มืดตือ้ กระพือพิรณ
ุ พรม และฤเราจะแยแส
BOBBYtutor Thai Note

หลักการพิจารณาคุณคาของงานประพันธ
สวนประกอบของงานประพันธ ไดแก
1. เนือ้ หา คือ ใจความสําคัญทีผ่ ปู ระพันธถา ยทอดใหผอู า นรับรู
2. รูปแบบ คือ ลักษณะรวมของงานประพันธอนั เปนวิถที างทีผ่ ปู ระพันธเลือกใชในการนําเสนอเนือ้ หาไปสู
ผูอาน มี 2 ประเภท คือ
- ประเภทรอยแกวมีรปู แบบเปนบันทึก บทความ จดหมายเหตุ สารคดี นิทาน เรือ่ งสัน้ นวนิยาย
- ประเภทรอยกรองมีรปู แบบเปนกาพย กลอน โคลง ฉันท ราย ลิลติ เพลงยาว นิราศ
หากงานประพันธทม่ี รี ปู แบบเหมาะสมกับเนือ้ หากลมกลืนกันอยางมีศลิ ปะ ไดรับความนิยมชมชอบจาก
ผูอ า นก็จดั ไดวา งานประพันธนน้ั เปนวรรณคดี ถาไมถงึ ขัน้ ก็จะเรียกวา วรรณกรรม
คุณคาของงานประพันธมี 2 ดาน ดังนี้
1. ดานวรรณศิลป พิจารณาวารูปแบบเหมาะสมกับเนือ้ หาเพียงใด มีกลวิธเี สนอเรือ่ งนาสนใจ ใหความรูแ ละ
ใชสํานวนภาษากะทัดรัดสละสลวยแคไหน
2. ดานสังคม พิจารณาวางานประพันธนนั้ มีสว นเกีย่ วของกับสังคมอยางไร สะทอนใหเห็นสภาพของสังคมเพียงใด

กาพยเหเรือ
1. ผูแ ตง เจาฟาธรรมธิเบศร หรือกรมขุนเสนาพิทกั ษ (เจาฟากุง ) ซึง่ เปนพระโอรสในสมเด็จพระเจาอยูห วั บรมโกศ
ทรงเปนกวีเอกในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย มีผลงาน คือ นันโทปนันทสูตรคําหลวง พระมาลัยคําหลวง กาพยเหเรือ
กาพยหอ โคลงประพาสธารทองแดง และกาพยหอ โคลง นิราศพระบาท
2. จุดประสงค เพือ่ ใหฝพ ายขับเหเวลาตามเสด็จพระเจาอยูห วั บรมโกศ เสด็จพยุหยาตราทางชลมารคไปนมัสการ
พระพุทธบาทสระบุรี
3. รูปแบบ เปนรอยกรองประเภทกาพยเหเรือ มีโคลงสีส่ ภุ าพนํา 1 บท แลวขยายความดวยกาพยยานี 11 หลายบท
4. เนือ้ หา พรรณนาเกีย่ วกับการเสด็จทางชลมารค มีการดําเนินเรือ่ งสัมพันธกบั เวลา 1 วัน ดังนี้
เวลาเชา ชมกระบวนเรือพระทีน่ ง่ั และเรือตามเสด็จซึง่ มีรปู สัตวตา งๆ
เวลาสาย ชมปลาเปรียบเทียบกับหญิงผูเ ปนทีร่ กั
เวลาบาย ชมไม แทรกดวยการรําพันถึงนางผูเ ปนทีร่ กั
เวลาเย็น ชมนก แทรกดวยการรําพันถึงนางผูเ ปนทีร่ กั
เวลาคํ่า ครํ่าครวญถึงนาง
5. คุณคา
- ดานวรรณศิลป ใชคาได
ํ ไพเราะสละสลวยเห็นภาพไดชดั เจน
- ดานสังคม การเดินทางใชทางนําเป
้ นสําคัญ ชีใ้ หเห็นขนบธรรมเนียมประเพณีการเหเรือการและแตงกาย
BOBBYtutor Thai Note

พระราชวิจารณ
เรื่องจดหมายเหตุความทรงจําของกรมหลวงนรินทรเทวี
ผูแตง กรมหลวงนรินทรเทวี (พระองคเจากุ) พระนองนางเธอในรัชกาลที่ 1 มีพระตําหนักอยูใ นวัดพระเชตุพนฯ หรือวัดโพธิ์
จึงไดรบั สมญานามวา “เจาครอกวัดโพธิ”์
รูปแบบ เปนรอยแกวประเภทจดหมายเหตุแบบเกา บันทึกเหตุการณสําคัญๆ ของบานเมืองเทาทีจ่ ําได
เนือ้ หา กลาวถึงเหตุการณตง้ั แตกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย กรุงธนบุรจี นถึงกรุงรัตนโกสินทรสมัยรัชกาลที่ 3 มีทง้ั หมด
256 ขอ
พระราชวิจารณในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั
ผูแ ตง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ 5
รูปแบบ เปนรอยแกวประเภทสารคดี ใหความรูด า นโบราณคดีและประเพณีไทย เปนตัวอยางการวิจารณทม่ี หี ลักฐานประกอบ
เนือ้ หา ทรงพิจารณาหาตัวผูเ ขียนจดหมายความทรงจําเนือ่ งจากไมปรากฏผูแ ตง ทรงสืบสาวจากขุนนางผูใ หญทม่ี อี ายุ
จึงทราบวากรมหลวงนรินทรเทวีเปนผูเ ขียน ทรงปรารภเหตุทท่ี รงวิจารณวา เพือ่ เปนประโยชนแกนกั โบราณคดีรนุ หลังได
คนควาตอไป ทรงวิจารณประกอบเหตุการณทป่ี รากฏอยูใ นจดหมายความทรงจําเพือ่ ชวยใหผอู า นเขาใจเรือ่ งราวยิง่ ขึน้
และทรงนําขอความจดหมายความทรงจํามาไวทง้ั หมดโดยแบงเปนขอๆ ตามลําดับเหตุการณและวิจารณกํากับไว
เนือ้ หาทีเ่ ปนบทเรียน ทรงวิจารณจดหมายเหตุขอ 190 กลาวถึงสมัยรัชกาลที่ 1 ทรงบูรณะปฏิสงั ขรณวดั พระเชตุพน
ซึ่งเดิมมีชื่อวา วัดโพธาราม
ั เชิญจากจังหวัดตางๆ มาประดิษฐานไวทว่ี ดั พระเชตุพน มีดงั นี้
พระพุทธรูปทีโ่ ปรดเกลาใหอญ
1. พระประธานชื่อ พระพุทธเทวปฏิมากร ปางสมาธิ อัญเชิญมาแตวดั ศาลาสีห่ นาหรือวัดคูหาสวรรค ธนบุรี
มาประดิษฐานอยู ณ พระอุโบสถ
2. พระโลกนาถศาสดาจารย ปางหาม พระแกนจันทนอญ ั เชิญมาแตวดั ศรีสรรเพชฌ กรุงศรีอยุธยา มาประดิษฐานอยู
ณ วิหารทิศตะวันออกมุขหลัง
3. พระนาควัดเขาอินทร ปางมารวิชยั อัญเชิญมาแตวดั เขาอินทร สวรรคโลก สุโขทัย มาประดิษฐานอยู ณ วิหาร
ทิศตะวันออกมุขหนา
4. พระโปรดปญจวัคคีย ปางเทศนาธรรมจักร อัญเชิญมาแตกรุงศรีอยุธยา มาประดิษฐานอยู ณ วิหารทิศใต
5. พระนาคปรก อัญเชิญมาแตลพบุรี มาประดิษฐาน ณ วิหารทิศใต
6. พระปาเลไลย เปนพระพุทธรูปหลอใหมในสมัยรัชกาลที่ 1 ประดิษฐาน ณ วิหารทิศเหนือ
จุดประสงค การปฏิสงั ขรณวดั พระเชตุพนในสมัยรัชกาลที่ 1 เพือ่ อนุรกั ษของเกา ในสมัยรัชกาลที่ 3 เพือ่ ใหเปนแหลง
วิทยาทาน ประชาชนทุกชัน้ เขาศึกษาคนควาวิทยาการตางๆ ได
BOBBYtutor Thai Note

นิราศลอนดอน
ผูแ ตง หมอมราโชทัย (ม.ร.ว. กระตาย อิศรางกูร) แตงเมือ่ พ. ศ. 2400 ขณะเดินทางในฐานะเปนลามคณะทูตไทยไป
ประเทศอังกฤษ ตอมาไดเปนอธิบดีผพู พิ ากษาศาลตางประเทศคนแรกของไทย
จุดประสงค เพือ่ พรรณนาเหตุการณตามลําดับเวลาและสถานทีซ่ ง่ึ ไดพบเห็นขณะเดินทาง
รูปแบบ เปนกลอนนิราศ
เนือ้ หา คณะทูตไทยไดเชิญพระราชสารและเครือ่ งบรรณาการแดพระราชินวี คิ ตอเรีย ณ พระราชวังวินเชอร ซึง่ เปนวัง
ประจําฤดูหนาว ไดมกี ารเปลีย่ นแปลงสัญญาใหมไดประโยชนเพิม่ ขึน้ คณะราชทูตไทยไดรบั พระราชทานเลีย้ งอาหารคํ่า
และนําชา
้ ไดพกั ทีพ่ ระราชวังวินเชอร 1 คืน ตอมาคณะทูตไดไปเยีย่ มชมโรงพยาบาล โรงทําเหรียญกษาปณ ปอมเก็บ
ศาสตราวุธ และมงกุฎกษัตริยอ งั กฤษ ซึง่ มีเพชรโกอินวั ใหญเทาไขนกพิราบประดับอยู วันตอมาไดเขาชมพระราชวังบัคกิงแฮม
พระราชวังประจําฤดูรอ น
มงคลสูตรคําฉันท
มงคล หมายถึง เหตุแหงความเจริญกาวหนา
ผูแ ตง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั ทรงพระนิพนธเมือ่ พ.ศ. 2466
ทีม่ า จากพระไตรปฎก สวนพระสุตนั ตปฎกหมวด ขุททกนิกาย ซึง่ วาดวยพระธรรมเทศนาเบ็ดเตล็ดรวมถึงภาษิต
ของสาวกและประวัตติ า งๆ
รูปแบบ เปนรอยกรอง ประเภทอินทรวิเชียรฉันทและกาพยฉบัง 16
เนือ้ หา มนุษยและเทวดาไดพยายามคนหาความเปนมงคลถึง 12 ป ก็ยงั ไมพบพระอานนท ผูเ ปนพุทธอุปฏ ฐากไดเลาวา
ขณะทีพ่ ระพุทธเจาประทับอยู ณ เชตวันมหาวิหารซึง่ อนาถบิณฑิกเศรษฐีเปนผูส รางถวายมีเทพองคหนึง่ เขาไปเฝาและ
ทูลถามความเปนมงคล พระพุทธเจาจึงแสดงมงคล 38 ประการ ดังนี้
1. ไมคบคนพาล 14. ทํางานไมคง่ั คาง 27. มีขันติ
2. คบบัณฑิต 15. บําเพ็ญทาน 28. อดทนและเปนผูว า งาย
3. บูชาคนทีค่ วรบูชา 16. ประพฤติธรรม 29. เห็นสมณะ
4. อยูใ นถิน่ ทีเ่ หมาะสม 17. สงเคราะหญาติ 30. สนทนาธรรม
5. มีบญ ุ วาสนามากอน 18. ทําการงานไมมโี ทษ 31. บําเพ็ญตะบะ (เพียร)
6. ตัง้ ตนไวชอบ 19. งดเวนจากบาปกรรม 32. ประพฤติพรหมจรรย
7. เปนพหูสตู 20. สํารวมจากการดืม่ นําเมา
้ 33. เห็นอริยสัจ
8. มีศลิ ปะ 21. ไมประมาทในธรรม 34. ทําใหแจงพระนิพพาน
9. มีวินัย 22. รูจ กั สัมมาคารวะ 35. จิตไมหวัน่ ไหว
10. มีวาจาสุภาษิต 23. ออนนอมถอมตน 36. จิตไมโศก
11. บํารุงบิดามารดา 24. มีความสันโดษ 37. จิตหมดธุลี
12. เลีย้ งดูบตุ ร 25. รูค ณ ุ ทาน 38. จิตเกษม
13. สงเคราะหภรรยา 26. ฟงธรรมตามกาล
แนวคิด 1. ผูป ฏิบตั ติ ามธรรมอยางถูกตองดวยตนเอง จะประสบความเจริญรุง เรืองในชีวติ
2. คําสอนของพระพุทธเจายึดหลักของเหตุผล สามารถพิสจู นไดดว ยการปฏิบตั ิ
คานิยม การปฏิบตั ติ ามมงคล 38 ประการ นําความเจริญกาวหนามาใหแกบคุ คลและสังคม
BOBBYtutor Thai Note

อัวรานางสิงห
ผูแ ปล จากภาษาอังกฤษเปนภาษาไทย คือ ดอกไมสด (ม.ล. บุปผา นิมมานเหมินทร) ตีพมิ พครัง้ แรกในหนังสือ
สายปญญานุสรณ ป 2480
รูปแบบ เปนรอยแกวประเภทเรือ่ งสัน้ ซึง่ ประกอบดวยแกนเรือ่ ง โครงเรื่อง ตัวละคร ฉากและกลวิธใี นการแตง
เรือ่ งยอ นักธุรกิจชาวฝรัง่ เศสไดซอื้ อัวรานางสิงหจากทวีปอาฟริกาตัง้ แตอายุได 3 เดือนและฝกใหเลนเกมตางๆ มีครัง้ หนึง่
ขณะทีอ่ วั ราเลนกับแมวอยูน น้ั เกิดกระโดดพลาดตกไปพืน้ ลางทําใหเชือกรัดคอมันเอง แตนายไดชว ยชีวติ ไวดว ยการตัดเชือกให
มันหลุดลงไปพืน้ ลาง อัวราจึงจงรักภักดีผกู พันอยูก บั นายตลอด 2 ปผา นไป นายมีธรุ ะตองไปตางประเทศจึงยกอัวราให
เพือ่ นและเพือ่ นก็ยกใหคนอืน่ ตอ จนสุดทายอัวราตกไปอยูใ นสวนสัตวของรัฐบาลฝรัง่ เศส มีทอ่ี ยูค บั แคบ สกปรก อาหาร
ก็นอ ย อัวราอยากใหผคู นไดหยอกเลนกับมันเหมือนกับอยูอ าฟริกาแตกผ็ ดิ หวัง อัวราจึงเฝารอคอยแตนายเทานัน้ ตอ
มาวันหนึง่ นายไดมาเทีย่ วสวนสัตวและจําอัวราไดมนั ดีใจมากตองการอยูก บั นายอีก นายไดตอ สูเ พือ่ อัวราโดยเรียกรองให
รัฐบาลฝรัง่ เศสปรับปรุงการเปนอยูข องอัวราใหดขี น้ึ หรือไมกข็ อซือ้ คืน แตไมสําเร็จหนังสือพิมพชว ยเปนปากเสียงใหแตก็
ไมไดรบั ความสนใจ เมือ่ นายตองมีธรุ ะตางประเทศอีกทําใหอวั ราผิดหวังเศราเสียใจ จนลมเจ็บและก็ตรอมใจตายในทีส่ ดุ
รัชสดุดี
ผูแ ตง พระธรรมนิเทศทวยหาญ (อยู อุดมศิลป) แหงกองทัพบก
รูปแบบ เปนรอยกรองประเภทกาพยฉบัง 16
ทีม่ าของเรือ่ ง เปนบทรองเพลงสดุดกี ษัตริยใ นการชุมนุมทหารทุกเหลา ลูกเสือและนักเรียน เพือ่ ฉลองกรุงเทพมหานคร
ครบ 150 ป (เมื่อ พ.ศ. 2475)
เนือ้ หา สดุดกี ษัตริยว งศจกั รีทท่ี รงปราบยุคเข็ญและสรางกรุงเทพมหานครใหเจริญรุง เรือง ประชาชนจึงพรอมใจ
ถวายพระพรชัย
คําสัญญาของลูกนอย
ผูแ ตง ฐ. ณ ถลาง (นางฐะปะนีย นาครทรรพ)
รูปแบบ เปนรอยกรอง ประเภทกาพยฉบัง 16
เนือ้ หา ผูแ ตงไดจนิ ตนาการของแมทร่ี ะลึกถึงลูกนอยทีส่ ญ
ู เสียไป ความรักและอาลัยทําใหแมไดยนิ เสียงลูกมากระซิบ
อยูใ กลๆ ลูกมากับแสงจันทร สายนํ้า และสายลม เพือ่ มาเปนเพือ่ นแมคอยปลอบประโลมแมใหแมคลายทุกข

46. ขอใดเปนขอกําหนดคุณคาทางวรรณศิลปของบทประพันธ
1) การใชหลักเกณฑการแตงอยางถูกตอง
2) การเลือกใชรปู แบบคําประพันธทห่ี ลากหลาย
3) การสือ่ อารมณและความคิดสรางสรรคทป่ี ระสานกัน
4) การปรับใชหรือการสรางสรรคขนบการประพันธใหมๆ
BOBBYtutor Thai Note

47. ขอความตอไปนีถ้ า จัดวรรคใหถกู ตองจะไดคาประพั


ํ นธตามขอใด
"ขนมหวานขาวและกับจัดสําหรับถวายพระอยาหยิบกินนะคะประเดีย๋ วจะตกนรก"
1) โคลงสาม 2) กลอนหก 3) กาพยยานี 4) อินทรวิเชียรฉันท
48. ขอความตอไปนีถ้ า จัดวรรคใหถกู ตองจะไดคาประพั
ํ นธตามขอใด
"พิเศษสารเสกสรางรังสรรคสารประจงจารฉันทภาคพริ้งพรายฉายเฉกเพชรพรรณเพราเฉิดเลิศแลลายระยับสาย
สะอิง้ สองสรอยกรองทรวง"
1) โคลงสีส่ ภุ าพ และกลอนสุภาพ 2) กาพยยานี 11 และโคลงสีส่ ภุ าพ
3) กาพยฉบัง 16 และกลอนสุภาพ 4) กาพยยานี 11 และกาพยฉบัง 16
49. กาพยเหเรือสะทอนภาพชีวติ คนไทยตรงกับขอใด
1) รักความสนุกสนาน 2) มีกองทัพเรือทีเ่ ขมแข็ง
3) มีประเพณีเกีย่ วกับทางนํามาก
้ 4) การคมนาคมใชทางนํ้าเปนสําคัญ
50. ตอนไหนในกาพยเหเรือของเจาฟาธรรมธิเบศรทีผ่ แู ตงไมไดแทรกอารมณรกั และอาลัยไว
1) เหชมเรือกระบวน 2) เหชมปลา 3) เหชมไม 4) เหชมนก
51. ความในขอใดแสดงใหเห็นความเคลือ่ นไหวทีม่ พี ลังไดอยางชัดเจนทีส่ ดุ
1) เรือครุฑยุดนาคหิว้ ลิว่ ลอยมาพาผันผยอง 2) เรือชัยไววองวิง่ รวดเร็วจริงยิง่ อยางลม
3) เรือมาหนามุง นํ้า แลนเฉื่อยฉํ่าลําระหง 4) เรือสิงหวิ่งเผนโผน โจนตามคลื่นฝนฝาฟอง
52. ขอใดไมแสดงความเคลือ่ นไหว
1) มานกรองทองรจนา หลังคาแดงแยงมังกร 2) สรมุขมุขสี่ดาน เพียงพิมานผานเมฆา
3) สุวรรณหงสทรงพูห อ ย งามชดชอยลอยหลังสินธุ 4) เรือริว้ ทิวธงสลอน สาครลัน่ ครัน่ ครืน้ ฟอง
53. ขอใดไมมชี อ่ื ปลา
1) แตนางหางเหินพี่ เห็นปลาเคลาเศราใจจร 2) หางไกวา ยแหวกวาย หางไกคลายไมมหี งอน
3) แมลงภูค เู คียงวาย เห็นคลายคลายนาเชยชม 4) ชะเเวงแฝงฝง แนบ ชะวาดแอบแปบปนปลอม
54. ความในขอใดแสดงความรูส กึ ลึกซึง้ ของกวีไวมากทีส่ ดุ
1) แกมชํ้าชํ้าใครตอง อันแกมนองชํ้าเพราะชม 2) รวยรินกลิน่ รําเพย คิดพีเ่ คยเชยกลิน่ ปราง
3) เรียมคะนึงถึงเอวบาง เคยแนบขางรางแรมนาน 4) เนือ้ ออนออนแตชอ่ื เนือ้ นองหรือออนทัง้ กาย
55. ขอใดใชโวหารภาพพจนแตกตางจากขออืน่ ๆ
1) แกวพีน่ ส้ี ดุ นวล ดัง่ นางฟาหนาใยยอง 2) ตัวเดียวมาพลัดคู เหมือนพี่อยูผูเดียวดาย
3) นํ้าเงินคือเงินยวง ขาวพรายชวงสีสําอาง 4) ไพเราะเพราะกังวาน ปานเสียงนองรองสัง่ ชาย
56. ขอใดเสนอคุณคาทางดานสังคม
1) หางไกวา ยแหวกวาย หางไกคลายไมมหี งอน 2) คิดอนงคองคเอวอร ผมประบาอาเอีย่ มไร
3) ชะแวงแฝงฝง แนบ ชะวาดแอบแปบปนปลอม 4) เหมือนพีแ่ อบแนบถนอม จอมสวาทนาฎบังอร
57. จากขอความในนิราศลอนดอน ขอใดแสดงถึงวัฒนธรรมไทยอยางแนแท
1) เขาจัดแจงมโหรีมใี หฟง 2) มงกุฎทรงองคสดุ าวิลาวัลย
3) เลือ่ มสลับปกแมงทับติดเชิงชาย 4) ชมสถานไพชยนตพระมณเฑียร
BOBBYtutor Thai Note

58. การใชคาํ “โฮเต็ล” “โรงหมอ” ในนิราศลอนดอน สะทอนใหเห็นสิง่ ใดในขอตอไปนี้


1) คนไทยสมัยนัน้ ยังไมรจู กั การบัญญัตศิ พั ท
2) คนไทยสมัยนัน้ นิยมการทับศัพทภาษาตางประเทศ
3) คนไทยสมัยรัชกาลที่ 4 นิยมใหศพั ทบญ ั ญัตเิ ปนคําประสม
4) ในสมัยรัชกาลที่ 4 ยังไมมโี รงแรมและโรงพยาบาลในประเทศไทย
59. ขอใดคือเนือ้ หาของจดหมายความทรงจํา
1) ประวัตศิ าสตร ศาสนา โบราณคดีและประเพณีไทย
2) การบูรณะปฏิสงั ขรณและสมโภชวัดพระเชตุพนฯ ในรัชกาลที่ 9
3) การบูรณะปฏิสงั ขรณและสมโภชวัดพระเชตุพนฯ ในรัชกาลที่ 3
4) ประวัตศิ าสตรไทยตัง้ แตปลายกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรถี งึ ตนกรุงรัตนโกสินทร
60. ผูไ ดรบั สมญานามวา “เจาครอกวัดโพธิ”์ คือใคร
1) กรมหลวงนรินทรเทวี 2) พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลาฯ
3) พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯ 4) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาฯ
61. “จดหมายความทรงจําของกรมหลวงนรินทรเทวี” เปนเรือ่ งทีก่ ลาวถึงเรือ่ งอะไร
1) การฉลองสมโภชกรุงรัตนโกสินทร 2) การฉลองวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
3) การเฉลิมฉลองวัดพระศรีสรรเพชรดาญาณ 4) การฉลองพระบรมราชวัง และวัดพระแกว
62. ขอใดที่ไมใชความสําคัญของวัดพระเชตุพนฯ
1) เปนเสมือนมหาวิทยาลัยของประเทศ
2) เปนเสมือนหองสมุดประชาชนของประเทศ
3) เปนทีป่ ระทับของสมเด็จกรมพระยาวชิรญาณวโรรส
4) เปนพระอารามใหญยง่ิ กวาวัดอืน่ มาแตรชั กาลที่ 1
63. รัชกาลที่ 3 ทรงบูรณะปฏิสงั ขรณวดั พระเชตุพนวิมลมังคลารามโดยมีพระราชประสงคอยางไร
1) เพือ่ ใหสวยงาม 2) เพราะวัดชํารุดมาก
3) ตองการใหเปนวัดคูก บั วัง 4) เพือ่ ใหเปนมหาวิทยาลัยในสมัยนัน้
64. ขอใดสะทอนคานิยมทีต่ า งไปจากขออืน่ ๆ
1) บํารุงบิดามา- ตุรดวยหทัยปรีย
2) ใหทาน ณ กาลควร และประพฤติสธุ รรมศรี
3) อีกสงเคราะหญาติท่ี ปฏิบตั บิ าเรอตน

4) อีกรูค ณ ุ าของ นรผูป ระคองตน
65. ขอใดนับเปนมงคลอยางหนึง่
1) ความเปนผูมีวาจาไพเราะ 2) ความเปนนักฟง
3) ความเปนผูมีจิตใจรื่นเริง 4) ความเปนผูมีความริเริ่ม
BOBBYtutor Thai Note

66. ขอใดมิใชธรรมะทีป่ รากฏในมงคล 38 ประการ


1) กตัญูรคู ณ ุ เคยทําบุญไวแตปางกอน
2) มีวาจาเปนสุภาษิต จิตเกษมปลอดโปรง
3) ไมเบียดเบียนผูอ น่ื เปนผูต น่ื เมือ่ ฟงธรรม
4) ยินดีดว ยของตน ใหทานคนเมือ่ มีโอกาส
67. ขอใดเปนมงคลทีป่ รากฏในมงคลสูตร
1) แลวสอนวาอยาไวใจมนุษย มันแสนสุดลึกลํ้าเหลือกําหนด
2) เมือ่ พอแมแกเฒาชรากาล จงเลีย้ งทานอยาใหอดระทดใจ
3) ใหกําหนดจดจําแตคาชอบ ํ ผิดระบอบแบบกระบวนอยาควรถือ
4) เกิดเปนหญิงใหเห็นวาเปนหญิง อยาทอดทิง้ กิรยิ าอัชฌาสัย
68. ขอใดมีใจความแสดงถึงมงคลในพระพุทธศาสนา
1) อยาเกียจเกลียดหนายรักเรียนตอ
2) ความอยูป ระเทศซึง่ เหมาะและควรจะสุขี
3) เปนเจาความเอ็นดูแกหมูส ตั วและนองถัดมุทติ ามีคา ลํ้า
4) ความหมัน่ ทํามาหากินโดยทางทีช่ อบธรรมเขาไมเรียกวาโลภ
69. เรือ่ งสัน้ เรือ่ ง “มอม” และ “อัวรานางสิงห” มีความแตกตางกันในแนวคิดเกีย่ วกับเรือ่ งใด
1) สัญชาตญาณของสัตว 2) ความเฉลียวฉลาดของสัตว
3) ความผูกพันระหวางคนกับสัตว 4) ความจงรักภักดีของสัตวทม่ี ตี อ นาย
70. จุดสุดขั้นของเรื่อง “อัวรานางสิงห” คือเหตุการณตอนใด
1) ตอนทีอ่ วั ราตายอยูใ นกรงขัง 2) ตอนทีน่ ายชวยชีวติ อัวราไว
3) ตอนทีน่ ายกับอัวราตองพลัดพรากจากกัน 4) ตอนทีอ่ วั ราจํานายไดเมือ่ นายพบมันอยูใ นกรงขัง
71. เรื่อง “อัวรานางสิงห” ไดสะทอนสภาพสังคมทีม่ ปี ญ  หาทางดานใดเดนชัดทีส่ ดุ
1) การฝกหัดสัตวปา ใหอยูใ นวินยั ของมนุษย
2) ความปาเถื่อนไรอารยธรรมของชนเผาโบโบ
3) สือ่ มวลชนขาดความรับผิดชอบในหนาทีอ่ นั พึงกระทําของตน
4) การกักขังและทรมานสัตวโดยขาดความรูส กึ วาสัตวจะมีความรูส กึ อยางไร
72. ขอใดไมอาจอนุมานไดจากคําประพันธตอ ไปนี้
"เพือ่ ใหแมสขุ ลูกนํา จิตเขาไปทํา ใหแมบงั เกิดความฝน วาลูกอยูใ นสรวงสวรรค เปนสุขชั่วนิรันดร ทุกขรอ น
หอนไดแผวพาน"
1) ความเชือ่ เรือ่ งจิตวิญญาณ 2) ความกตัญูของลูกทีม่ ตี อ แม
3) ความรักและความผูกพันระหวางแมกบั ลูก 4) ความจริงคือลูกอยูบ นสวรรคอยางเปนสุข
BOBBYtutor Thai Note

ความสําคัญของภาษา
ภาษา คือ เครือ่ งสือ่ ความเขาใจของมนุษยทม่ี นุษยสรางขึน้ และพัฒนาไปพรอมกับมนุษย
1. ประโยชนของภาษาทีม่ ตี อ มนุษย คือ
- ชวยธํารงสังคม เชน คําทักทายปราศรัยแสดงไมตรีตอ กัน
- ชวยแสดงปจเจกบุคคล คือ แสดงลักษณะเฉพาะของแตละบุคคล
- ชวยพัฒนามนุษย เชน สามารถถายทอดความรู ความคิดใหแกกนั ได
- ชวยกําหนดอนาคต เชน คําสัง่ การวางแผน สัญญา คําพิพากษา คําพยากรณ การนัดหมาย
- ชวยใหจรรโลงใจ เชน คําขวัญ คําคม คําผวน สํานวน ภาษิต เพลง เปนตน
2. อิทธิพลของภาษาทีม่ ตี อ มนุษย คือ มนุษยไมไดใชภาษาเปนสัญลักษณอยางเดียว แตยงั ถือวาภาษาบางคํา
เปนสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละเปนมงคลดวย เชน คาถา ชือ่ ตนไมทแ่ี ฝงความหมายตางๆ ไวดว ย เชน ขนุน มะยม ยอ ระกํา
ลัน่ ทม มะไฟ เปนตน
73. ในปจจุบนั นี้ นักภาษาศาสตรสว นใหญมคี วามเชือ่ เกีย่ วกับกําเนิดของภาษาวาอยางไร
1) ภาษาเกิดขึ้นตามธรรมชาติ ไมมีผูใดสรางขึ้น
2) ภาษาเกิดจากมนุษยสรางขึน้ และพัฒนาไปพรอมกับมนุษย
3) ภาษาเกิดขึน้ จากการทีม่ นุษยเปลงเสียงเมือ่ เกิดความรูส กึ ตางๆ
4) ภาษาเกิดจากบรรพบุรษุ ของแตละชาติสรางขึน้ และถายทอดใหลกู หลาน
74. ขอใดไมใชเปนการใชภาษาเพือ่ กําหนดอนาคต
1) คําวิจารณ 2) คําพยากรณ
3) คํามัน่ สัญญา 4) คําตัดสินคดี
75. เหตุใดภาษาจึงกอใหเกิดความชืน่ บานได
1) เพราะภาษามีแบบสราง
2) เพราะภาษามีความหมาย
3) เพราะภาษาเปนเสียงและมีความหมาย
4) เพราะภาษาเปนระบบสัญลักษณทใ่ี ชแทนสิง่ ตางๆ
76. เหตุใดจึงกลาววา “ภาษาชวยพัฒนามนุษย”
1) เพราะมนุษยใชภาษาในการติดตอสือ่ สารกัน
2) เพราะมนุษยใชภาษาในการพูดจาปราศรัยกัน
3) เพราะมนุษยใชภาษาในการธํารงสังคมและวัฒนธรรม
4) เพราะมนุษยใชภาษาในการถายทอดความรู ความคิดและประสบการณ
BOBBYtutor Thai Note

ความงามในภาษา
ความงามในภาษา คือ การใชถอ ยคําไพเราะสละสลวยและมีความหมายดี มีเนือ้ หาทีป่ ระทับใจ ประกอบดวยดังนี้
1. การสรรคํา คือ การเลือกใชถอ ยคํา ดังนี้
1. ใหถกู ตองตรงตามความหมายทีต่ อ งการ
2. ใหเหมาะแกเนือ้ เรือ่ งและฐานะของบุคคล
3. ใหเหมาะกับลักษณะของคําประพันธ
4. ใหคํานึงถึงเสียงดังนี้
- เสียงธรรมชาติ (สัทพจน)
- เลนเสียงวรรณยุกต
- เสียงสัมผัส
- เสียงหนักเบา
- คําพองเสียงและคําซํา้
2. การเรียบเรียงคํา มีกลวิธดี งั นี้
1. เรียงสารสําคัญไวทา ยสุด
2. เรียงขอความทีส่ ําคัญเทากันเคียงขนานกันไป
3. เรียงเนื้อหาที่เขมขนขึ้นไปตามลําดับ
4. เรียงเนือ้ หาเขมขนขึน้ ไปและคลายลงในชวงสุดทาย
5. เรียงถอยคําใหเปนประโยคคําถามเชิงวาทศิลป
3. การใชโวหาร
1. อุปมา คือ การเปรียบสิง่ หนึง่ เหมือนกับอีกสิง่ หนึง่ มักมีคาวํ า ดุจ ดัง ดัง่ ปาน ปูน ประหนึง่ เพียง เพีย้ ง พาง
เฉก เชน เสมอ เหมือน กล เลห ฯลฯ
2. อุปลักษณ คือ การเปรียบสิง่ หนึง่ เปนอีกสิง่ หนึง่ มักมีคําวา เปน คือ
3. บุคคลวัต บุคคลสมมุติ บุคลาธิษฐาน คือ การสมมุตสิ ง่ิ ทีไ่ มใชมนุษยใหมกี ริ ยิ าอาการเหมือนมนุษย
4. อติพจน อธิพจน อวพจน คือ การกลาวไมตรงกับความจริง
5. นามนัย คือ การใชสว นประกอบทีเ่ ดนของสิง่ หนึง่ แทนสิง่ นัน้ ๆ ทัง้ หมด เชน ฉัตรแทนกษัตริย
6. สัญลักษณ คือ การใชสง่ิ หนึง่ แทนอีกสิง่ หนึง่ เชน สีขาวแทนความบริสทุ ธิ์
7. อุปมานิทศั น คือ การยกเรือ่ งราวหรือนิทานมาประกอบใหผฟู ง เขาใจยิง่ ขึน้
77. ขอใดมีการเลนสัมผัสพยัญชนะมากทีส่ ดุ
1) พีเ่ ล็งแลดูกระแสสายสมุทร 2) ละลิว่ สุดสายตาเห็นฟาขวาง
3) เปนฟองฟุง รุง เรืองอยูร างราง 4) กระเด็นพรางพรายพราวราวกับพลอย
78. ขอใดมีสัมผัสสระ
1) ฉันอยูเ พือ่ คนหาสัจจะ 2) ฉันอยูเ พือ่ เยือ่ ใยในมนุษย
3) ฉันอยูเ พือ่ บุคคลทีฉ่ นั รัก 4) ระเรือ่ ยรีจ่ กั จัน่ กังวานไพร
BOBBYtutor Thai Note

79. คําประพันธขอ ใดทีม่ สี มั ผัสอักษรมากทีส่ ดุ


1) บุรษุ ระริกขยิกตอน นรีราร
ํ อนระเริงรา
2) คณาเนือ้ นวลก็ครวญคลอขับ ระริกแคนรับสลับเสียงใส
3) กลาแดดจากลาพายุกลาตน กลาตานทนรอนลมระดมกลา
4) ณ ยามสายัณหตะวันยิง่ ยอย แนะเรงเทาหนอยทยอยเหยียบหนา
80. ขอใดมีการใชสมั ผัสวรรณยุกต
1) ก็เรือ้ รกรัง้ รางเปนทางปา 2) ระฆังหงัง่ หงัง่ หงาลงครามครึม
3) พีค่ ลืน่ ไสไสชางใหยา งยก 4) เสียงโกงกางกองกึงไปถึงดิน
81. ขอใดเปนคําไวพจนทกุ คํา
1) กนก มาศ รัชดา 2) วนิดา ปทมา มารศรี
3) นภาลัย คัคนานต ธาษตรี 4) กําธร นาท อุโฆษ
82. ขอใดใหจนิ ตภาพตางจากขออืน่
1) แสงทองระรองรุง รวีปรุงชโลมสรรพ
2) ดาวเดือนจะเลือนลับ แสงทองพยับโพยมหน
3) พอพระสุรยิ งเธอเยือ้ งรถบทจร เย็นยอแสงสัง่ ทวีป
4) พื้นนภางคเผือดดาว แสงเงินขาวจับฟา แสงทองจาจับเมฆ
83. “โอเวลาปานฉะนีก้ ส็ ายัณห คนทัง้ หลายเขาเรียกกันกินอาหาร บางก็เลาโลมลูกหลานใหอาบนําแล ้ วหลับนอน
แตสองบังอรของพอนีใ้ ครเขาจะปรานีใหนมนํ้า ก็จะตรากตรําลําบากใจ”
ขอความนีแ้ สดงลักษณะดีเดนทางวรรณศิลปดว ยลีลาอะไรและรสอะไร
1) ลีลาเสาวรจนี และกรุณารส 2) ลีลาเสาวรจนี และศฤงคารรส
3) ลีลาสัลลาปงคพิสยั และกรุณารส 4) ลีลาสัลลาปงคพิสยั และศฤงคารรส
84. ขอใดใชภาษาสัญลักษณ
1) ไททกุ เขตทุกดาว นาวมกุฎมานบ นอมพิภพมานอบ
2) ธระเมียรหมูด สั กร มอญพมาดาดืน่ เดินดุจคลืน่ คลาฟองฃ
3) เร็วเรงฮือเขาหอม ลอมกรุงเทพวารัติ ชิงเอาฉัตรตัดเข็ญ
4) นาดกรกรายทายธนู ดูสอ งเจาจอมสยาม เฉกลักษณรามรอนราพณ
85. ขอใดใชภาษาอติพจน
1) เรียมรํ่านํ้าเนตรถวม ถึงพรหม
2) เย็นพระยศปูนเดือน เดนฟา
3) นํ้าเซาะหินรินรินหลากไหล ไมหลับเลยชัว่ ฟาดินหาย
4) พระพายพัดซัดมาเชยชืน่ หอมระรืน่ รอบในไพรระหง
86. “ขึน้ ทรงรถทรงผองพรรณ งามงอนออนฉัน
เฉกนาคราชกําแหง”
ขอใดที่ไมปรากฏในคําประพันธขา งบนนี้
1) ใชคาที ํ ม่ สี มั ผัสพยัญชนะ 2) ใชอปุ มาอุปไมย
3) ใชสญ ั ลักษณ 4) ใหภาพชัดเจน
BOBBYtutor Thai Note

87. ขอใดใชภาพพจนตางชนิดจากขออื่น
1) หวังเปนเกือกทองรองบาทา พระผูว งศเทวาอันปรากฏ
2) ตายระดับทับกันดังฟอนฟาง เลือดนองทองชางเหลวไหล
3) เจางามเนตรประหนึง่ นัยนาทราย เจางามขนงกงละมายคันศรทรง
4) ขึน้ ทรงรถทองผองพรรณ งามงอนออนฉันเฉกนาคราชกําแหง

เหตุผลกับภาษา
1. โครงสรางของเหตุผล
1. เหตุผล (ขอสนับสนุน)
2. ขอสรุป
2. ภาษาทีใ่ ชแสดงเหตุผล
1. ถากลาวถึงเหตุผลกอนขอสรุป จะใชคาว ํ า จึง ดังนัน้ จึง ก็เลย ก็ยอ ม ทําให เชน
ขยันเรียนจึงสอบไดคะแนนดี
2. ถากลาวถึงขอสรุปกอนเหตุผล จะใชคาว ํ า เพราะ เนือ่ งจาก ดวย เชน
เขาสอบไดคะแนนดีเพราะเขาขยันเรียน
3. การอนุมาน (การสรุป) คือ กระบวนการคิดหาขอสรุปจากเหตุผลทีม่ อี ยู มี 2 วิธี คือ
1. วิธีนิรนัย คือ การแสดงเหตุผลจากสวนรวมไปหาสวนยอย วิธนี เ้ี ปนไปไดอยางแนนอน เชน
คนไทยทุกคนตองการขาวเปนอาหาร เขาเปนคนไทยเขาจึงตองการขาวเปนอาหารดวย
2. วิธอี ปุ นัย คือ การแสดงเหตุผลจากสวนยอยไปหาสวนรวม วีธนี อ้ี าจไมแนนอน เชน
ฉันฟงเพลงลูกทุง แลวเห็นวาไพเราะมาก เมือ่ ทุกคนในหองฟงแลวก็นา จจะบอกวาไพเราะดวย
4. การอนุมานจากเหตุและผลทีส่ มั พันธกนั ซึง่ จัดเปนการอนุมานแบบอุปนัย เพราะไมแนนอนเสมอไป
1. การอนุมานจากเหตุไปหาผล
2. การอนุมานจากผลไปหาเหตุ
3. การอนุมานจากผลไปหาผล
88. ขอใดเปนสํานวนทีม่ กี ารใชภาษาเปนเหตุเปนผลกัน
1) ชีวติ คือการตอสู ศัตรูคอื ยากําลัง
2) ชีวติ ไมสน้ิ ก็ดน้ิ ไป ชีวติ ไมดน้ิ ก็สน้ิ ใจ
3) ความรักเหมือนโรคา บันดาลตาใหมืดมน
4) กลวยไมออกดอกชาฉันใด การศึกษายอมเปนไปฉันนัน้
89. ขอใดไมไดบอกเหตุและผล
1) นํ้าทวมบานเรือนเสียหาย 2) กอยกลัวผีจนหัวโกรน
3) โฉมเฉลาเศราใจทีไ่ ฟเสีย 4) จอมสวยจึงตองเช็ดนําตา ้
BOBBYtutor Thai Note

90. ขอใดเปนการอนุมานดวยวิธีนิรนัย
1) นิลขยันเรียนที่สุดในชั้น จึงสอบไดทห่ี นึง่ เสมอในภาคเรียน
2) คุณแมของนิลเปนนางงามมากอน นิลจึงเปนนักเรียนทีส่ วยทีส่ ดุ ในชัน้
3) เมือ่ ปทแ่ี ลวนิลเปนหัวหนาชัน้ ทีร่ บั ผิดชอบงาน ปนจ้ี งึ ไดเปนหัวหนาอีก
4) ใครใครก็ตามทีร่ จู กั นิลจะตองชอบเธอ ถาคุณรูจักเธอคุณก็จะชอบเธอเชนกัน
91. ขอใดใชวธิ กี ารอนุมานแบบอุปนัย
1) ดอกคูนคงจะบานในฤดูรอ นนี้ เหมือนทุกปทผ่ี า นมา
2) หมอบอกวาคนทีเ่ ปนหวัดอยางเธอ ไมควรอาบนํ้าตอนดึก
3) เธอจะตองถูกทําโทษตามกฎของโรงเรียน หากเธอลอกขอสอบเพือ่ น
4) ถาเธออยากเปนคนรอบรู ควรอานหนังสือใหมากๆ เพราะการอานหนังสือจะทําใหความรูก วางขวาง
92. ขอใดเปนสาระสําคัญของคําประพันธตอ ไปนี้
"อันอํานาจใดใดในโลกนี้
ไมเห็นมีเปรียบปานการศึกษา
สรางคนหาคามิไดในโลกา
ขึ้นจากผูที่หาคาไมม"ี
1) อํานาจของคนเกิดจากการศึกษา 2) การศึกษามีคณ ุ คายิง่ กวาสิง่ ใดในโลก
3) คุณคาของการศึกษาคือการสรางคน 4) อํานาจของการศึกษาเกิดจากคุณคาของคน
93. ประโยคในขอใดทีไ่ มใชโครงสรางทางภาษาแบบเหตุผล
1) นีด่ วี า เราจองบัตรลวงหนา จึงไดทน่ี ง่ั ในรม
2) เขาไมคบเพือ่ นเพราะไมชอบเกีย่ วของกับใคร
3) หลอนตัดสินใจลาออกจากโรงเรียนมิไยพอแมจะทัดทาน
4) เมื่อวานเขาซอมกีฬาเหนื่อยมาก พอกลับถึงบานก็เลยหลับเปนตาย
94. “เขาถูกเจานายเพงเล็ง เพราะมาสายเสมอ มีหวังถูกตัดเงินเดือน” การอนุมานเชนนีต้ รงกับขอใด
1) การอนุมานจากสาเหตุไปหาสาเหตุ 2) การอนุมานจากผลลัพธไปหาผลลัพธ
3) การอนุมานจากผลลัพธไปหาสาเหตุ 4) การอนุมานจากสาเหตุไปหาผลลัพธ
95. “เด็กคนนี้ดูไมมีความสุข การเรียนก็แยพอ แมคงไมมเี วลาใหลกู ” การอนุมานเชนนีต้ รงกับขอใด
1) การอนุมานจากสาเหตุไปหาสาเหตุ 2) การอนุมานจากผลลัพธไปหาผลลัพธ
3) การอนุมานจากผลลัพธไปหาสาเหตุ 4) การอนุมานจากสาเหตุไปหาผลลัพธ
96. ขอใดมีวธิ ใี หเหตุผลแตกตางจากขออืน่
1) เมื่อยามรักนํ้าตมผักขมชมวาหวาน 2) ไมมอี าชีพใดสบายแมแตการเปนนักรอง
3) เมฆมีมากมายในวันนี้ ชวยเตรียมรมใหทนี ะทูนหัว 4) งานใดทําดวยใจรัก หินวาหนักยังเบาดุจปุยนุน
97. ขอใดมีวธิ กี ารใหเหตุผลตางจากขออืน่
1) ความขยันหมั่นเพียร มีมานะและมุง มัน่ ยอมนําทางไปสูค วามสําเร็จ
2) ทุกคนตองการความกาวหนาในชีวติ จึงพากันเรงหาทรัพยสนิ เงินทอง
3) ความสงบทางใจมิใชเกิดขึน้ เองได หากไดมาดวยการปฏิบตั ธิ รรมอยูเ ปนนิจ
4) ประเทศไทยพัฒนากาวไกลเพราะมีเศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง และสังคมทีด่ ี
BOBBYtutor Thai Note

98. ขอใดไมใชการอนุมานจากผลไปหาเหตุ
1) คนทีท่ ํางานไป เรียนไป คิดไปจะไมเปนคนตายดาน
2) โดยมากคนทีท่ ํางานไมกา วหนามักเปนผูท ไ่ี มมแี ผนการจะทําใหตนกาวหนา
3) ประชาชนไทยอยูก นั อยางรมเย็นเปนสุขแตครัง้ อดีตกาลดวยพระบารมีของพระมหากษัตริย
4) หมอดูเปนสวนคอนขางจําเปนสําหรับสังคมยุคนี้ ยุคแหงความผันแปรและยุง ยากกับการคาดคะเนดานเศรษฐกิจ
และการเมือง

การแสดงทรรศนะ
ทรรศนะ คือ ความคิดเห็นทีป่ ระกอบดวยเหตุผล
1. โครงสรางของการแสดงทรรศนะมี 3 อยาง คือ
1. ทีม่ า
2. สนับสนุน
3. ขอสรุป
2. ทรรศนะของแตละคนแตกตางกันดวยเหตุดงั นี้
1. คุณสมบัตทิ างธรรมชาติ เชน ไหวพริบ เชาวน ความถนัด
2. อิทธิพลของสิง่ แวดลอม เชน สถานที่ อากาศ บานเมือง ชุมชน ระบบการศึกษา สือ่ มวลชน ฯลฯ
3. ทรรศนะแบงเปน 3 ประเภท ดังนี้
1. ทรรศนะเกีย่ วกับขอเท็จจริง กลาวถึงสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เปนอยางไร
2. ทรรศนะเกีย่ วกับคุณคาหรือคานิยม คือ การประเมินวาสิง่ นัน้ ถูกหรือผิด ดีหรือดอย ฯลฯ
3. ทรรศนะเกีย่ วกับนโยบาย คือ การเสนอแนะใหทําสิง่ ใดสิง่ หนึง่
4. วิธใี ชภาษาในการแสดงทรรศนะ คือ
1. ใชบรุ ษุ สรรพนามที่ 1 เชน ขาพเจาคิดวา เห็นวา เขาใจวา
2. ใชคาํ หรือกลุม คํา เชน นาจะ ควร คง อาจ คง มัก พึง
5. ปจจัยทีส่ ง เสริมการแสดงทรรศนะ มี 2 ปจจัย คือ
1. ปจจัยภายนอก เชน สือ่ ผูร บั สาร บุคคลอืน่ สถานที่ บรรยากาศ เวลา
2. ปจจัยภายใน เชน ความเชื่อมั่น ความสามารถในการใชภาษา สติปญ  ญา ความพรอมทางกาย
6. การประเมินคาทรรศนะควรคํานึงถึงสิง่ ตอไปนีเ้ ปนแนวทาง
1. ประโยชนและลักษณะสรางสรรค
2. ความสมเหตุสมผล
3. ความเหมาะสมกับผูร บั สารและกาลเทศะ
4. การใชภาษาที่ชัดเจนเหมาะสม
BOBBYtutor Thai Note

99. ขอใดเปนการใชภาษาทีแ่ สดงวาเปนการเสนอทรรศนะ


1) การศึกษางานสรางสรรคชว ยสรางความแข็งแกรงทางวัฒนธรรม
2) หากเก็บเวลาไวในขวดได ทุกคนก็อยากเก็บเวลาอันเต็มไปดวยฝนไว
3) รัฐนาจะกระจายอํานาจลงสูร ะดับตําบลไดโดยการสงเจาหนาทีไ่ ปดูแล
4) มนุษยกลัวความแกเพราะไมใชแคมอี ายุมากขึน้ แตความแกเปนโรคอยางหนึง่
100. ขอใดไมแสดงทรรศนะ
1) ครูเปนปูชนียบุคคล 2) มุมตกเทากับมุมสะทอน
3) ชายขาวเปลือกหญิงขาวสาร 4) กลิง้ ไวกอ นพอสอนไว
101. ขอใดแสดงทรรศนะเกีย่ วกับคานิยม
1) วิถที างเดียวทีโ่ ลกจะเพิม่ พูนความสุขคือการแบงปนความสุข
2) การสอบแขงขันเขามหาวิทยาลัย เปนทางหนึง่ ทีท่ ําใหเด็กเกิดความเครียด
3) กรุงเทพมหานครควรหาวิธกี ําจัดขยะใหถกู วิธี ปญหามลพิษจะไดหมดไป
4) การปองกันมิใหเกิดอุบตั ภิ ยั บนทองถนนคือ ทุกคนปฏิบตั ติ ามกฎจราจร
102. "มหาวิทยาลัยเปนเพียงปจจัยหนึง่ ในบรรดาปจจัยทัง้ หลายของความเจริญ หากปจจัยอืน่ ๆ ไมพรอมทีจ่ ะใหมหาวิทยาลัย
เขาไปชวยสนับสนุน การมีมหาวิยาลัยก็จะเปนสิง่ ทีม่ รี าคาแพงเกินไปสําหรับประเทศยากจนอยางประเทศไทย"
ขอความนีเ้ ปนสารแสดงความคิดเห็นแบบใด
1) วินิจฉัย 2) สันนิษฐาน 3) ประเมินคา 4) เสนอแนะ

การโตแยง
การโตแยง คือ การแสดงทรรศนะทีแ่ ตกตางกันระหวางบุคคล 2 ฝาย โดยแตละฝายพยายามอางขอมูล สถิติ หลักฐาน
เหตุผลตางๆ มาสนับสนุนทรรศนะของตนและคัดคานทรรศนะของอีกฝายหนึง่ ถาทัง้ 2 ฝาย ใสอารมณโกรธเพียงเพือ่
จะเอาชนะกันโดยไมยอมรับทรรศนะของแตละฝายถือวาเปนการโตเถียง
โครงสรางของการโตแยง ประกอบดวย
1. ขอสรุป
2. เหตุผล
กระบวนการโตแยงมี 4 ขั้น ดังนี้
1. ตัง้ ประเด็นในการโตแยง มี 3 ประเภท
1. เกีย่ วกับขอเสนอเพือ่ ใหการเปลีย่ นแปลงสภาพเดิม
2. เกีย่ วกับขอเท็จจริง
3. เกีย่ วกับคุณคา
BOBBYtutor Thai Note

2. นิยามคําสําคัญทีอ่ ยูใ นประเด็นของการโตแยง


3. คนหาและเรียบเรียงขอสนับสนุนทรรศนะของตน
4. ชีใ้ หเห็นจุดออนของทรรศนะฝายตรงขาม มี 3 ประการดังนี้
1. ชี้จุดออนของการนิยาม
2. ชีจ้ ดุ ออนในดานปริมาณความถูกตองของขอมูล
3. ชีจ้ ดุ ออนของสมมุตฐิ านและวิธกี ารอนุมาน
การวินจิ ฉัยเพือ่ การตัดสินขอโตแยงมี 2 แบบ คือ
1. วินจิ ฉัยเฉพาะเนือ้ หาสาระทีแ่ ตละฝายนํามาโตแยงกัน
2. วินจิ ฉัยโดยใชดลุ พินจิ ของตนประกอบ
ขอควรระวังในการโตแยง คือ
1. ควรหลีกเลีย่ งการใชอารมณ
2. ควรมีมารยาทในการใชภาษาวัจนภาษาและอวัจนภาษา
3. ควรเลือกประเด็นทีม่ แี นวทางสรางสรรค
103. ขัน้ ตอนของการโตแยงในขอใดควรเปนขัน้ ตอนขอแรก
1) การตัง้ ประเด็นปญหาในการโตแยง 2) การคนหาขอสนับสนุนในทรรศนะของตน
3) การนิยามคําสําคัญในประเด็นการโตแยง 4) การชีใ้ หเห็นขอผิดพลาดในทรรศนะของตน
จงอานขอความตอไปนีแ้ ลวตอบคําถามขอ 104-106
อุดมการณของอุดมศึกษา คือ การสอน การวิจยั การบริหารสังคมและการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมดังทีก่ ลาวไว
แตมหาวิทยาลัยก็ควรคํานึงถึงการปลูกฝงคุณธรรมใหแกนกั ศึกษาดวย หาไมแลวมหาวิทยาลัยยอมมีคา เปนเพียงโรงงาน
ผลิตเครือ่ งมือใหแกสงั คมหรือเปนโรงฝกอบรมนักวิชาชีพชัน้ สูงเทานัน้ มิใชแหลงสรางคนดีทม่ี คี วามเกง
104. ขอใดเปนประเด็นของการโตแยง
1) ควรแกไขเพิม่ เติมอุดมการณของการศึกษาหรือไม
2) มหาวิทยาลัยเปนแหลงสรางคนดีทม่ี คี วามเกงจริงหรือ
3) คุณธรรมเปนสิง่ จําเปนในการเรียนระดับอุดมศึกษาหรือไม
4) มหาวิทยาลัยควรหลีกเลีย่ งจากการเปนโรงงานผลิตเครือ่ งมือใหแกสงั คมหรือไม
105. ขอใดเปนจุดออนของฝายตรงขามทีผ่ พู ดู มองเห็น
1) มองขามบางสิง่ บางอยางทีส่ าคั
ํ ญ 2) กลาวถึงอุดมการณทส่ี งู สงเกินไป
3) มุง มัน่ สรางคนเกงมากเกินไป 4) ไมเห็นความสําคัญของคนดี
106. ขอความคูใ ดมีความสัมพันธกนั ตรงตามจุดประสงคของผูพ ดู
1) การใหการศึกษา - การกลอมเกลาจิตใจ 2) การสอนการวิจยั - การฝกอบรมนักวิชาชีพ
3) การทํานุบํารุงวัฒนธรรม - การปลูกฝงคุณธรรม 4) การบริการสังคม - การผลิตเครือ่ งมือใหแกสงั คม
BOBBYtutor Thai Note

การโนมนาวใจ
การโนมนาวใจ คือ การใชความพยายามทีจ่ ะเปลีย่ นความเชือ่ ทัศนคติ คานิยม และการกระทําของบุคคลอืน่
ดวยกลวิธที เ่ี หมาะสมใหมผี ลกระทบใจบุคคลนัน้ จนเกิดการยอมรับและยอมเปลีย่ นตามทีผ่ โู นมนาวใจตองการ
กลวิธกี ารโนมนาวใจมี 6 วิธี คือ
1. แสดงใหประจักษถงึ ความนาเชือ่ ถือของบุคคลผูโ นมนาวใจ คือ ตองมีความรูจ ริง มีคณ ุ ธรรมและปรารถนาดีตอผูอื่น
2. แสดงใหเห็นความหนักแนนของเหตุผล
3. แสดงใหประจักษถงึ ความรูส กึ หรืออารมณรว มกัน
4. แสดงใหเห็นทางเลือกทัง้ ดานดีและดานเสีย
5. สรางความหรรษาแกผรู บั สาร
6. เราใหเกิดอารมณอยางเเรงกลา
ลักษณะนํ้าเสียงของภาษาทีโ่ นมนาวใจ เปนลักษณะเชิงเสนอแนะ ขอรอง วิงวอน และเราใจ
การพิจารณาสารโนมนาวใจในลักษณะตางๆ ซึง่ พบในโอกาสและสถานทีต่ า งๆ
1. คําเชิญชวน มักมีจุดประสงคเดนชัด ชีใ้ หเห็นประโยชนและวิธปี ฏิบตั ิ
2. โฆษณาสินคาหรือโฆษณาบริการ มักมีลกั ษณะดังนี้
- มีสวนนําทีส่ ะดุดหู สะดุดตา ใชถอยคําทีแ่ ปลกใหม
- ถอยคําหรือประโยคสัน้ ๆ ครอบคลุมเนือ้ หาครบถวน
- กลาวถึงความดีเดนของสินคาจนเกินความจริง และไมกลาวถึงความดอยของสินคา
- เนนความสําคัญของความตองการขัน้ พืน้ ฐานของมนุษย
- มักขาดเหตุผลทีร่ ดั กุม และไมถกู ตองทางวิชาการ
- ปรากฏอยูใ นสือ่ ตางๆ ตอเนือ่ งกันเพือ่ ใหจําได
3. โฆษณาชวนเชื่อ คือ ความพยายามโดยจงใจทีจ่ ะเปลีย่ นความเชือ่ ของบุคคลหรือกลุม ชน โดยไมคานึ ํ งถึง
ความถูกตองตามเหตุผลและขอเท็จจริง มี 2 ประเภท คือ
1. การโฆษณาชวนเชื่อทางการคา
2. การโฆษณาชวนเชื่อทางการเมือง
กลวิธกี ารโฆษณาชวนเชื่อมีดงั นี้
1. ตราชือ่ โดยใชคากล
ํ าวถึงฝายตรงขาม เพือ่ ใหคนเสือ่ มศรัทธา เชน พวกหัวโบราณ พวกขวาจัด พวกปลาไหล
2. ใชถอ ยคําหรูหรา เพือ่ ใหฟง ดูนา เลือ่ มใสศรัทธา
3. อางบุคคลหรือสถาบันทีเ่ คารพนับถือ เพือ่ ใหผฟู ง มีทศั นคติทด่ี ตี อ ผูโ ฆษณาและเกิดความเลือ่ มใส
4. ทําตนเหมือนชาวบานธรรมดาหรือเปนพวกเดียวกับผูร บั สาร เพือ่ ใหเกิดความไววางใจ
5. อางแตประโยชนตน ไมกลาวในสวนทีเ่ สีย
6. อางคนสวนใหญยอมรับหลักการ ถาใครไมเห็นดวยก็จะถือวาผิดปกติ เปนตน
107. ขอใดเปนภาษาที่มีลักษณะโนมนาวใจเดนชัดที่สุด
1) ขับชาๆ อันตราย 2) เทอยางมีทา ไมพง่ึ พาบุหรี่
3) ไมมีทานเราอดไมมีรถทานเดิน 4) ไกงามเพราะขนคนงามเพราะแตง
BOBBYtutor Thai Note

108. ขอใดแฝงเจตนาเชนเดียวกับคําขวัญนี้ “ทิง้ ขยะไมเปนทีห่ มดราศีไปทัง้ เมือง”


1) นํ้ามันมีนอย ใชสอยจงประหยัด 2) ตัดไมทําลายปานําท ้ าจะขาดแคลน
3) ประหยัดไฟวันละนิดชวยเศรษฐกิจเปนลาน 4) หนึง่ เสียงของทาน สรางสรรคประชาธิปไตย
109. คําขวัญขอใดทีใ่ ชกลวิธโี นมนาวใจใหเห็นทางเลือกทัง้ ดานดีและดานเสีย
1) รักชาติตอ งพัฒนา รักปาตองอนุรกั ษ 2) ปาไมบํารุงชาติ ปาพินาศชาติวอดวาย
3) ดุลธรรมชาติจะสิน้ ไปหากวันใดไทยสิน้ ปา 4) ฝนตกทัว่ ฟาเพราะปาชวยไวไรสน้ิ อุทกภัยเมืองไทยรมเย็น
110. ขอใดเปนคําขวัญทีถ่ กู ตามลักษณะภาษาและความสมจริง
1) มีลกู สองสนองนโยบายรัฐ 2) ออกกําลังกายวันละนิด ชีวติ จะยืนยาว
3) บานเมืองจะสะอาดถาปราศจากคนมักงาย 4) เมือ่ เสียชีวติ อุทศิ นัยนตาชวยชีวาเพือ่ นมนุษย
111. การหาความรูใ สตวั นัน้ เปนสิง่ สําคัญอยางยิง่ สําหรับทุกคน เพราะวาตอไปในชีวติ ถาขาดความรูค วามสามารถจะ
ไมอาจเลีย้ งตัวใหรอดได” ขอความขางตนนี้เปนการอนุมานดวยวิธีใด
1) จากเหตุไปหาเหตุ 2) จากเหตุไปหาผลลัพธ
3) จากผลลัพธไปหาเหตุ 4) จากผลลัพธไปหาผลลัพธ
112. จุดมุง หมายสําคัญของผูกลาวขอความขอ 106 นีค้ อื อะไร
1) โนมนาวใหคนแสวงหาความรู 2) แสดงใหเห็นความสําคัญของความรู
3) แสดงใหเห็นความลมเหลวของคนทีข่ าดความรู 4) ยืนยันวาคนทีม่ คี วามรูส ามารถเลีย้ งตัวเองได
ราชาภิสดุดี
ราชาภิสดุดี เปนคําสมาสชนิดเปลีย่ นเสียงจาก คําราช-อภิสดุดี คือ สนธินั่นเอง
ทีม่ าของเรือ่ ง นายภาวาส บุนนาค รองเลขาธิการไดอา นเฉพาะพระพักตรพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ในพระราชพิธี
บวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจา เนือ่ งในโอกาสงานฉลองกรุงรัตนโกสินทรครบรอบศตวรรษ
(200 ป) ณ บริเวณพิธมี ณฑลทองสนามหลวง เมือ่ วันจันทรท่ี 5 เมษายน 2525
รูปแบบ เปนคําประกาศทีเ่ ปนรอยแกวเรียบเรียงเปนภาษาระดับพิธกี ารอยางไพเราะสละสลวย และมีสมั ผัสตอเนือ่ ง
กันทุกวรรคคลายรายยาว
เนือ้ หา ในโอกาสทีก่ รุงรัตนโกสินทรมอี ายุครบ 200 ป เมือ่ พ.ศ. 2525 ไดมกี ารจัดงานสมโภชขึน้ ทัว่ ราชอาณาจักร
เพือ่ ปลูกฝงความจงรักภักดีและภาคภูมใิ จในประเทศชาติทม่ี เี อกราชมาชานาน เพราะพระบูรพมหากษัตริยอ งคกอ นๆ
เชน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาฯ ไดทะนุบํารุงทัง้ ทางดานพุทธจักรและอาณาจักรดังนี้
- โปรดใหสงั คายนาพระไตรปฎกและตรากฎหมายจัดระเบียบสงฆ
- ทรงสรางราชธานีขน้ึ ใหม มีปอ มปราการแข็งแรงและกําลังไพรพลเขมแข็ง
- โปรดใหประมวลและชําระกฎหมาย
- ทรงสงเสริมและฟน ฟูศลิ ปะ วรรณคดี ขนบธรรมเนียม ราชประเพณี
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั (ร. 9) จึงโปรดเกลาฯ ใหมรี าชพิธบี วงสรวงขึน้ ทามกลางทีป่ ระชุมแหงพระราชวงศ
ขาราชการ พอคาและประชาชน
ในตอนทายขอพระบรมเดชานุภาพแหงบูรพมหากษัตริยไ ดคมุ ครองประเทศไทยและคนไทยปราศจากภัยพิบตั ติ า งๆ
มีความสามัคคีรว มกันทํางานเพือ่ ใหประเทศเจริญกาวหนาตอไป
BOBBYtutor Thai Note

แนวคิด 1. พระมหากษัตริยแ หงพระบรมราชจักรีวงศทกุ พระองคลว นทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจ เพือ่ ประโยชนสขุ ของ


ประชาชนและประเทศชาติตลอดมา
2. ผูนําทีฉ่ ลาดและเขมแข็ง เสียสละเพือ่ ประโยชนสขุ ของสวนรวมเทานัน้ ทีส่ ามารถนําประเทศทีก่ าลั
ํ งระสํา-่
ระสายใหผา นพนภัยตางๆ ได
คานิยม 1. ความมัน่ คงและความเจริญรุง เรืองของประเทศชาติสําคัญเหนือสิง่ อืน่ ใด
2. การพัฒนาบานเมืองนัน้ ตองทะนุบารุํ งทัง้ พุทธจักรและอาณาจักร การแสดงความกตัญูกตเวทีเปนสิง่ ดีงาม
ขัตติยพันธกรณี
ผูแ ตง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั และสมเด็จพระเจาบรมวงเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ
รูปแบบ เปนรอยกรองประเภทโคลงสีส่ ภุ าพและอินทรวิเชียรฉันท
จุดประสงค เพือ่ อําลาพระเจานองยาเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพเพราะทรงทุกขโทมนัส เนือ่ งจากฝรัง่ เศสเขามาคุกคาม
อธิปไตย กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงพระนิพนธตอบทันที
เนือ้ หา พระบามสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั ทรงระบายความทุกขโทมนัส ทรงเปรียบเหมือนเปนฝทเ่ี จ็บปวดและ
ถูกตาปูตอกทีพ่ ระบาทจนไมประสงคจะดํารงพระชนมชพี ตอไป เมือ่ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงนิพนธบทประพันธถวาย
ตอบทําใหพระองคมพี ลังพระราชหฤทัยขึน้
แนวคิด 1. อานุภาพแหงบทกวีอาจพลิกผันเหตุการณรา ยใหกลายเปนดีได
2. ผูไ มไดเปนกวีเมือ่ เกิดอารมณสะเทือนใจก็อาจแตงคําประพันอันมีคาขึ้นมาได
คานิยม 1. พันธกรณีทม่ี ตี อ ชาตินน้ั สําคัญยิง่ กวาชีวติ
2. ผูท อ่ี ยูใ นฐานะทีส่ งู กวาก็ไมควรสรางความทุกขใจใหแกผทู ต่ี ่ํากวา
3. ผูท อ่ี ยูใ นตําแหนงทีส่ งู เพียงใดก็ตอ งการกําลังใจจากผูอ น่ื
วรรณนากาลามสูตร
ผูแ ตง สมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส
จุดมุง หมาย เพือ่ ใหผทู ไ่ี มมโี อกาสศึกษาภาษาบาลีไดเขาใจพระสูตรตางๆ ยิง่ ขึน้
รูปแบบ เปนรอยแกวในรูปคําถามคําตอบ หรือปุจฉา วิสัชนา
ความหมายของชื่อเรื่อง
วรรณนา (พรรณนา) หมายถึง การอธิบายใหเปนทีเ่ ขาใจอยางแจมแจง
กาลาม หมายถึง ชนชาติชาวกาลามะในแควนโกศล
สูตร คือ ชือ่ สูตรหนึง่ ในพระไตรปฎกในสวนทีเ่ รียกวา พระสุตนั ตปฎกหมวดขุททกนิกายชาดก ซึง่ วาดวยธรรมเทศนา
เบ็ดเตล็ด รวมทัง้ ภาษิตและประวัตสิ าวกตาง ๆ ดวย
เนือ้ หา เมือ่ พระพุทธเจาเสด็จถึงเกสปุตตนิคม ชาวกาละมะไดกราบทูลถามวา ผูท น่ี บั ถือลัทธิศาสนาตางๆ ตางก็ยกยอง
ลัทธิของตนและดูหมิน่ ลัทธิอนื่ ๆ เชนนีจ้ ะเชือ่ ใครดี พระพุทธเจาจึงตรัสเทศนากาลามสูตรวาอยาถือโดยอาการ 10 ประการ
ตอไปนี้ คือ
BOBBYtutor Thai Note

1. โดยฟงตามกันมา 2. โดยลําดับสืบๆ กันมา


3. โดยตืน่ วาไดยนิ มาอยางนัน้ 4. โดยอางตํารา
5. โดยเหตุนกึ เดาเอา 6. โดยนับถือคาดคะเน
7. โดยตรึกตามอาการ 8. โดยชอบใจเพราะตองกับลัทธิของตน
9. โดยเชื่อวาผูพูดควรจะเชื่อถือได 10. โดยนับถือวาผูนั้นเปนครูของเรา
เเตใหเชือ่ ถือไดโดยใชสติปญ
 ญาพิจารณาไตรตรองเหตุผลกอน และพระองคไดทรงแสดงใหเห็นโทษของความโลภ
โกรธ หลง และคุณของความไมโลภ ไมโกรธ ไมหลง เชน การอบรมเด็กใหฝก สอนเด็กไดรดู แี ละชัว่ ดวยตัวของเด็กเอง
ไมควรลงโทษดวยการเฆีย่ นตี เด็กอาจเปนคนหนาไหวหลังหลอกได ถาเด็กไมมสี ติปญ  ญาจะสอนตามหลักพระพุทธ
ศาสนาไมไดและการลงโทษใหเข็ดหลาบไมใหทาความชั
ํ ว่ อีกนับวาเปนประโยชน แตการลงโทษดวยโทสะเปนโทษ การประกอบ
สัมมาชีพไมใชความโลภ
แนวคิด ควรใชสติปญ  ญาพิจารณาไตรตรองเหตุผลกอนเสมอ
คานิยม - ความเชือ่ เมือ่ ใชสติปญ  ญาไตรตรองกอนแลวยอมไมแปรปรวน
- ไมควรลงโทษดวยความโกรธ
- การบูชาพระพุทธเจาทีถ่ กู ตอง คือ ปฏิบตั ติ ามคําสอนของพระองค
มหาเวสสันดรชาดกกัณฑมหาราช
ผูแ ตง สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
รูปแบบ เปนรายยาว มีคาถาบาลีนาสลั ํ บกับภาษาไทยเปนตอนๆ ตอนแหลจดั พล จังหวะของรายเร็วเลนสัมผัสสระและ
อักษร บางตอนเปนกลบทยติภงั คคอื แยกคําระหวางวรรคผูเ ทศนกณ ั ฑนต้ี อ งมีเสียงใหญกอ งกังวาน
เนือ้ หา ชูชกพาสองกุมารหลงเขาไปในกรุงเชตุดร พระเจากรุงสญชัยทรงจําไดจงึ กราบทูลวา พระรับสัง่ ใหอามาตย ํ
นําเขาเฝาแลวตรัสถามความเปนมา ชูชกจึงกราบทูลวาพระเวสสันดรพระราชทานให พวกอํามาตยกพ็ ากันตําหนินนิ ทา
พระเวสสันดรวาบริจาคลูกใหเปนทาน พระชาลีไดกลาวแกวา พระบิดาอยูใ นปาไมมที รัพยอน่ื ใดบริจาคนอกจากลูก
พระเจาสญชัยไดทรงไถตวั พระชาลีดว ยทองพันตําลึง พระกัณหาดวยสวิญญาณทรัพย คือ ทรัพยมชี วี ติ ไดแก ชาง มา
โคนม ทาสหญิง ทาสชาย อยางละรอยพรอมกับทองรอยตําลึง และเตรียมจัดกองทัพไปรับพระเวสสันดรและพระนางมัท
รีกลับ ฝายชูชกไดบริโภคอาหารจนธาตุไฟยอยไมทนั ถึงแกความตาย พระเจาสญชัยจึงโปรดใหจดั ฌาปณกิจศพและปาว
ประกาศใหญาติมารับสมบัติ แตไมมผี ใู ดมารับจึงนําทรัพยเหลานัน้ เขาทองพระคลังตามเดิม
แนวคิด 1. ธรรมยอมคุม ครองผูป ระพฤติธรรม
2. ผูม ปี ญ
 ญาและคุณธรรม ปฏิบตั ติ นถูกกาลเทศะแมเปนเด็กก็ไดรบั ยกยองจากผูใ หญ
คานิยม 1. แนวโลกียะ คือ แนวทีย่ งั เกีย่ วของกับทางโลก
- ผูนําประเทศยอมเห็นแกประโยชนสว นรวมเหนือสิง่ อืน่ ใด
- การอยูใ นวัง (อยางพระเจาสญชัย) ยอมสบายกวาอยูใ นปา( อยางพระมัทรี)
2. แนวโลกุตระ คือ แนวทีไ่ มเกีย่ วของกับทางโลก
- เมือ่ ทําอะไรผิดพลาดก็ไมมอี สั มิมานิ (การถือเขาถือเรา) ควรรูจ กั ขออภัยแมจะเปนเด็กก็ตาม
- บุตรทีด่ คี วรมีความกตัญูตอ บิดามารดา
BOBBYtutor Thai Note

ขุนชางขุนแผน ตอนขุนแผนลุแกโทษ
ผูแ ตง ไมปรากฏหลักฐานวาใครเปนผูแ ตง
ทีม่ า เปนตํานานทีเ่ ลาตอๆ กันมาในจังหวัดสุพรรณบุรแี ละกาญจนบุรี มีเคามาจากเรือ่ งจริงปรากฏอยูใ นหนังสือคําใหการ
ของชาวกรุงเกา
รูปแบบ เปนกลอนเสภาซึง่ มักขึน้ ตนวา จะกลาวถึง ครานัน้ การขับเสภามีทม่ี าจากการเลานิทาน มีกรับเปนเครือ่ งเคาะจังหวะ
นิยมขับเรื่องขุนชางขุนแผนเทานั้น ความหมายลุแกโทษ หมายถึง ยอมรับผิด ขอเขามอบตัวเพื่อรับโทษ
เนือ้ หา ขุนแผนไดชงิ นางวันทองจากขุนชางมา และพาไปหลบอยูใ นปาจนนางวันทองทองได 7 เดือน ขุนแผนสงสาร
นางวันทองทีท่ อ งแกถา คลอดลูกในปาจะลําบากจึงพานางไปพึง่ พระพิจติ ร ตอมาขุนแผนเกรงวาพระพิจติ รจะเดือดรอน
จึงขอมอบตัวเพือ่ รับโทษโดยใหพระพิจติ รสงตัวลงเรือไปอยุธยาใหจมืน่ ศรีจองจําเพื่อเขาเฝาสมเด็จพระพันวษา
เเนวคิด 1. รักแทยอ มไมหวัน่ ไหวตออุปสรรคใดๆ
2. การปฏิบตั ติ ามหนาทีอ่ ยางถูกตองยอมไดรบั ผลดีตอบแทน
คานิยม 1. กฎหมายยอมศักดิส์ ทิ ธิเ์ หนือสิง่ อืน่ ใด
2. ลูกยอมมีความสําคัญกวาใครๆ
3. ความกตัญูเปนคุณธรรมทีค่ วรปฏิบตั ิ
คําศัพทเกีย่ วกับหนังสือราชการสมัยกอน
ทองตรา คือ หนังสือพระเจาแผนดินจากเมืองหลวงไปถึงหัวเมือง
ศุภอักษร คือ หนังสือพระเจาแผนดินจากเมืองหลวงไปถึงประเทศราช
ตรา คือ หนังสือราชการของขุนนางเสนาบดีไปถึงหัวเมือง
หนังสือ คือ หนังสือราชการของขุนนางตํ่ากวาเสนาบดี
ใบบอก คือ หนังสือจากประเทศราชหรือหัวเมืองไปถึงเมืองหลวง
วารีดุริยางค
ดุรยิ างค แปลวา ดนตรีแหงสายนํา้
ผูแ ตง นายเนาวรัตน พงษไพบูลย ซึง่ มีความสามารถเขียนกลอนและโคลงจนไดรบั รางวัลตางๆ ดังนี้ เรือ่ งอาทิตย
ถึงจันทร, ชักมาชมเมือง, เพียงความคลือ่ นไหว และนกขมิน้
รูปแบบ เปนกลอนสุภาพ 100 บท แตนํามาเรียนเพียง 24 บท
เนือ้ หา สิง่ ทีเ่ ปนธรรมชาติมคี วามงดงามและสงบ มนุษยไมควรทําใจใหเหมือนควันในเวลากลางคืนและเหมือนไฟใน
เวลากลางวัน ควรหยุดดิน้ รนเหมือนธรรมชาติ โดยทํากายเหมือนตนไมใหความรมเย็นและใจเหมือนสายนําไหลไปอย
้ างอิสระ
ในทีต่ า งๆ หรือเหมือนกรวดทรายทีไ่ มไยดีตอ ทุกขโศกทัง้ ปวง
แนวคิด การมีชวี ติ ทีส่ งบทัง้ กายและใจยอมเปนประโยชนตอ ผูอ น่ื เหมือนธรรมชาติ
คานิยม 1. ความงามของธรรมชาติยอ มสวยงาม และมีคา กวาความงามทีม่ นุษยสรางขึน้
2. ใจสําคัญกวากาย เมือ่ ใจเปนสุขกายก็สขุ ดวย
3. ควรทําประโยชนใหแกผอู น่ื มากกวาทําประโยชนใหแกตนอยางเดียว
BOBBYtutor Thai Note

113. ขอใดเปนคุณคาเชิงสารประโยชนประการสําคัญทีไ่ ดจากคําประกาศราชาภิสดุดี


1) กอใหเกิดศรัทธาในการฟน ฟูประเทศ
2) ชวยใหทราบถึงอายุของกรุงเทพมหานคร
3) ชวยใหทราบถึงอุปสรรคและภัยตางๆ ทีม่ มี าถึงประเทศชาติ
4) กอใหเกิดความรูส กึ ภูมใิ จในความมัน่ คงและความเจริญของประเทศชาติ
114. “ประชาชนทัง้ หลายตางมีความปราโมทยบนั เทิงใจทีส่ ามารถตัง้ บานเมืองเปนอิสระสถาวรสืบมาไดอีกถึงสองศตวรรษ”
ขอความนี้แฝงคานิยมขอใดไว
1) กตัญูกตเวที 2) ความสามัคคี
3) ความมีเอกราช 4) ความปราโมทยบนั เทิงใจ
115. “..........พระราชกรณียกิจในแตละแผนดิน” ขอความทีพ่ มิ พตวั หนาหมายถึงแผนดินสมัยใด
1) สุโขทัย 2) อยุธยา
3) ธนบุรี 4) รัตนโกสินทร
116. ขอใดทีพ่ ระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกฯ โปรดเกลาใหจดั ทําขึน้ เพือ่ ความเจริญมัน่ คงทางดานพุทธจักร
1) ฟน ฟูศลิ ปะวรรณคดี 2) ชําระกฎหมายตราสามดวง
3) ฟน ฟูขนบธรรมเนียมราชประเพณี 4) จัดทําอรรถกถาอนุฎกี า
117. “บรรดาการทีท่ รงกระทําใหแกชาตินน้ั ลวนลําบากยากยิง่ แตละเรือ่ งแตละสิง่ ตองปฏิบตั บิ ําเพ็ญอยางอุกฤษฏดว ย
พระปรีชาชาญอันลึกซึง้ กวางไกล” ขอความนีก้ ลาวถึงเรือ่ งใด
1) เทิดทูนพระบุญญาบารมี 2) เทิดทูนพระมหากรุณาธิคณ ุ
3) เทิดทูนพระราชกรณียกิจ 4) เทิดทูนพระปรีชาญาณอันลึกซึง้
118. ในเรือ่ งขัตติยพันธกรณี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั และสทเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรง
กลาวถึงคุณธรรมในขอใดตรงกัน
1) ความกตัญูกตเวที 2) ความรักชาติรกั แผนดิน
3) ความรักเกียรติรกั ศักดิศ์ รี 4) ความสํานึกในหนาทีร่ บั ผิดชอบ
ใหใชคําประพันธตอ ไปนีต้ อบคําถามขอ 119-120
"ตะปูดอกใหญตรึง้ บาทา อยูเ ฮย
จึงบอาจลีลา คลองได
เชิญผูท เ่ี มตตา แกสตั ว ปวงเฮย
ชักตะปูนใ้ี ห สงขาอัญขยม"
119. ตะปูดอกใหญในทีน่ ต้ี รงกับขอใด
1) อุปสรรค 2) ภาระหนาที่
3) ความทุกขกาย 4) ความทุกขใจ
120. ตะปูดอกใหญเปนภาพพจนประเภทใด
1) อุปมา 2) อุปลักษณ
3) สัญลักษณ 4) อติพจน
BOBBYtutor Thai Note

121. มหาราชเปนกัณฑทอ่ี ยูร ะหวางกัณฑอะไร


1) กุมาร มัทรี 2) สักบรรพ ฉกษัตริย
3) จุลพน มหาพน 4) ฉกษัตริย นครกัณฑ
122. เสียงผูเ ทศนกณ ั ฑมหาราชจะมีลกั กษณะอยางไร
1) เสียงหาวกังวาน 2) เสียงทุม นุม นวล 3) เสียงกังวานหวานใส 4) เสียงใหญกอ งกังวาน
123. เมือ่ เทศนกณ ั ฑมหาราชจบลงแลวปพ าทยจะบรรเลงเพลงอะไร
1) กลม 2) สาธุการ 3) กราวนอก 4) โอดเชิดฉิ่ง
124. ผูท ม่ี บี ทบาทสําคัญในกัณฑมหาราชคือใคร
1) ชาลี 2) กัณหา 3) พระนางผุสดี 4) พระเขากรุงสญชัย
125. ผูแ ตงกัณฑมหาราชไมแตงมหาชาติกณ ั ฑใด
1) ทศพร หิมพานต 2) ทานกัณฑ จุลพน 3) มหาพน มัทรี 4) สักบรรพ ฉกษัตริย
126. “สวนวาเฒารางรายชูชกทลิททกทารุณชาติ ครัน้ รุง เชาก็พาสองเจาพระกุมารกุมารีราชมาถึงทางสองแพรง”
ทางสองแพรงทีก่ ลาวถึงในคําประพันธทย่ี กมานีเ้ ปนทางไปสูเ มืองใด
1) กรุงเชตุดร กับกรุงสาวัตถี 2) ทุนวิฐ กับกลึงราษฎร
3) กลึงราษฎร กับสีวรี าษฎร 4) กรุงกบิลพัสดุ กับกรุงเชตุดร
127. “หมายจะปองปดขจัดขอครหาแหงหมูอ ามาตย ํ ดุจขุนเขาสิเนรุราชอันลมประลัยโลกพัดพานบันดาลใหเอนเอียง
มีมหิทธิเทพเขาเอาพระกรประคองเคียงใหคนื คงตัง้ ตรงดังเกา” ขอความขางตนนี้ใชโวหารอะไร
1) อุปมา 2) สาธก 3) บรรยาย 4) พรรณนา
128. จากขอ 127 เปรียบขอครหาแหงหมูอ ํามาตยตรงกับขอใด
1) พระกร 2) มหิทธิเทพ 3) ลมประลัยโลก 4) ขุนเขาสิเนรุราช
129. จากตัวเลือกขอ 128 ขอใดหมายถึงชาลี
1) ขอ 1) 2) ขอ 2) 3) ขอ 3) 4) ขอ 4)
130. ขอใดกลาวถึงบุคคลทีต่ า งไปจากขออืน่ ๆ
1) ดอกหนึง่ พึง่ จะขยายคลายคลี่ ผกากุสมุ มาลีละอวลอบหอมตรลบสุคนกําจร ดอกหนึง่ ตูมหุม หอเกสรบเบงบาน
2) สองพะงางามตามกันลีลาศ เลหด จุ ดรุณสิงหราชตามกันยาตรา ออกจากวิจติ รคูหาหองเหมสถานกาญจนะแกว
ผลึกเลิศ
3) ทัง้ สองพระองคกไ็ ตเตาตามลําเนาพนัสพนาวาส เลหป ระหนึง่ วาสมเด็จพระชนกนาถราชมารดาเทีย่ วสืบเสาะแสวง
ทุกแหงหามาพานพบ
4) ทัง้ สององคทรงสุนทรลักษณอนั ประเสริฐสิน้ ทุกสิง่ สรรพสดุ จะพรรณนา เสมอเหมือนรูปทองทัง้ แทงอันบุคคลแกลง
เหลาหลอพึงพอเนตร
BOBBYtutor Thai Note

131. เหตุใดอํามาตยทง้ั หลายจึงกลาววาพระเวสสันดรทรงกระทําผิดขัตติยนิตจิ รรยา


1) เพราะพระเวสสันดรทรงบําเพ็ญบุตรทาน
2) เพราะพระเวสสันดรผนวชเปนฤษีอยูใ นปา
3) เพราะชูชกกลาวหาวาพระเวสสันดรพระราชทานสองกุมารแกตน
4) เพราะชูชกหลอกลวงวาพระเวสสันดรพระราชทานสองกุมารแกตน
132. ขอใดเปนคําสอนในกาลามสูตร
1) อยาเชือ่ ใจชางสารและงูเหา 2) อยาเชือ่ ใจขาเกาอาจตักษัย
3) อยาเชื่อคําเมียรักผูรวมใจ 4) อยาเชือ่ ใครแมครูบาอาจารยเรา
133. เมือ่ ชูชกกราบทูลถึงสาเหตุทไ่ี ดสองกุมารมาจากพระเวสสันดร เหลาอํามาตยไดฟง ตางพากันตําหนิพระเวสสันดร
พฤติกรรมดังกลาวแสดงวามิไดยดึ ตามคําสอนขอใดในกาลามสูตร
1) อยาถือโดยเหตุนกึ เดาเอา 2) อยาถือโดยนัยคือคาดคะเน
3) อยาถือวาผูพ ดู ควรจะเชือ่ ถือได 4) อยาถือโดยความตืน่ วาไดยนิ อยางนัน้ อยางนี้
134. เหตุใดนางวันทองจึงครําครวญว่ า “มาซํ้าทองสองทุกขเขาระทม ยิง่ ทุกขแลวยิง่ ถมมาทับทรวง”
1) เพราะนางวันทองตัง้ ครรภขณะขุนแผนไปทัพ
2) เพราะนางวันทองตัง้ ครรภขณะหนีราชภัยอยูใ นปา
3) เพราะนางวันทองตัง้ ครรภกบั ขุนชางขณะหนีมากับขุนแผนในปา
4) เพราะนางวันทองตัง้ ครรภเปนทองแรกจึงมีความกังวลมากเปนพิเศษ
135. “เจามาเกิดเหมือนหนึง่ จะแกลงฆา มันไมนา ยินดีแตสกั นิด”
จากคําประพันธนางวันทองกลาวเชนนีเ้ พราะเหตุผลใด
1) อนิจจาทุกขยากลําบากตัว เกลือกกลัว้ ปฐพีธลุ ลี ม
2) สารพัดขัดสนจนยาก แสนลําบากยวดยิง่ ทุกสิง่ สม
3) มาซํ้าทองสองทุกขเขาระทม ยิง่ ทุกขแลวยิง่ ถมมาทับทรวง
4) มีลกู เหมือนหนึง่ มีมณีดวง นีม่ มี าใหเปนหวงเมือ่ สิน้ คิด
136. "ถึงแมนอยูเ รือนเหยาลูกเตามี จะยินดีเหลือแสนเฝาแหนหวง
มีลกู เหมือนหนึง่ มีมณีดวง นีม่ มี าใหเปนหวงเมือ่ สิน้ คิด”
แนวคิดสําคัญจากคําประพันธนี้คือขอใด
1) ลูกเปนสมบัตทิ ม่ี คี า ทีส่ ดุ ของพอแม 2) พอแมควรมีลกู เมือ่ พรอมจะเลีย้ งดูได
3) พอแมจะตองเลีย้ งลูกใหดที ส่ี ดุ เทาทีจ่ ะทําได 4) ลูกทําใหพอ แมมชี วี ติ ทีย่ ากลําบากมากขึน้
137. สถานการณใดทําใหขนุ แผนอัดอัน้ ตันใจมากทีส่ ดุ ระหวางทีเ่ ดินทางในปา
1) สารพัดขัดสนจนยาก แสนลําบากยอดยิง่ ทุกสิง่ สม
2) พระทรงฤทธิจ์ ะคิดเคืองระคาย เห็นไมวายสงครามตามมารบ
3) อลักเอลือ่ เหลือสมเพชเวทนา จะคลอดลูกหยูกยาไมหางาย
4) อนิจจาทุกขยากลําบากตัว เกลือกกลัว้ ปถพีธลุ ลี ม
BOBBYtutor Thai Note

138. ขอใดเปนแรงจูงใจสําคัญทีท่ ําใหขนุ แผนเขามอบตัวตอพระพิจติ ร


1) รูว า เจาคุณเอ็นดูสตั ว จึงดัน้ ดัดลัดดงตรงมาหา
2) เราก็เปนคนดีมีวิชา พี่คิดวาหาเปนกระไรไม
3) เมือ่ จะเอาโทษทัณฑฉนั ใด ก็ตามใจดวยเรานีเ้ ปนขา
4) วันทองทองแกนา สงสาร กลัวจะเกิดเหตุการณขน้ึ กลางเถือ่ น
139. ในเรือ่ งวารีดรุ ยิ างคใหแนวคิดทีเ่ ปนประโยชนอยางไร
1) การอยูต ามลําพังยอมเกิดปญญา 2) การไดกลิน่ ดอกไมปา ยอมมีความสุข
3) การไดอยูท า มกลางธรรมชาติยอ มเปนกําไร 4) การพักผอนระงับจิตใจยอมไดประโยชนอยางยิง่
140. วารีดรุ ยิ างคกลาวถึงมนุษยและธรรมชาติอยางไร
1) ความวาวุน ในใจ-ความสงบสุข 2) ความเห็นแกตวั -ความสวยงาม
3) ความเครงเครียด-ความชุมชื่น 4) ความรืน่ รมย-ความมัน่ คงแข็งแรง
141. สภาพของ “ใจ” ในขอใดตางกับขออืน่
1) สงสารใจใจเจาเอยไมเคยนิง่ วนและวิง่ คืนและวันหวัน่ และไหว
2) และใจเจาจักเปนเชนสายนํ้า ใสเย็นฉํ่าชืน่ แลวไหลแผวผาน
3) ทุกวิถที ใ่ี จไดเทีย่ วทอง ลวนขึน้ ลองอยูร ะหวางกลางปลายตน
4) ใจจึงหนายจึงเหนือ่ ยจึงเมือ่ ยลา วุน ผวาวอนไหวไลตอ น
142. “รูจ กั เพียงพอดีทจ่ี ะรับ ความเกิดดับธรรมดาอุทาหรณ
พรอมรูส กึ ตามวิสยั ไปทุกตอน เหมือนทุกกอนกรวดทรายยอมคลายกัน”
ขอใดเปนแนวคิดสําคัญของบทประพันธขา งตนนี้
1) ความสุขเกิดจากความพอดี 2) ความสุขเกิดจากความดับสูญ
3) ความสุขเกิดจากความเขาใจชีวิต 4) ความสุขเกิดจากความเสมอภาค
143. แนวคิดจากวารีดรุ ยิ างคทวี่ า “รูจ กั เพียงพอดีทจ่ี ะรับ ความเกิดดับธรรมดาอุทาหรณ” ตรงกับขอใดในพรหมวิหาร 4
1) เมตตา 2) กรุณา 3) มุทติ า 4) อุเบกขา
144. ความทีว่ า “เกิดแลวกอลอแลวเรนเย็นแลวรอน” ผูเ ขียนใชกลวิธกี ารเขียนเสนอภาพพจนตา งจากขอใด
1) จักรวาลวุน วายไรสําเนียง 2) อยูห า งไกลแตกใ็ กลในคุณธรรม
3) วนและวิง่ คืนและวันหวัน่ และไหว 4) เสียงนําซึ้ ง่ กระซิบสาดปราศจากเสียง
ใหใชคําประพันธตอ ไปนีต้ อบคําถามขอ 145-147
"มาซิอปุ สรรค มาประจักษมาประจัน
เติมเขมใหเต็มครัน ความเปนคนใหขนคน
สองตีนจะติดดิน สองมือชินเสมอชน
ฝนหาจะฝาหน โหมพลังเขาถัง่ โถม"
145. ผูอานเกิดอารมณสะเทือนใจเชนไร
1) คึกคัก 2) บุกบัน่ 3) มุมานะ 4) หาวหาญ
BOBBYtutor Thai Note

146. ผูเขียนมีศิลปะของการประพันธเปนการเลนคําในลักษณะใดเดนชัดทีส่ ดุ
1) เลนคําซํา้ 2) เลนเสียงและจังหวะคํา
3) เลนคํามีความหมายเหมือน 4) เลนซําเสี
้ ยงพยัญชนะแบบอัพภาส
147. ขอใดแสดงการเลนคําโดยสับเสียงสระและพยัญชนะ
1) เติมเข็มใหเต็มครัน 2) ความเปนคนใหขนคน
3) สองมือชินเสมอชน 4) ฝนหาจะฝาหน
ขอ 148-150 ขอใดทีเ่ มือ่ นํามาเติมในชองวางทีเ่ วนไวจะทําใหเห็นวาคําประพันธทก่ี าหนดให
ํ มลี กั ษณะพิเศษ
148. “เมือ่ ไมรกั อยารักอยารักฉัน ไมมวี นั สักวัน.........หวัน่ ไหว
เมือ่ ไมรกั อยารักรักทําไม รักใหใจหมองใจใจระทม”
1) ที่ 2) จะ 3) ฉัน 4) วัน
149. “หวานทีใ่ หไยอาบฉาบยาพิษ พิษชําแรกแทรกฤทธิเ์ กินรักษา
สาแกใจทีพ่ ะวงหลงรักมา ..........รูว า พิษรายก็สายเกิน”
1) กวา 2) มา 3) เมื่อ 4) พอ
150. “ยามยากคนคนความมาหยามเยย เยยหยามเปรยเปรียบยํ้าคําทับถม
ถมทับใหไหวหวามยามระทม ..........ขื่นขมจนตรมใจ”
1) รักระทม 2) ยามระทม 3) ระทมยาม 4) ตรมสะอืน้
BOBBYtutor Thai Note

เฉลย
1. 4) 2. 3) 3. 3) 4. 3) 5. 2) 6. 1) 7. 3) 8. 4) 9. 2) 10. 2)
11. 2) 12. 4) 13. 2) 14. 1) 15. 1) 16. 4) 17. 4) 18. 4) 19. 2) 20. 3)
21. 2) 22. 3) 23. 4) 24. 2) 25. 2) 26. 3) 27. 1) 28. 4) 29. 4) 30. 1)
31. 1) 32. 2) 33. 3) 34. 3) 35. 4) 36. 1) 37. 2) 38. 4) 39. 2) 40. 4)
41. 2) 42. 3) 43. 1) 44. 3) 45. 1) 46. 3) 47. 2) 48. 1) 49. 4) 50. 1)
51. 4) 52. 1) 53. 1) 54. 4) 55. 3) 56. 2) 57. 3) 58. 4) 59. 4) 60. 1)
61. 2) 62. 3) 63. 4) 64. 2) 65. 1) 66. 3) 67. 2) 68. 2) 69. 1) 70. 1)
71. 4) 72. 4) 73. 2) 74. 1) 75. 3) 76. 4) 77. 4) 78. 2) 79. 1) 80. 3)
81. 4) 82. 3) 83. 3) 84. 3) 85. 1) 86. 3) 87. 1) 88. 2) 89. 4) 90. 4)
91. 1) 92. 2) 93. 3) 94. 2) 95. 3) 96. 2) 97. 4) 98. 1) 99. 3) 100. 2)
101. 1) 102. 3) 103. 1) 104. 3) 105. 1) 106. 1) 107. 4) 108. 2) 109. 2) 110. 3)
111. 4) 112. 1) 113. 4) 114. 3) 115. 4) 116. 4) 117. 3) 118. 4) 119. 4) 120. 2)
121. 2) 122. 4) 123. 3) 124. 4) 125. 3) 126. 3) 127. 1) 128. 3) 129. 2) 130. 3)
131. 1) 132. 4) 133. 1) 134. 2) 135. 3) 136. 3) 137. 3) 138. 4) 139. 4) 140. 1)
141. 2) 142. 3) 143. 4) 144. 3) 145. 2) 146. 2) 147. 4) 148. 4) 149. 2) 150. 3)

!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

You might also like