You are on page 1of 27

คุณผ่อง เล่งอี้ กับการอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าและอุทยานแห่งชาติ

หัวหน้าหมวดสงวนและคุม ้ คองสัตว์ป่าคนแรก ปี 2504 - 2507


หัวหน้ากองอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าคนแรก
รองอธิบดีกรมปศุสตั ว์
อธิบดีกรมป่ าไม้ 2535 - 2538
รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประธานองค์การสะพานปลา
อดีตสมาชิกวุฒส ิ ภา
ธนพล สาระนาค : สัมภาษณ์ และเรียบเรียง 3 ตุลาคม 2551

1.คุณผ่อง เล่งอี้ เกิดทีพ


่ ทั ลุง
คุณผ่องฯเกิดทีจ่ งั หวัดพัทลุง เมือ่ วันที่ 28 พฤษภาคม 2478
เข้าเรียนชัน
้ ประถมศึกษาทีโ่ รงเรียนประชาบาล
ชัน
้ มัธยมศึกษาทีโ่ รงเรียนศิรริ าษฎรวิทยาและโรงเรียนช่วยมิตร จ.พัทลุง
ระดับอุดมศึกษาทีโ่ รงเรียนมหาวิชริ าวุธ จ.สงขลา

2.การศึกษาทีค ่ ณะวนศาสตร์
ปี 2498-2502 คุณผ่องฯเข้าศึกษาทีค ่ ณะวนศาสตร์ สาขาการจัดการป่ าไม้
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คุณผ่องเล่าว่า
“ขณะนัน
้ คณะวนศาสตร์ไม่มก ี ารเรียนการสอนวิชาอุทยานแห่งชาติและการอนุรกั ษ์ ส ัตว์ป่
า ตอนผมอยูป ่ ี 5 อาจารย์ถนอม เปรมรัศมี ผูเ้ ชีย่ วชาญจากกรมป่ าไม้
ไปสอนพิเศษวิชาการอนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ
บรรยายเรือ
่ งการอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าไม่มากนัก ท่านบอกว่าไม่มค
ี วามรูเ้ รือ
่ งสัตว์ป่า”

3.คุณผ่องฯอยากเป็ นอาจารย์
คุณผ่องเล่าว่า “ผมสอบบรรจุเป็ นข้าราชการกรมป่ าไม้ ตัง้ แต่ยงั ศึกษาอยูช ่ น
้ ั ปี ที่ 5
คณะวนศาสตร์ โดยใช้วฒ ุ อ
ิ นุปริญญา แต่เมือ่ สอบได้แล้ว ผมได้สละสิทธิ
เพราะอนุปริญญาสมัยนัน ้ บรรจุเพียง 750 บาท”
ปี 2502 คุณผ่องจบปริญญาตรีจากคณะวนศาสตร์
ได้สมัครทางานเป็ นอาจารย์ผช ู้ ว่ ยสอนอยูก ่ บั อาจารย์สะอาด บุญเกิด คุณผ่องเล่าว่า
“ผมตัง้ ใจจะเป็ นอาจารย์เพราะชอบสอนหนังสือและหวังว่าคณะวนศาสตร์จะมีตาแหน่ งให้
ผมเป็ นอาจารย์ผูช้ ว่ ยสอนอยูเ่ กือบปี ไม่ได้ตาแหน่ ง”
อาจารย์สะอาดฯได้แนะนาและให้ขอ ้ คิดกับคุณผ่องว่า
“อาจารย์เสียใจเหมือนกันว่ามีคนอืน ่ เอาตาแหน่ งไปให้คณะอืน ่ แยะ
ถ้าอย่างนี้ให้ไปอยูก
่ รมป่ าไม้ดีกว่า งานทีก ่ รมป่ าไม้มนั กว้างกว่า
และสามารถปฏิบตั ด ิ ว้ ยมือตนเอง”

4.หัวหน้าหมวดสงวนและคุม
้ ครองสัตว์ป่าคนแรก
ปี 2504 กรมป่ าไม้เปิ ดสอบรุน ่ สองอีกครัง้ คุณผ่องเล่าว่า “ผมก็ไปสอบ
มีไม่กีค
่ นทีไ่ ม่ได้สอบรุน ่ แรก ผมสอบได้ เริม ่ เข้ารับราชการกรมป่ าไม้
ตาแหน่ งนักวิชาการป่ าไม้ตรี มีคณ ุ วิเชียร กุญชร ณ อยุธยา เป็ นอธิบดี
กรมป่ าไม้มค ี าสัง่ ให้ผมไปปฏิบตั งิ านทีก ่ องบารุง มีอาจารย์ประมวล อุณหนันท์
เป็ นหัวหน้ากอง ผมไปนั่งทางานอยูห ่ นึ่งสัปดาห์
อาจารย์ประมวลฯเรียกไปบอกว่า “เออผ่อง งานสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่า
หาคนทาไม่ได้ ถามใครๆ เขาก็ไม่เอา ผ่องเอาไหม เพราะว่ามันเป็ นงานบุกเบิกนะ”
ผมบอกว่า “ผมไม่มค ี วามรูน ้ ะอาจารย์”
อาจารย์ประมวลบอกว่า “ไม่เป็ นไร ฝึ กกันได้ ค่อยๆทา”
ผมบอกว่า “ถ้าหัวหน้ากองให้ผม ผมก็เอา”

หลังจากนัน้ กรมป่ าไม้ได้ออกคาสั่งเป็ นครัง้ แรกตัง้ “หมวดสงวนและคุม ้ ใ


้ ครองสัตว์ป่า”ขึน
นกองบารุง เพือ่ ให้เป็ นหน่ วยงานรับผิดชอบว่าด้วยการสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่าตาม
พรบ.สงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่า ปี 2503 และให้คณ ุ ผ่องทาหน้าทีห ่ วั หน้าหมวดคนแรก
และให้นางสาวเอมใจ นาคโฉม(ชินะโชติ) เป็ นเจ้าหน้าทีป ่ ระจาหมวด
คุณผ่องเล่าว่า “ปี 2504 หมวดสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่ามีงบประมาณอยู่ 3
แสนบาท แต่วา่ ไม่ได้ใช้ทาอะไร
เพราะถูกกระทรวงเกษตรเอาไปใช้เป็ นค่าจ้างคนขับและค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับเฮลิคอปเตอร์ข
องกระทรวง
ผลงานในปี แรกคือจัดการวาดภาพโปสเตอร์สตั ว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุม ้ ครอง
โดยอาศัยลูกจ้างประจาคนหนึ่งทีอ่ าจารย์ประมวลไปเอามาจากเชียงใหม่
ผมให้วาดภาพโปสเตอร์ 3 แผ่น ๆ ละประมาณ 12 ภาพ
นั่นแหละคือผลงานชิน ้ แรกของผม เป็ นงานทีท ่ ายาก แก้แล้วแก้อก ี ทาได้แค่นน ้ั
ปัจจุบน
ั เขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป่าบางแห่งอาจจะยังมีภาพนัน ้ ติดอยู”่

5.การเริม ่ จัดตัง้ เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า


คุณผ่อง เล่าว่า “ปี 2505
ผมทาหนังสือเวียนเสนอกรมป่ าไม้ถงึ สานักงานป่ าไม้เขตและป่ าไม้จงั หวัดว่าเนื่องจากกร
มป่ าไม้ความประสงค์ทจี่ ะคัดเลือกพืน ้ ทีต
่ า่ งๆให้เป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าตาม
พรบ.สงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่าปี 2503
จึงขอให้ป่าไม้เขตและป่ าไม้จงั หวัดดาเนินการตรวจสอบป่ าในพื้นทีร่ บั ผิดชอบว่าป่ าใดมีค
วามเหมาะสมทีจ่ ะให้เป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าบ้าง แล้วให้รายงานกรมป่ าไม้
โดยให้ห ัวข้อทีจ่ ะรายงาน เช่น ลักษณะภูมป ิ ระทศ แหล่งสัตว์ป่า และความเหมาะสม
ป่ าไม้เขตและป่ าไม้จงั หวัดรายงานมาทั่วประเทศ ดีบา้ งไม่ดีบา้ ง
ทีว่ า่ ไม่ดีบา้ งคือบางจังหวัดไม่คอ่ ยรูเ้ รือ่ งก็รายงานมาหมดเลย เช่น บอกว่ามีเนื้อทีแ ่ ค่
1,000-2,000 ไร่ เสนอให้ลอ ้ มรัว้ ทาคอกสัตว์ ผมนั่งอ่านก็ขาๆ แต่อย่างไรก็ตาม
ผมพยายามอ่านและคัดเลือกป่ าทีป ่ ่ าไม้เขตและป่ าไม้จงั หวัดรายงานมาเป็ นร้อยๆป่ า
ผมคัดเลือกได้ไม่มาก ได้แก่ ป่ าสลักพระทีเ่ ป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าแห่งแรก ห้วยขาแข้ง
ลุม
่ น้าปาย เขาสอยดาว ทางใต้มค ี ลองนาคา คลองแสง
จากนัน ้ เราค่อยๆดึงเข้ามาเรือ่ ยๆ พอเราได้แล้ว มีป่าไม้เขตมาประชุม เช่น
คุณประชา กาญจนพันธุ์ จากสานักงานป่ าไม้เขตนครสวรรค์ เลือกเอาห้วยขาแข้ง
ผมพยายามทีจ่ ะเสนอเป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า แต่วา่ ไม่มคี น
มีขา้ ราชการอยูค ่ นเดียวคือผม จึงทาอะไรไม่ได้มาก”
ปี 2506 คุณผ่องมีคนมาช่วยงานมากขึน ้ เช่น คุณเกษมสุข เกษสกุล คุณเฉลิมวุฒิ
เครือมณี และคุณอุดม ธนัญชยานนท์ คุณผ่องเล่าว่า
“ผมจาได้วา ่ มีการประชุมกันทีก่ รมป่ าไม้ ผมเสนอให้สง่ คนไปสารวจป่ าต่างๆ
กรมป่ าไม้ออกคาสัง่ ให้คณ ุ เกษมสุข เกษสกุล เป็ นผูไ้ ปดาเนินการสารวจป่ าสลักพระ
จังหวัดกาญจนบุรี เป็ นครัง้ แรก เป็ นคนแรก เป็ นแห่งแรก ให้คณ ุ อุดม
ธนัญชยานนท์ไปสารวจป่ าห้วยขาแข้ง คุณเฉลิมวุฒิ เครือมณี
ไปสารวจป่ าภูววั และลุม ่ น้าปาย

6.ฝ่ ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชาติ
ปี 2506 มีทน ุ กพ.ให้ไปเรียนสหรัฐอเมริกา ทางด้านสาขาการจัดการสัตว์ป่า
คุณผ่องเล่าว่า “สอบชิงทุนได้ แต่กว่าผมจะได้ไปต่างประเทศก็ปลายปี 2507
มีการเปลีย่ นแปลงอธิบดีกรมป่ าไม้ ท่านอธิบดี วิเชียร กุญชร ณ อยุธยา
ท่านจะปลดเกษี ยณเดือนตุลาคม 2507 คุณดุสต ิ พานิชพัฒน์ ขึน ้ ไปเป็ นอธิบดีกรมป่ าไม้
ตอนนัน ้ ผมเดินทางไปอยูว่ อชิงตัน
สหรัฐอเมริกาได้ไม่ถงึ เดือนก็ได้ขา่ วว่ามีการย้ายอาจาร์ประมวล อุณหนันท์
ออกไปจากกองบารุง ได้คณ ุ รัศมี นามวงศ์ ป่ าไม้เขตเพชรบุรีมาแทน
หัวหน้าหมวดสงวนและสัตว์ป่าไม่มี คุณรัสมีฯไปดึงเอาคุณเชิด ช. กัลยาณมิตร
หัวหน้าสวนป่ าวังด้วน ตาบลห้วยทราย อ.เมือง จ.ประจวบคีรข ี น
ั ธ์
สังกัดป่ าไม้เขตเพชรบุรี มาทาหน้าทีห ่ วั หน้าหมวดสงวนและสัตว์ป่า คุณรัสมีฯบอกว่า
“ในฐานะที่ คุณเชิด ช.ฯ ชอบเทีย ่ วป่ า ล่าสัตว์ เล่นปื น”
จากนัน ้ หมวดสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่าก็เริม ่ ได้รบั การสนับสนุนและมีคนมาเพิม ้
่ มากขึน
ปี 2509 คุณผ่องเรียนจบปริญญาโท สาขาการจัดการสัตว์ป่า
จากมหาวิทยาลัยมอนทานา สหรัฐอเมริกา
คุณผ่องเล่าว่า “ได้ความรูพ ้ อสมควรและเกิดแนวความคิดอะไรต่างๆ
เมือ่ กลับมาแล้ว คุณรัสมี นางวงศ์ หัวหน้ากองบารุง
ให้ผมช่วยงานทีห ่ มวดสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่าตามเดิม ผมเห็นว่าหมวดนี่ดูมน ั เล็ก
จึงไปหารือหัวหน้ากองเพือ ่ ทาบันทึกเสนออธิบดีกรมป่ าไม้วา่ ควรจะยกฐานะจากหมวดสง
วนและคุม ้ ครองสัตว์ป่าเป็ นฝ่ ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชาติ ตามประสาทีผ ่ มไม่อยูน
่ ิ่ง
อาจารย์กฤต สามะพุทธิ เป็ นรองอธิบดี ปฏิบตั ก ิ ารแทนอธิบดี ท่านสั่งเห็นชอบ
เลยเกิดเป็ นฝ่ ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชาติขน ึ้ มา”
ปี 2510 คุณผ่องเล่าว่า “ภารกิจของผมตอนนัน ้ ทาเรือ
่ งวิชาการ
สารวจสัตว์ป่าเสียเป็ นส่วนใหญ่ ในช่วงนัน ้ มีคณ
ุ Jack Fooden
ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านสัตว์จาพวกลิง(primate)จากสถาบันสมิธโซเนียน สหรัฐอเมริกา
เข้ามาขอให้ผมช่วยอานวยความสะดวกและพาไปสารวจสัตว์จาพวกลิง
ผมไปสารวจกับเขาอยูร่ ว่ มปี กว่า ไปถึงทุง่ ใหญ่ ไปนอนทีเ่ หมืองบ่องามของกานันพริง้
กลีบบัว ผมไปเทีย่ วป่ าทุกวันเลย นอกจากนัน ้ ก็ไปห้วยขาแข้งและป่ าอีกหลายแห่ง
ทีไ่ หนมีลงิ สารวจไปถึงทีน่ ่น
ั ทางใต้ก็ไป ผมได้ความรูม้ าก ”

7.หัวหน้าฝ่ ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชาติ
ปี 2513 คุณรัศมี นามวงศ์ หัวหน้ากองบารุง บอกกับคุณผ่องว่า
“คุณผ่องเรียนมาทางด้านการจัดการสัตว์ป่า
น่ าจะเป็ นหัวหน้าฝ่ ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชาติแทนคุณเชิด ช. กัลยาณมิตร
ซึง่ ไม่ได้เรียนมา"
ในทีส่ ดุ กรมป่ าไม้ได้ออกคาสั่งแต่งตัง้ ให้ผมเป็ นหัวหน้าฝ่ ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชาติ
เมือ่ เดือนพฤศจิกายน 2513 สิง่ ทีผ ่ มอยากจะทาคือต้องรีบประกาศเขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป่า
เพราะว่าในช่วงเวลาเดียวกันนัน ้
มีความขัดแย้งในแนวความคิดทีว่ า่ คนในกรมป่ าไม้สว่ นใหญ่อยากให้กรมป่ าไม้เร่งรัดออ
กสัมปทานป่ าไม้ตามมติ ครม.ปี 2511 ให้เสร็จสิน ้ ทั่วประเทศในปี 2515
แต่ผมกลัวว่าป่ ามันจะหมด แล้วจะไม่ได้ประกาศเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า
ถ้าเป็ นป่ าสัมปทานไปแล้ว ต้นไม้จะถูกตัดออกไป ความเป็ นธรรมชาติดง้ ั เดิมจะสูญเสียไป
จะจัดเป็ นอุทยานแห่งชาติก็ลาบาก เป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าก็ลาบาก
จะหาป่ าทีส่ มบูรณ์ ได้ยากขึน้
ผมเลยพยายามทีเ่ สนอให้หลายป่ าเป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าขึน ้ มาอย่างเป็ นระบบ
พอมีเจ้าหน้าทีม ่ าสักคน ผมส่งไปเป็ นหัวหน้าเขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป่าหมดในทันทีท ันใด
เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าจึงกระจายไปเรือ ่ ยๆ”

8.เนื้อทรายทีป ่ ่ าภูววั
ปี 2506 คุณผ่องเล่าว่า “วันหนึ่งมีพอ ่ ค้าปลาสวยงามมาเล่าให้ ม.ร.ว. จักรทอง
ทองใหญ่ ปลัดกระทรวงเกษตร ประธานคณะกรรมการสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่า
ทราบว่าป่ าทีก่ งิ่ อาเภอเซกา อาเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย
ได้เห็นกับตาเลยว่ามีละองละมัง่ ท่านปลัดได้สง่ ั ให้คณ ุ ประมวล อุณหนันท์
หัวหน้ากองบารุง เลขานุการคณะกรรมการสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่า ส่งคนไปสารวจ
หัวหน้ากองประมวลฯสั่งให้คณ ุ สมพงษ์ ปโชติการ กับผม 2 คนไปสารวจ
พ่อค้าปลาได้พาไปดูสถานทีพ ่ บละองละมั่ง ตอนนัน้ ไปลาบากมาก
ต้องไปนอนทีห ่ นองคายคืนหนึ่ง จากหนองคายนั่งเรือไปทีอ่ าเภอบึงกาฬ
คืนทีส่ องไปนอนทีต ่ วั อาเภอบึงกาฬ ยังได้ไปเจอคุณเชิดพงษ์
อุทยั สาง(อดีตสมาชิกวุฒส ิ ภา) ปลัดอาเภอบึงกาฬ บ้านเรือนทีอ่ ยูร่ ม
ิ แม่น้าโขงทานาข้าว
หน้าน้าจะมีน้าท่วมถึง มีลาห้วยมากมาย ขับเรือหางยาวไปมา
สภาพพื้นทีเ่ ป็ นป่ าละเมาะและภูเขา
รุง่ เช้าวันต่อมาเราออกไปเดินสารวจ ปรากฏว่าไม่พบละองละมั่ง พบแต่เนื้ อทราย
1 ตัว รอยมันเยอะ มากินข้าวชาวบ้านใกล้ๆป่ า สมัยก่อนกล้องถ่ายรูปไม่มใี ช้
เรามารายงานกรมป่ าไม้วา่ ควรจะจัดตัง้ ป่ าภูววั เป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า
จากนัน้ กรมป่ าไม้ได้สง่ คุณเฉลิมวุฒิ เครือมณี ไปเป็ นสารวจและเป็ นหัวหน้าคนแรก
ก่อนทีจ่ ะไปสารวจทีล่ ม ุ่ น้าปาย”
คุณเฉลิมวุฒฯิ บ่นกับคุณผ่องฯว่า “เสียดายภูววั ผมชอบมาก สถานทีส่ วยงาม
สัตว์ป่าชุกชุม”

9.เขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป่าเขาสอยดาว
คุณผ่องเล่าว่า “ผลงานอีกชิน ้ หนึ่งทีเ่ ราภูมใิ จมาก
คือการจัดตัง้ เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าเขาสอยดาว เนื่องจากตอนนัน ้
กรมป่ าไม้สง่ เจ้าหน้าทีค ่ อ
ื คุณบุญเลีย้ ง ช่อฟ้ า ไปสารวจเบือ ้ งต้นเพือ่ ให้ทราบถึงชนิด
ปริมาณของสัตว์ป่าสภาพของ แหล่งน้า แหล่งอาหาร
ตลอดจนความเหมาะสมในการทีจ่ ะจัดให้เป็ นเขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป่า ตัง้ แต่ปี 2508
จนถึงปี 2512 ก็ยงั ประกาศไม่ได้
ต้นปี 2513
ผมเป็ นคนร่างหนังสือเสนอให้ประกาศเขาสอยดาวเป็ นเขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป่า
โดยเสนอคุณรัศมี นามวงศ์ หัวหน้ากองบารุง ลงนามไปถึงคุณดุสต ิ พานิชพัฒน์
อธิบดีกรมป่ าไม้ ซึง่ จะเกษี ยณเดือนตุลาคม 2513 ท่านได้ให้นโยบายกับกองบารุงว่า
“สาหรับในชัน ้ นี้ ขอให้เขาสอยดาวเป็ นเพียงป่ าสงวนแห่งชาติไปก่อน ยังไม่ตอ ้ งประกาศ
ถ้าตราบใดกรมป่ าไม้ยงั ไม่มค ี น ไม่ได้รบั งบประมาณดาเนินการ ไม่มยี านพาหนะ
อุปกรณ์ เครือ ่ งมือเครือ ่ งใช้ ห้ามตัง้ เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า”
คุณผ่องเล่าว่า “พอผมเจอปัญหานี้ ผมก็ไม่หยุด ผมไปเล่าให้อาจารย์ผสม
เพชรจารัส อาจารย์ทป ี่ รึกษาชมรมอนุรกั ษ์ ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ฟงั และร่วมกันวางแผนให้ชมรมอนุรกั ษ์ ของเกษตร จุฬา
ธรรมศาสตร์ แพทย์ แต่ละมหาวิทยาลัยเขียนหนังสือร้องเรียนจอมพล ถนอม กิตติขจร
หัวหน้าคณะปฏิวตั ิ เพือ ่ ให้จดั ตัง้ ป่ าเขาสอยดาวเป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า
ส่วนทางผมเป็ นคนร่างหนังสือสอดคล้องกับทีช ่ มรมทา
รายงานกระทรวงเกษตรเพือ ่ ให้ลงนามไปทีน ่ ายกรัฐมนตรี
เป็ นจังหวะทีอ่ ธิบดีดุสต ิ ฯจะเกษี ยณ คนทีล่ งนามไม่ใช่อธิบดีดุสต ิ ฯ ดูเหมือนจะเป็ นคุณตรี
กกกาแหง รองอธิบดีกรมป่ าไม้ ผมถือไปให้ทา่ นลงนามถึงนายปรีดา กรรณสูตร
ปลัดกระทรวงเกษตร เพือ ่ เสนอ พล.อ.อ. ทวี จุลทรัพย์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตร
ลงนามไปถึงจอมพลถนอม หัวหน้าคณะปฏิวตั ิ คณะปฏิวตั ลิ งนามถึงไปถึงสภาคณะปฏิวตั ิ
ในระหว่างทีผ ่ มกาลังดาเนินเรือ ่ งอยูน ่ น้ ั คุณประดิษฐ์ พรหมพันธุ์
ผูจ้ ดั การบริษท ั ศรีมหาราชาฯคนบ้านเดียวกันกับผมได้มาขอร้องว่า “น้องๆ
พีข ่ อหน่ อยได้ไหม อย่าเพิง่ ประกาศ ให้ชะลอไว้นิด ตอนนี้ไม้คดั เลือกแล้ว
ขอให้เอาไม้ออกก่อน"
ผมบอกว่า “มันไม่ได้นะพี่ ถ้าทาไม้ไปแล้วจะเป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าได้อย่างไร
สัตว์ป่ามันจะล้มหายตายจากหมด มันผิดหลักวิชา ทาไม่ได้พี่”
เขาก็ไปหาครูบาอาจารย์ตา่ งๆมาช่วยกันพูด ผมก็ไม่เอา ผมกลับเร่งใหญ่เลย ไม่ได้
ถ้าขืนช้าพวกนี้ไปวิง่ เตลิดเปิ ดเปิ ง
ผมรีบนาเรือ ่ งเข้าทีป
่ ระชุมคณะกรรมการสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่า ตอนนัน ้
ดร.เถลิง ธารงนาวาสวัสดิ ์ รองปลัดกระทรวงเกษตร เป็ นประธาน ผมได้บรรยายสรุปว่า
“กรมป่ าไม้ได้สารวจป่ าเขาสอยดาว ตัง้ แต่ปี 2508 มาจนถึงปี 2512
ขณะเดียวกันกรมป่ าไม้กาลังจะให้สมั ปทานทาไม้
ตอนหลังมีการร้องเรียนคณะปฏิวตั โิ ดยชมรมอนุรกั ษ์ ของสถาบันการศึกษา 4 แห่ง
ให้จดั ตัง้ เป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า
ในทีส่ ด ุ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2515
สภาบริหารของคณะปฏิวตั ไิ ด้ส่งั ให้ยกเลิกสัมปทานทาไม้เพือ ่ ประกาศเป็ นเขตรักษาพันธุ์ส ั
ตว์ป่าตามทีก ่ ระทรวงเกษตรเสนอ
แต่ตอ ้ งนาเข้าทีป ่ ระชุมคณะกรรมการสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่าเสียก่อนจึงจะประกาศได้
ดร.เถลิงฯหันมองไปทางคุณประดิษฐ์ วนาพิทกั ษ์ รองอธิบดีกรมป่ าไม้
ตอนนัน ้ กาลังจะคัว่ เป็ นอธิบดีกรมป่ าไม้ แล้วพูดว่า “ยกไปให้สมั ปทานได้อย่างไร
กรมป่ าไม้ตอ ้ งดูแลหน่ อยเรือ ่ งนี้ ฝากท่านรองไปดูหน่ อย
ความสาเร็จในเรือ ่ งนี้เกิดจากอาจารย์ผสมฯทาในด้านมวลชน ผมทาในเรือ ้ มา
่ งราชการขึน
ถ้ามีแต่มวลชนไม่มรี าชการตัง้ เรือ ้ ไปก็ไม่มท
่ งขึน ี างสาเร็จ ต้องประสานกัน
เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าเขาสอยดาวจึงเป็ นทีภ ่ าคภูมใิ จของชมรมอนุรกั ษ์ ตา่ งๆ”
10.กรณีลา่ สัตว์ป่าทุง่ ใหญ่ และการเกิดกองอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่า
คุณผ่องเล่าว่า “การล่าสัตว์ป่าทีท ่ งุ่ ใหญ่ จ.กาญจนบุรี มีมาก่อนปี 2516
เริม ่ ต้นจากคุณประเสริฐ อยูส ่ าราญ ป่ าไม้เขตบ้านโป่ ง ได้รายงานกรมป่ าไม้วา่
“มีนายทหารระดับนายพลท่านหนึ่งไปล่าสัตว์ทท ี่ งุ่ ใหญ่
ทิง้ ซากสัตว์ป่าจาพวกกวางและกระทิงเน่ าเปื่ อยเหม็นตลบป่ า”
กรมป่ าไม้รายงานไปกระทรวงเกษตร กระทรวงเกษตรรายงานท่านนายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรีตาหนิไปยังกองทัพ
ขณะนัน ้ ทุง่ ใหญ่เริม ่ อยูใ่ นแผนของกรมป่ าไม้ทจี่ ะจัดตัง้ เป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าแล้ว
ผมจึงได้สง่ คุณเกษม รัตนไชย หัวหน้าเขตรักษาพันธุสตั ว์ป่าคนแรก ไปสารวจ
ได้ขา่ วว่ามีพวกคณะทหารไปล่าสัตว์ป่าทีท ่ งุ่ ใหญ่ครัง้ หนึ่งก่อนแล้ว แต่วา่ ทาอะไรไม่ได้
เพราะคุณเกษมฯตัวคนเดียว รถรายังไม่มี ส่วนพวกนัน ้ ใช้ยานพาหนะทันสมัย
จะไปสูอ้ ะไรได้
ก่อนสงกรานต์ปี 2516
ผมเป็ นผูแ ้ ทนประเทศไทยไปร่างอนุสญ ั ญาว่าด้วยการค้าสัตว์และพืชหรือไซเตส
ทีก ่ รุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา อยูเ่ ดือนหนึ่ง ผมกลับมาช่วงสงกรานต์ ปี 2516
ได้มพ ี วกคณะล่าสัตว์ป่าเกิดขึน ้ ในทุง่ ใหญ่อก ี โดยนายทหาร ตารวจ พ่อค้านักธุรกิจ
รวมหัวกันใช้เฮลิคอปเตอร์ รถยีเอ็มซี.ไปตัง้ ค่ายอยูท ่ ท
ี่ งุ่ ใหญ่เพือ่ ทีจ่ ะล่าสัตว์ป่า
ผมจาได้วา่ วันนัน ้ เป็ นวันที่ 11 เมษายน 2516 คุณถนอม เปรมรัศมี
รองอธิบดีกรมป่ าไม้ เรียกผมไปแล้วบอกว่า “เออ ผ่อง คุณสมศรี สุขุมาลนันท์
เจ้าของคอลัมน์ ทป ี่ รึกษาทางใจ เป็ นนักเขียน เป็ นเพือ ่ นของผม
ได้ขา่ วมาบอกว่าจะมีคณะนายทหารตารวจไปล่าสัตว์ป่าทีท ่ งุ่ ใหญ่
คุณไปดาเนินการอย่างใดก็ได้เพือ ่ หยุดยัง้ พวกนี้ อย่าให้มน ั เข้าไปล่ากัน” ผมก็รบั ปาก
และคิดขึน ้ มาได้วา่ ต้องไปคุยกับคุณไพโรจน์ สุวรรณกร หัวหน้ากองอุทยานแห่งชาติ
เพือ ่ ให้คณ ุ ไพโรจน์ฯไปช่วยบอก พ.ท.ท่านหนึ่ง ทีอ่ ยูห ่ น้าห้องจอมพลประภาส จารุเสถียร
รัฐมนตรีวา่ การกระทรงมหาดไทย คุณไพโรจน์ฯท่านก็ไปบอก บังเอิญ พ.ท.
ท่านนัน ้ ไม่อยู่ คุณไพโรจน์ฯก็ฝากไว้ และข่าวไปเข้าหูจอมพลประภาสฯ
ท่านก็ตาหนิพวกนี้เหมือนกัน คุณไพโรจน์ ฯพูดเองว่า “แทนทีเ่ ขาจะหยุด
เขากลับเห็นเป็ นเรือ ่ งขาขัน เขาไม่ฟงั แล้วยังโกรธว่าทาไมไปฟ้ องนายให้เขาถูกด่า”
แต่เขาก็ไปล่าตามแผน
วันนัน ้ ตอนเย็น ผมได้ไปหารือกับอาจารย์ผสม เพชรจารัส
ทีป่ รึกษาชมรมอนุรกั ษ์ ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ทีบ ่ า้ นอาจารย์ผสมฯว่า
“อยากจะได้ตว ั แทนนักศึกษาชมรมอนุรกั ษ์ ฯส่งนักศึกษาไปติดตามข่าว”
อาจารย์ผสมฯบอกว่า
“พรุง ่ นี้เช้าจะมีคณะนิสต ิ นักศึกษาจากชมรมอนุรกั ษ์ ฯหลายสถาบันไปสารวจเรือ ่ งน้าเน่ าที่
แม่น้าแม่กลอง ถ้าอย่างนัน ้ ก็แบ่งนักศึกษาไปบ้าง”
นิสต ิ นักศึกษากลุม ่ ทีแ
่ บ่งไปในวันรุง่ ขึน ้ นัน ้ ทางคุณธนพล(วิจารณ์ ) สาระนาค
หัวหน้าอุทยานแห่งชาติเขาสลอบ(เอราวัณ) จ.กาญจนบุรี เป็ นผูน ้ าไป
อีกคณะหนึ่งทีต ่ ามไปคือนักข่าว มีคณ ุ สุคนธ์ ชัยอารีย์ จากเดลินิวส์ คุณไพบูลย์ สุขสุเมฆ
จากสยามรัฐ ไปกับเจ้าหน้าทีก ่ รมป่ าไม้ ได้แก่ คุณเย็น การดี คุณศฤงคาร
ผมวางแผนให้คณ ุ เกษมฯไปอยูท ่ ที่ างทุง่ ใหญ่ ผมอยูท ่ างนี้
ถ้าเขาเอาเฮลิคอปเตอร์มาลงทีก ่ องพันทหารราบที่ 11 บางเขน
ผมจะถ่ายรูปไว้เป็ นพยานหลักฐานว่าพวกเขาไปล่าสัตว์จริงๆ
วันนัน ้ เป็ นวันอาทิตย์ เป็ นวันสงกรานต์
ผมไปยืนคอยอยูต ่ รงข้ามกองพันทหารราบที่ 11 พายุลมแรง
ผมยังนึกในใจว่าดีไม่ดส ี งสัยเฮลิคอปเตอร์คงจะตกเสียแล้ว ผมสังหรณ์ ใจขึน ้ มาเฉยๆ
มันไม่มาเย็นแล้ว ผมก็กลับบ้าน
พอรุง่ เช้าขึน ้ มาไปทางาน อาจารย์ผสมฯมาคอยอยูท ่ ห ี่ อ้ งทางานกรมป่ าไม้แล้ว
ยิม
้ ใหญ่วา่ “รูเ้ ปล่าๆว่าเฮลิคอปเตอร์ทไี่ ปล่าสัตว์ป่าตกทีอ่ าเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
หนังสือพิมพ์ลงข่าวว่าไปราชการลับทีช ่ ายแดนพม่า” ผมบอกว่า “ยัง”
เมือ่ ผมอ่านข่าวเดลินิวส์แล้วได้โทรศัพท์ไปบอกคุณอนุสรณ์ ทรัพย์มนู
นายกสมาคมขยายพันธุ์สตั ว์ป่า ว่า “คุณอนุสรณ์ ฯมีทง้ ั นักศึกษา ข้าราชการ
และสือ่ มวลชน เขาไปเจอพวกทีไ่ ปล่าสัตว์ป่าทีท ่ งุ่ ใหญ่ แต่หนังสือพิมพ์มาลงข่าวอย่างนี้
ทาอย่างไรดี ปฏิเสธอย่างไร ช่วยหานักข่าวมาให้ผมหน่ อย”
คุณอนุสรณ์ ฯโทรศัพท์ไปหาใครก็ไม่ทราบ ได้นกั ข่าวเดลินิวส์มาเขียนข่าว
ผมเล่าให้ฟงั เป็ นฉากๆ พอหนังสือพิมพ์ตข ี า่ วทีแ่ ท้จริงออกมา ประชาชนก็ฮือฮากันใหญ่
ตอนนัน ้ อย่าลืมว่าไม่มป ี ระชาธิปไตย ไม่มรี ฐั ธรรมนูญ ใช้เผด็จการปกครอง
จอมพลประภาสฯให้สมั ภาษณ์ ดา่ ผมว่า
“เป็ นข้าราชการไม่มอ ี านาจทีจ่ ะไปให้สมั ภาษณ์ หนังสือพิมพ์
ถือว่าเป็ นความผิดวินยั จะต้องลงโทษ” เท่านัน ้ แหละหนังสือพิมพ์ก็โกรธ
โจมตีจอมพลประภาสฯ เรือ ่ งเล็กกลายเป็ นเรือ ่ งใหญ่ โยงไปโดยเราไม่รเู ้ รือ ่ ง
ได้ขา่ วว่าตอนแรกทางจอมพลประภาสฯขูม ่ าว่าห้ามลงข่าวเรือ ่ งนี้โดยเด็ดขาด
พวกหนังสือพิมพ์เขาก็ประชุมกัน พรุง่ นี้เขาจะไม่มข ี า่ วอะไรทัง้ สิน ้
เป็ นการประท้วงประชด จะพิมพ์แต่หวั หนังสือ เช่นสยามรัฐ เดลินิวส์ ตอนนัน ้ ม.ร.ว.
คึกฤทธิ ์ ปราโมช ช่วยได้มาก ท่านไม่ยอมและบอกว่า “ฉบับไหนจะทาก็ทา
แต่สยามรัฐจะลุยต่อ ไม่กลัว” ท่านเขียนแรงกว่าเดิม
ตอนนัน ้ หนังสือพิมพ์ยกย่องพวกเราว่าเป็ นวีรบุรษ ุ เลยทีเดียว
หลังจากนัน ้ ผมได้เดินทางไปแจ้งความทีส่ ถานีตารวจภูธรอาเภอสังขละบุรี
จังหวัดกาญจนบุรี ค้างคืนแรกนอนทีเ่ มืองกาญจนบุรี คืนทีส่ องลงเรือไปตัง้ หลักทีท ่ า่ ขนุน
อาเภอทองผาภูมิ รุง่ ขึน ้ นั่งเรือหางยาวทวนน้าขึน ้ ไปถึงอาเภอสังขละบุรี
แจ้งความดาเนินคดีคณะล่าสัตว์ป่าทุง่ ใหญ่ ตารวจเขาก็ดาเนินคดี
ในทีส่ ดุ ศาลตัดสินให้พรานแกละรับโทษไปคนเดียว
หนังสือพิมพ์ลงข่าวกรณี ทงุ่ ใหญ่อยูอ ่ ย่างนัน ้ หลายเดือน
ตัง้ แต่เดือนเมษายนถึงกันยายน
นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคาแหงกลุม ่ หนึ่งทาหนังสือพิมพ์ชือ ่ “มหาวิทยาลัยไม่มค ี าตอบ”
เขียนกระแนะกะแหนพาดพิงการต่ออายุราชการของจอมพลประภาสฯต่อไปอีกหนึ่งปี
ว่า“สภากระทิงทุง่ ใหญ่มม ี ติให้ตอ ่ อายุราชการให้กระทิงหัวหน้าจ่อฝูงอีกหนึ่งปี ” ดร.ศักดิ ์
ผาสุขนิรน ั ดร์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคาแหง
ได้ลงโทษให้ปลดนักศึกษากลุม ่ นี้ออกจากสภาพนักศึกษา
นักศึกษารวมตัวกันต่อสูเ้ รียกร้อง จากเรือ ่ งเล็กๆกลายเป็ นเรือ ่ งใหญ่
อธิการบดีตา้ นทานไม่ไหว ยอมให้นกั ศึกษากลับเข้าเรียนต่อ
ในทีส่ ด ุ พวกนี้เขาเห็นว่ารัฐบาลไม่แข็งจริง เรียกร้องเรือ ่ งนี้ได้ จึงไปเรียกร้องรัฐธรรมนูญ
เรือ่ งเลยบานปลาย จนเกิดเหตุการณ์ วป ิ โยค 14 ตุลาคม 2516

กรณีลา่ สัตว์ป่าทีท ่ งุ่ ใหญ่สง่ ผลทาให้ประชาชนเริม ่ รูส้ ก


ึ ถึงคุณค่าของการอนุรกั ษ์ ส ัตว์ป่า
เป็ นจังหวะทีท ่ าให้เกิดกองอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าขึน ้ โดย ดร.เถลิง ธารงนาวาสวัสดิ ์
เป็ นผูผ้ ลักดัน และได้เสนอเรือ ่ งตัง้ เป็ นกองอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่า ซึง่ ปรากฏว่าได้มผ
ี ส
ู้ นับสนุน
โดยผ่านทางสือ่ มวลชนต่าง ๆ เป็ นจานวนมาก
ดังนัน
้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้เสนอรัฐบาลให้จดั ตัง้ กองอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่า
ในทีส่ ด ุ ในปี 2518
ได้มพ ี ระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมป่ าไม้และจัดตัง้ กองอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าขึน ้
11.เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าภูเขียว
คุณผ่องเล่าว่า “อีกอย่างหนึ่งทีผ ่ มรูส้ กึ ภูมใิ จมาก คือ เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าภูเขียว
ตอนนัน ้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กาลังจะเซ็นสัญญาเป็ นให้เป็ นป่ าสัมปทานทาไม้
ผมได้ทาเรือ ่ งเข้าทีป ่ ระชุมคณะกรรมการสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่า
อธิบดีกรมป่ าไม้สง่ ให้กองจัดการป่ าไม้พจิ ารณา กองจัดการป่ าไม้บอกว่า
“ควรจะหารือกันก่อน” โดยเชิญกองบารุง กองคุม ้ ครอง กองจัดการป่ าไม้ เจ้าหน้าทีน ่ ิ ตกิ ร
ตอนนัน ้ มี ดร.ชานิ บุณโยภาส ผูแ ้ ทนกองจัดการป่ าไม้ คุณจรรยา แวววุฒน ิ น
ั ท์
ผูแ้ ทนกองคุม ้ ครอง บรรลือ เชื้ออินทร์ ผูแ ้ ทนกองจัดการป่ าไม้ มาร่วมประชุม
ส่วนกองบารุงมีผมเป็ นเจ้าของเรือ ่ ง ก่อนหน้านัน ้
ผมหนักใจว่าถ้าเอาเข้าทีป ่ ระชุมผมแพ้แน่ เพราะเสียงส่วนใหญ่และประธานคือคุณศรัญ
มังคละเสถียร หัวหน้ากองจัดการป่ าไม้ เข้าเอง อาจารย์ถนอม เปรมรัศมี
รองอธิบดีกรมป่ าไม้ เป็ นประธาน ก่อนการประชุมหนึ่งอาทิตย์ คุณศักดิฯ์
ป่ าไม้จงั หวัดชัยภูมิ ท่านเคยพักบ้านกรมป่ าไม้ ทีเ่ ดียวกัน
พอวันหยุดท่านจะมาเยีย่ มครอบครัว ท่านเอาเลือดแรดจากชาวบ้านมาให้ขวดหนึ่ง
พร้อมหนังแรดประมาณ 2 นิ้ว มีตะปูทม ิ่ ตรงหนังแรดพอดี เพือ ่ เอาไว้แขวน
ผมได้คด ิ ว่าจะต้องเอาไปเสนอทีป ่ ระชุมว่าแรดเป็ นสัตว์ป่าสงวนหายาก จะสูญพันธุ์อยูแ ่ ล้ว
มีอยูเ่ ฉพาะทีภ ่ เู ขียว ตามคาบอกเล่าของป่ าไม้จงั หวัด
พร้อมกับมีตวั อย่างหลักฐานสัตว์ป่าคือเลือดแรดกับหนังแรด
ผมประมวลเรือ ่ งเสนออธิบดีกรมป่ าไม้ผา่ นหัวหน้ากองบารุง ผมเดินเรือ ่ งเอง
ขอเข้าพบคุณตรี กกกาแหง อธิบดีกรมป่ าไม้ ไปยืน ่ เรือ่ งให้ทา่ นทราบ
ท่านบอกว่า “ยังมีแรดอยูอ ่ กี หรือ”
ผมบอกว่า “มีครับ”
ท่านยิม ้ ๆแล้วบอกว่า
“ขอให้ประกาศเป็ นเขตรักษาพันธุสต ั ว์ป่าแทนทีก ่ ารให้สมั ปทาน” ท่านทาบันทึกอย่างนี้
ผมใจพองเลยและยังกาชับว่า
“ต่อไปนี้ การประกาศเขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป่าขอให้มน ั ได้มาตรฐาน” พอผมได้บน ั ทึกอันนี้
ผมเอาไปเสนอให้ทา่ นอธิบดีเซ็นรับทราบและท่านสั่งให้ห ัวหน้าฝ่ ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชา
ติคอ ื ผมดาเนินการ ผมถือไว้ พอวันประชุมผมถือไปด้วย ประธานน่ าจะเป็ นอาจารย์ถนอม
เปรมรัศมี พอเข้าประชุมตอนแรกทีป ่ ระชุมพูดกันใหญ่
ใครต่อใครพูดว่าการเอาป่ าไปกักไว้เฉยๆจะเสียหายต่อการจัดการป่ าไม้
ไม่เห็นด้วยทีจ่ ะให้ป่าภูเขียวเป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า
พอถึงคราวผมพูด ผมบอกว่า “เรือ ่ งเห็นด้วยไม่เห็นด้วยนี่มน ั วัดกันยาก
เพราะว่าแต่ละคนก็มงุ่ ในงานของตัวเอง เหมือนตราบใดมีกรมทางหลวง
เขาก็ตอ ้ งสร้างทาง การไฟฟ้ าหรือกรมชลประทานอย่างไรก็ตอ ้ งสร้างเขือ่ น
อันนี้ก็เหมือนกัน กองทีเ่ กีย่ วกับสัมปทานก็ตอ ้ งออกสัมปทาน ผมก็เหมือนกัน
ทางานอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าผมก็มห ี วั ใจแบบคนอืน ่ ผมก็อยากจะอนุรกั ษ์ ส ัตว์ป่า แต่อย่างไรก็ดี
พื้นทีต ่ รงนี้ผมขอยืนยันว่าเป็ นทีเ่ หมาะสมเพราะเป็ นทีอ่ ยูข ่ องสัตว์ป่า มีภเู ขาล้อมรอบ
ภูมป ิ ระเทศเหมือนทวีปออสเตรเลีย ตรงกลางเป็ นทีร่ าบและมีทงุ่ กะมัง และมีแรด
และเรือ ่ งนี้ขอเรียนว่าท่านอธิบดีกรมป่ าไม้ได้บน ั ทึกขอให้เป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าแล้ว
ตามบันทึกทีอ่ ยูท ่ ผี่ ม
อาจารย์ถนอมฯ บอกว่า “อยูท ่ ไี่ หน ไม่เห็นมาเอามาดูกน ั บ้าง”
ผมตอบไปว่า “นี่ครับ” ผมให้ทป ี่ ระชุมอ่าน คาสัง่ อธิบดีกรมป่ าไม้ถือว่าถึงทีส่ ด

ไม่มใี ครโต้แย้งได้ แต่พด ู ด้วยความตลกขบขัน
คุณจรรยา แวววุฒน ิ น
ั ท์ พูดทีเล่นทีจริงว่า “แหมแรดตัวเดียวเอาตัง้ แปดแสนไร่”
ผมพูดเล่นไปว่า “คุณไม่ทราบหรือแรดตัวเดียว ถ้ามันตกใจ
มันจะวิง่ ไม่หยุดเป็ นร้อยๆกิโล แปดแสนไร่นี่ม ันไม่พอทีม ่ น
ั จะวิง่ หนีศตั รูหรอก ”
ผมพูดทานองนัน ้ และยังเย้ากันเล่นว่า “ถ้าหากว่าแรดมันออกไปในตลาด
มันเกิดเข้าไปในตลาด ต้องประกาศเป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าด้วยหรือเปล่า”
ผมพูดเล่นว่า “ก็ตอ้ งประกาศ” ทีป ่ ระชุมหัวเราะใหญ่ ยังจามุขนี้ได้
หลังจากนัน ้ ผมเสนอกรมป่ าไม้ให้คณ ุ มานพ ชมภูจน ั ทร์
ตอนนัน ้ เพิง่ จบมาใหม่ๆไปดาเนินการสารวจบุกเบิกจนได้ประกาศเป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์
ป่ าภูเขียว

12.เขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป่าภูหลวง

ปี 2516 คุณผ่องเล่าว่า “ได้มช ี าวบ้านอาเภอวังสะพุง นาโดยนายอาเภอวังสะพุง ครู


และชาวบ้าน ทาหนังสือมาถึงผมว่า “ป่ าภูหลวงมีธรรมชาติสวยงามและเป็ นป่ าต้นน้าธาร
แต่วา่ ผูร้ บั สัมปทานทาไม้กาลังจะขึน ้ ไปตัดไม้ พวกเขากลัวจะเกิดความเสียหาย
จึงอยากจะให้ประกาศเป็ นอุทยานแห่งชาติ”
ผมอ่านแล้วเห็นว่าเป็ นงานในหน้าทีก ่ องอุทยานแห่งชาติ
ผมพาพวกเขาไปพบคุณไพโรจน์ สุวรรณกร หัวหน้ากองอุทยานแห่งชาติ
คุณไพโรจน์ฯท่านปฏิเสธว่า “ผมอยากจะทาเขาใหญ่ให้มน ั ดีสกั แห่ง
ทีอ่ น
ื่ ผมไม่อยากจะทา ไม่อยากจะขยายงานเพิม ่ ไม่อยากจะอ้าขาขาผวาปี ก ”
พวกนัน ้ เขาได้ฟงั แล้วก็ผดิ หวัง ผมมองว่าไม่น่าจะทาให้ประชาชนผูห ้ วังดีผด
ิ หวัง
ผมเลยพากลับมาทีห ่ อ้ งทางานผมทีฝ ่ ่ ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชาติ แล้วมานั่งหารือกัน

ผมพูดว่า “ท่านนายอาเภอเอาอย่างนี้ก็แล้วกัน ไหนๆท่านมาแล้วต้องอนุรกั ษ์ ให้ได้


ท่านเห็นมีสตั ว์ป่าอะไรบ้างทีภ
่ ห
ู ลวง”
ท่านนายอาเภอตอบว่า “มีครับ ช้างเป็ นฝูง มันออกมา เป็ นแหล่งช้างเลย” ผมบอกว่า
“ถ้าอย่างนัน
้ ท่านนายอาเภอช่วยเขียนบันทึกใหม่ได้ไหม”
ผมยืน่ กระดาษบันทึกให้ทา่ นเขียนแล้วลงนามกันเดีย๋ วนัน ้ เลยว่า
“ขอให้เป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า เนื่องจากมีชา้ ง และสัตว์ป่าต่างๆ”

เมือ่ ผมได้รบั บันทึกนี้มา ผมนาไปให้หนังสือพิมพ์ลงข่าวตีไว้กอ ่ น


ในขณะเดียวกันผมก็ประสานงานไปทางกองทีเ่ กีย่ วข้องคือกองจัดการป่ าไม้
แล้วนัดประชุมเพือ ่ หารือเรือ
่ งนี้ ตอนนัน ้ อย่าลืมว่าเรือ
่ งการอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่ากาลังดัง
ใครขัดขวางเรือ ่ งการอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่านี่ซวยนะ คุณประดิษฐ์ วนาพิทกั ษ์
รองอธิบดีกรมป่ าไม้ เป็ นประธาน ผมนาเรือ ่ งไปเสนอทีป ่ ระชุม
ผมจาได้วา่ ท่านรองประดิษฐ์ฯก็ฉลาด ท่านบอกว่า “เดีย๋ วนี้กระแสสังคมต้องรับฟัง
เราจะไปให้ทาสัมปทานมันไม่ได้”
ทางกลุม
่ กองจัดการป่ าไม้ คุณบรรลือ เชื้ออินทร์ ก็วา่ ดี คุณวัฒนา แก้งกาเนิด ก็วา่ ดี
เริม
่ อ่อนแล้ว แต่ก็วา่ “เห็นด้วย เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน ขอให้ประกาศเฉพาะส่วนทีเ่ ป็ นภู
ส่วนบริเวณทีเ่ ป็ นป่ าไม้จะกระทบกระเทือนการทาไม้ตามสัมปทาน”
ผมบอกว่า “มันไม่ได้หรอกสัตว์ป่ามันอยูไ่ ม่ได้ ไม่มน ี ้ากิน
เพราะมันมีลาห้วยเป็ นแนวเขตอยู”่ ในทีส่ ด ุ ทีป่ ระชุมตกลง “ให้ประกาศได้”

เมือ่ ถึงทีป
่ ระชุมคณะกรรมการสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่า ผมบรรยายสรุปอีกว่า
“ผมเสนอให้เอาทัง้ หมดทีเ่ ป็ นป่ าสัมปทาน
ตัง้ แต่ขา้ งล่างทีเ่ ป็ นแม่น้าและพื้นทีร่ าบเพราะว่ามันมีชา้ งป่ าอยู่
ช้างมันจะขึน ้ บนดอยเป็ นฤดูกาล ถ้าบนภูมน ั ไม่ได้ สัตว์ป่าอยูไ่ ม่ได้”
ทีป
่ ระชุมมีมติเห็นชอบ ผมส่งคุณมารุต นิลสุวรรณ แยกจากคุณมานพ ชมพูจน ั ทร์
ทีภ่ เู ขียว ไปดาเนินการสารวจ
พอมีพระราชกฤษฎีกากฤษฎีกาจัดตัง้ เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าภูเขียวออกมาแล้ว
กรมป่ าไม้ได้แจ้งเวียนกองต่างๆ พอไปถึงกองจัดการป่ าไม้ ทาบันทึกต่อว่าผมใหญ่เลย
บอกว่าไม่เคารพมติทป ี่ ระชุม มีความผิดต้องพิจารณาโทษ จนในทีส่ ด ุ คุณประดิษฐ์ฯ
รองอธิบดีกรมป่ าไม้ นาเข้าทีป ่ ระชุมกองทีเ่ กีย่ วข้อง พอดีทา่ นเป็ นอธิบดีเป็ นประธาน

ผมชี้แจงว่า “เรือ ่ งนี้ผมไปเสนอทีป ่ ระชุมคณะกรรมการสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่าแล้ว


ทีป่ ระชุมใหญ่มม ี ติตามทีเ่ ลขาเสนอว่าให้เป็ นเขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป่าว่าให้เอาแนวแม่น้า
ไม่อย่างนัน ้ สัตว์ป่าไม่รจู ้ ะกินน้าทีไ่ หน โดยข้อเท็จจริงบนภูมน ั ทาไม่ได้ มันขัดกับหลักวิชา
เพราะฉะนัน ้ จะด่าผมก็ดา่ เถอะ ให้รบั ทราบว่ามันหลีกเลีย่ งไม่ได้ และเล่นงานผมไม่ได้”
อธิบดีประดิษฐ์ฯท่านจับกระแสได้ทา่ นบอกว่า
“เรือ ่ งกฤษฎีกาเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าเป็ นกฎหมายออกไปแล้ว
ในเมือ่ มันออกไปแล้วเราจะไปแก้ ก็ไม่ถก ู ต้อง
ส่วนเจ้าหน้าทีไ่ ม่ประสานัน ้ เป็ นอีกประเด็นหนึ่ง พูดง่ายว่าเราไม่ควรจะไปแก้ไข
เพราะฉะนัน ้ ขอให้กองจัดการป่ าไม้ไปหาป่ าชดเชยให้เขา”
ตอนนัน ้ สัมปทานทาไม้ในป่ าภูหลวงเป็ นของบริษท ั ไม้อดั ไทย ปรากฏว่าได้ป่าปากชม
ซึง่ เป็ นป่ าตะแบกมาชดเชยป่ าภูหลวงซึง่ กลายเป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าภูหลวง
เรือ่ งก็เลยเงียบ.

13.เขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป่าสาละวิน

คุณผ่องเล่าว่า “เรือ
่ งมาจากมีหนังสือพิมพ์ลงข่าวว่าชาวบ้านเจอสิงโตทีป ่ ่ าสาละวิน
จังหวัดแม่ฮอ ่ งสอน ผมฉวยโอกาสเพือ ่ จะได้ประกาศเป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า
เรือ
่ งสิงโตเป็ นเพียงตัวประกอบทีห ่ ยิบมาเพราะสิงโตเป็ นเรือ
่ งน่ าสนใจ ผมให้คณ ุ ประมูล
ไวดาบ ไปสารวจ ไปใส่มาว่ามีสตั ว์ป่าตามทีเ่ ป็ นข่าวจริง
และมีสตั ว์ป่าชนิดอืน ่ ๆอีกมากมาย พื้นทีป ่ ่ ายังมีสภาพดี
เหมาะทีจ่ ะเป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า แต่วา่ ก็ใส่หน่ อยว่าเหตุมาจาก นสพ.ลงข่าว
ให้มนั สมจริงสมจัง
พอเข้าทีป ่ ระชุมคณะกรรมการสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่าแห่งชาติ คุณหมอบุญส่ง
เลขะกุล เลขานุการนิยมไพรสมาคม กรรมการ ท่านทักท้วงว่า “สัตว์ป่าไหนก็วา่ ไปเถอะ
แต่เรือ
่ งสิงโตนี่ขอได้ไหมอย่าใส่ลงไป เพราะว่าสิงโตมันไม่มใี นประเทศไทย
มันมีทอ ี่ น
ิ เดีย”
ดร.เถลิง ธารงนาวาสวัสดิ ์ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประธานคณะกรรมการฯ ท่านแก้แทนว่า “มันอาจจะตืน ่ ตกใจหนีจากพม่ามาก็ได้
หรือว่าคนเอามาเลีย้ งแล้วปล่อยเข้าป่ าใครไปเจอก็ได้ ใส่ก็ไม่เป็ นไร
ไม่จาเป็ นต้องมีอยูด ่ ง้ ั เดิม เป็ นสัตว์ตา่ งถิน
่ หลงเข้ามาก็ได้”
ในทีส่ ด
ุ ป่ าสาละวินได้ประกาศเป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า

14. เขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป่าห้วยขาแข้ง


ปี 2503 กรมป่ าไม้ได้ให้สมั ปทานทาไม้ในป่ า“โครงการไม้กระยาเลย
ห้วยทับเสลา-ห้วยขาแข้ง”แก่บริษท ั ไม้อดั ไทย
พื้นทีป
่ ่ าติดกับเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าห้วยขาแข้งด้านทิศเหนือ ตะวันออก
และใต้ในปัจจุบน ั เนื้อทีร่ วมทัง้ สิน
้ ประมาณ 9 แสนไร่
บริษทั ไม้อดั ไทยฯเริม ่ ทาไม้ออกบริเวณลุม ่ ห้วยทับเสลาก่อนเพราะเส้นทางคมนาคมเข้าถึง
ง่ายกว่าป่ าในลุม ่ ห้วยขาแข้ง

ปี 2507
มีขา่ วการบุกรุกทาลายป่ าล่าสัตว์อย่างมากมายในบริเวณใกล้เคียงป่ าห้วยขาแข้ง
ผูว้ า่ ราชการจังหวัดอุทยั ธานีจงึ สัง่ การให้ป่าไม้จงั หวัดออกสารวจข้อเท็จจริง
ป่ าไม้จงั หวัดได้กลับมารายงานว่า
“บริเวณพื้นทีน ่ น
้ ั มีชาวกะเหรีย่ งถางป่ าทาไร่เป็ นบริเวณกว้างและมีการล่าสัตว์ป่ากันอย่างเ
สรี ทาให้หว่ งว่าต่อไปในอนาคต ป่ าบริเวณดังกล่าวจะหมดไป
จึงเสนอให้จดั ตัง้ เป็ นเขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป่า”

นักข่าวซึง่ เดินทางร่วมไปด้วยได้เขียนข่าวตีพม ิ พ์ในหนังสือพิมพ์สารเสรี


ทาให้เรือ
่ งการบุกรุกและล่าสัตว์ป่าเป็ นทีร่ จู ้ กั กันแพร่หลาย
ทางกรมป่ าไม้จงึ สั่งการให้ฝ่ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชาติ สังกัดกองบารุง ส่งคุณอุดม
ธนัญชยานนท์ นักวิชาการป่ าไม้ตรี ไปดาเนินการสารวจรายละเอียดป่ าในบริเวณดังกล่าว
การสารวจครัง้ นี้มสี อ
ื่ มวลชนและเจ้าหน้าทีข ่ องบริษท
ั ไม้อดั ไทยเข้าร่วมสารวจด้วย

วันที่ 29 สิงหาคม 2508


ภาพเหตุการณ์ อ ันน่ าตืน
่ เต้นของคณะสารวจสัตว์ป่าได้ออกแพร่ภาพทางสถานีโทรทัศน์ช่
อง 4 แสดงถึงสภาพป่ าอันอุดมด้วยสัตว์ป่านานาชนิด ทีน ่ ่ าตืน
่ เต้นทีส่ ด
ุ คือ
“การสารวจพบควายป่ า สัตว์ทท ี่ ก
ุ คนเชือ
่ ว่าหมดไปแล้วจากเมืองไทย
ทว่าไม่อาจเก็บภาพควายป่ าเป็ นๆ หากินในสภาพธรรมชาติมาให้ชมได้”

คุณอุดมฯได้เขียนรายงานการสารวจให้แก่กรมป่ าไม้วา่
“สัตว์ป่าในป่ าห้วยขาแข้งมีจานวนและปริมาณมากมีสต ั ว์ทพ
ี่ บเห็นได้ยาก เช่น แรด
จากการสอบถามได้ความว่ายังอาจมีอยู่ ส่วนสัตว์ป่าทีพ
่ บเห็นได้ท่วั ไป ได้แก่ ช้าง กระทิง
วัวแดง เก้ง กวาง ควายป่ า กระจง สมเสร็จ หมี ชะนี ลิง ค่าง เสือ หมูป
่ ่ า ไก่ป่า นกยูง
นกเงือก ฯลฯ” คุณอุดมได้แบ่งนายพรานออกเป็ น 3 กลุม ่ คือ

กลุม ่ ทีห ่ นึ่ง กลุม่ ล่าสัตว์ป่าเป็ นอาชีพ


นักล่าสัตว์ป่ากลุม ่ นี้สว่ นใหญ่มาจากจังหวัดใกล้เคียง ใช้รถยนต์หรือช้างเป็ นพาหนะ
ทาให้สามารถล่าเป็ นเวลานาน 1-2 สัปดาห์ และนิยมล่าในฤดูแล้ง
กลุม
่ ทีส่ อง เป็ นพวกนักล่าสมัครเล่น เป็ นผูม ้ ก
ี ารศึกษาดี เป็ นพ่อค้าคหบดี
อาวุธทีใ่ ช้มค ี ณุ ภาพสูง
ยิงสัตว์ป่าทุกชนิดทีพ ่ บเพือ ่ ต้องการอวดฝี มือหรือทาสถิตใิ ห้แก่ตนเอง
กลุม่ สุดท้าย คือชาวบ้านบริเวณใกล้เคียงกับป่ า
ซึง่ ล่าสัตว์ทก ี่ น
ิ เป็ นอาหารได้เท่านัน ้ อาวุธทีใ่ ช้มกั มีคณุ ภาพไม่ดี

คุณผ่องฯเล่าว่า “การสารวจป่ าห้วยขาแข้ง เริม


่ สารวจตัง้ แต่ปี 2507
แล้วเสร็จเมือ่ ปี 2508 แต่ไม่ได้ประกาศ เนื่องจากติดนโยบายกรมป่ าไม้ทวี่ า่ คนไม่พร้อม
อุปกรณ์ ไม่พร้อม ห้ามประกาศ พอผมมาเป็ นหัวหน้าฝ่ ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชาติ เมือ่ ปี
2513 ผมไปหยิบประเด็นว่าเราส่งคนไปสารวจนานและควรจะประกาศได้แล้ว
ตอนนัน ้ คุณประดิษฐ์ฯเป็ นอธิบดีใหม่ ก็ไม่ขดั ข้อง
ตามปกติผมจะเสนอเรือ ่ งต่อคณะกรรมการสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่าโดยไม่ผา่ นกรมป่ าไ
ม้ ผมจัดเข้าวาระอย่างเดียว โดยอธิบดีไม่ทราบ เพราะท่านเป็ นกรรมการ
ท่านรูต
้ อนทีเ่ ราเวียนไป ในทีป ่ ระชุมคณะกรรมการสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่า

รองอธิบดีตวั แทนกรมทรัพยากรธรณี เป็ นคนค้านว่า


“ห้วยขาแข้งมีทรัพยากรมหาศาล มีแร่สงั กะสีอยูส ่ องฝั่งห้วย
ถ้าไปประกาศเป็ นเขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป่าจะเสียหายต่อเศรษฐกิจ” ท่านยืนยันอยูอ ่ ย่างนัน

ผมไปเถียงกับท่านว่า
“อยากจะเรียนให้ทป ี่ ระชุมทราบว่าในฐานะทีเ่ ป็ นกรรมการสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่า
มีหน้าทีด
่ แู ลสัตว์ป่า โดยเฉพาะสัตว์ป่าสงวนทีห ่ าได้ยาก ถ้ามันมีเราต้องถือว่าเหนือสิง่ ใด
เราต้องรักษา ทีน ่ ี่มค ี วายป่ าประมาณ 50 ตัว”
ผูแ้ ทนกรมทรัพยากรธรณี บอกว่า “ผมไม่เชือ ่ ว่าจะมี ผมเป็ นคนไปเดินสารวจดูแร่
ไม่เคยเห็น ไม่มค ี วายป่ า”

ผมบอกว่า “ถ้าผมไปสารวจถ่ายรูปมาได้ ท่านจะยอมให้ผมประกาศหรือไม่”


ท่านบอกว่า “ตกลง ถ้าสารวจมาเป็ นอย่างนัน
้ จริง ผมไม่ขดั ข้อง”
ผมเลยลงทุนเดินทางยกทีมงานไป มีคณ ุ กิตติศกั ดิ ์ ดวงรัตน์
หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป่าห้วยขาแข้ง คุณเชาวลิต ช่างภาพ กรมป่ าไม้ และทีมงาน
ได้แก่ คุณบุญลาภ ฉวีวรรณ คุณอาธรฯ คุณศฤงคาร มณี คุณเย็น การดี

ตอนทีเ่ ดินทางไปพักทีโ่ รงแรมในเมืองอุทยั ธานี ไปเจอคุณมานพ เลาห์ประเสริฐ


จากสานักงานป่ าไม้เขตนครสวรรค์ กลับจากตีตราไม้ อาจารย์ผสม เพชรจารัส
ทีป
่ รึกษาชมรมอนุรกั ษ์ ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ไปด้วย แต่ไปนอนได้คน ื เดียวก็แยกตัวกลับไปก่อน อาจารย์ผสมพูดเรือ่ งสัตว์ป่า
คุณมานพฯเล่าว่า “ตอนผมตีตราไม้นี่อเี ก้งมา ผมเอาปื นส่องเปรี้ยง ผมยิงเปรี้ยงเลย”
คุณมานพฯยังไม่รจู ้ กั ผม
ผมบอกว่า “คุณนี่เลวมาก คุณเป็ นพนักงานเจ้าหน้าที่ คุณไปยิงสัตว์ได้อย่างไร
คุณนี่เลวมาก คุณอยูท ่ ไี่ หน” พอผมพูดเสร็จบรรยากาศเครียด ผมเดินเข้าห้องน้า
คุณมานพฯถามอาจารย์ผสมฯว่า “นี่ใคร"

อาจารย์ผสมฯบอกว่า “ไม่รจู ้ กั หรือว่าคุณผ่อง เล่งอี้


หัวหน้าฝ่ ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชาติ
คุณผ่องไปเรียนวิชาการจัดการสัตว์ป่าทีส่ หรัฐอเมริกาคนแรกของเมืองไทย”
คุณมานพฯชักปอด เลยอิดออดไม่ยอมกลับไปนครสวรรค์
พอดีชว่ งกินข้าวบรรยากาศเริม ่ ลาย คุณมานพฯเลยไปกระซิบบอกคุณกิตติศกั ดิฯ์ ว่า
่ คลีค
“ขอไปด้วย เพราะอยากจะทาความเข้าใจกับพีผ ่ อ่ งเรือ
่ งล่าสัตว์ป่า”
คุณมานพฯเลยติดไปกับผมสองอาทิตย์ ได้คยุ กันสนุกสนาน
เมือ่ กลับไปสานักงานป่ าไม้เขตนครสวรรค์ ถูกคุณวีระ วีระสัมพันธ์ ป่ าไม้เขตนครสวรรค์
ดุวา่ “หายไปไหน ตีตราไม้แล้วไม่กลับ” จะเล่นงานสอบสวน
จนเป็ นเหตุให้คณุ มานพฯอยูไ่ ม่ได้ เลยมาขอผมว่า
“ผมขอย้ายมาอยูท ่ ฝ
ี่ ่ ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชาติส ักคน” ผมก็ตกลง
คุณมานพฯเลยทาเรือ ่ งขอย้ายมาอยูฝ ่ ่ ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชาติ
หลังจากนัน ้ ผมได้เสนอกรมป่ าไม้สง่ คุณมานพฯไปสารวจป่ าภูววั แทนคุณเฉลิมวุฒิ
เครือมณี

ผมเอาช้างบรรทุกสัมภาระ
ให้กระเหรีย่ งเดินนาทางไปได้สามวันสามคืนจนถึงบริเวณห้วยแม่ดี
บ้านกระเหรีย่ งทีอ่ าเภอบ้านไร่ เราไปนอนพักแรม
ให้คณ
ุ เชาวลิตฯช่างภาพเดินไปถ่ายภาพยนตร์รอบบริเวณนัน ้ เขาบอกว่า
“ได้ยน
ิ เสียงควายป่ าวิง่ เหมือนป่ าถล่ม ผมเห็นควายป่ าเป็ นฝูง ตกใจเหมือนกัน
แล้วยกกล้องถ่ายแทบไม่ทน ั ได้กน้ ควายมาหน่ อยหนึ่ง”
คุณเชาวลิตฯประมวลถ่ายสภาพป่ าและธรรมชาติตา่ งๆไปด้วย

ผมกลับมาเป็ นไข้มาลาเรีย
แล้วนาผลการสารวจพบควายป่ าเสนอทีป
่ ระชุมคณะกรรมการสงวนและคุม
้ ครองสัตว์ป่า
รองอธิบดีกรมทรัพยากรธรณี เห็นอย่างนี้ก็ยอมรับว่ามีควายป่ าจริง เลยไม่คา้ น
ยอมให้เป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า ในทีส่ ด ุ เมือ่ ปี 2515
ได้มป ี ระกาศคณะปฏิวตั ใิ ห้จดั ตัง้ เป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า
หลังจากนัน ้ ผมไปเจรจากับบริษท ั ไม้อดั ไทย ซึง่ ไม่คอ่ ยชอบหน้าผมเท่าไร
เพราะไปเอาป่ าเขาหลายแห่ง ส่วนล่างหลงสารวจไม่ได้ให้สมั ปทาน เป็ นภูเขาใหญ่
เราผนวกทีหลัง
เรือ
่ งแนวเขตเราถือตามผลการสารวจของหัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าคนแรกว่ามันแค่ไ
หน แล้วรูส้ ก ึ ว่ามันคาบเกีย่ วกับบริษท ั ไม้อดั ไทย
ตอนนัน ้ เขาได้สมั ปทานทาไม้บริเวณนัน ้ ทัง้ หมด
15.เขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป่าเขาเขียว-เขาชมภู่

คุณผ่องเล่าว่า

“ปี 2511 ผมเป็ นนักวิชาการประจาฝ่ ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชาติ


วันหนึ่งมีขา่ วว่ามีคนไปลักลอบตัดไม้ยางนาบนเขาเขียว จังหวัดชลบุรี
ผมได้ตด ิ ตามท่านอธิบดี ดุสติ พานิชพัฒน์ อธิบดีกรมป่ าไม้ ไปตรวจสอบข้อเท็จจริง
มีคณ
ุ สัมพันธ์ ปานะถึก หัวหน้าฝ่ ายประชาสัมพันธ์ เดินทางไปด้วย

ระหว่างเดินทางท่านอธิบดีดุสต ิ ฯต่อผมว่าเรือ ่ งเหมืองฟลูออไรท์ในเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าส


ลักพระ ทีผ่ มคัดค้านและทาเรือ ่ งไปทีท ่ า่ น มรว.จักรทอง ทองใหญ่
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้ระงับการอนุญาต ผูใ้ หญ่เห็นด้วยกับผม
กรมทรัพยากรธรณีจะอ้างว่าทีน ่ ่น
ั จะสร้างเขือ่ นเจ้าเณร(ปัจจุบ ันคือเขือ
่ นศรีนครินทร์)และ
น้าจะท่วมหมด แร่ฟลูออไรท์อยูใ่ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าสลักพระ
ควรจะอนุญาตให้บริษท ั เอกชนเข้าไปทาฟลูออไรท์ออกมาเสียเพือ ่ จะเอาเงินเอาทองมาใช้
ผมก็คา้ นเป็ นเรือ
่ งเป็ นราว มีเสียงคัดค้านกันพอสมควร

ท่านอธิบดีดุสติ ฯดุผมว่า “ไปคัดค้านทาไม คุณพจน์ สารสิน


รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ ซึง่ ดูแลกรมทรัพยากรธรณี
ต้องการจะทาเหมืองแร่นี้ ไปขัดขวางทาไม เดีย๋ วเขาจะรังเกียจเอา
ต่อไปเขาขัดขวางเราหมด เรือ ่ งเกีย่ วกับเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าทีไ่ หน เขาจะไม่ให้”
ผมก็ฟงั เฉยๆ ในทีส่ ด
ุ มรว.จักรทอง ทองใหญ่ ปลัดกระทรวงเกษตรฯ
และเป็ นรัฐมนตรีดว้ ย ท่านก็ไม่ให้เหมือนกัน ไปเถียงกันในคณะรัฐมนตรี จอมพล ถนอม
กิตติขจร นายกรัฐมนตรีบอกว่า
“ถ้าอย่างนัน
้ ให้กระทรวงเกษตรฯกับกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติไปพูดกันเอาเองก็แล้วกั
น”

วันหนึ่ง ม.ร.ว.จักรทองฯ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรฯ


ให้ผมไปด้วยทีก ่ ระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ พอไปถึงคุณพจน์ สารสิน
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ เอาแผนทีม ่ ากางแล้วว่ากันเลย
คุณพจน์ ฯ บอกว่า “ท่านรัฐมนตรีผมจะเอาอย่างนี้นะ ขีดอย่างนี้เลยนะ
ถ้ามีแร่ตรงไหนผมเอาหมดนะ เอาอย่างนัน ้ ละกัน” ม.ร.ว.จักรทองฯ พูดไม่ออกเลย
คุณพจน์ฯ บอกว่า “ให้เอาส่วนทีม ่ แี ร่ เอาหมด ถ้าเจอแร่ทไี่ หนต่อไปในอนาคตก็เอาอีก”
พูดอย่างนัน
้ ม.ร.ว.จักรทองฯ เลยยอม แต่ก็บอกว่า “อย่างไรก็อนุรกั ษ์ ไว้ให้ลูกหลานบ้าง”
คุณพจน์ฯ บอกว่า “ลูกหลานไม่ตอ ้ งไปห่วงมันหรอก ผมตายแล้ว อย่าไปสนใจ”
ท่านพูดอย่างนี้เลย ท่านยืนชี้ไป

ในทีส่ ด
ุ ตกลงกันให้เอาตามแนวเขตทีค
่ ณ
ุ พจน์ฯขีดให้มา เราเลยออก พรก.เพิกถอน
เพราะถูกบีบบังคับ ไม่วา่ กัน

วันนัน
้ คณะของอธิบดีดส ุ ติ ฯไปเจอคุณหมอบุญส่ง เลขะกุล คุณแคธเธอรีน บุรี
และคุณหมอระจิต บุรี ทีน่ ้าตกชันตาเถร แล้วเดินป่ าขึน้ เขาลงห้วยกันอยูค ่ รึง่ วัน
จนอาจารย์ดุสต
ิ เหนื่อยเดินจนขาแพลง ต้องให้คณ ุ บรรลือ เชื้ออินทร์นวดให้
คุณหมอบุญส่งฯออกความคิดว่า “ให้ทาป่ าเขาเขียวเป็ นสวนสัตว์เปิ ด”
แต่ตอนนัน
้ แนวคิดทีจ่ ะเป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าเขาเขียว ผมยังไม่มเี ท่าไหร่

่ าวันหนึ่ง การจับกุมสัตว์ป่าทีผ
อยูม ่ ด
ิ กฎหมายมากขึน ้ ไม่มท
ี เี่ ลี้ยง ผมเลยพูดกับ
พ.ต.อ.สุทศั น์ สุขุมวาท ผูอ
้ านวยการองค์การสวนสัตว์
ว่าอยากจะขอความร่วมมือว่าสัตว์ป่าทีก ่ รมป่ าไม้จบั มาได้
อยากจะให้องค์การสวนสัตว์ไปดูแลให้หน่ อย เพราะกรมป่ าไม้ไม่มงี บประมาณ

ท่านบอกว่า “ด้วยความยินดี” พอกรมป่ าไม้จบั มาได้เป็ นกวาง


นาไปฝากไว้ทา่ นคิดค่าใช้จา่ ย คิดเป็ นพันสามพันก็มาก ในทีส่ ด ุ ท่านไม่เมตตาเราแล้ว
องค์การสวนสัตว์ไม่รว่ มมือทีจ่ ะนาสัตว์ทก ี่ รมป่ าไม้จบั มาได้ไปดูแลรักษา
กลับคิดค่าดูแลจากกรมป่ าไม้ ผมเลยคิดจะเอาสัตว์ป่าของกลางไปเลี้ยงเองทีเ่ ขาลานวา
ซึง่ เป็ นส่วนหนึ่งของเขาเขียว จังหวัดชลบุรี อยูใ่ กล้กรุงเทพทีส่ ด ุ ไปเริม่ ต้นตรงนัน
้ ก่อน
เพือ ่ เอาสัตว์ป่าทีย่ ด
ึ ได้ทง้ ั นกทัง้ กวางไปรักษาไว้ทน ี่ ่ น
ั เดิมทีเดียวจะทาเป็ น
“ศูนย์ขยายพันธุ์สต ั ว์ป่า”

ทีนี้กาลก็เลือ
่ นมาจนถึงปี 2513 ผมเป็ นหัวหน้าฝ่ ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชาติ
ผมหยิบยกเอาเรือ ึ้ มา สโมสรโรตารีช
่ งนี้ขน ่ ลบุรรี วู ้ า่ ผมจะสงวนป่ าเขาเขียว - เขาชมภู่
เขาเชิญผมไปพูด ผมไปพูดว่า “ผมจะรีบทา
เพราะป่ านี้ผมเคยมาสารวจกับคณะอธิบดีกรมป่ าไม้ ตัง้ แต่ปี 2511 แล้ว
และมีความในใจอยูแ ่ ล้วว่าจะสงวน ไม่สงวนไม่ได้ มันเป็ นป่ าต้นน้า
น้าตกชันตาเถรมันจะแห้ง”
องค์การสวนสัตว์จะทาสวนสัตว์เปิ ดทีน ่ ้าตกชันตาเถรตามทีท ่ า่ นอธิบดีดุสต
ิ ฯแนะนา แต่
พ.ต.อ.สุทศั น์ สุขุมวาท ผูอ ้ านวยการองค์การสวนสัตว์ ทิง้ มานานไม่ได้ทา
พอผมไปบรรยายทีส่ โมสรโรตารีช ่ ลบุรี เขาลานวาขาดแคลนน้า อยูไ่ ด้ปีเดียว
เลยอพยพสัตว์ไปอยูน ่ ้าตกชันตาเถร และได้รบั การสนับสนุนจากโรตารีช ่ ลบุรี
ประชาชนเริม ่ ตืน
่ ตัว เห็นกวางอยูใ่ นทีล่ อ
้ มคอก ก็เปิ ดขึน้ มาเป็ นเรือ
่ งเป็ นราว
พอได้งบประมาณเลยตัง้ เป็ น
“ศูนย์ศก
ึ ษาธรรมชาติและเพาะพันธุ์สตั ว์ป่าเขาเขียว”(ปัจจุบ ันคือสถานีพฒ ั นาและส่งเสริม
การอนุรกั ษ์ ส ัตว์ป่าเขาเขียว) เสร็จแล้วผมมองว่าแค่เขาเขียวอย่างเดียวไม่พอ
ต้องอนุรกั ษ์ าเขาชมภูด ่ ว้ ย จากนัน
้ ผมได้สง่ เจ้าหน้าทีค่ อ
ื คุณธานี วิรยิ ะรัตนพร
จากเขาสอยดาว ไปสารวจ แล้วเสนอเป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า
ไปคลุมเอาทีส่ วนสัตว์เปิ ดเขาเขียวด้วย
ประกาศทับหมดเพราะถือเอาแนวเขตป่ าสงวนแห่งชาติทง้ ั ป่ าเลย

ก่อนหน้านัน ้ ผมถามในทีป ่ ระชุมว่า “องค์การสวนสัตว์จะเอาทัง้ ป่ าเขาเขียวหรือไม่”


ท่านสุทศั น์ฯ บอกว่า “ไม่เอา ไม่ไหวแล้ว เอาเขาดินอย่าเดียวก็พอ” ท่านมักน้อย
“ถ้าอย่างนัน
้ ผมจะไปสงวนนะ” ท่านบอกว่า “ตกลง”
ท่านสุทศั น์ฯยังยกมือไหว้อย่างนี้เลยนะ ให้ผมช่วยอนุรกั ษ์ ป่าเขาเขียว
องค์การสวนสัตว์ตีตราจองไว้กอ ่ นแล้ว โดยเอาป้ ายไปติดไว้
เพราะได้รบั ความเห็นชอบจากอธิบดีดุสต ิ ฯ แต่วา่ ไม่เอา
ผมเลยเสนอให้ประกาศเป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าเขาเขียว
แล้วไปคลุมสวนสัตว์เปิ ดเขาเขียวด้วย เรือ ่ งมันต้องมาแก้กน ั ทีหลัง.

16.เขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป่าโตนงาช้าง

คุณผ่องฯเล่าว่า

"ปี 2506 ผมเป็ นหัวหน้าหมวดสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่า ก่อนไปเรียนต่อทีส่ หรัฐอเมริกา


งานยังไม่มที ามาก ผมไปสารวจป่ าโตนงาช้าง อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
กับอาจารย์เต็ม สมิตน ิ น
ั ทน์ (2463-2538)ให้การทหารของยูซอ ่ ม(USOM)
สารวจว่าป่ าเมืองไทยมีลกั ษณะอย่างไร ทาโปรฟาย(profile)ป่ า เพือ ่ การยังชีพในป่ า
ว่าทหารมาลงแล้วจะกินอะไรได้บา้ ง จะอยูไ่ ด้อย่างไร มีแหล่งน้า มีอาหารอะไรบ้าง
เราไปสารวจให้เขา ผมได้เงินเดือนพิเศษจากอาจารย์เต็มฯ ท่านเป็ นหัวหน้า
ผมเห็นว่าป่ าโตนงาช้างมีน้าตกสวย ขณะทีผ ่ มกาลังสารวจโตนงาช้าง คุณพงษ์ สรุ ะ
ตัณมณี ป่ าไม้จงั หวัดพัทลุง ตามหาตัวผมเพือ ่ แจ้งประกาศว่าผมสอบชิงทุน กพ.ได้
ให้รีบไปรายงานตัวและสอบสัมภาษณ์ ไม่อย่างนัน ้ เขาจะตัดสิทธิ

วันหนึ่งคุณจรัล บุญแนบ หัวหน้าสวนพฤกษศาสตร์เขาช่อง จังหวัดตรัง


ท่านบอกว่าไปบอกคุณไพโรจน์ สุวรรณกร หัวหน้ากองอุทยานแห่งชาติ ว่า
“โตนงาช้างสวยนะ เป็ นน้าตกใหญ่ทสี่ ด
ุ ในภาคใต้ ลักษณะเหมือนงาช้าง
อยากให้เป็ นอุทยานแห่งชาติ”
คุณไพโรจน์ ฯ บอกว่า “ไม่เอา แค่เขาใหญ่อย่างเดียวก็จะตายอยูแ ่ ล้ว”
ท่านจะเอาเขาใหญ่อย่างเดียว จะไม่เพิม ่ อะไรแล้ว
ผมเป็ นหัวหน้าฝ่ ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชาติ ผมไปเปิ ดอุทยานสัตว์ป่าทีเ่ ขาช่อง จังหวัดตรัง
ผ่านน้าตกโตนงาช้างกับคุณจรัลฯ ตอนนัน ้ วิง่ รถทีถ
่ นนก็เห็นน้าตก ไม่ตอ้ งเข้าไปในป่ า

เมือ่ ผมกลับมา มีหนังสือพิมพ์ลงข่าวว่า “โตนงาช้าง ไม่มน ี ้า งาช้างมันหักไปแล้ว


เพราะป่ าถูกทาลาย เนื่องจากมีการทาไม้” เป็ นข่าวเรียกร้องให้สงวนโตนงาช้าง
จึงเป็ นเหตุบน ั ดาลใจให้ผมหยิบยกเรือ่ งนี้ขนึ้ มา
ผนวกกับทีผ ่ มเคยไปสารวจป่ าแล้วเห็นว่าน้าตกมันสวย แล้วเสนอกรมป่ าไม้ให้คณ ุ พินิจ
สุวรรณโณ เป็ นคนไปสารวจและจัดตัง้ เป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า
นัน
้ คือประสบการณ์ ทผ ี่ มบรรยายสรุปในทีป ่ ระชุมคณะกรรมการสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่
าได้โดยทีผ ่ มไม่ตอ ้ งไปดูอก ี แล้ว
และดีอยูอ ่ ย่างคือเวลาทีผ ่ มนาเสนอในทีป
่ ระชุมคณะกรรมการฯ
คณะกรรมการฯเห็นชอบหมด"

17.เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อย

คุณผ่องเล่าว่า

“เมือ
่ ปี
2517 คุณจรัล บุญแนบ หัวหน้าสวนพฤกษศาสตร์เขาช่อง มาเล่าให้ฟงั ว่า
“มีคนจับนกเป็ ดน้าจากทะเลน้อย ผูกร้อยแบบทรมานสัตว์ ไปขายทีต
่ ลาดปากคลองทุกวัน
วางขายเกลือ
่ นเลย”

ผมนึกได้วา่ ทะเลน้อยก็บา้ นผม แต่ไม่มเี คยใครมาบอก ผมก็นึกไม่ออก


ผมแนะนาให้คณ ุ จรัลฯนาเจ้าหน้าทีจ่ ากเขาช่องไปจับ และทาให้ผมคิดได้วา่
“ทะเลน้อยมีนกเป็ ดน้าเยอะ ถ้าอย่างนัน้ มาอนุรกั ษ์ กน
ั ดีกว่าพีจ่ รัล”

ผมบอกให้พจี่ รัลฯไปสารวจ เพือ ่ ประกาศเป็ นเขตห้ามล่าสัตว์ป่า แล้วเล่าให้ดร.เถลิง


ธารงนาวาสวัสดิ ์ รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฟงั ท่านจะไปเปิ ดป้ าย
ต้องสร้างป้ ายกันทัง้ วันทัง้ คืนเลย ดร.เถลิงฯยกป้ ายเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อยตัง้ แต่ ปี
2518 ตอนแรกชาวบ้านขัดขวาง หาว่า “นกไปกินข้าวกินจูดเขา คนจะอดตาย
ทาไมรักษานกไม่กต ี่ วั เอางบประมาณไปเสียเปล่า”
ตอนหลังเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อยเป็ นทีร่ จู ้ กั กันทั่วไป.

18.หัวหน้ากองอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าคนแรก

คุณผ่องเล่าว่า
“หลังจากเกิดกรณี ทง
ุ่ ใหญ่และเหตุการณ์ 14 ตุลาคม เมือ่ ปี 2516 ตอนนัน
้ ดร.เถลิง
ธารงนาวาสวัสดิ ์ ยังไม่รจู ้ กั ผม ท่านเป็ นรองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คุณปรีดา
กรรณสูต ปลัดกระทรวงเกษตรฯ
มอบให้ทา่ นเป็ นประธานคณะกรรมการสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่า

วันหนึ่ง ดร.เถลิงฯ เรียกผมไปทีห ่ อ้ งแล้วบอกว่า “ผ่องกินกาแฟซี เอออย่างนี้


ผ่องไปบอกท่านรองถนอม
เปรมรัศมีนะว่าให้ทาเรือ่ งออกพระราชกฤษฎีตง้ ั กองอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าขึน ้ มาด่วนเลยนะ”
ในทีส่ ด
ุ ฝ่ ายจัดการสัตว์ป่าแห่งชาติก็ได้ยกเป็ นกองอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าในปี 2518
เพราะดร.เถลิงฯเป็ นผูต ้ น
้ คิดและผลักดัน หลังจากนัน ้
ผมก็ได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็ นหัวหน้ากองอนุรกั ษ์ ส ัตว์ป่าคนแรก

ก่อนหน้านัน ้ ดร.เถลิงฯก็เป็ นผูผ


้ ลักดันให้มก
ี ารจัดตัง้ กองอุทยานแห่งชาติ ในปี 2515
เพราะท่านไปเทีย่ วเขาใหญ่บอ่ ย ท่านก็ชอบ ท่านเป็ นเพือ ่ นสนิทกับคุณไพโรจน์
สุวรรณกร หัวหน้าอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จึงสั่งให้อธิบดี ประดิษฐ์ วนาพิทกั ษ์
แต่งตัง้ คุณไพโรจน์ ฯเป็ นหัวหน้ากองอุทยานแห่งชาติ”
19.ผูอ
้ านวยการกองอุทยานแห่งชาติ

คุณผ่องเล่าว่า

“พอผมเป็ นหัวหน้ากองอนุ รก
ั ษ์ ส ัตว์ป่า
ผมทาเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าลา้ หน้ากองอุทยานแห่งชาติได้หลายสิบแห่ง
ตอนแรกน้อยกว่า

วันหนึ่งอธิบดีถนอม เปรมรัศมี ท่านไม่ชอบผม


ในแนวคิดทีผ ่ มประกาศเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่ามากไป ท่านห้ามผมว่า
“ประกาศเขตรักษาพันธุ์สต ั ว์ป่ามากไปแล้วให้หยุดพอก่อน
เดีย๋ วจะกระเทือนโครงการทาไม้ตามสัมปทาน
เราไปประกาศทีไ่ หนเขาก็ตอ ้ งปรับปรุงโครงการทีน่ ่น
ั เหมือนไปรื้อบ้านเขา”

ผมไม่พูดอะไร ได้แต่ครับๆ ผมครับเอา ไม่ใช่ผมไม่เอา ผมไม่หยุด ผมต้องเอา


ถึงจังหวะหนึ่งท่านทาเรือ่ งเสนอย้ายประจาปี
ย้ายผมจากหัวหน้ากองอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าไปเป็ นป่ าไม้เขตสงขลา

พอเรือ
่ งไปถึง ดร.เถลิงฯ ท่านเห็นชือ ่ ผมจะถูกย้ายไปดารงตาแหน่ งป่ าไม้เขตสงขลา
ท่านท้วงติงอธิบดีถนอมฯว่า “ไม่ควรย้ายคุณผ่อง เพราะเขามีความรูท ้ างด้านการอนุรกั ษ์
และมีผลงานด้านอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าชัดเจน เดีย๋ วนี้เขากลายเป็ น public figure เป็ นคนสาธารณะ
ใครๆก็รจู ้ กั ถ้าย้ายเขาเดีย๋ วจะมีปญ
ั หา เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน ไหนๆท่านอธิบดีจะย้ายเขา
ผมก็เห็นด้วย แต่วา่ ขอให้ยา้ ยเขาไปเป็ นผูอ ้ านวยการกองอุทยานแห่งชาติแทนคุณสวัสดิ ์
นิชรัตน์ ผูอ
้ านวยการกองอุทยานแห่งชาติ
แล้วให้คณุ สวัสดิฯ์ ไปเป็ นป่ าไม้เขตสงขลาแทนคุณผ่อง”

ผมมาทราบทีหลังว่าท่านปลัดเถลิงฯสัง่ ไปอย่างนัน
้ แล้วท่านปลัดฯให้คณ
ุ อรนุชฯ
เจ้าหน้าทีห
่ น้าห้องโทรศัพท์มาบอกผมว่า “ท่านปลัดฯให้ผมไปพบ”

ผมไปพบแล้ว ท่านปลัดฯบอกผมว่า “ผมให้ผอ


่ งไปเป็ นผูอ
้ านวยการกองอุทยานแห่งชาติ
ขอให้รบั หน่ อยนะ”

ผมเรียนท่านว่า “ผมไม่เอาครับท่าน
ผมปลุกปลา้ งานด้านการอนุรกั ษ์ ส ัตว์ป่ามาแทบเป็ นแทบตาย ยังไม่บรรลุเป้ าหมายเสียที
ผมอยากจะขออยูต ่ อ
่ ครับท่าน ขอความกรุณาเถิดครับท่าน ผมไม่อยากไปเป็ น”

ท่านบอกว่า “ใจเย็นๆ ผ่อง ผ่องมีความสามารถทางานให้กบั การอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่า”


แล้วท่านก็หยิบปากกามาเขียนเคิร์บ แล้วบอกผมว่า
“ผลงานกองอนุรก ้ อย่างนี้เลย ขึน
ั ษ์ สตั ว์ป่าของผ่องเคิร์ปขึน ้ พรวดๆ
แต่ของกองอุทยานแห่งชาติมน ั ดาวน์ลงแบบนี้ เพราะฉะนัน ้ อยากให้ผอ
่ งไปช่วย
เห็นแก่ชาติบา้ นเมืองเถอะ ผมเชือ ่ ว่าคุณทาได้ ขอให้คณ ุ ช่วยรับ”

ท่านพูดอย่างนัน ้ ผมก็องึ้ เรียนท่านไปว่า “โอเคครับ” พอคาสั่งออก


ผมจาได้วา่ เดือนตุลาคม 2522
ผมย้ายขึน ้ ไปอยูก่ องอุทยานแห่งชาติ(ขณะนัน ้ กองอุทยานแห่งชาติกบั กองอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่า
อยูต
่ ก
ึ เดียวกัน) นี่คอ
ื ทีม
่ าของการรับตาแหน่ ง ผอ.กองอุทยานแห่งชาติ

การทีผ ่ มไปเป็ นผูอ


้ านวยการกองอุทยานแห่งชาตินน ้ ั คุณไพโรจน์ สุวรรณกร
(ผูต ้ รวจราชการกรมป่ าไม้ในขณะนัน ้ ) คิดว่าผมวิง่ เขาหาว่าผมไปแย่งเขา
ซึง่ เป็ นการเข้าใจผิด ความจริงผมไม่ได้วงิ่ เลย ยืนยันได้วา่ ดร. เถลิง ธารงนาวาสวัสดิ ์
ปลัดกระทรวงเกษตรฯ
เป็ นคนขอร้องแกมบังคับให้ผมไปเป็ นผูอ ้ านวยกองอุทยานแห่งชาติ
ท่านปลัดฯยังบอกกับคุณไพโรจน์ ฯว่า “แกว่ง(คุณไพโรจน์ สุวรรณกร)เข้าใจนะ
ผ่องเขาไม่ได้วงิ่ นะ ผมบังคับให้เขาไปเอง”
ต่อจากนัน ้ ท่านปลัดฯยังอุตส่าห์ส่งั ให้คณ
ุ ไพโรจน์ ฯย้ายจากผูต ้ รวจราชการกรมป่ าไม้มาเป็
นผูอ ้ านวยกองอนุรกั ษ์ ส ัตว์ป่า
แต่ความจริงแล้วคุณไพโรจน์ ฯอยากกลับมาเป็ นผูอ ้ านวยกองอุทยานแห่งชาติ

20.การจัดตัง้ อุทยานแห่งชาติดว้ ยกระดาษแผ่นเดียว

คุณผ่องฯเล่าว่า
“หลังจากผมรับตาแหน่ งผูอ
้ านวยกองอุทยานแห่งชาติ
ผมเสนอป่ าทีส่ มควรจัดตัง้ เป็ นอุทยานแห่งชาติตอ
่ คณะกรรมการสงวนและคุม
้ ครองสัตว์ป่
าแห่งชาติ ครัง้ ละ 10 ป่ า
ผมบรรยายสรุปให้ทป ี่ ระชุมคณะกรรมการฯคนเดียวจบภายในเวลาไม่ถงึ ชั่วโมง
ก็ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการฯ 10 กว่าป่ า

การจัดตัง้ อุทยานแห่งชาติตา่ งๆขึน ้ อย่างรวดเร็วนัน


้ ผมถือหลักยึดพื้นทีไ่ ว้กอ
่ น
แม้แต่กระดาษแผ่นเดียว เพราะฉะนัน ้
ผมสั่งให้เจ้าหน้าทีไ่ ปดาเนินการจัดตัง้ อุทยานแห่งชาติดว้ ยกระดาษแผ่นเดียว(คาสั่งกรมป่
าไม้) ไม่มอี ะไร เงินงบประมาณไม่มี ผมต้องไปเจียดเอาจากอุทยานฯใหญ่ๆมาให้
ซึง่ อุทยานฯใหญ่ๆคงนึกด่าผมอยูใ่ นใจ ผมคิดว่าเราต้องเห็นแก่สว่ นรวม
เพราะเรากาลังแย่งพืน ้ ทีก
่ บั ป่ าสัมปทาน ถ้าขืนช้าเราจะเหลือแต่ซาก
ผมจึงวางเป้ าหมายไว้วา่

1. ป่ าเหนือเขือ ่ นต่างๆต้องประกาศเป็ นอุทยานแห่งชาติให้หมด


เพราะป่ าเหนือเขือ ่ นเป็ นต้นน้าธารและเป็ นทิวทัศน์ สวยงาม ผมจึงส่งคนไปประกบหมด
แห่งแรกทีผ ่ มส่งไปทันทีคอ ื อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ซึง่ เป็ นอุทยานฯใหญ่ทส
ี่ ด

นอกจากนัน ้ อุทยานแห่งชาติเขือ ่ นศรีนครินทร์ ผมส่งคุณไพบูลย์ เศวตมาลานนท์
ไปสารวจและจัดตัง้ สมัยผมเป็ นผูอ ้ านวยกองอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่า
ผมประกาศเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าแม่น้าภาชี จ.ราชบุรี
ซึง่ ต่อจากนัน้ เป็ นอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
แล้วลงไปถึงทางใต้ทอ ี่ ทุ ยานแห่งชาติกุยบุรีและป่ าแห่งอืน ่ ๆ
เป็ นอุทยานแห่งชาติตอ ่ ไปเรือ่ ยๆ

2. เกาะต่างๆในทะเลทัง้ หมด ต้องประกาศเป็ นอุทยานแห่งชาติทางทะเล


ในขณะทีผ ่ มเป็ นผูอ ้ านวยการกองอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่า
ผมคิดจะจัดตัง้ หมูเ่ กาะสุรนิ ทร์เป็ นเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า จึงให้คณ
ุ เสาวณี ย์ สุวรรณชีพ
นักวิทยาศาสตร์ ไปสารวจเป็ นคนแรก แฟนแกไปด้วย
คุณเสาวณี ย์ฯได้เขียนรายงานไว้แล้ว
แต่ผมยังไม่ทน ั จะได้นาเสนอคณะกรรมการสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่า
ผมถูกย้ายไปเป็ นผูอ ้ านวยการกองอุทยานแห่งชาติเสียก่อน

พอผมเป็ นผูอ ้ านวยการกองอุทยานแห่งชาติ ผมได้ขอแฟ้ มนัน ้ มาแก้คาว่า


“เขตรักษาพันธุ์สต ั ว์ป่า” เป็ น “อุทยานแห่งชาติ”
หมูเ่ กาะสุรนิ ทร์เลยกลายเป็ นอุทยานแห่งชาติหมูเ่ กาะสุรน ิ ทร์ ตามมาด้วยหมูเ่ กาะสิมลิ น

หาดเจ้าไหม อ่าวพังงา และเกาะอะไรต่างๆตามมา นี่คอ ื ทีม่ า
ผมอยากจะสงวนเกาะต่างๆในทะเลอันดามัน อย่าลืมนะ
พื้นทีบ่ ริเวณอันดามันทัง้ หมดนัน ้ รัฐบาลกาลังจะให้บริษท ั ไทยออยฯรับสัมปทานขุดหาน้ามั
นและแก๊ส
ดังนัน
้ พอผมไปเสนอให้จดั ตัง้ เกาะแห่งใดเป็ นอุทยานแห่งชาติในทีป
่ ระชุมคณะกรรมการ
อุทยานแห่งชาติ กรมทรัพยากรธรณี คา้ นว่า
“ตอนนี้รฐั บาลกาลังจะให้สมั ปทานขุดหาน้ามันกับบริษท
ั ไทยออย” ดร.เถลิง
ธารงนาวาสวัสดิ ์ ปลัดกระทรวงเกษตรฯ ท่านดีนะ ท่านไปพูดกับผูใ้ หญ่วา่
“ไปให้สมั ปทานทาไม ควรอนุรกั ษ์ ไว้”.

21.การปราบปรามการลักลอบล่าสัตว์ป่าครัง้ แรก

"เมือ
่ มีการออกกฎหมายสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503
และมีการจัดตัง้ หมวดคุม ้ ครองสัตว์ป่า ในปี 2504 ซึง่ ผมเป็ นหัวหน้า
ขณะนัน ้ ยังไม่เคยมีการปราบปรามการลักลอบล่าสัตว์ป่ามาก่อน

ในปี 2505 ทีท ่ งุ่ รังสิต ถนนพหลโยธิน หลัก กม.39 มีนาข้าวเต็มไปหมด


ในฤดูน้าหลากจะมีเรือรับจ้างพานักล่าสัตว์ชาวไทยและต่างประเทศจาก
กทม.ใช้ปืนลูกซองไปยิงนกน้าชนิดต่างๆกันเป็ นประจา เช่น นกอีลม ุ้ และนกเป็ ดน้า
กฎหมายสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่าออกมาแล้ว แต่ยงั ปฏิบตั ไิ ม่ได้
กรมป่ าไม้จงึ แต่งตัง้ ผมเป็ นพนักงานเจ้าหน้าทีท่ ต
ี่ ามกฎหมายเพราะมีผมอยูค ่ นเดียว

วันหนึ่งคุณหมอบุญส่ง เลขะกุล เลขานุการนิยมไพรสมาคม โทรศัพท์มาคุยกับผม


ผมไปหาท่านทีน่ ิยมไพรสมาคม
คุณหมอบุญส่งฯได้บอกว่า “กฎหมายสัตว์ป่ามันยังเป็ นหมันอยู่ มีพนักงานเจ้าหน้าทีแ
่ ล้ว
ขณะนี้มคี นไปล่านกน้าทีท
่ งุ่ รังสิต จะทาอย่างไรดี”

ผมรับปากกับท่านว่า “ผมไม่เคยทราบมาก่อน ผมรับจะไปจับกุมดาเนินคดี”


แล้วผมก็กลับมาทาบันทึกเสนอท่านรองอธิบดีกรมป่ าไม้(นายตรี
กกกาแหง)ลงนามไปถึงผูบ ้ งั คับการตารวจป่ าไม้ทกี่ รมตารวจ ซึง่ ยังเป็ นเรือนไม้อยูเ่ ลย
เขาก็สง่ นายสิบมาให้สองคน ร้อยตารวจเอกคนหนึ่ง ใช้รถตารวจ รถกรมป่ าไม้ไม่มี
เดินทางไปรวมกัน 4 คนพร้อมกับเจ้าหน้าทีก ่ รมป่ าไม้คนเดียวคือผม
ไปดาเนินการจับกุมผูล้ กั ลอบล่าสัตว์ป่าได้เป็ นรายแรกของเมืองไทย คือ Mr. John Criden
เจ้าหน้าทีย่ ูซอ ่ ม(USOM)
ได้ทง้ ั อาวุธปื นลูกซองแบบออโตเมติกและนกเป็ ดน้าของกลางไปส่งทีส่ ถานีตารวจฯบางขั
นธ์ จ.ปทุมธานี ผมจาได้แม่น และออกเป็ นข่าวทีวี.ด้วยว่า “นายผ่อง เล่งอี้
หัวหน้าหมวดสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่านาตารวจไปดาเนินการจับกุมผูล้ กั ลอบล่าสัตว์ป่าที่
ทุง่ รังสิต”

รายทีส่ องคือเจ้าของร้านปื นแถววังบูรพา จับได้ในวันเดียวกันนัน ้


ทัง้ สองคดีเป็ นประวัตศิ าสตร์ทไี่ ม่เคยมีมาก่อน
เป็ นครัง้ แรกทีม
่ ก
ี ารจับกุมดาเนินคดีกบั ผูล้ กั ลอบล่าสัตว์ป่าในเมืองไทย
หลังจากนัน ้
กรมป่ าไม้ได้รบั รายงานจากจังหวัดหนึ่งว่ามีเจ้าหน้าทีป ่ ่ าไม้ไปจับกุมคนยิงหมี
ถูกลงโทษปรับ
แต่วา่ บังเอิญเจ้าหน้าทีป
่ ่ าไม้ยงั ไม่ทราบกฎหมายชัดเจนว่าตอนนัน ้ หมียงั ไม่ใช่ส ัตว์ป่าคุม
้ ค
รอง ใครยิงหมูป่าเจ้าหน้าทีป ่ ่ าไม้ก็จบั เจ้าหน้าทีย่ งั มัว่ กันอยู.่

22.อุทยานแห่งชาติตอ
้ งมีอยูใ่ นทุกจังหวัด

“ผมเห็นว่าคนไทยมีอยูท
่ ก
ุ จังหวัด
สมัยนัน
้ คนต่างจังหวัดทุกภาคต้องมาดูอท ุ ยานแห่งชาติทเี่ ขาใหญ่
ถ้าจะให้คนแม่ฮอ่ งสอนต้องมาดูอท ุ ยานแห่งชาติทเี่ ขาใหญ่ เขาคงไม่มโี อกาสได้มา
เพราะฉะนัน้ เราต้องยกอุทยานแห่งชาติไปไว้ทบ ี่ า้ นเขา เพือ
่ เขาจะได้เห็นความสาคัญ
งานด้านการอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าก็เหมือนกัน

ผมถึงได้ตง้ ั อุทยานแห่งชาติมาก
้ มากเท่าใดหรือทีไ่ หน
อุทยานแห่งชาติและเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าตัง้ ขึน
เท่ากับเป็ นการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรูจ้ กั งานด้านอุทยานแห่งชาติและการอนุรกั ษ์ ส ั
ตว์ป่าได้เป็ นอย่างดี
เพราะยิง่ นานไปชาวบ้านจะยิง่ รูว้ า่ กฎหมายด้านอุทยานแห่งชาติและสัตว์ป่าเป็ นอย่างไร
หากไม่มห ี น่ วยงานด้านอุทยานแห่งชาติและสัตว์ป่าก็ไม่มที าง
อุทยานแห่งชาติน้าตกแม่สรุ น ิ จ.แม่ฮอ
่ งสอน
และอุทยานแห่งชาติในจังหวัดต่างๆทีอ่ ยูไ่ กลๆ
จึงได้เกิดขึน้ ในสมัยทีผ่ มเป็ นผูอ
้ านวยการกองอุทยานแห่งชาติ”

----------------------------------------------------------------------------------------
หมายเหตุผส ู้ มั ภาษณ์ คาว่า น้าตกแม่สรุ น
ิ ทร์ ควรเขียนว่า น้าตกแม่สรุ น ิ
ตามภาษาพื้นบ้านไทยใหญ่ มิใช่เขียนว่า สุรน ิ ทร์ แบบภาษาภาคกลาง
หรือแบบชือ ่ จังหวัดสุรนิ ทร์.
----------------------------------------------------------------------------------------

23. เบือ
้ งหลังการตัง้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พช

“เรือ
่ งแยกงานอุทยานแห่งชาติและสัตว์ป่าออกจากกรมป่ าไม้ไปจัดตัง้ เป็ นกรมนัน

ผมคิดมานานแล้ว ตัง้ แต่ยงั เป็ นผูอ้ านวยการกองอุทยานแห่งชาติ ในปี 2524
คณะสารวจหมูเ่ กาะสิมลิ น ั ซึง่ ประกอบด้วย Mr. Jeferey A. Sayer ชาวอังกฤษ
ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านอุทยานแห่งชาติและสัตว์ป่าของ FAO
ได้มาช่วยงานด้านอุทยานแห่งชาติและสัตว์ป่าทีก ่ รมป่ าไม้ ได้มาหารือผมว่า
“จะดีไหมทีเ่ สนอให้แยกงานด้านอุทยานแห่งชาติและสัตว์ป่าเป็ นองค์กรอิสระขึน ้ มา
เป็ นหน่ วยงานอีกหน่ วยงานหนึ่ง”
ผมบอกว่า “เขียนไปได้เลยว่าผมต้องการและพยายามผลักดันให้เกิด”
แต่กรมป่ าไม้คงไม่ตอ
้ งการปล่อย กรมป่ าไม้ใหญ่อยูแ
่ ล้ว ไม่อยากแบ่ง
อาหารเต็มจานอยูแ่ ล้ว หากเอามาแบ่งครึง่ ย่อมไม่พอใจ

สมัยทีผ ่ มเป็ นอธิบดีกรมป่ าไม้ ผมรูด ้ ีวา่ กรมป่ าไม้มนั ใหญ่เกินไป


ใหญ่เกินทีอ่ ธิบดีจะลงไปดูแลผูใ้ ต้บ ังคับบัญชา มันมากเกิน ดูแลไม่ทว่ ั ถึง
แนวความคิดงานป่ าไม้กบั งานอุทยานและสัตว์ป่าเป็ นคนละเรือ ่ งกัน
งานป่ าไม้คอ ื เศรษฐกิจ ส่วนงานอุทยานแห่งชาติคอ ื การอนุรกั ษ์ เพือ
่ ผลประโยชน์ ทางอ้อม
กรมป่ าไม้เป็ นผลประโยชน์ ทางตรง เรือ ่ งการใช้ไม้
เรือ
่ งทาอย่างไรอย่าให้ไม้มน ั ขาดแคลน
ถ้าไม่แยกออกจากกันความลาเอียงของอธิบดีจะต้องมี
เพราะอธิบดีทม ี่ พ
ี น
ื้ ฐานมาจากเรือ ่ งการป่ าไม้จะไม่สนใจเรือ ่ งอุทยานแห่งชาติและการอนุ
รักษ์ สตั ว์ป่า
หากมาจากงานด้านอุทยานแห่งชาติและการอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าจะไม่สนใจเรือ่ งการป่ าไม้
มันไม่ดี นัน ้ คือเหตุผลทีเ่ มือ่ ถึงเวลา
เมือ่ ได้จงั หวะต้องแยกงานอุทยานแห่งชาติออกเป็ นกรม

การจัดตัง้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช นัน ้


เป็ นเรือ ้ มาจากหมาขี้เรื้อนสองตัว คือ เนื่องจากรัฐบาลสมัย พ.ต.ท.ทักษิณ
่ งทีเ่ กิดขึน
ชิณวัตร นายกรัฐมนตรี
มีการเสนอพระราชบัญญัตป ิ รับปรุงโครงสร้างกระทรวงทบวงกรม
สาหรับในเรือ ่ งกรมป่ าไม้มกี ารเสนอให้มกี รมป่ าไม้เพียงกรมเดียวอยูใ่ นกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ ขณะนัน ้ ผมเป็ นสมาชิกวุฒสิ ภา พอเรือ ่ งมาถึงวุฒส ิ ภา
ผมเห็นว่างานอุทยานแห่งชาติและงานอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าใหญ่มากพอทีจ่ ะแยกงานไปจัดตัง้ เป็
นกรมอุทยานแห่งชาติและสัตว์ป่า ผมจึงไปหารือเรือ ่ งนี้กบั อาจารย์พนัส ทัศนียานนท์
กับอาจารย์แก้วสรรค์ อติโพธิ

อาจารย์พนัสฯขอผมว่า “ให้เพิม
่ คาว่า พันธุ์พช
ื ไปด้วย”

ผมตอบว่า “ไม่มป
ี ญ
ั หาอาจารย์ ขอให้ได้แยกงานนี้มาเถอะ” จึงเรียกกรมใหม่นี้วา่
“กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พช
ื ”

ในทีส่ ดุ เป็ นไปตามนัน



เมือ่ มีการอภิปรายในวุฒส ิ ภาได้รบั เสียงสนับสนุนอย่างท่วมท้นให้แยกงานอุทยานแห่งชา
ติและงานอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าจากกรมป่ าไม้มาจัดตัง้ เป็ นกรม
หลังจากกฎหมายผ่านวุฒส ิ ภาในตอนบ่ายวันนัน ้ นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรกั ษ์
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โทรศัพท์มาหาผมทันทีวา่
“พีไ ่ ปเสนอให้ทาแยกอย่างนี้ได้อย่างไร เสียหายกันหมดนะพี่”
ผมเรียนท่านไปว่า “ท่านรัฐมนตรี ทีไ่ หนๆในโลกเขาทากันอย่างนี้แหละ
ท่านจะต้องยอมรับผลประโยชน์ ของส่วนรวมให้มาก
เพราะถ้าจะเป็ นสากลก็ทาอย่างนี้แหละ ถูกต้องแล้ว”

จากนัน้ นายปองพล อดิเรกสาร รองนายกรัฐมนตรี ได้เชิญผม อาจารย์พนัสฯ


และอาจารย์แก้วสรรค์ฯ ไปคุยกันว่ากรมอุทยานแห่งชาติฯจะเอางานอะไรไปบ้าง
และได้มก ี ารจดบันทึกอย่างชัดเจนว่า
“ให้เอาเฉพาะงานอุทยานแห่งชาติและสัตว์ป่า”ไปดูแล
ส่วนทีเ่ หลือให้อยูใ่ นกรมป่ าไม้เหมือนเดิมเท่านัน

หลังจากนัน ้ ได้มค ี นในกรมป่ าไม้คนหนึ่ง เอาชือ ่ ผมกับอาจารย์แก้วสรรค์


ไปแขวนคอหมาขี้เรื้อนสองตัวทีว่ งิ่ ไปวิง่ มาในกรมป่ าไม้
มีคนกรมป่ าไม้โทรศัพท์ไปบอกผม ผมเลยรายงานให้ทป ี่ ระชุมวุฒส ิ ภาทราบ
ทีป
่ ระชุมหัวเราะกันใหญ่
นอกจากนัน ้ มีการเอารูปถ่ายของผมในห้องประชุมกรมป่ าไม้ไปทิง้ ไหนไม่รู ้ หายไปเลย
แล้วยังไปแกะเอาชือ ่ ผมทีต
่ ดิ อยูบ
่ นป้ ายรายชือ
่ อดีตอธิบดีกรมป่ าไม้หน้าห้องประชุมใหญ่อ
อกไปทิง้ และยังเขียนป้ ายผ้าหน้าด่าผมทีห ่ น้ากรมป่ าไม้อกี ด้วยว่า “ผ่อง เล่งอี้
นักอนุรกั ษ์ จอมปลอม” แต่มค ี นเก็บออกไป เขาทาสารพัดเหมือนกับเด็ก
แล้วอย่างนี้หรือจะเป็ นนักอนุรกั ษ์ เขาทาเพราะอะไร เขาโกรธผมถึงขนาดนัน ้ เชียวหรือ
เรือ
่ งอย่างนี้เวลาจะเป็ นเครือ
่ งพิสจู น์
เพราะฉะนัน ้ การทาอะไรบางครัง้ ผมต้องยอมเจ็บปวด

เมือ่ ครัง้ ผมทาเกาะต่างๆให้เป็ นอุทยานแห่งชาติและเขตห้ามล่าสัตว์ป่า


คนในกรมประมงคนหนึ่งโวยวายว่ากรมป่ าไม้ไปยุง่ อะไรกับทะเล เป็ นทีข ่ องประมงเขา
แต่เขากลับแย่งงานกรมป่ าไม้แม้กระทั่งจระเข้
เวลาเขาเสนอกฎหมายจะคล้ายกับกฎหมายอุทยานแห่งชาติ
มีการอนุรกั ษ์ เกาะแก่งให้เป็ นแหล่งอนุรกั ษ์ ประมง มีการเก็บค่าผ่านประตูและค่าบริการ
พอเรือ ่ งไปถึงกระทรวงเกษตรฯก็ถูก ดร.เถลิง ธารงนาวาสวัสดิ ์ ปลัดกระทรวงฯ
ตีกลับว่ามันไปซา้ ซ้อนกับกฎหมายสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่า
เวลามาเขาเป็ นอธิบดีกรมป่ าไม้แล้วกลับหวง ทาไมเขาไม่คน ื ให้กรมประมงไป.”
----------------------------------------------------------------------------------------
จบ
http://www.raorakpar.org/raorakparboard/index.php?topic=221.0;wap2
----------------------------------------------------------------------------------------
* ขอขอบคุณ คุณผ่อง เล่งอี้
* ขอขอบคุณทุกท่าน ทีก ่ รุณาติดตามอ่าน
* ขอขอบคุณ เว็บไซต์กลุม ่ เรารักษ์ ป่า
* ขอกราบอภัยทุกท่าน ทีถ ่ ูกอ้างอิง เพือ่ ความสมบูรณ์ ของประวัตศ ิ าสตร์
* ขอกราบขมาอภัยแด่ดวงวิญญาณทุกท่าน ทีถ ่ ูกอ้างอิงไว้ในบทสัมภาษณ์
เพือ่ การศึกษาประวัตศ ิ าสตร์เสีย้ วหนึ่งของการอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าและอุทยานแห่งชาติเมืองไท
ย.
----------------------------------------------------------------------------------------
ผูส
้ มั ภาษณ์
ธนพล สาระนาค
ประธานชมรมอาสาสมัครอุทยาน / ชมรมเพือ ่ นสลักพระ

เกิด : 30 ตุลาคม 2487 ที่ จ.อุบลราชธานี


ประวัตก ิ ารศึกษาและการฝึ กอบรม :
2533 ฝึ กอบรมการตีความหมายอุทยานแห่งชาติ (Park Interpretation) ที่ East-West Center
รัฐฮาวายอิ สหรัฐอเมริกา http://www.eastwestcenter.org/
2511 วนศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาวนผลิตภัณฑ์ (Wood Technology)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประสบการณ์ ทางาน :
2547 เกษี ยณอายุราชการ
2547 ประจาสานักอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช
2542 ประจาสานักอนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ กรมป่ าไม้
2539 หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าแม่ยวมฝั่งขวา อ.แม่ลาน้อย จ.แม่ออ่ งสอน
2531 ประจากองอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่า (ปัจจุบ ันส่วนอนุรกั ษ์ ส ัตว์ป่า)
2530 ประจากองอนุรกั ษ์ ตน ้ น้า (ปัจจุบ ันส่วนอนุรกั ษ์ ตน
้ น้า)
2528 หัวหน้าศูนย์ฝึกอบรมการป่ าไม้ตาก จ.ตาก กองการเจ้าหน้าที่
2526 ประจากองจัดการป่ าไม้
2525 หัวหน้าฝ่ ายประชาสัมพันธ์ สานักงานเลขานุการกรมป่ าไม้
2519 ประจากองจัดการป่ าไม้
2518 ประจากองอุทยานแห่งชาติ
-สารวจป่ าแม่สน
ิ -แม่สาน จ.สุโขทัย เป็ นอุทยานแห่งชาติ (ปัจจุบน ั คือ
อุทยานแห่งชาติศรีสชั นาลัย)
2512 ประจาฝ่ ายจัดการอุทยานแห่งชาติ กองบารุง กรมป่ าไม้
-ประจาอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขน ั ธ์
-สารวจป่ าเขาเขียว จ.ชลบุรี เพือ
่ กรมป่ าไม้พจิ ารณาเป็ นอุทยานแห่งชาติ
2513 หัวหน้าอุทยานแห่งชาติเขาสลอบ จ.กาญจนบุรี (ปัจจุบน ั คือ
อุทยานแห่งชาติเอราวัณ)
-หัวหน้าวนอุทยานถา้ ธารลอด จ.กาญจนบุรี (ปัจจุบ ันคือ
อุทยานแห่งชาติเฉลิมรัตนโกสินทร์)
2512 ประจาฝ่ ายจัดการอุทยานแห่งชาติ กองบารุง กรมป่ าไม้
-ประจาอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขน ั ธ์
-สารวจป่ าเขาเขียว จ.ชลบุรี เพือ่ กรมป่ าไม้พจิ ารณาเป็ นอุทยานแห่งชาติ
ผลงานแปล :
-การตีความสิง่ แวดล้อม โดย แกรนท์ ดับบลิว. ชาร์พี
-การจัดการพื้นทีค่ ม
ุ้ ครองในเขตร้อน โดย จอห์น และคาธี แมคคินนอน และคณะ
-การแบ่งประเภทพื้นทีค ่ ม
ุ้ ครอง โดย สหภาพการอนุรกั ษ์ โลก(The Wolrd Conservation
Union / IUCN)
-รายงานการให้คาแนะนาเกีย่ วกับระบบอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย 2502 –
2503 โดย ดร.ยอช ซี. รูเล
-นโยบายการจัดการกรมบริการอุทยานแห่งชาติ ปี 2549 ของสหรัฐอเมริกา
-นโยบายการจัดการอุทยานแห่งชาติของแทนซาเนีย
-นโยบายการจัดการสัตว์ป่าของแทนซาเนีย
ผลงานตาราและการเรียบเรียงอืน ่ ๆ:
-คูม
่ อ
ื ทางเดินป่ านายแพทย์บญ ุ ส่ง เลขะกุล สถานีพฒั นาฯการอนุรกั ษ์ สตั ว์ป่าเขาน้าพุ
จ.กาญจนบุรี
-ลาดับเหตุการณ์ สาคัญในการสงวนและคุม ้ ครองสัตว์ป่า และอุทยานแห่งชาติ พ.ศ.
2303 - 2504
-ความฝันทีเ่ ป็ นจริงของคุณหมอบุญส่ง เลขะกุล
ผลงานการตีความหมายธรรมชาติ : ปี 2536 จัดทา "ทางเดินป่ านายแพทย์บญ ุ ส่ง
เลขะกุล" ทีเ่ ขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าสลักพระ จ.กาญจนบุรี
http://www.friendsofsalakphra.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538771881
ติดต่อ : ชมรมอาสาสมัครอุทยาน(Park Volunteer of Thailand) 25/9 ซ.เสรีไทย 19
ถ.เสรีไทย เขตบึงกุม ่ กทม.10240 โทร. 02-3779318.

You might also like