You are on page 1of 13

คัมภีรฉันทศาสตร

แพทยศาสตรสงเคราะห
สมาชิกผู้จัดทํา
วชนน อิทธิไกรเจริญ
วิธวินท์ สินประเสริฐ
ณภัทร เซียงหลิว
ห้อง 1106
คํานํา:แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์เป็ นตําราแพทย์ของไทยโบราณประพันธ์โดยพระยาพิศนุประสาทเวชหรื อ
ทีเรี ยกกันว่าหมอคงในปี พุทธศักาช ในสมัยการปกครองของรัชกาลที เนืองจากสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เห็นว่าการแพทย์และตําราพืนบ้านของไทยเป็ นสมบัติของชาติควรมีการป้ องกันไม่
ให้มีการสื บทอดทีผิดเพียนหรื อการสูญหายโดยจะเน้นคุณสมบัติของแพทย์ในการรักษาอาการโรคและ
การพึงระวังมีให้เข้าลักษณะของแพทย์ทีไม่ดีโดยในสมัยการปกครองรัชกาลที ของสมเด็จพระปรมินมา
หาภูมิพลอดุลยเดชมหิ ตลาธิเบศร์รามาธิบดีจกั รี นฤบดินทร์สยามมินธราธิราชบรมมนาถบพิตรซึงป็ นพระ
มหากษัตริ ยไ์ ทยทีทรงครองราชสมบัติยาวนานทีสุ ดในประเทศไทยโดยมีการดัดแปลงจากต้นฉบับ
เพือให้เข้าใจง่ายขึนเพือเป็ นนักสื อถวายราชสักการะ
ความเป็ นมา :
คัมภีร์ฉนั ทศาสตร์แพทย์ศาสตร์มีารเปรี ยบเทียบร่ างกายเหมือนกับบ้านเมืองโดยให้ความสําคัญกับ
ดวงจิตด้วยการเปรี ยบดวงจิตเป็ นกษัตริ ยแ์ ละเปรี ยบโรคภัยให้เป็ นข้าศึกเเละมีแพทย์เป็ นทหารทีคอย
ดูแลเเละปกป้ องรักษาร่ างกายไม่ให้ร่างกายมีโรคภัยอีกทังดวงใจก็พยายามอย่าโกรธเพือไม่ให้โรค
ภัยคุกคามความรู ้ความเชียวชาญในการรักษาบําบัดรักษาโรคมีความสําคัญอย่างยิงเมือใดทีเกิดอาการ
เจ็บป่ วยจําเป็ นต้องรักษาโรคให้ทนั ท่วงทีและรักษาให้ถูกเนืองจากอาการเจ็บป่ วยอาจลุกลามจน
รักษาไม่หายและควรรอบรู ้ในการรักษาอย่างรอบด้านเพือให้สามารถวินิจฉัยและถ่ายทอดความรู ้ได้
ลักษณะคําประพันธ์:

ตอนเปิ ดเรื องใช้กาพย์ยานี ๑๑ ตอนทีอธิบายลักษณะของทับ ๘ ประการใช้คาํ ประพันธ์แบบร่ าย


โครงเรื อง : คัมภีร์ฉนั ทศาสตร์สิงทีสังสอนสิ งทีแพทย์ควรกระทําสิ งทีแพทย์ควรมีและสิ งทีไม่ควรกระทํา
ร่ วมถึงจรรยาบรรณของแพทย์

เเก่นรื อง : ให้ความรู ้เกียวกับอาการแทรกซ้อน โดยระบุอาการ วิธีการสังเกตอาการ และแนวทางการ


รักษา ของโรค และยังสังสอนเกียวกับจรรยาบรรณแพทย์แพทย์ทีดี
การอ่านเเละพิ จารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีเเละ
วรรณกรรม
การสรรคํา

การใช้ถ้อยคําทีเหมาะสม-เพื อให้ได้ความหมายทีชัดเจน
บางหมอก็กล่าวคํา มุสาซากระหนาความ

ยกตนว่าตนงาม ประเสริฐยิงในการรักษา

บางหมอก็เกียจกัน ทีพวกอันแพทย์รักษา

บ้างกล่าวเปนมารยา เขาเจ็บน้อยว่ามากครัน

บ้างกล่าวอุบายให้ แก่คนไข้นันหลายพั น

หวังลาภจะเกิดพลัน ด้วยเชือถ้อยอาตมา
การใช้สํานวนไทย
เรียนรู้คัมภีร์ไสย สุขุมไว้อย่าแพร่งพราย

ควรกล่าวจึงขยาย อย่ายืนแก้วให้วานร

การเล่นเสียงสัมผัส

ผู้ใดใครทําชอบ ตามระบอบพระบาลี

กุศลผลจะมี อเนกนับเบืองหน้าไป
การซาคํา
กายไม่แก่รู้ ประมาทผู้อุดมญาณ

แม้เด็กเปนเด็กชาญ ไม่ควรหมินประมาทใจ

การเพิ มเสียง “ร”


ให้ดํารงกระษัตริย์ไว้ คือดวงใจให้เร่งยา

อนึงห้ามอย่าโกรธา ข้าศึกมาจะอันตราย
คุณค่าด้าน วรรณศิล์ป
- มีการใช้โวหารภาพพจน์ เช่น อุปมา อุปมัย ในช่วงเริมแรก

ประเทียบเปรียบในกาย ทุกหญิงชายในโลกา
ดวงจิตคือกระษัตริย์ ผ่านสมบัติอันโอฬาร์

*ข้อควรสังเกตุ* เปรียบแพทย์คือทหาร อันชํานาญรู้ลําเนา

เปรียบตัวนี เปน กริยาหลัก ไม่นับเปน อุปมา แต่กลายเปนอุปลักษณ์แทนเพราะมี คือ อยู่ด้านหลัง


คุณค่าด้าน วรรณศิล์ป

- มีการใช้สํานวนไทยมาเปรียบเทียบ เช่น อย่ายืนแก้วให้วานร , ต่างเนือก็ต่างยา (จาก ลาง


เนือชอบลางยา) , เข้าตรีฑูต
- มีศัพท์โบราณมากมายให้ศึกษา

กาเม ความใตร ความอยาก

ครุกรรม บาปหนัก

ทน ลนขึ้นมา

เขา ขาว

เชื่อมมัว อาการของโลกชนิดหนึง พิษของโรคทําใหซึม


คุณค่าเนือเรือง ด้านแง่คิด

คุณสมบัติของแพทย์ทีดีควรเปนดังนี
“มือผู้หญิง นัยน์ตาเหยียว หัวใจราชสีห์ ศึกษาทฤษฎีเปนกิจ เรียนเอาเปนนิจกาล
รับคําวิจารณ์ปรับปรุงตน เกิดมาเปนคนต้องมันใจใน(การรักษาของ)ตัวเอง
และ ไร้ซึงอุทธัจจัง (ความประหม่า //ไม่ก็ประมาท เอาเปนว่า ต้องปราศจากสองตัวนีทังคู่)
หมอทีดี ต้องไม่มีข้อเสีย ดังนี
“ยกตนว่าตนงาม แก่กายไม่แก่รู้ กล่าวยกถึงคุณยา พู ดมายาลวงคนไข้ ฝกและใฝในลาภเงิน”

You might also like