You are on page 1of 73

ศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ

Geriatric Medical Center

GMC CMU
การดูแลผู้สูงอายุให้มี
สุขภาพดี
ผศ.นพ.สุรัตน์ ตันประเวช
หัวหน้าศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ
ศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
surat.tan@cmu.ac.th
H
ealth issues

H abit(& activities)

H ome (& environment)


Health issues
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุที่แตกต่างจากผู้ป่วยทั่วไป

RAMPS
Reduced body reserve พลังสำรองกายลดลง

Atypical presentation อาการแสดงไม่แน่นอน

Multiple pathology มีหลายโรคในเวลาเดียวกัน

Polypharmacy ได้รับยาหลายชนิด

Social adversity ปัญหาด้านสังคม


The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
Geriatric syndrome
• Instability (Fall) ภาวะ • Incontinence ปัสสาวะ
หกล้ม
อุจจาระราด
• Immobility เดินหรือ • Inanition เบื่ออาหาร
เคลื่อนไหวไม่ได้
• Iatrogenic เกิดภาวะ
• Intellectual impairment
แทรกซ้อนได้ง่าย
สติปัญญาเสื่อมถอย
Falling ภาวะล้มบ่อยในผู้สูงอายุ
Guideline for Falling
Prevention for Thai
Elders
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
ระบาดวิทยาของภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
• อัตราการหกล้มในผู้ที่มีอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไปที่มีสุขภาพดี
ในชุมชนประมาณ 0.3-1.6 ครั้ง/คน/ปี

• ผู้สูงอายุไทยจะหกล้มประมาณร้อยละ 20 เมื่อถามย้อนหลังไป
6 เดือน

• อุบัติการณ์ในการเกิดกระดูกหัก spinal cord injury เพิ่มขึ้น


130%

• 50% ผู้สูงอายุที่ต้อง admit จากหกล้ม จะเสียชีวิตในอีก 6


เดือนข้างหน้า
Kannaus. J Gerontol 2007
Assantachai J Med Assoc Thai 2003
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
High risk of fall
• มีประวัติการล้มใน 1 ปีที่ผ่าน • มีปัญหาหรือความบกพร่องในการ
มา เดิน

• มีปัญหาหรือความบกพร่องใน • มีความบกพร่องในการมองเห็น
การทรงตัว
• มีปัญหาในการกลั้นอุจจาระ
• มีประวัติได้รับยาหลายชนิด ปัสสาวะ
โดยเฉพาะกลุ่มดังต่อไปนี้ • มีประวัติโรคทางกาย เช่น โรค
หลอดเลือดสมอง โรคเวียนศีรษะ
• ยานอนหลับ ยาต้านเศร้า
บ้านหมุน โรคเส้นประสาทชา
ยารักษาโรคทางจิตเวช ยา โรคความดันโลหิตต่ำ
รักษาโรคหัวใจ ยาหลาย
ชนิด • Cognitive impairment
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
Time Up and Go Test (TUGT)

Normally < 10 sec


If > 29 sec-> risk of falling
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
การป้องกันการล้มในผู้สูงอายุ
• การฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ การทรงตัว การเดิน

• ตรวจวัดสายตาและการมองเห็น

• ตรวจสอบการใช้ยาและแก้ไขปัญหาการใช้ยาที่ไม่เหมาะ
สม หรือมีการใช้ยาที่ทำให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงสูงต่อภาวะ
หกล้ม

• ประเมินและปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่บ้านเพื่อลดความ
เสี่ยงต่อการหกล้ม
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
การป้องกันการล้มในผู้สูงอายุ
• จัดหาผู้ดูแลกรณีที่มีความเสี่ยงสูง

• จัดหาอุปกรณ์ช่วยเดิน จัดหารองเท้าที่ไม่ลื่นและเหมาะสม

• ปรับระดับเตียงให้มีความเหมาะสม

• เปิดไฟให้สว่างเพียงพอ

• มีสัญญาณในการเรียกผู้ช่วยเหลือในกรณีหกล้ม
Dementia ภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
โรคสมองเสื่อม
ในอดีตเรามักเชื่อกันว่า อาการหลงลืมในผู้สูงอายุ เป็น
เรื่องปกติของคนที่มีอายุมากขึ้น เป็นการหลงลืมตามวัย
ยิ่งมีอายุมากขึ้น ก็จะยิ่งหลงมากขึ้น แต่ความเชื่อดัง
กล่าวไม่ได้ถูกต้องทั้งหมด

ยังมีผู้ป่วยอีกส่วนที่มีอาการสมองเสื่อม ซึ่งเกิดจาก
ทำงานของสมองใหญ่ผิดปกติ ทำให้มีผลต่อการ
ประกอบกิจวัตรประจำวัน รวมทั้งพฤติกรรม บุคลิกภาพ
และอารมณ์
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
Dementia in the Elderly
โรคสมองเสื่อม = โรคอัลไซเมอร์ ?

โรคสมองเสื่อม มีหลายสาเหตุ เช่น หลอดเลือด


สมองตีบ โรคสมองอักเสบ โรคสมองขาดวิตามิน
แต่โรคอัลไซเมอร์ซึ่งเกิดจากการเสื่อมถอยของ
สมองจากการคั่งของโปรตีน ที่ผลิตผิดปกติ เป็น
สาเหตุของโรคสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
Dementia in the Elderly
สัญญาณ อันตราย
1. หลงลืม ซึ่งมีผลต่อชีวิตประจําาวัน
2. ทําากิจวัตรที่เคยทําาไม่ได้
3. มีปัญหาในการใช้ภาษา
4. ไม่รู้เวลา

5. การตัดสินใจแย่ลง
6. มีปัญหาในการคิดแบบนามธรรม
7. วางของผิดที่

8. มีพฤติกรรมและอารมณ์ท่ีเปลี่ยนไป
9. บุคลิกเปลี่ยน
10. ขาดความคิดริเริ่ม
สมองเสื่อมเทียม
อาการหลงลืมอยู่บ่อยครั้งในชีวิตประจําวัน เช่น
ขับรถเลยที่หมาย ลืมกุญแจรถ ลืมโทรศัพท์ มือ
ถือ ลืมชื่อคนที่เคยรู้จักกันนั้น บางครั้งอาจ ไม่ใช่
สัญญาณเตือนถึงการมีภาวะสมองเสื่อม เสมอไป
แต่อาจเป็นเพียงแค่พฤติกรรมที่เกิดขึ้น จากการ
ขาดสมาธิจดจ่อกับสิ่งต่างๆ มากกว่า
ลักษณะนี้อาจเกิดการหลงลืมแค่เพียง 5 นาที
จนถึงมากกว่า 1 ชั่วโมง และหลังจากนั้นไม่นาน
เมื่อมีสมาธิมากขึ้น มีเวลาให้ลองคิดไตร่ตรอง
ใคร่ครวญดูอีกครั้งก็จะจําเรื่องราวเหล่านั้นได้
Clock drawing test
ไม่มีใครเข้าใจผู้ป่วยอัลไซ
เมอร์ว่ารู้สึกอย่างไรหรอก?
Progressive decline in cognitive functions

William Utermohlen -
self portraits

WU a patient with AD at the DRC - was aware of decline in his painting skills
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU

“Decrease ~ 4-5 points/year”


The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
การบำบัดรักษาโรคสมองเสื่อม
Pharmacologic Non-Pharmacologic (การไม่ใช้ยา)

• Modify environment
(การใช้ยา)
• Optimize stimulation
• Drug for cognitive
dysfunction • Use consistent routines

• Drug to control behaviors • Assess/adapt to aggravating factors


and psychiatric
symptoms • Behavior management principles

• Education

• Support of patient and caregivers


Osteoporosis in Elderly
ภาวะกระดูกบางและกระดูกพรุนในผู้สูงอายุ
The Northern Neuroscience Centre

NNC CMU
Chiang Mai University

Osteoporosis in Elderly

• ภาวะกระดูกพรุนคือ ภาวะที่มีการลดลงของมวลกระดูก
ทำให้ความแข็งแรงของกระดูกลดลงและเป็นผลให้เพิ่มต่อ
ความเสี่ยงต่อการหักของกระดูก

• ภาวะกระดูกพรุนในผู้สูงอายุ จะทำให้เกิดความเสี่ยงของ
กระดูกข้อสะโพกและแขนหัก
การเพิ่มความเสี่ยงในการล้มของผู้ป่วยโรคกระดูกพรุน
The Northern Neuroscience Centre

NNC CMU
Chiang Mai University

Risk of Osteoporosis
• ขาดการออกกำลังกาย

• ระดับ calcium และ Vitamin D ต่ำ

• มีประวัติครอบครัวเป็นกระดูกพรุน

• ลักษณะรูปร่าง (รูปร่างผอม กระดูกบาง และเคยมี


ประวัติกระดูกสันหลักหัก เป็นปัจจัยเสี่ยง)
The Northern Neuroscience Centre

NNC
vitamin D deficiency a major
Chiang Mai University
CMU
global
public health problem
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU

Vitamin D requirement for Older adult

• The estimated average vitamin D


requirement for older adults to reach
a serum 25OHD level of 75 nmol/L
(30 ng/ml) is 20 to 25 μg/day (800 to
1,000 IU/day).
Habit
Exercise
การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
The Important of Physical Inactivity
• Physical inactivity is now identified as the forth
leading risk factor for global mortality.

• Physical inactivity levels are rising in many


countries with major implications for the prevalence
of noncommunicable diseases (NCDs) and the
general health of the population worldwide

Global Recommendation on Physical Activity for Health. WHO 2010


The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
Older adults who are physically active have:

• Lower rates of coronary heart disease,


hypertension, stroke, diabetes, colon and breast
cancer, a higher level of cardiorespiratory and
muscular fitness

• Healthier body mass and composition and


enhanced bone health; and

• Higher levels of functional health, a lower risk of


falling, and better cognitive decline

Global Recommendation on Physical Activity for Health. WHO 2010


The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
คำแนะนำของการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
• 4 ประเภท

1. Aerobic or endurance ให้หัวใจ ปอด ระบบหมุนเวียน


โลหิตแข็งแรง

2. Resistance, strength training สร้างความแข็งแรงของกล้าม


เนื้อ

3. Flexibility exercise การสร้างความยืดหยุ่น

4. Balance exercise การเสริมสร้างการทรงตัว


The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
Aerobic or Endurance Exercise
• การออกกำลังกายแบบแอโรบิก คือการใช้กล้ามเนื้อส่วนใหญ่ ได้แก่ แขน
หรือ ขา

• ต่อเนื่องและนานพอ 30-60 นาที

• หนักพอ คือ ทำให้หัวใจเต้นเข้าเป้า คือ 70% ของความสามารถสูงสุด


ที่หัวใจจะเต้นได้ (Maximal Heart Rate - MHR คือ 220 - อายุ (ปี)

• สัปดาห์ละ 5 ครั้ง

ตัวอย่าง คือ เดิน วิ่ง ว่ายน้ำ ถีบจักรยาน เต้นแอร์โรบิก แต่ในผู้


สูงอายุ แนะนำให้ เดินเร็ว ว่ายน้ำ ถีบจักรยาน
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
Aerobic or Endurance Exercise
• ควรออกกำลังกายอย่างน้อย ด้วยความหนักปานกลาง
(moderate intensity) ด้วยวิธี Aerobic ต่อสัปดาห์ เป็นเวลา
150 นาที หรือ 75 นาที่ของความหนักหน่วงสูง (vigorous
intensity)

• การออกกำลังกายแบบแอโรบิก อาจทำได้ ครั้งละ 10 นาที


เป็นอย่างน้อย

• ผู้สูงอายุที่มีปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหว ควรออกกำลังกายเพื่อ
เสริมการทรงตัวเพื่อป้องกันการหกล้ม อย่างน้อย 3 ครั้ง/
สัปดาห์
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
Resistance and Strength Training
• ควรมี resistance (strength training) สัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
Flexibility Exercise
• ควรมี flexibility exercise ทุกวัน
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
Balance Exercise
• ควรมี balance exercise ทุกวัน
The Northern Neuroscience Centre

NNC CMU
Chiang Mai University

Health Habit of Thai Elderly


• กินผัก ผลไม้ เป็นประจำ 67.7%

• ดื่มน้ำสะอาดอย่างต่ำ วันละ 8 แก้ว

• ออกกำลังกายเป็นประจำ 26.5%

• สูบบุหรี่ เป็นประจำ 7.3%

• ดื่ม แอลกอฮอร์ เป็นประจำ 2.3%

สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2060
Home and Environment
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
Smart Home, Smart Living for Elderly
Background:

Elders has physical, mental, life style, and social


changes. To make better living for elders, holistic care
are essential.
Objective:

To develop the “Smart Home and Living


Improvement Team” and design the care model
through personal, environmental, activities, and
technology for elderly based on holistic care concept
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
Team up Architect

Physician

Sant Suwatcharapinun Jidanan Pisitmukda

Faculty of Architecture, CMU

Surat Tanprawate Pattama Gomutbutra Peerasak Lertrakarnnon Technologist/Creative design


Neurologist Family doctor Family doctor

Faculty of Medicine, CMU

Physical/occupational therapy
Martin Venzky-Stalling Nati Sang
Science and Technology Park, CMU Maker space, CEO

Siriphan Kongsawasdi Pim Pholjaroen Sirinun Boripuntakul

Warinya Bunrit Joy Smithangkul


Faculty of Associate Medical Science, CMU
Thailand Creative & Design Center Maker Space
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU
Generate the
Select the
protocol to Visit elders
Team inclusion
evaluate the and their Summary
meeting criteria for
elderly, and their home
home visit
home

Inclusion Generate the Home visit


1. age > 65 protocol 1. visit 15 homes in 2
2. living in Chiang 1. team meeting x 2 months
Mai 2. expert review 2. interview and assess
3. single, couple 3. test the evaluation the elders, care
4. house: single form givers, family
house, townhouse 4. finalize the members
5. health status: evaluation form 3. evaluate activities,
healthy, physical 5. brief the form social interaction
disability, cognitive 4. evaluate home
problem 5. evaluate technology
6. select 15 homes attitude
15 Home Visit
Evaluate patient illness (such as
dementia, Parkinson, OA knee,
mental), activities, device, home
condition

Design an care concept for health


improvement
Searching for Health Technology
Improve Home condition

Tailor Made Model for Aging Home


Technology
Case example:
87 years-old
Parkinson’s
disease on L-
dopar, and
Dementia
Case example:
87 years-old Parkinson’s disease
on L-dopar, and Dementia

Doctor and PT

Problem Suggestion

- gait instability, high risk of - balance training

falling
- alarming system for falling
- visual and hearing problems
prevention

- recent memory loss


- recommend exercise for
- mood fluctuation
Parkinson’s disease

- lack of exercise
- need mental stimulation
- lack of personal medical activity
record
Architect
Problem
- the house has many steps

- no space for doing activities


(physical exercise and cognitive
training)

- no shade area outside, so the


patient do not go outside

- no handrail in risky area to fall

Suggest
- modify the connected area
inside and outside continuously

- make the garden outside as a


garden therapy

- change the floor in the


bathroom for falling prevention
Dinsow Robot
Robot for elders Tablet for elders

Katunyu: falling detection system

https://www.youtube.com/
watch?v=tmx7IAEt1s8
GMC
Geriatric Medical Center

Cognitive Game for


Alzheimer’s disease
• The Project collaborated between GMC, TCDC, Faculty
of Fine Art, ENCIs Paris (Design School)

• Objective: Design Game to Improve Cognitive Function


in Patients with Cognitive Impairment

• Outcome: 4 Game Prototype for Alzheimer’s disease

• Duration: 4 months
Design process
Interactive Community and Product design - Product design -
learning culture research 1 2
- course lecture : - research on - draft of concept - finalize the
how brain work, culture, living of design for model
dementia and the patient
dementia

Alzheimer’s - material - meet with expert


disease, MOCA research : for and receive
test
making game comment
- interactive Q & A

- physical and
occupational
therapy visit :
therapy for
dementia
64
4 prototypes
Pinto Cognitive - Body exercise

Sniff Thai storytelling


ศูนย์เวชศาสตร์ ผู้สูงอายุ
Download Slide: >> FB page: ChivaCare

ติดตามเรื่องราว
สุขภาพดี ๆ ได้ที่
ChivaCare
The Northern Neuroscience Centre
Chiang Mai University
NNC CMU

THANK YOU FOR YOUR KIND ATTENTION

www.surattanprawate.com

You might also like