You are on page 1of 240

โครงสรางของเซลล

ทฤษฎีเซลล (Cell Theory)


ทฤษฎีเซลลกลาวไววา “สิ่งมีชีวิตประกอบดวยเซลล 1 เซลล หรือมากกวา ซึ่งเซลลเปนหนวยที่เล็กที่สุด
ของสิ่งมีชีวิต และเซลลที่มีอยูเดิมจะเปนตนกําเนิดของเซลลที่จะเกิดขึ้นใหม”
เซลลทุกเซลล (All Cells) จะมีองคประกอบพื้นฐานดังตอไปนี้
1. .......................................................
2. .......................................................
3. .......................................................
4. .......................................................
สวนประกอบของเซลล
สวนประกอบของเซลลมี 3 สวนสําคัญ ดังนี้
1. สวนที่หอหุมเซลล แบงออกเปน
1.1 ผนังเซลล (Cell Wall)
1.2 เยื่อหุมเซลล (Plasma Membrane)
2. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) ประกอบดวย
2.1 ไซโทซอล (Cytosol)
2.2 ออรแกเนลล (Organelles)

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (2) ________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


3. นิวเคลียส (Nucleus) ประกอบดวย
3.1 เยื่อหุมนิวเมคลียส (Nuclear Membrane)
3.2 นิวคลีโอพลาซึม (Nucleoplasm)
3.3 โครมาทิน (Chromatin)
3.4 นิวคลีโอลัส (Nucleolus)
ตารางโครงสรางเซลลของสิ่งมีชีวิตจําพวกยูคาริโอต และหนาที่
โครงสราง ขอมูลที่ควรทราบ หนาที่
1. ผนังเซลล - อยูถัดจากเยื่อหุมเซลลออกไป (ผนังเซลลพบที่ - ปกปองและค้ําจุนเซลล
ผนังเซลล เซลลของสิ่งมีชีวิตบางประเภท เชน พืช สาหราย

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
เห็ด รา และแบคทีเรีย)
- ยอมใหสารผานไดหมด (ซึ่งจะแตกตางจากเยื่อ
หุมเซลล)

2. เยื่อหุมเซลล - ประกอบดวยฟอสโฟลิพิด (Phospholipid) - ควบคุมการผานเขา-ออกของสารระหวาง


เรียงตัวกัน 2 ชั้น และมีโปรตีนแทรกตัวอยู เซลลกับสิ่งแวดลอมภายนอก
- มีคุณสมบัติเปนเยื่อเลือกผาน - จดจําโครงสรางของเซลลบางชนิด
(Semipermeable Membrane) - สื่อสารระหวางเซลล

________________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (3)


โครงสราง ขอมูลที่ควรทราบ หนาที่
3. นิวเคลียส เปนโครงสรางที่มีเยื่อหุม 2 ชั้น และมีโครโมโซม - ควบคุมการสังเคราะหโปรตีนและการสืบพันธุ
อยูภายใน ของเซลล
- เปนแหลงเก็บโครโมโซม

4. โครโมโซม ประกอบดวยดีเอ็นเอ (DNA) และโปรตีน - เปนแหลงเก็บขอมูลทางพันธุกรรมที่ใชเปนรหัส


ในกระบวนการสังเคราะหโปรตีน

DNA

5. นิวคลีโอลัส นิวคลีโอลัส ควบคุมการสังเคราะห rRNA - เปนแหลงสังเคราะห rRNA และไรโบโซม

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (4) ________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


โครงสราง ขอมูลที่ควรทราบ หนาที่
6. ไรโบโซม - มีขนาดเล็ก ประกอบดวยโปรตีนและ RNA - สรางสารประเภทโปรตีนสําหรับใชภายในเซลล
หนวยเล็ก - มีทั้งไรโบโซมอิสระ (ลอยอยูในไซโทพลาซึม)
และไรโบโซมยึดเกาะ เชน เกาะอยูที่เอนโด-
พลาสมิกเรติคูลัม (ER)
หนวยใหญ

7. เอนโดพลาส- - เปนระบบเยื่อหุมภายในเซลล มองดูคลาย - RER สรางสารประเภทโปรตีนสําหรับสงออก

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
มิกเรติคูลัม รางแห ไปใชภายนอกเซลล
(ER) - แบงออกเปน 2 ชนิด ดังนี้ - SER สรางสารประเภทลิพิด (Lipid) และ
1) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดผิวขรุขระ กําจัดสารพิษ
(RER) เปน ER ที่มีไรโบโซมมาเกาะ
2) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดผิวเรียบ (SER)
RER เปน ER ที่ไมมีไรโบโซมเกาะ
SER
8. กอลจิคอม- - มีลักษณะคลายถุงแบนๆ เรียงซอนกันเปนชั้น - สรางเวสิเคิลหุมโปรตีนที่ RER สรางขึ้น แลว
เพล็กซ ลําเลียงไปยังเยื่อหุมเซลลเพื่อสงโปรตีนออกไป
นอกเซลล

________________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (5)


โครงสราง ขอมูลที่ควรทราบ หนาที่
9. ไลโซโซม ไลโซโซม - มีลักษณะเปนถุงกลมๆ เรียกวา เวสิเคิล ซึ่ง - ยอยสลายออรแกเนลลและเซลลที่เสื่อมสภาพ
ภายในมีเอนไซมที่ใชสําหรับยอยสารตางๆ - ยอยสารตางๆ ที่เซลลนําเขามาดวยกระบวน
บรรจุอยู การเอนโดไซโทซิส (Endocytosis)

10. ไมโทคอน- ไรโบโซม - มีเยื่อหุม 2 ชั้น เปนแหลงสรางพลังงานใหแกเซลล (ไมโทคอนเดรีย


เดรีย - มีของเหลวอยูภายใน เรียกวา เมทริกซ สรางพลังงานจากกระบวนการสลายสารอาหาร
(Matrix) ซึ่งมีไรโบโซม และ DNA ลอยอยูใน ภายในเซลลแบบใชออกซิเจน หรือที่เรียกกันวา
เมทริกซ การหายใจระดับเซลลแบบใชออกซิเจน)
DNA - นักชีววิทยาตั้งสมมติฐานวา “ไมโทคอนเดรีย
นาจะเปนแบคทีเรียที่เขามาอาศัยอยูภายในเซลล
ของสิ่งมีชีวิตในอดีตกาล แลวมีววิ ัฒนาการ
รวมกันมาจนถึงปจจุบัน”
11. คลอโร- - มีเยื่อหุม 2 ชั้น เปนแหลงสรางอาหารกลูโคสใหแกเซลล
พลาสต - มีของเหลวอยูภายใน เรียกวา สโตรมา (คลอโรพลาสตสรางอาหารจากกระบวนการ
(Stroma) ซึ่งมีไรโบโซม และ DNA ลอยอยู สังเคราะหดวยแสง)
ในสโตรมา
- นักชีววิทยาตั้งสมมติฐานวา “คลอโรพลาสต
ไรโบโซม
นาจะเปนแบคทีเรียที่เขามาอาศัยอยูภายใน

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (6) ________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


DNA เซลลของสิ่งมีชีวิตในอดีตกาล แลวมี
วิวัฒนาการรวมกันมาจนถึงปจจุบัน”
โครงสราง ขอมูลที่ควรทราบ หนาที่
12. แวคิวโอล แวคิวโอล - มีหลายชนิด หลายขนาด หลายรูปราง และมี 1) ฟูดแวคิวโอล ทําหนาที่บรรจุอาหาร และทํางาน
หนาที่แตกตางกันออกไป เชน ฟูดแวคิวโอล รวมกับไลโซโซมเพื่อยอยอาหาร
เซนทรัลแวคิวโอล และคอนแทร็กไทลแวคิวโอล 2) เซนทรัลแวคิวโอล ทําหนาที่เก็บสะสมสารตางๆ
เปนตน เชน สารอาหาร สารสี สารพิษ เปนตน
- แวคิวโอลแตละชนิดพบไดในเซลลของสิ่งมีชีวิต 3) คอนแทร็กไทลแวคิวโอล ทําหนาที่กําจัดน้ํา
ที่จําเพาะเจาะจง สวนเกินออกจากเซลลของสิ่งมีชวี ิตเซลลเดี่ยว
ที่อาศัยอยูในน้ํา เชน ยูกลีนา อะมีบา และ
พารามีเซียม
13. เซนทริโอล ประกอบดวยไมโครทูบูลเรียงตัวกันอยางเปน - สรางเสนใยสปนเดิลในกระบวนการแบงเซลล

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ระเบียบ มองดูคลายทรงกระบอก 2 อัน

เซนทริโอล
14. ไซโทสเก- มีลักษณะเปนรางแหของเสนใยโปรตีน - ชวยค้ําจุนเซลล
เลตอน - ชวยในการเคลื่อนที่ของเซลล
- ชวยในการเคลื่อนที่ของเวสิเคิลภายในเซลล

________________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (7)


เยื่อหุมนิวเคลียส
10. เซนทริโอล 12. ไลโซโซม นิวคลีโอลัส 1. นิวเคลียส
9. ไมโทคอนเดรีย 11. แวคิวโอล โครมาทิน
รูของนิวเคลียส
8. เยื่อหุมเซลล
2. ไรโบโซม

7. ไซโทพลาซึม 3. กอลจิคอมเพล็กซ

ไมโครฟลาเมนต 4. ไซโทสเกเลตอน
6. รางแหเอนโดพลาซึมชนิดผิวเรียบ
ไมโครทูบูล
5. รางแหเอนโดพลาซึมชนิดผิวขรุขระ
ภาพเซลลสัตว

13. รางแหเอนโดพลาซึม
12. ไซโทสเกเลตอน
ชนิดผิวเรียบ 1. นิวเคลียส
ไมโครทูบูล นิวคลีโอลัส
อินเตอรมิเดียทฟลาเมนต เยื่อหุมนิวเคลียส
14. กอลจิคอมเพล็กซ รูของนิวเคลียส
ไมโครฟลาเมนต

2. รางแหเอนโดพลาซึมชนิดผิวขรุขระ

11. ไซโทพลาซึม 3. ไรโบโซม


10. คลอโรพลาสต
4. ไมโทคอนเดรีย

9. เพอรอกซิโซม
5. เยื่อหุมเซลล

6. ผนังเซลล

6.1 ผนังเซลลของเซลลขางเคียง

8. แวคิวโอล
7. พลาสโมเดสมาตา
8.1 เยื่อหุมแวคิวโอล
ภาพเซลลพืช

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (8) ________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


ออรแกเนลลแบงออกเปน 2 ประเภท ตามการมีเยื่อหุม ดังนี้
1. ออรแกเนลลที่ไมมีเยื่อหุม ไดแก
- ไรโบโซม
- เซนทริโอล
- ไซโทสเกเลตอน
2. ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม ซึ่งแบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้
2.1 ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 2 ชั้น ไดแก
- นิวเคลียส
- ไมโทคอนเดรีย
- คลอโรพลาสต
2.2 ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุมชั้นเดียว เชน
- เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม (รางแหเอนโดพลาซึม)
- กอลจิคอมเพล็กซ
- ไลโซโซม
- แวคิวโอล
ตารางเปรียบเทียบโครงสรางเซลลพืช และเซลลสัตว
เซลลพืช เซลลสัตว
โครงสรางภายนอก
1. ผนังเซลล มี ไมมี
2. เยื่อหุมเซลล มี มี
3. แฟลเจลลัมหรือซิเลีย ไมมี (ยกเวน สเปรมของพืชบางชนิด) มี (ในบางเซลล)
โครงสรางภายใน
1. นิวเคลียส มี มี
2. ไรโบโซม มี มี
3. ไลโซโซม ไมมี มี
4. เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม มี มี
5. กอลจิคอมเพล็กซ มี มี
6. แวคิวโอล มี (มีขนาดใหญกวานิวเคลียส) ไมมีหรือมี (แตขนาดเล็ก)
7. เซนทริโอล ไมมี มี
8. ไซโทสเกเลตอน มี มี
9. ไมโทคอนเดรีย มี มี
10. คลอโรพลาสต มี ไมมี

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 ________________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (9)


การเคลื่อนที่ของสารผานเซลล
การรักษาดุลยภาพของเซลลเปนหนาที่สําคัญของเยื่อหุมเซลล โดยเยื่อหุมเซลลจะควบคุมการเคลื่อนที่ผาน
เขา-ออกของสารระหวางภายในเซลลกับสิ่งแวดลอมภายนอก

โครงสรางของเยื่อหุมเซลล
เยื่อหุมเซลลประกอบดวยสารหลัก 2 ชนิด คือ ฟอสโฟลิพิดและโปรตีน โดยฟอสโฟลิพิดจะจัดเรียงตัวเปน
2 ชั้น ซึ่งจะหันสวนที่ไมชอบน้ํา (สวนหาง) เขาหากัน และหันสวนที่ชอบน้ํา (สวนหัว) ออกจากกัน โดยมีโมเลกุล
ของโปรตีนกระจายตัวแทรกอยูระหวางโมเลกุลของฟอสโฟลิพิด นอกจากนี้ยังมีคอเลสเทอรอล ไกลโคโปรตีน และ
ไกลโคลิพิดเปนสวนประกอบของเยื่อหุมเซลลดวย

ฟอสโฟลิพิด

ภาพโครงสรางเยื่อหุมเซลล
เยื่อหุมเซลลทําหนาที่หอหุมเซลล และรักษาสมดุลของสารภายในเซลลโดยควบคุมการผานเขา-ออกของ
สารระหวางเซลลกับสิ่งแวดลอมภายนอก ดังนั้นเยื่อหุมเซลลจึงมีคุณสมบัติเปนเยื่อเลือกผาน (Semipermeable
Membrane)
การเคลื่อนที่ของสารเขา-ออกเซลลมี 2 รูปแบบ ไดแก
1. การเคลื่อนที่แบบผานเยื่อหุมเซลล เปนการเคลื่อนที่ของสารผานฟอสโฟลิพิดหรือโปรตีนของเยื่อ-
หุมเซลล แบงออกเปน 2 แบบดังนี้
1.1 การเคลื่อนที่แบบพาสซีฟ (Passive Transport) หมายถึง การเคลื่อนที่ของสารเขา-ออก
เซลลโดยไมตองใชพลังงาน ซึ่งไอออน (Ion) และโมเลกุลของสารบางชนิดสามารถเคลื่อนที่ผานเยื่อหุมเซลลจาก
บริเวณที่มีความเขมขนมากไปยังบริเวณที่มีความเขมขนนอย ซึ่งมีอยู 3 วิธีดังนี้
1. การแพร (Diffusion)
2. ออสโมซิส (Osmosis)
3. การแพรแบบฟาซิลิเทต (Facilitated Diffusion)

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (10) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


1.2 การเคลื่อนทีแ่ บบแอกทีฟ (Active Transport) หมายถึง การเคลื่อนที่ของสารเขา-ออกเซลลจากบริเวณที่มีความเขมขนนอยไปยังบริเวณที่มี
ความเขมขนมาก ซึ่งตองใชพลังงานในการเคลื่อนที่
2. การเคลื่อนทีแ่ บบไมผานเยื่อหุม เซลล เปนกระบวนการลําเลียงสารที่มีขนาดโมเลกุลใหญเขา-ออกเซลล โดยอาศัยโครงสรางที่เรียกวา “เวสิเคิล
(Vesicle)” ซึ่งแบงออกเปน 2 แบบดังนี้
2.1 เอกโซไซโทซิส (Exocytosis)
2.2 เอนโดไซโทซิส (Endocytosis) ซึ่งมีอยู 3 วิธีดังนี้
1. ฟาโกไซโทซิส (Phagocytosis)
2. พิโนไซโทซิส (Pinocytosis)
3. การนําสารเขาสูเซลลโดยอาศัยตัวรับ (Receptor-Mediated Endocytosis)
ตารางกระบวนการเคลื่อนที่ของสารเขา-ออกเซลล

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
กระบวนการ วิธีการทํางาน ตัวอยางการเคลื่อนที่ของสาร
การเคลื่อนที่ของสารแบบผานเยื่อหุมเซลลโดยไมใชพลังงาน
1. การแพร
1.1 การแพรผาน โมเลกุลของสาร(ไมมขี ั้ว) เชน แกสออกซิเจน - การเคลื่อนที่ของแกสออกซิเจนและ
ฟอสโฟลิพิด จะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเขมขนมากไป คารบอนไดออกไซด
ยังบริเวณที่มีความเขมขนนอย โดยเคลื่อนที่ - การเคลือ่ นที่ของแอลกอฮอล
ผานฟอสโฟลิพิดของเยื่อหุมเซลล

1.2 การแพรผานชอง สาร (มีขั้ว) เชน แคลเซียมไอออน (Ca2+) - การเคลื่อนที่ของไอออนบางชนิด


โปรตีน (Protein -
คลอไรดไอออน (Cl ) จะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มี เชน แคลเซียมไอออน (Ca2+),
Channel) ความเขมขนมากไปยังบริเวณที่มีความเขมขนนอย คลอไรดไอออน (Cl-), โซเดียม-
โดยเคลื่อนที่ผานชองโปรตีน (Protein Channel) ไอออน (Na+), และโพแทสเซียม-
ของเยื่อหุม เซลล ไอออน (K+)

_______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (11)


กระบวนการ วิธีการทํางาน ตัวอยางการเคลื่อนที่ของสาร
2. การแพรแบบฟาซิลิเทต โมเลกุลของสารจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มี - การเคลื่อนที่ของกลูโคสเขาสูเซลล
: เปนการแพรที่อาศัย ความเขมขนมากไปยังบริเวณที่มคี วามเขมขน
โปรตีนตัวพา (Protein นอย โดยอาศัยโปรตีนเปนตัวพา (Protein
Carrier) Carrier) ที่เยื่อหุมเซลล
3. ออสโมซิส (การเคลื่อนที่ Aquaporin โมเลกุลน้ํา โมเลกุลของน้ําจะเคลื่อนที่ผานเยื่อหุมเซลลตรง - การเคลื่อนที่ของน้ํา
ของน้ําโดยอาศัยโปรตีน บริเวณโปรตีน Aquaporins
เฉพาะที่ชื่อวา
Aquaporins)

การเคลื่อนที่ของสารแบบผานเยื่อหุมเซลลโดยใชพลังงาน
แอกทีฟทรานสปอรต โมเลกุลของสารจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มี - กระบวนการโซเดียมโพแทสเซียม
ความเขมขนนอยไปยังบริเวณที่มคี วามเขมขน ปมของเซลลประสาท
มาก โดยผานโปรตีนตัวพา (Protein Carrier)
และมีการใชพลังงานจาก ATP

การเคลื่อนที่ของสารแบบไมผานเยื่อหุมเซลล

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (12) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


1. เอกโซไซโทซิส เปนการเคลื่อนที่ของสารที่มีขนาดโมเลกุลใหญ - การหลั่งเอนไซมของเซลลตางๆ
ออกจากเซลล โดยสารเหลานั้นจะบรรจุอยูใน - การหลั่งเมือก
เวสิเคิล (Vesicle) จากนั้นเวสิเคิลจะคอยๆ - การหลั่งฮอรโมน
เคลื่อนเขามาเชื่อมรวมกับเยื่อหุม เซลล ทําให - การหลั่งสารสื่อประสาทของเซลล
สารที่บรรจุอยูในเวสิเคิลถูกปลอยออกสูน อกเซลล ประสาท
กระบวนการ วิธีการทํางาน ตัวอยางการเคลื่อนที่ของสาร
2. เอนโดไซโทซิส
2.1 ฟาโกไซโทซิส เซลลจะยื่นสวนของไซโทพลาซึมไปโอบลอม - การกินแบคทีเรียของเซลลเม็ด
สารที่มีโมเลกุลใหญมีสถานะเปนของแข็ง เลือดขาวบางชนิด
และสรางเวสิเคิลหุม สารนั้นแลวนําเขาสูเซลล - การกินอาหารของอะมีบา

2.2 พิโนไซโทซิส เกิดการเวาของเยื่อหุมเซลลเพื่อนําสารที่มี - การนําสารอาหารเขาสูเซลลไขของ


สถานะเปนของเหลวเขาสูเซลลในรูปของ มนุษย
เวสิเคิล

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
2.3 การนําสารเขาสู เปนการเคลื่อนที่ของสารเขาสูเซลล เกิดขึ้นโดย - การนําคอเลสเทอรอลเขาสูเซลล
เซลลโดยอาศัย มีโปรตีนที่อยูบนเยื่อหุม เซลลเปนตัวรับ (สาร)
ตัวรับ ซึ่งสารที่เคลื่อนที่เขาสูเซลลดวยวิธีนี้จะตองมี
ความจําเพาะในการจับกับโปรตีนตัวรับ
(Protein Receptor) ที่เยื่อหุมเซลลจึงจะ
สามารถเขาสูเซลลได

_______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (13)


ไซโทพลาซึมของเซลลมีสภาพเปนสารละลายโดยมีน้ําเปนตัวทําละลาย (Solvent) สวนไอออนและโมเลกุล
ของสารตางๆ เชน กลูโคส กรดอะมิโน เปนตัวละลาย (Solute) ในขณะเดียวกันสิ่งแวดลอมที่อยูรอบๆ เซลลก็มี
สภาพเปนสารละลายเชนเดียวกัน ดังนั้นโมเลกุลของน้ําและสารที่เปนตัวละลายมีแนวโนมที่จะเคลื่อนที่จากบริเวณ
ที่มีความเขมขนมากไปยังบริเวณที่มีความเขมขนนอย
ความเขมขนของตัวละลาย (Solute) ทั้งหมดในสารละลาย เรียกวา ความเขมขนออสโมติก
(Osmotic Concentration) ของสารละลาย ดังนั้นเราจึงแบงสารละลายออกเปน 3 ประเภท ตามความ
เขมขนของตัวละลาย
1. สารละลายไฮเพอรโทนิก (Hypertonic Solution) หมายถึง สารละลายที่มีความเขมขนของ
ตัวละลายมาก
2. สารละลายไฮโพโทนิก (Hypotonic Solution) หมายถึง สารละลายที่มีความเขมขนของตัวละลายนอย
3. สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic Solution) หมายถึง สารละลายที่มีความเขมขนของตัวละลาย
เทากับความเขมขนของสารละลายบริเวณขางเคียง

สารละลายเขมขน 3%
ระดับสารละลาย ณ จุดสมดุลของออสโมซิส

เซลโลเฟน ระดับสารละลาย
(เยื่อเลือกผาน) คอยๆ สูงขึ้น

น้ํากลั่น

ภาพออสโมมิเตอรบรรจุสารละลายเขมขน 3% ที่แชในน้ํากลั่นแลวเกิดการออสโมซิสของน้ํา
แรงดันออสโมติก (Osmotic Pressure) คือ แรงดันน้ําสูงสุดของสารละลายใดๆ ณ จุดสมดุลของการ
ออสโมซิส โดยแรงดันออสโมติกจะแปรผันตรงกับความเขมขนของสารละลาย กลาวคือ สารละลายที่มีความ
เขมขนมากจะมีแรงดันออสโมติกสูง และสารละลายที่มีความเขมขนนอยจะมีแรงดันออสโมติกต่ํา

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (14) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


การเปลี่ยนแปลงของเซลลสัตวและเซลลพืชเมื่ออยูในสารละลายแตละประเภท
Hypotonic Solution Isotonic Solution Hypertonic Solution

ภาพการเปลี่ยนแปลงของเซลลสัตวและเซลลพืชเมื่ออยูในสารละลายแตละประเภท
จากภาพดานบนสรุปไดดังนี้
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (15)


การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
กลไกการรักษาดุลยภาพ
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีการรักษาดุลยภาพของสภาวะและสารตางๆ ภายในรางกาย ดังนี้
1. การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิ
2. การรักษาดุลยภาพของน้ํา
3. การรักษาดุลยภาพของกรด-เบส
4. การรักษาดุลยภาพของแรธาตุ
สาเหตุที่สิ่งมีชีวิตตองมีกลไกการรักษาดุลยภาพของรางกายเพราะวา สภาวะและสารตางๆ ภายในรางกาย
มีผลตอการทํางานของเอนไซมซึ่งมีหนาที่เรงปฏิกิริยาชีวเคมีตางๆ ที่เกิดขึ้นภายในเซลลและรางกาย
ในที่นี้จะนําเสนอตัวอยางการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ดังตอไปนี้
1. การรักษาดุลยภาพของน้ําในพืช
2. การรักษาดุลยภาพของน้ําและสารตางๆ ในรางกายคน
3. การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในรางกายคน
4. การรักษาดุลยภาพของน้ําและแรธาตุในสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
5. การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิรางกายของสัตว
1. การรักษาดุลยภาพของน้ําในพืช
การคายน้ําถือเปนกระบวนการสําคัญในการรักษาดุลยภาพของน้ําในพืช ซึ่งเปนกระบวนการที่พืชกําจัดน้ํา
ออกมาในรูปของไอน้ําหรือหยดน้ํา โดยไอน้ําจะออกมาทางปากใบ (Stoma) ซึ่งอยูที่ผิวใบ หรือออกมาตาม
รอยแตกบริเวณลําตน แตหยดน้ําจะออกมาทางชองเปดบริเวณขอบใบหรือปลายไป
ปจจัยที่มีผลตอการคายน้ําของพืช
1. ลม
2. อุณหภูมิ
3. ความชื้นในอากาศ
4. ความกดอากาศ
5. ความเขมของแสงสวาง
6. ปริมาณน้ําในดิน
ผลจากการคายน้ําของพืช
ผลดี
1. ชวยใหพืชมีอุณหภูมิลดลง 2-3°C
2. ชวยใหพืชดูดน้ําและแรธาตุในดินเขาสูรากได
3. ชวยใหพืชลําเลียงน้ําและแรธาตุไปตามสวนตางๆ ของพืชได
ผลเสีย คือ พืชคายน้ําออกไปมากกวาที่จะนําไปใชในการเจริญเติบโตและสรางผลผลิต

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (16) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


ชั้นเนื้อเยื่อพาลิเสด
เสนใบ
เซลลผิวใบดานบน

ชั้นเนื้อเยื่อสปนจี

เซลลคุม เซลลผิวใบดานลาง เซลลคุม ปากใบ


ปากใบ
ภาพโครงสรางใบของพืชสวนใหญ ภาพปากใบ
2. การรักษาดุลยภาพของน้ําและสารตางๆ ในรางกายคน
อวัยวะสําคัญในการรักษาดุลยภาพของน้ําและสารตางๆ ในรางกาย คือ ไต (Kidneys)
ไต พบในสัตวมีกระดูกสันหลัง
• ไตคนมีลักษณะคลายเมล็ดถั่วแดง 2 เมล็ด อยูในชองทองดานหลังของลําตัว เมื่อผาไตตามยาวจะ
สังเกตเห็นเนื้อไต 2 ชั้น คือ ชั้นนอกและชั้นใน ซึ่งในเนื้อไตแตละขางประกอบดวยหนวยไต (Nephron) ประมาณ
1 ลานหนวย ทําหนาที่กําจัดของเสียในรูปของปสสาวะ

หลอดเลือดอารเทอรี (เขาสูไต)

ไต
หลอดเลือดเวน (ออกจากไต)

ทอไต
กระเพาะปสสาวะ

ทอปสสาวะ

ภาพลักษณะและตําแหนงของไตในรางกายคน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (17)


เนื้อไต เนื้อไตชั้นนอก หนวยไต
(Nephron)
ปรามิดใน
เนื้อไตชั้นใน
เนื้อไตชั้นใน
หลอดเลือดอารเทอรี
ทอรวม
(เขาสูไต)
หลอดเลือดเวน
กรวยไต
(ออกจากไต)

ทอไต

ภาพภาคตัดตามยาว (Long Section) ของไต

โบวแมนแคปซูล
โกลเมอรูลัส ทอขดสวนตน

ทอขดสวนทาย

ทอรวม

เฮนเลลูป และหลอดเลือดฝอย
ที่มาลอมรอบ

ภาพโครงสรางของหนวยไต

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (18) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


หนวยไตแตละหนวยประกอบดวยโครงสรางยอย ดังนี้
1. โบวแมนส แคปซูล (Bowman’s Capsule) ลักษณะทรงกลมมีผนัง 2 ชั้น หอหุมกลุมหลอดเลือดฝอย
2. หลอดเลือดฝอย มี 2 สวน ไดแก
• กลุมหลอดเลือดฝอยที่อยูใน Bowman’s Capsule เรียกวา โกลเมอรูลัส (Glomerulus)
• หลอดเลือดฝอยที่พันอยูตามทอของหนวยไต
3. ทอหนวยไต (Convoluted Tubule) แบงออกเปน 3 สวน ไดแก
• ทอหนวยไตสวนตน มีการดูดสารที่มีประโยชนกลับเขาสูรางกายมากที่สุด เชน กลูโคส กรดอะมิโน
วิตามิน และน้ํา
• ทอหนวยไตสวนกลาง มีขนาดเสนผานศูนยกลางของทอนอยกวาทอหนวยไตสวนตนและสวนทาย
ลักษณะคลายอักษรตัวยู (U) มีชื่อเรียกเฉพาะวา เฮนเล ลูป (Loop of Henle) เปนอีกบริเวณหนึ่งที่มีการดูดน้ํา
กลับเขาสูรางกาย
• ทอหนวยไตสวนทาย เปนบริเวณที่มีการดูดน้ํากลับเขาสูรางกายภายใตการควบคุมของฮอรโมน
+
ADH และดูดโซเดียมไอออน (Na ) ภายใตการควบคุมของฮอรโมนแอลโดสเทอโรน (Aldosterone)
4. ทอรวม (Collecting Duct) เปนแหลงรวมของเหลวซึ่งมีลักษณะคลายปสสาวะที่ไดจากการทํางาน
ของหนวยไตกอนที่จะสงตอไปยังกรวยไต

ภาพการดูดสารกลับบริเวณทอหนวยไตเขาสูหลอดเลือดฝอย

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (19)


กลไกการผลิตปสสาวะของหนวยไต ประกอบดวย 2 กระบวนการดังนี้
(1) การกรองสารที่โกลเมอรูลัส (Glomerulus Filtration)
ผนังของกลุมหลอดเลือดฝอย “โกลเมอรูลัส” มีคุณสมบัติพิเศษในการยอมใหสารโมเลกุลเล็กที่มีอยู
ในเลือด เชน น้ํา แรธาตุ วิตามิน ยูเรีย กรดยูริก กลูโคส และกรดอะมิโนผาน สวนสารโมเลกุลใหญโดยปกติแลว
จะไมสามารถผานไปได เชน เม็ดเลือดแดง โปรตีนขนาดใหญ และไขมัน
การกรองสารบริเวณนี้จะอาศัยแรงดันเลือดเปนสําคัญ โดยวันหนึ่งๆ จะมีการกรองสารไดประมาณ
180 ลิตร (180 ลูกบาศกเดซิเมตร)
(2) การดูดสารกลับเขาสูรางกาย (Reabsorption) บริเวณทอหนวยไต
การดูดสารกลับเขาสูกระแสเลือดเกิดขึ้นที่ทอของหนวยไตซึ่งมีหลอดเลือดฝอยพันลอมรอบทออยู โดย
ใชวิธีแอกทีฟทรานสปอรต (Active Transport) พาสซีฟทรานสปอรต (Passive Transport) และพิโนไซโทซิส
(Pinocytosis) วันหนึ่งๆ รางกายจะมีการดูดสารกลับประมาณ 178.5 ลิตร (178.5 ลูกบาศกเดซิเมตร)
ADH หรือ วาโซเพรสซิน (Vasopressin) เปนฮอรโมนสําคัญที่ทําหนาที่กระตุนการดูดน้ํากลับเขาสู
รางกายบริเวณทอรวมของหนวยไต

3. การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในรางกายคน
ถารางกายมีการเปลี่ยนแปลงความเปนกรด-เบสมากๆ จะทําใหเอนไซม (Enzyme) ภายในเซลลหรือ
รางกายไมสามารถทํางานได ดังนั้นรางกายจึงมีกลไกการรักษาดุลยภาพความเปนกรด-เบสใหคงที่ ซึ่งมี 3 วิธี คือ
3.1. การเพิ่มหรือลดอัตราการหายใจ
ถา CO2 ในเลือดมีปริมาณมาก เชน หลังจากที่ออกกําลังกายอยางหนักจะสงผลใหศูนยควบคุม
การหายใจ ซึ่งคือ สมองสวนเมดัลลาออบลองกาตา (Medulla Oblongata) สงกระแสประสาทไปควบคุมให
กลามเนื้อกะบังลมและกลามเนื้อยึดกระดูกซี่โครงทํางานมากขึ้น เพื่อจะไดหายใจออกถี่ขึ้น ทําใหปริมาณ CO2
ในเลือดลดลง และเมื่อ CO2 ในเลือดมีปริมาณนอย จะไปยับยั้ง Medulla Oblongata ซึ่งจะมีผลใหกลามเนื้อ
กะบังลมและกลามเนื้อยึดกระดูกซี่โครงทํางานนอยลง

ไฮโพทาลามัส

พอนส

เมดัลลาออบลองกาตา

ไขสันหลัง
ภาพโครงสรางสมองของคน

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (20) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


3.2 ระบบบัฟเฟอร (Buffer) คือ ระบบที่ทําใหเลือดมีคา pH คงที่ แมวาจะมีการเพิ่มของสารที่มี
ฤทธิ์เปนกรดหรือเบสก็ตาม
สารที่เปนบัฟเฟอรในเลือด ไดแก
1. ฮีโมโกลบิน (Hemoglobin) ในเม็ดเลือดแดง
2. โปรตีน (Protein) ในพลาสมา เชน อัลบูมิน โกลบูลิน
3.3 การควบคุมกรดและเบสของไต
ไต (Kidneys) สามารถปรับระดับกรดหรือเบสออกทางปสสาวะไดมาก ระบบนี้จึงมีการทํางานมาก
สามารถแกไข pH ที่เปลี่ยนแปลงไปมากใหเขาสูภาวะปกติ (สมดุล) ได แตใชเวลานาน
4. การรักษาดุลยภาพของน้ําและแรธาตุในสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาดุลยภาพของน้ําและแรธาตุในรางกายของสิ่งมีชีวิตเกี่ยวของกับแรงดันออสโมติก (Osmotic
Pressure) โดยสิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีกลไกการรักษาสมดุลของน้ําและแรธาตุในรางกาย ดังนี้
4.1 โพรทิสต (Protist)
ใชคอนแทร็กไทลแวคิวโอล (Contractile Vacuole) กําจัดน้ําสวนเกินออกจากเซลล
คอนแทร็กไทลแวคิวโอล
แมโครนิวเคลียส

ไมโครนิวเคลียส รองปาก

ชองขับถาย

ภาพคอนแทร็กไทลแวคิวโอลในพารามีเซียม
4.2 ปลาน้ําจืด (Osmotic Pressure ของของเหลวในรางกายมากกวาน้ําจืด)
กลไกการรักษาสมดุล คือ
• มีผิวหนังและเกล็ดปองกันน้ําซึมเขา
• ขับปสสาวะมากและปสสาวะเจือจาง
• มีโครงสรางพิเศษที่เหงือกทําหนาที่ดูดแรธาตุกลับคืนสูรางกาย
4.3 ปลาน้ําเค็ม (Osmotic Pressure ของของเหลวในรางกายนอยกวาน้ําทะเล)
กลไกการรักษาสมดุล คือ
• มีผิวหนังและเกล็ดปองกันน้ําซึมออก
• ขับปสสาวะนอยและปสสาวะมีความเขมขนสูง
• มีเซลลซึ่งอยูบริเวณเหงือกทําหนาที่ขับแรธาตุสวนเกินออกโดยวิธีแอกทีฟทรานสปอรต (Active
Transport)
• ขับแรธาตุสวนเกินออกทางทวารหนัก

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (21)


น้ําไหลผานเขาไปในเหงือกและบางบริเวณของผิวหนัง

น้ําและอาหารเคลื่อนที่ผานปากเขาสูรางกาย

เหงือกดูดซึมเกลือจากน้ํา ไตขับปสสาวะในปริมาณมากและเจือจาง
ภาพกลไกการรักษาดุลยภาพของน้ําและแรธาตุในปลาน้ําจืด
น้ําและอาหารเคลื่อนที่ผานปากเขาสูรางกาย
น้ําไหลออกจากรางกายผานทางเหงือก
และบางบริเวณของผิวหนัง

เหงือกขับเกลือสวนเกินออกจากรางกาย ไตขับเกลือสวนเกินโดยปสสาวะ
ในปริมาณนอยและเขมขน
ภาพกลไกการรักษาดุลยภาพของน้ําและแรธาตุในปลาน้ําเค็ม
4.4 สัตวทะเลชนิดอื่นๆ (Osmotic Pressure ของของเหลวในรางกายใกลเคียงกับน้ําทะเล จึงไม
ตองมีกลไกในการปรับสมดุลเหมือนปลาทะเล)
4.5 นกทะเล
กลไกการรักษาสมดุล คือ
• มีตอมนาซัล (Nasal Gland) หรือตอมเกลือ (Salt Gland) ขับเกลือสวนเกินออกจากรางกาย

ตอมนาซัล

ชองจมูก

ภาพตอมนาซัลของนกทะเล

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (22) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


5. การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิรางกายของสัตว
สัตวแบงออกเปน 2 ประเภท ตามการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของรางกาย ดังนี้
1. สัตวเลือดเย็น หมายถึง สัตวที่มีอุณหภูมิรางกายไมคงที่ เพราะจะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิของ
สิ่งแวดลอมภายนอก ตัวอยางเชน ไสเดือนดิน หอย แมลง ปลา สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก และสัตวเลื้อยคลาน
2. สัตวเลือดอุน หมายถึง สัตวที่มีกลไกรักษาอุณหภูมิรางกายใหคงที่ ไมเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิ
ของสิ่งแวดลอม ไดแก สัตวปก และสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม
กลไกการรักษาอุณหภูมิรางกายของสัตวเลือดอุน
ศูนยควบคุมอุณหภูมิของรางกาย คือ สมองสวนไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) ซึ่งจะสงสัญญาณไปตาม
ระบบประสาทและระบบตอมไรทอ ดังนี้
อุณหภูมิของสิ่งแวดลอมภายนอก
สงผลตอ
อุณหภูมิของรางกาย
กระตุน
ไฮโพทาลามัส
สงสัญญาณไปควบคุม

ระบบประสาท ระบบตอมไรทอ
ควบคุม ควบคุม
หลอดเลือด ตอมเหงื่อ กลามเนื้อ อัตราเมแทบอลิซึม
แผนผังผลของอุณหภูมิสิ่งแวดลอมภายนอกที่มีตอการทํางานของไฮโพทาลามัส

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (23)


สภาพแวดลอมมีอุณหภูมิต่ํากวาภายในรางกายมากๆ
สงผลให

ความรอนในรางกายจะระบายออกสูภายนอกอยางรวดเร็ว
ทําให

อุณหภูมิของรางกายลดลง
ซึ่งจะไปกระตุนให

ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) สงสัญญาณ


ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) สงสัญญาณให
ไปกระตุนใหเซลลทั่วรางกายเพิ่มอัตราเมแทบอลิซึม
หลอดเลือดบริเวณผิวหนังหดตัว
จึงทําใหอุณหภูมิรางกายเพิ่มขึ้นแลวเขาสูภาวะปกติ
สงผลให
เลือดที่จะไปยังผิวหนังมีปริมาณลดลง
เพื่อลดการระบายความรอนออกจากรางกาย
ในขณะเดียวกัน

กลามเนื้อที่ผิวหนังจะหดตัวทําใหขนตั้งชัน

แผนผังกลไกการรักษาดุลยภาพอุณหภูมิในรางกายคน เมื่อสภาพแวดลอมมีอุณหภูมิต่ํากวาภายในรางกาย

สภาพแวดลอมมีอุณหภูมิสูงกวาภายในรางกายมากๆ
ซึ่งจะไปกระตุนให

ไฮโพทาลามัส Hypothalamus) สงสัญญาณ


ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) สงสัญญาณให
ไปกระตุนใหเซลลทั่วรางกายลดอัตราเมแทบอลิซึม
หลอดเลือดบริเวณผิวหนังขยายตัว
จึงทําใหอุณหภูมิรางกายลดลงแลวเขาสูภาวะปกติ
สงผลให
เลือดที่จะไปยังผิวหนังมีปริมาณเพิ่มขึ้น ทําให
ความรอนภายในรางกายระบายออกสูภายนอกมากขึ้น

แผนผังกลไกการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในรางกายคน เมื่อสภาพแวดลอมมีอุณหภูมิสูงกวาภายในรางกาย

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (24) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


หลอดเลือดบริเวณผิวหนังขยายตัวเพื่อ
เพิ่มการระบายความรอนออกนอกรางกาย
อุณหภูมิรางกาย
ศูนยควบคุมอุณหภูมิ ลดลงเปนปกติ :
ในไฮโพทาลามัสกระตุน ศูนยควบคุมอุณหภูมิ
อวัยวะตางๆ ที่เกี่ยวของ หยุดสั่งการ
ตอมเหงื่อขับเหงื่อมากขึ้นเพื่อ
ระบายความรอนออกนอกรางกาย
เริ่มตนที่นี่

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
สิ่งเรา : อุณหภูมิของรางกายเพิ่มขึ้น
เมื่อออกกําลังกายอยางหนัก การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิรางกาย
หรืออยูในสภาพอากาศรอน เริ่มตนที่นี่
สิ่งเรา : อุณหภูมิของรางกายลดลง
เมื่ออยูในสภาพอากาศหนาวเย็น
หลอดเลือดบริเวณผิวหนังหดตัวเพื่อ
ลดการระบายความรอนออกนอกรางกาย
อุณหภูมิรางกายเพิ่มขึ้น
เปนปกติ : ศูนยควบคุม ศูนยควบคุมอุณหภูมิ
อุณหภูมิ หยุดสั่งการ ในไฮโพทาลามัสกระตุน
อวัยวะตางๆ ที่เกี่ยวของ

กลามเนื้อเกิดอาการสั่น
เพื่อผลิตความรอนใหมากขึ้น

ภาพกลไกการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิรางกายของสัตวเลือดอุน

_______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (25)


ภูมิคุมกันรางกาย
ภูมิคุมกัน (Immunity) คือ ความสามารถของรางกายในการตอตานและกําจัดจุลินทรีย เชน แบคทีเรีย
หรือสิ่งแปลกปลอมอื่นๆ ที่เขาสูรางกาย
ภูมิคุมกันรางกายแบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้
1. ภูมิคุมกันที่มีมาแตกําเนิด (Innate Immunity) ซึ่งประกอบดวยกลไกภูมิคุมกันรางกาย 2 ดาน
ตามลําดับ ดังนี้
1.1 ระบบปกคลุมรางกาย (ผิวหนัง) จัดเปนภูมิคุมกันดานแรกสุดของรางกาย
1.2 ภูมิคุมกันแบบไมจําเพาะ (Nonspecific Immunity) เปนภูมิคุมกันดานที่สองของรางกาย
2. ภูมิคุมกันที่เกิดขึ้นหลังกําเนิด (Acquired Immunity) ซึ่งเปนภูมิคุมกันดานที่สาม (ดานสุดทาย)
ของรางกาย และจัดเปนภูมิคุมกันแบบจําเพาะ (Specific Immunity)
1. ภูมิคุมกันที่มีมาแตกําเนิด (Innate Immunity)
1.1 ระบบปกคลุมรางกาย (ผิวหนัง)
- ตอมผลิตน้ํามันและตอมเหงื่อจะหลั่งสารชวยทําใหผิวหนังมีคา pH 3-5 ซึ่งสามารถยับยั้ง
การเจริญเติบโตของจุลินทรียหลายชนิดได
- เหงื่อ น้ําตา และน้ําลายมีไลโซไซม (Lysozyme) ซึ่งสามารถทําลายแบคทีเรียบางชนิดได
- ผิวหนังเปนแหลงที่อยูของแบคทีเรียและเชื้อราที่ไมกอใหเกิดโรค ซึ่งชวยปองกันไมใหแบคทีเรีย
ที่กอใหเกิดโรคเขาไปในรางกายไดงาย
- ผนังดานในของอวัยวะทางเดินอาหาร อวัยวะหายใจ และอวัยวะขับถาย (ปสสาวะ) ประกอบดวย
เซลลที่สามารถสรางเมือก (Mucus) เพื่อดักจับจุลินทรียได รวมถึงกรดไฮโดรคลอริกในกระเพาะอาหารก็สามารถ
ทําลายแบคทีเรียบางชนิดได
1.2 ภูมิคุมกันแบบไมจําเพาะ (Nonspecific Immunity)
- เม็ดเลือดขาว 3 ชนิด ที่เกี่ยวของกับระบบภูมิคุมกันแบบไมจําเพาะ มีดังนี้
1. นิวโทรฟล (Neutrophil)
2. แมโครฟาจ (Macrophage)
3. Natural Killer Cell (NK Cell)
- การอักเสบ เกิดโดยการหลั่งสารฮิสตามีน (Histamine) ซึ่งจะทําใหเลือดไหลไปยังบริเวณที่
อักเสบมากขึ้น รวมทั้งหลอดเลือดฝอยบริเวณดังกลาวจะยอมใหสารตางๆ ผานเขาออกไดมากขึ้น
- การเปนไข (Fever) จะไปกระตุนการทํางานของเม็ดเลือดขาวกลุมฟาโกไซต (Phagocyte)
เพื่อไปยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรียนั้นๆ
- อินเทอรเฟอรอน (Interferon) จะปองกันการติดเชื้อจากไวรัสโดยการทําลาย RNA ของ
ไวรัสชนิดนั้นๆ

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (26) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


บาดแผล ผิวหนัง
แบคทีเรีย

ฟาโกไซต ฟาโกไซตกําลังกินแบคทีเรีย
Phagocyte

ภาพการกินแบคทีเรียของเซลลเม็ดเลือดขาวกลุมฟาโกไซต
2. ภูมิคุมกันที่เกิดขึ้นหลังกําเนิด (Acquired Immunity)
ภูมิคุมกันแบบจําเพาะ (Specific Immunity)
- เปนการทํางานของเม็ดเลือดขาวกลุมลิมโฟไซต (Lymphocyte) โดยการสรางแอนติบอดี (Antibody)
ซึ่งเปนสารประเภทโปรตีนขึ้นมาตอตานเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม (Antigen) ที่เขาสูรางกาย
- เม็ดเลือดขาวกลุมลิมโฟไซต (Lymphocyte) มีตัวรับอยูบริเวณเยื่อหุมเซลลซึ่งสามารถจดจําชนิด
ของแอนติเจนไดและทําใหเกิดภูมิคุมกันแบบจําเพาะ
- อวัยวะที่สงเสริมระบบภูมิคุมกันแบบจําเพาะประกอบดวย อวัยวะน้ําเหลืองปฐมภูมิ และอวัยวะ
น้ําเหลืองทุติยภูมิ
อวัยวะน้ําเหลืองปฐมภูมิ ทําหนาที่สรางเซลลเม็ดเลือดขาว ไดแก
• ไขกระดูก (Bone Marrow)
• ตอมไทมัส (Thymus)
อวัยวะน้ําเหลืองทุติยภูมิ ทําหนาที่กรองแอนติเจน (จุลินทรียตางๆ เชน แบคทีเรีย) ไดแก
• มาม (Spleen)
• ตอมน้ําเหลือง (Lymph Node)
• เนื้อเยื่อน้ําเหลืองที่เกี่ยวของกับการสรางเมือก (Mucosal-Associated Lymphoid Tissue ;
MALT) ไดแก ตอมทอนซิล ไสติ่ง และกลุมเซลลฟอลลิเคิลในชั้นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่อยูดานใตของชั้นเนื้อเยื่อ
สรางเมือก

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (27)


คูหู...ดูโอ...เรื่องภูมิคุมกัน
คูหู...ดูโอ...คูที่ 1 ไดแก แอนติเจน (Antigen) และ แอนติบอดี (Antibody)
แอนติเจน (Antigen) คือ สารหรือสิ่งแปลกปลอมที่เขาสูหรือเกิดขึ้นในรางกาย แลวไปกระตุนการทํางานของ
ระบบภูมิคุมกัน เชน ละอองเรณูของดอกไม แบคทีเรีย ไวรัส เซลลมะเร็ง แมแตวัคซีนที่ฉีดเขาไปในรางกายก็ถือวาเปน
แอนติเจน...นะจา
แอนติบอดี (Antibody) คือ โปรตีนที่เม็ดเลือดขาวสรางขึ้น ทําหนาที่ตอตานและทําลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม
ที่เขาสูรางกาย
คูหู...ดูโอ...คูที่ 2 ไดแก วัคซีน (Vaccine) และ เซรุม (Serum)
วัคซีน (Vaccine) คือ เชื้อโรคที่ถูกทําใหออนกําลังหรือตายลง สารสกัดจากเชื้อโรครวมทั้งสารพิษซึ่งหมดสภาพ
ความเปนพิษแลวที่ฉีดเขาไปในรางกายของคนหรือสัตวเพื่อกระตุนใหรางกายสรางแอนติบอดี (Antibody) ขึ้นมาตอตาน
เซรุม (Serum) คือ น้ําเลือดของสัตวที่มีแอนติบอดีเปนองคประกอบ ซึ่งฉีดเขาไปในรางกายเพื่อใหมีภูมิคุมกันทันที
โดยจะใชสําหรับรักษาโรคบางชนิดที่อาการรุนแรงเฉียบพลัน

ภูมิคุมกันแบบจําเพาะแบงออกเปน 2 ประเภท ตามแหลงที่มาของแอนติบอดี ไดแก


1. ภูมิคุมกันกอเอง หมายถึง ภูมิคุมกันที่เกิดจากรางกายสรางแอนติบอดี (Antibody) ขึ้นมาเอง โดย
เปนภูมิคุมกันระยะยาว ซึ่งถูกกระตุนจากปจจัยตอไปนี้
- การฉีดวัคซีนปองกันโรคตางๆ
- การฉีกทอกซอยด (Toxoid) ปองกันโรคบางชนิด
- การคลุกคลีหรือใกลชิดกับบุคคลที่เปนโรคนั้นๆ
ประเภทของวัคซีน
วัคซีนแบงออกเปน 3 ประเภท ตามวัตถุดิบ ดังนี้
1) เชื้อโรคที่ตายแลว
2) เชื้อโรคที่ถูกทําใหออนฤทธิ์ลง
3) สารพิษจากเชื้อโรค (Toxoid) ซึ่งถูกทําใหหมดสภาพความเปนพิษแลว
2. ภูมิคุมกันรับมา หมายถึง ภูมิคุมกันที่เกิดจากรางกายรับแอนติบอดี (Antibody) จากภายนอกเขามา
เพื่อตอตานเชื้อโรคที่เขาสูรางกายไดทันที และเปนภูมิคุมกันในระยะสั้น ตัวอยางภูมิคุมกันรับมา เชน
- การฉีดเซรุมเพื่อรักษาโรคบางชนิด เชน เซรุมปองกันโรคพิษสุนัขบา
- การดื่มน้ํานมแมของทารก
- การไดรับภูมิคุมกันจากแมของทารกที่อยูในครรภ
ความผิดปกติของระบบภูมิคุมกันในรางกาย เมื่อใดก็ตามที่ภาวะภูมิคุมกันมีนอยหรือมากเกินไป จะมีผล
ทําใหรางกายเกิดโรคตางๆ ได
ตัวอยางโรคที่เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุมกันของรางกาย มีดังนี้
1. โรคภูมิแพ (Allergy)
สาเหตุ : เกิดจากปฏิกิริยาที่ผิดปกติของรางกายในการสราง Antibody เพื่อตอตาน Antigen
ทําใหเกิดการแพสิ่งตางๆ ทั้งนี้โรคภูมิแพมักจะมีความเกี่ยวของกับพันธุกรรม
ตัวอยางโรค : โรคภูมิแพละอองเกสรดอกไม ภูมิแพยา ภูมิแพสารเคมี ฯลฯ

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (28) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


2. โรคการสรางภูมิตานทานเนื้อเยื่อตนเอง (Autoimmune Disease)
สาเหตุ : เกิดจากความผิดปกติในการสรางภูมิคุมกันที่ไมสามารถแยกแยะความแตกตางระหวาง
เซลลของตนเองและสิ่งแปลกปลอมที่เขาสูรางกายออกจากกันได
ตัวอยางโรค : โรคเอสแอลอี (SLE) ซึ่งเกิดจาก Antibody ไปจับและทําลายอวัยวะสวนใดสวนหนึ่ง
ของรางกาย จึงทําใหเกิดการอักเสบของอวัยวะนั้น
3. เอดส (AIDS : Acquired Immune Deficiency Syndrome)
สาเหตุ : เกิดจากเชื้อไวรัส HIV (Human Immunodeficiency Virus) เขาไปทําลายเม็ดเลือดขาว
ชนิดเซลลทีผูชวย (Helper T-cells) จึงทําใหภูมิคุมกันของรางกายบกพรอง ไมสามารถสราง Antibody เพื่อ
ตอตานเชื้อโรคตางๆ ได
ลักษณะพิเศษของไวรัส HIV
1. ทําลายเม็ดเลือดขาวชนิดเซลลทีผูชวย
2. เพิ่มจํานวนและกลายพันธุไดงาย
3. เจริญและเพิ่มจํานวนอยูในเซลลทีผูชวย โดยใชองคประกอบตางๆ ภายในเซลลของเซลลทีผูชวยใน
การเพิ่มจํานวน
4. มีสารพันธุกรรมเปน RNA แตเมื่อเขาสูเซลลจะสรางสารพันธุกรรมในรูป DNA และแทรกเขาไป
อยูใน DNA ของเซลล
ระบบน้ําเหลือง (Lymphatic System)
หนาที่ของระบบน้ําเหลือง
1. นําของเหลวที่อยูระหวางเซลลกลับเขาสูระบบหมุนเวียนเลือด
2. ดูดซึมสารอาหารประเภทไขมันบริเวณลําไสเล็ก
3. เปนสวนหนึ่งของระบบภูมิคุมกันรางกาย
สวนประกอบของระบบน้ําเหลือง ไดแก
1. น้ําเหลือง
2. หลอดน้ําเหลือง
3. อวัยวะน้ําเหลือง แบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้
3.1 อวัยวะน้ําเหลืองปฐมภูมิ ไดแก ไขกระดูก และตอมไทมัส
3.2 อวัยวะน้ําเหลืองทุติยภูมิ ไดแก มาม ตอมน้ําเหลือง และตอมทอนซิล
1. น้ําเหลือง (Lymph) คือ ของเหลวไมมีสีที่ซึมผานผนังหลอดเลือดฝอยออกมาอยูบริเวณชองวาง
ระหวางเซลล ซึ่งของเหลวดังกลาวจะเคลื่อนที่เขาสูหลอดน้ําเหลืองตอไป น้ําเหลืองมีสวนประกอบคลายคลึง
กับเลือด แตมีจํานวนและปริมาณโปรตีนนอยกวา รวมทั้งไมมีเม็ดเลือดแดงและเกล็ดเลือด
ทิศทางของน้ําเหลือง
น้ําเหลืองจะเขาสูหัวใจหองบนขวารวมกับเลือดเสียจากสวนตางๆ ของรางกาย ซึ่งการไหลเวียนของ
น้ําเหลืองภายในหลอดน้ําเหลืองจะอาศัยการหดตัวของกลามเนื้อที่อยูรอบๆ โดยภายในหลอดน้ําเหลืองจะมีลิ้นกั้น
เพื่อควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ของน้ําเหลืองใหไปในทิศทางเดียวกัน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (29)


ตอมทอนซิล
ตอมไทมัส
ตอมน้ําเหลือง
หลอดน้ําเหลือง
มาม

ไขกระดูก

ภาพระบบน้ําเหลืองของมนุษย
2. หลอดน้ําเหลือง (Lymphatic Vessels)
หลอดน้ําเหลืองมีหลายขนาด เปนหลอดที่มีปลายดานหนึ่งตัน หลอดน้ําเหลืองบริเวณอก (Thoracic
Duct) จะมีขนาดใหญที่สุด ทําหนาที่ลําเลียงน้ําเหลืองไปยังหลอดเลือดดําบริเวณไหปลารา (Subclavian Vein)
เพื่อสงเขาสูหลอดเลือดดําใหญ (Vena Cava) ตอไป
เซลลผนังหลอดน้ําเหลือง ชองเปดเขาสูหลอดน้ําเหลือง

เซลล ของเหลวในชองวางระหวางเซลล
ภาพโครงสรางหลอดน้ําเหลืองและทิศทางการไหลของน้ําเหลือง
3. อวัยวะน้ําเหลือง (Lymphoid Organs) แบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้
3.1 อวัยวะน้ําเหลืองปฐมภูมิ ไดแก ไขกระดูก และตอมไทมัส
1. ไขกระดูก (Bone Marrow) เปนเนื้อเยื่อที่อยูในโพรงกระดูก ทําหนาที่สรางเซลลเม็ดเลือด
ขาวและเม็ดเลือดแดง รวมทั้งเกล็ดเลือดดวย
2. ตอมไทมัส (Thymus) เปนอวัยวะน้ําเหลืองที่เปนตอมไรทอ (สรางฮอรโมนได) อยูตรง
ทรวงอกรอบหลอดเลือดเอออรตา (Aorta)
ตอมไทมัสมีหนาที่ดังนี้
- สรางและพัฒนาเซลลเม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต (Lymphocyte) : ลิมโฟไซตที่ไทมัสไม
สามารถตอสูกับเชื้อโรคที่เขาสูรางกายได แตเมื่อโตเต็มที่จะเขาสูระบบหมุนเวียนเลือดเพื่อไปยังอวัยวะน้ําเหลือง
อื่นๆ และสามารถตอสูกับเชื้อโรคได

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (30) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


3.2 อวัยวะน้ําเหลืองทุติยภูมิ ไดแก มาม ตอมน้ําเหลือง และตอมทอนซิล
1. มาม (Spleen) เปนอวัยวะน้ําเหลืองที่มีขนาดใหญที่สุด มีลักษณะนุม สีมวง อยูในชองทอง
ดานซายใตกะบังลมติดกับดานหลังของกระเพาะอาหาร ภายในมามมีแมโครฟาจ (Macrophage) และเม็ดเลือดแดง
อยูเปนจํานวนมาก

ตอมไทมัส

มาม

ภาพตอมไทมัสและมามของคน
มามมีหนาที่ดังนี้
- กรองจุลินทรีย (แบคทีเรีย) และสิ่งแปลกปลอมออกจากเลือด
- สรางและทําลายเซลลเม็ดเลือดขาว
- ทําลายเซลลเม็ดเลือดแดงที่หมดอายุแลว
- เปนอวัยวะเก็บสํารองเลือดไวใชในยามฉุกเฉิน เชน ภาวะที่รางกายสูญเสียเลือดมาก
2. ตอมน้ําเหลือง (Lymph Node) มีลักษณะคอนขางกลม มีหลากหลายขนาด กระจายตัวอยู
ภายในหลอดน้ําเหลืองทั่วรางกาย พบมากตามบริเวณคอ รักแร และขาหนีบ เปนตน ซึ่งภายในตอมน้ําเหลือง
จะพบเซลลเม็ดเลือดขาวอยูรวมกันเปนกระจุก มีลักษณะคลายฟองน้ํา
ตอมน้ําเหลืองมีหนาที่ดังนี้
- กรองเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมออกจากน้ําเหลือง
- ทําลายแบคทีเรียและไวรัส
3. ตอมทอนซิล (Tonsils) มีหนาที่ปกปองไมใหเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมเขาสูหลอดอาหาร
และกลองเสียง ซึ่งมีอยู 3 บริเวณ ดังนี้
3.1 ตอมทอนซิลบริเวณเพดานปาก
3.2 ตอมทอนซิลบริเวณคอหอย
3.3 ตอมทอนซิลบริเวณลิ้น
ทอนซิลที่เพดานปาก

ทอนซิลบริเวณคอหอย

ทอนซิลที่โคนลิ้น

ภาพตอมทอนซิล

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (31)


การแบงเซลล
ความรูและคําศัพทพื้นฐานที่ควรรูกอนเรียนเรื่องการแบงเซลล
1. เซลลในรางกายของเราแบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้
1.1 เซลลรางกาย (Somatic Cell) 1.2 เซลลสืบพันธุ (Sex Cell)
2. โครโมโซมในเซลลแตละประเภท แบงออกเปน 2 ชนิด ดังนี้
2.1 โครโมโซมรางกาย หรือออโตโซม (Autosome) 2.2 โครโมโซมเพศ (Sex Chromosome)
3. เซลลที่มีโครโมโซม 2 ชุด เรียกวา ดิพลอยดเซลล (Diploid Cell)
4. เซลลที่มีโครโมโซม 1 ชุด เรียกวา แฮพลอยดเซลล (Haploid Cell)
5. เซลลเริ่มตนในการแบงเซลล เรียกวา เซลลแม
6. เซลลใหมที่เกิดจากการแบงเซลล เรียกวา เซลลลูก
7. การแบงเซลลประกอบดวย 2 ขั้นตอน ตามลําดับดังนี้
7.1 การแบงนิวเคลียส (Karyokinesis) 7.2 การแบงไซโทพลาซึม (Cytokinesis)
8. คําศัพทที่ควรรู
8.1 โครมาทิน (Chromatin) 8.2 เซนโทรเมียร (Centromere)
8.3 โครมาทิด (Chromatid) 8.4 โครโมโซม (Chromosome)
8.5 โฮโมโลกัสโครโมโซม (Homologous Chromosome)
วัฏจักรของเซลล (Cell Cycle)
วัฏจักรของเซลล คือ วงจรการเจริญเติบโตและการแบงเซลลเพื่อสรางเซลลรุนใหมขึ้นมาทดแทนเซลล
รุนเกาที่หมดอายุขัยหรือเสียหายไป ซึ่งพบในการแบงเซลลแบบไมโทซิสเทานั้น
วัฏจักรของเซลลประกอบดวย 3 ระยะใหญ ไดแก
1. ระยะอินเตอรเฟส (Interphase) มี 3 ระยะยอยตามลําดับ ดังนี้
1.1 G1 1.2 S 1.3 G2
2. ระยะไมโทซิส (Mitosis) มี 4 ระยะยอยตามลําดับ ดังนี้
2.1 โพรเฟส (Prophase) 2.2 เมทาเฟส (Metaphase)
2.3 แอนาเฟส (Anaphase) 2.4 เทโลเฟส (Telophase)
3. ระยะแบงไซโทพลาซึม (Cytokinesis)

ภาพวัฏจักรของเซลล

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (32) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


วัฏจักรของเซลลสัตว (การแบงเซลลแบบไมโทซิสของเซลลสัตว)
เซนทริโอล
นิวคลีโอลัส

โครมาทิน
เยื่อหุมนิวเคลียส

ระยะอินเตอรเฟส
- โครมาทิน (แตละหนวย) จําลองตัวเองขึ้นมาอีก 1 copy ทําใหโครมาทินแตละหนวยประกอบดวย
2 โครมาทิด
- เซนทริโอล (ในเซลลสัตว) จําลองตัวเองขึ้นมาอีก 1 คู
เสนใยสปนเดิล

โพรเฟส
- โครมาทินขดสั้น อัดแนน เห็นเปนแทงชัดเจน เรียกวา โครโมโซม
- เยื่อหุมนิวเคลียส และนิวคลีโอลัสสลายไป ไมปรากฏใหเห็น
- เซนทริโอลเคลื่อนที่ออกจากกันเพื่อไปยังขั้วเซลล และมีการสรางเสนใยสปนเดิล

เมทาเฟส
- โครโมโซมแตละแทงมาเรียงตัวในแนวกึ่งกลางเซลล โดยมีเสนใยสปนเดิลยึดจับตรงตําแหนงเซนโทรเมียร
ของโครโมโซม

แอนาเฟส
- โครมาทิดของโครโมโซมแตละแทงถูกเสนใยสปนเดิลดึงใหแยกออกจากกันเพื่อไปยังขั้วเซลล

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (33)


เทโลเฟส
- เยื่อหุมเซลล (สัตว) จะคอดเขาหากัน
- เยื่อหุมนิวเคลียสปรากฏใหเห็น

ระยะแบงไซโทพลาซึม (Cytokinesis)
- การแบงเซลลเสร็จสมบูรณ โดยเกิด 2 เซลลลูก ตอ 1 เซลลแม และจํานวนโครโมโซมในเซลลลูก
เทากับเซลลแม ซึ่งโครโมโซมจะคลายตัวกลายเปนเสนใยโครมาทินดังเดิม

ภาพวัฏจักรของเซลลพืช (การแบงเซลลแบบไมโทซิสของเซลลพืช)
การแบงเซลลแบบไมโอซิส (Meiosis)
การแบงแบบไมโอซิสมีวัตถุประสงคเพื่อลดจํานวนโครโมโซมของเซลลใหมที่จะเกิดขึ้นใหเหลือเปนครึ่งหนึ่ง
ของจํานวนโครโมโซมในเซลลเริ่มตน ในสัตวจะพบการแบงเซลลแบบไมโอซิสที่อัณฑะและรังไข สวนในพืชดอก
จะพบการแบงเซลลแบบไมโอซิสที่อับเรณูและรังไข
การแบงเซลลแบบไมโอซิสมีการแบงนิวเคลียส 2 ครั้งตอเนื่องกัน คือ ไมโอซิส I และ ไมโอซิส II
ไมโอซิส I เปนขั้นตอนของการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรม (ยีน) ระหวางโฮโมโลกัสโครโมโซม
(Homologous Chromosome) และในระยะทายสุดของไมโอซิส I จะไดเซลลลูก 2 เซลล ตอ 1 เซลลแม ซึ่ง
จํานวนโครโมโซมในเซลลลูกจะลดลงเหลือเปนครึ่งหนึ่งของจํานวนโครโมโซมในเซลลแม
ไมโอซิส II เปนขั้นตอนตอเนื่องจากไมโอซิส I โดยเซลลลูกที่เกิดขึ้นในระยะไมโอซิส I จะเขาสูการแบง
นิวเคลียสครั้งที่ 2 ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของนิวเคลียสและโครโมโซมในระยะนี้จะคลายคลึงกับการแบงเซลลแบบ
ไมโทซิส แตตางกันตรงที่โครโมโซมในแตละเซลลจะไมมีคูเหมือน (Homologous) อยู และเมื่อสิ้นสุดการแบงเซลล
ในระยะไมโอซิส II จะไดเซลลลูกทั้งหมด 4 เซลล

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (34) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


ลักษณะของเซลลแมกอนที่จะมีการ
ไคแอสมา
จําลองตัวเองของโครโมโซม
โพรเฟส โพรเฟส I
การจําลองตัวเอง การจําลองตัวเอง
ของโครโมโซม ของโครโมโซม โฮโมโลกัสโครโมโซมมาเขาคูกัน
1 โครโมโซมประกอบดวย
2 โครมาทิด

เมทาเฟส โครโมโซมมาเรียงตัวกัน โฮโมโลกัสโครโมโซม


เมทาเฟส I
ในแนวกึ่งกลางเซลล มาเรียงตัวกัน
ในแนวกึ่งกลางเซลล

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
แอนาเฟส และ เทโลเฟส แอนาเฟส I และ เทโลเฟส I

เซลลลูก
ที่เกิดขึ้น
ในไมโอซิส I

เซลลลูก

เซลลลูกที่เกิดขึ้นในไมโอซิส II

การแบงเซลลแบบไมโทซิส และไมโอซิสของเซลลสัตว

_______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (35)


ไมโอซิส I ไมโอซิส II

Spermatocyte
(Diploid)

Spermatids Sperm Cells


(Haploid) (Haploid)
ภาพการแบงเซลลแบบไมโอซิสเพื่อสรางอสุจิของสัตว

ตารางเปรียบเทียบการแบงเซลลแบบไมโทซิสและไมโอซิส
ลักษณะเปรียบเทียบ ไมโทซิส ไมโอซิส
1. วัตถุประสงคของการแบง เพื่อเพิ่มจํานวนเซลล เพื่อลดจํานวนโครโมโซม
2. จํานวนครั้งในการแบงนิวเคลียส 1 ครั้ง 2 ครั้ง
3. จํานวนเซลลลูกที่ไดตอ 1 เซลลแม 2 เซลล 4 เซลล
4. จํานวนโครโมโซมในนิวเคลียสของ
เทาเซลลแม เปน 12 ของเซลลแม
เซลลลูก
5. ขอมูลทางพันธุกรรมของเซลลลูก เหมือนกับเซลลแมทุกประการ แตกตางจากเซลลแม
6. ตัวอยางแหลงที่พบ ผิวหนัง, กระเพาะอาหาร,
อัณฑะ, รังไขของคน, อับเรณู
ไขกระดูก, บริเวณปลายยอด
และรังไขของพืชดอก
และปลายรากของพืช

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (36) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ความรูพื้นฐานในการเรียนเรื่องการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
1. เซลลที่เปนสวนประกอบของสิ่งมีชีวิตจําพวกยูคาริโอตสามารถแบงออกเปน 2 ประเภท ตามหนาที่
ดังนี้
1. เซลลรางกาย (Somatic Cells) หมายถึง เซลลที่เปนสวนประกอบของเนื้อเยื่อและอวัยวะตางๆ
ภายในรางกาย (ยกเวนเซลลสืบพันธุ) เชน เซลลหัวใจ เซลลตับ เซลลเม็ดเลือดขาว เปนตน ซึ่งโดยทั่วไปเปน
เซลลที่มีจํานวนโครโมโซมภายในนิวเคลียสเทากับ 2n (2 ชุดโครโมโซม)
2. เซลลสืบพันธุ (Sex Cells) หมายถึง เซลลที่จะเกิดการปฏิสนธิในกระบวนการสืบพันธุ เชน อสุจิ
(Sperm) ไข (Egg Cell) เปนตน ซึ่งเปนเซลลที่มีจํานวนโครโมโซมเปนครึ่งหนึ่งของจํานวนโครโมโซมในเซลล
รางกายของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นๆ หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวา มีโครโมโซมเทากับ n (1 ชุดโครโมโซม)
2. โครโมโซม
2.1 รูปราง ลักษณะ และจํานวนโครโมโซม
¾ โครโมโซมของเซลลที่ยังไมมีการแบงเซลล จะมีลักษณะเปนเสนเล็กยาวขดพันกันอยูภายใน
นิวเคลียส เรียกวา โครมาทิน (Chromatin)
¾ โครโมโซมของเซลลที่กําลังแบงตัว จะมีลักษณะขดสั้น อัดแนน เห็นเปนแทงชัดเจน
¾ สิ่งมีชีวิตที่มีโครโมโซม 2 ชุด เรียกวา ดิพลอยด (Diploid) เชน คน โดยโครโมโซมชุดหนึ่ง
ไดรับมาจากพอ อีกชุดหนึ่งไดรับมาจากแม ซึ่งเมื่อมีการแบงเซลลแบบไมโอซิส โครโมโซมที่เปนคูเหมือน
(Homologous Chromosome) จะมาเขาคูกัน เกิดการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมซึ่งกันและกัน แลวแยกออกจากกัน
ไปยังเซลลลูกที่ถูกสรางขึ้น เมื่อเสร็จสิ้นการแบงเซลลแบบไมโอซิสโครโมโซมในเซลลลูกจะเหลือเปนครึ่งหนึ่งของ
เซลลแม เรียกวา แฮพลอยด (Haploid)
2.2 สวนประกอบของโครโมโซม
โครโมโซม หมายถึง โครงสรางที่อยูภายในนิวเคลียสประกอบดวย DNA และโปรตีน

เซนโทรเมียร นิวคลีโอโซม
(Centromere) (Nucleosome)

โปรตีน
DNA

ซิสเตอร โครมาทิด
(Sister Chromatids)

ภาพโครงสรางของโครโมโซม

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (37)


¾ โครโมโซมของสิ่งมีชีวิตจําพวกยูคาริโอต (สิ่งมีชีวิตที่เซลลมีนิวเคลียส) โครโมโซมจะประกอบดวย
DNA 1 ใน 3 และอีก 2 ใน 3 เปนโปรตีน ซึ่งประกอบดวยฮิสโตนโปรตีน (Histone Protein) และนอนฮิสโตนโปรตีน
(Non-Histone Protein)
¾ นิวคลีโอโซม (Nucleosome) คือ โครงสรางของโครโมโซมที่มีลักษณะคลายเม็ดลูกปด
ประกอบดวยโปรตีนฮิสโตน 8 โมเลกุล พันรอบดวยสายเกลียวของ DNA ยาวประมาณ 150 คูเบส
¾ โครโมโซมของสิ่งมีชีวิตจําพวกโพรคาริโอต (แบคทีเรีย) มีจํานวนโครโมโซมชุดเดียว และมีเพียง
โครโมโซมเดียวเปนรูปวงแหวน ลอยอยูในไซโทพลาซึม ประกอบดวย DNA 1 โมเลกุล และไมมีฮิสโตนเปน
องคประกอบ
¾ จีโนม (Genome) หมายถึง สารพันธุกรรมทั้งหมดของโครโมโซม 1 ชุด ของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งๆ
2.3 โครโมโซมที่อยูในเซลลแตละประเภท แบงออกเปน 2 ชนิด ตามบทบาทหนาที่ ดังนี้
1. โครโมโซมรางกาย หรือ ออโตโซม (Autosome) เปนโครโมโซมที่เกี่ยวของกับการควบคุม
ลักษณะทั่วไปของรางกายซึ่งไมเกี่ยวของกับเพศ
2. โครโมโซมเพศ (Sex Chromosome) เปนโครโมโซมที่กําหนดเพศ และเกี่ยวของกับการ
ควบคุมลักษณะที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
มนุษยมีโครโมโซมทั้งหมด 46 แทง (2n = 46) หรือ 23 คู โดย 44 แทงแรก (22 คูแรก) เปน
ออโตโซม และ 2 แทงสุดทาย (คูสุดทาย) เปนโครโมโซมเพศ เพศชายและเพศหญิงมีจํานวนโครโมโซมเทากันแตไม
เหมือนกัน ดังนี้
เพศชายมีโครโมโซม 46 แทง เปนแบบ 44 + XY หรือ 46, XY
เพศหญิงมีโครโมโซม 46 แทง เปนแบบ 44 + XX หรือ 46, XX
3. องคประกอบทางเคมีของ DNA

ภาพโครงสรางของ DNA

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (38) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


DNA ทําหนาที่เปนสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต และบางสวนของ DNA แตละโมเลกุลทําหนาที่เปนยีน
(Gene) คือ สามารถควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตได
DNA เปนกรดนิวคลีอิกชนิดหนึ่ง มีโครงสรางเปนพอลิเมอร (Polymer) สายยาวประกอบดวยมอนอเมอร
(Monomer) ที่เรียกวา นิวคลีโอไทด ซึ่งแตละนิวคลีโอไทดของดีเอ็นเอ ประกอบดวยสาร 3 ชนิด ดังตอไปนี้

pentose sugar
ภาพองคประกอบของนิวคลีโอไทด
1. น้ําตาลเพนโทส (Pentose) ที่มีชื่อวา น้ําตาลดีออกซีไรโบส (Deoxyribose)
2. ไนโตรจีนัสเบส (Nitrogenous Base) มีโครงสรางเปนวงแหวน (Ring)
แบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้
2.1 เบสเพียวรีน (Purine) มี 2 ชนิด คือ กวานีน(Guanine) และอะดีนีน (Adenine)
2.2 เบสไพริมิดีน (Pyrimidine) มี 2 ชนิด คือ ไซโทซีน (Cytosine) และไทมีน (Thymine)
3. หมูฟอสเฟต ( PO 34- )

พอลินิวคลีโอไทด หรือ กรดนิวคลิอิก เบสไพริมิดีน

เบสเพียวรีน

นิวคลีโอไทด องคประกอบของนิวคลีโอไซด

ภาพพอลินิวคลีโอไทดของ DNA

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (39)


จากภาพพอลินิวคลีโอไทดของ DNA จะไดวา
¾ การเชื่อมตอกันของนิวคลีโอไทดแตละโมเลกุลใน DNA เกิดจากการสรางพันธะโคเวเลนซ
ระหวางหมูฟอสเฟตของนิวคลีโอไทดหนึ่งกับหมูไฮดรอกซิลซึ่งอยูที่คารบอนตําแหนงที่ 3 ของโมเลกุลน้ําตาลในอีก
นิวคลีโอไทดหนึ่ง
¾ การเรียกตําแหนงปลายของพอลินิวคลีโอไทดแตละสายของ DNA มีรายละเอียดดังนี้
• เรียกปลายดานที่มีหมูฟอสเฟตซึ่งเกาะอยูกับน้ําตาลดีออกซีไรโบสตรงคารบอนตําแหนงที่ 5 วา
ปลาย 5' (5 ไพรม)
• เรียกปลายดานที่มีหมูไฮดรอกซิลตรงคารบอนตําแหนงที่ 3 ของน้ําตาลดีออกซีไรโบสวา
ปลาย 3' (3 ไพรม)

รูไว...Hiso
Hiso 1 : กรดนิวคลีอิก (Nucleic Acid) มี 2 ชนิด ไดแก
1. RNA (RiboNucleic Acid)
2. DNA (DeoxyriboNucleic Acid)
Hiso 2 : หนวยยอย (Monomer) ของกรดนิวคลีอิกคือ นิวคลีโอไทด (Nucleotide)
Hiso 3 : ตารางเปรียบเทียบองคประกอบของ RNA nucleotide และ DNA nucleotide
ชนิดของนิวคลีโอไทด
RNA nucleotide DNA nucleotide หมายเหตุ
องคประกอบของนิวคลีโอไทด
1. หมูฟอสเฟต PO 34- PO 34- เหมือนกัน
2. ไนโตรจีนัสเบส A, U, C, G A, T, C, G ตางกัน
Ribose sugar Deoxyribose sugar
3. น้ําตาลคารบอน 5 อะตอม (เพนโทส) ตางชนิดกัน
(C5H10O5) (C5H10O4)

Hiso 4 : ไนโตรจีนัสเบสที่เปนองคประกอบของนิวคลีโอไทด 1 โมเลกุล มีเพียง 1 ชนิดเทานั้น หมายความวา


1 นิวคลีโอไทด : 1 ไนโตรจีนัสเบส
Hiso 5 : เบสทั้ง 4 ชนิดที่พบในสายเกลียวคู DNA จะอยูกันเปนคูๆ โดยมีพันธะไฮโดรเจนยึดเหนี่ยวกันไว ดังนี้
A คู T ยึดกันดวย 2 พันธะไฮโดรเจน A T
C คู G ยึดกันดวย 3 พันธะไฮโดรเจน C G
พันธะไฮโดรเจน
Hiso 6 : น้ําตาลไรโบสที่พบใน RNA และน้ําตาลดีออกซีไรโบสที่พบใน DNA เปนน้ําตาลที่มีคารบอน 5 อะตอม
แตตางกันที่โครงสราง ดังภาพดานลางจา...

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (40) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


Hiso 7 : ถาเปรียบสายเกลียวคูของ DNA เปนบันไดเวียน จะไดวา
คูเบส (complementary basepair) = ขั้นบันได
หมูฟอสเฟตและน้ําตาล = ราวบันได
Hiso 8 : ลําดับของเบสบนสาย DNA จะเปนตัวกําหนดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตแตละชนิด ดังนั้น
ลักษณะที่แตกตางกันของสิ่งมีชีวิตเกิดจากลําดับหรือการเรียงตัวของเบสบนสาย DNA ตางกันนั่นเอง

คําศัพทที่เกี่ยวของกับการศึกษาการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
1. เซลลสืบพันธุ (Gamete) หมายถึง อสุจิ (Sperm) เซลลไข (Egg Cell) และรวมถึงโครงสรางอื่นๆ ที่
ทําหนาที่เชนเดียวกันซึ่งจะพบในพืช
2. ยีน (Gene) หมายถึง หนวยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมตางๆ ของสิ่งมีชีวิตซึ่งอยูเปนคู และจะ
ถายทอดจากพอแมไปสูลูก โดยในทางพันธุศาสตรไดมีการกําหนดสัญลักษณแทนยีนไวหลายแบบ แตที่นิยมใช คือ
อักษรภาษาอังกฤษชนิดตัวพิมพ เชน อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพใหญ แทน ยีนเดน และตัวพิมพเล็ก แทน ยีนดอย
3. แอลลีล (Allele) หมายถึง แบบของยีนแตละยีนที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม เชน
ยีนเอ เปนยีนควบคุมลักษณะผิวของคน ซึ่งมีอยู 2 แบบ คือ A และ a (กลาวไดวายีนเอมี 2 แอลลีล)
โดยแอลลีล A ควบคุมผิวปกติ และแอลลีล a ควบคุมผิวเผือก
ยีนไอ เปนยีนควบคุมหมูเลือดระบบ ABO ซึ่งมีอยู 3 แบบ คือ IA, IB และ i (กลาวไดวายีนไอมี
3 แอลลีล)
4. โฮโมไซกัสยีน (Homozygous Gene) หมายถึง คูของยีนที่เหมือนกันอยูในตําแหนงเดียวกันบน
โฮโมโลกัสโครโมโซมเพื่อควบคุมลักษณะของสิ่งมีชีวิต เชน TT, tt, IAIA เปนตน โฮโมไซกัสยีน เรียกอีกอยางหนึ่งวา
พันธุแท
โฮโมไซกัสยีน แบงออกเปน 2 แบบ ดังนี้
4.1 โฮโมไซกัส โดมิแนนท (Homozygous Dominance) หมายถึง คูของยีนเดนที่เหมือนกันอยู
ดวยกัน หรือเรียกวา เปนพันธุแทของลักษณะเดน เชน AA, TT เปนตัน
4.2 โฮโมไซกัส รีเซสซีฟ (Homozygous Recessive) หมายถึง คูของยีนดอยที่เหมือนกันอยูดวยกัน
หรือเรียกวา เปนพันธุแทของลักษณะดอย เชน aa, tt เปนตน
5. เฮเทอโรไซกัสยีน (Heterozygous Gene) หมายถึง คูของยีนที่ตางกันอยูในตําแหนงเดียวกันบน
โฮโมโลกัสโครโมโซมเพื่อควบคุมลักษณะของสิ่งมีชีวิต เชน Tt, Rr, IAi IAIB เปนตน เฮเทอโรไซกัสยีน เรียกอีก
อยางหนึ่งวา พันธุทาง
6. ลักษณะเดน (Dominance หรือ Dominant Trait) หมายถึง ลักษณะที่แสดงออกมาเมื่อมีแอลลีล
เดนเพียง 1 แอลลีล ซึ่งจะพบในเฮเทอโรไซกัส หรือเมื่อมีแอลลีลเดน 2 แอลลีล ซึ่งจะพบในโฮโมไซกัสโดมิแนนท
(Homozygous Dominance)
7. ลักษณะดอย (Recessive Trait) หมายถึง ลักษณะที่ถูกขมเมื่ออยูในรูปของเฮเทอโรไซกัส แตจะ
แสดงออกเมื่ออยูในรูปของโฮโมไซกัสรีเซสซีฟ (Homozygous Recessive)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (41)


8. ฟโนไทป (Phenotype) หมายถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่สามารถสังเกตไดดวยประสาทสัมผัส (ตา หู
จมูก ลิ้น และผิวหนัง) เชน สีของดอกถั่ว สีผิวของคน จํานวนชั้นของหนังตา ลักษณะของเสนผม หมูเลือด
กลิ่นของดอกกุหลาบ รสขมของบอระเพ็ด เปนตน
9. จีโนไทป (Genotype) หมายถึง รูปแบบของคูยีน (คูแอลลีล) หรือกลุมยีนที่ควบคุมฟโนไทปตางๆ เชน
จีโนไทปที่ควบคุมความยาวของลําตนถั่วมีได 3 แบบ ไดแก TT, Tt, และ tt
ยีน (Gene)
ยีน คือ สวนของโมเลกุลดีเอ็นเอ (DNA) ทําหนาที่เปนหนวยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
เนื่องจาก DNA เปนสวนประกอบของโครโมโซม ดังนั้นยีนจึงมีตําแหนงอยูบนโครโมโซม จํานวนโครโมโซมของ
สิ่งมีชีวิตสวนใหญจะเปนจํานวนคู และมีคูเหมือน (Homologous) ดังนั้นยีนจึงอยูกันเปนคูๆ บนโครโมโซมที่เปน
คูเหมือน (Homologous Chromosome)

ภาพคูยีนที่อยูบนโครโมโซมคูเหมือน (Homologous Chromosome)

สาย DNA
การถอดรหัส

โคดอน (Codon)
การแปลรหัส

พอลิเพปไทด
กรดอะมิโน
ภาพการทํางานของยีน

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (42) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ภาพวงจรชีวิตของมนุษย
กฎของเมนเดล
เมนเดลทําการศึกษาการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต จนสามารถสรุปเปนกฎ (Law) ที่ใช
อธิบายกระบวนการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมได 2 ขอ ดังนี้
กฎขอที่ 1 กฎแหงการแยกตัว (Law of Segregation)
กฎแหงการแยกตัว มีใจความสําคัญสรุปไดดังนี้ ยีนที่อยูกันเปนคูจะแยกออกจากกันในระหวางกระบวนการ
สรางเซลลสืบพันธุ (เกิดขึ้นในระยะแอนาเฟส I ของไมโอซิส) จึงทําใหเซลลสืบพันธุแตละเซลลมียีนควบคุม
ลักษณะนั้นๆ เพียง 1 หนวย ซึ่งจะกลับมาเขาคูกันอีกเมื่อเซลลสืบพันธุมาปฏิสนธิกัน
กฎขอที่ 2 กฎแหงการรวมกลุมอยางอิสระ (Law of Independent Assortment)
กฎแหงการรวมกลุมอยางอิสระ มีใจความสําคัญสรุปไดดังนี้ เซลลสืบพันธุเพศผูและเพศเมียจะมีการ
รวมกลุมของยีนที่ควบคุมลักษณะตางๆ อยางอิสระ จึงทําใหสามารถทํานายผลที่จะเกิดขึ้นในรุนลูกรุนหลานได

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (43)


ระดับการแสดงลักษณะเดน
1. ลักษณะเดนสมบูรณ (Complete Dominance) หมายถึง การแสดงออกของลักษณะเดนที่เกิดจาก
การที่ยีนเดนสามารถขมการแสดงออกของยีนดอยได 100% ทําใหจีโนไทปที่เปนโฮโมไซกัสยีนของลักษณะเดน
(Homozygous Dominance) และเฮเทอโรไซกัสยีน มีการแสดงออกของฟโนไทปที่เหมือนกัน เชน TT และ Tt
ควบคุมลักษณะถั่วตนสูงเหมือนกัน เปนตน

รุนพอแม (รุน P)

ดอกสีมวง (WW) ดอกสีขาว (ww)

รุนลูก (รุน F1)

ดอกสีมวง ดอกสีมวง ดอกสีมวง ดอกสีมวง


ภาพการถายทอดลักษณะเดนแบบสมบูรณ
2. ลักษณะเดนไมสมบูรณ (Incomplete Dominance) หมายถึง การแสดงออกของลักษณะเดนเปนไป
ไมเต็ม 100% ทั้งนี้เกิดจากการทํางานของยีนเดนรวมกับยีนดอย เพราะยีนเดนไมสามารถขมการแสดงออกของ
ยีนดอยได 100% จึงทําใหจีโนไทปที่เปนเฮเทอโรไซกัสมีลักษณะคอนไปทางโฮโมไซกัสของลักษณะเดน เชน ดอกลิ้นมังกร
สีชมพู ที่เกิดจากการผสมพันธุระหวางดอกลิ้นมังกรสีแดงและดอกลิ้นมังกรสีขาว เปนตน

RR Rr rr
(ดอกสีแดง) (ดอกสีชมพู) (ดอกสีขาว)
ภาพการถายทอดลักษณะเดนแบบไมสมบูรณ
3. ลักษณะเดนรวมกัน (Co-Dominance) หมายถึง การแสดงออกของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของ
สิ่งมีชีวิตที่เกิดจากการทํางานรวมกันของยีนที่ควบคุมลักษณะเดนทั้งคู เนื่องจากไมสามารถขมกันและกันได เชน
หมูเลือด AB ในคน ที่ถูกควบคุมโดยจีโนไทป IAIB เปนตน

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (44) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


มัลติเปลแอลลีล (Multiple Allele)
มัลติเปลแอลลีล คือ ยีนที่มีแอลลีลมากกวา 2 แบบขึ้นไป ซึ่งควบคุมลักษณะพันธุกรรมเดียวกัน
ตัวอยางเชน หมูเลือดระบบ ABO มียีนควบคุมอยู 3 แอลลีล
หมูเลือดระบบ ABO
แอลลีล (Allele) ที่ควบคุมการแสดงออกของหมูเลือดระบบ ABO มีทั้งหมด 3 แบบ ดังนี้ IA, IB, และ i
ซึ่งหนาที่ของแอลลีลแตละแบบ คือ ควบคุมการสรางแอนติเจนที่เยื่อหุมเซลลเม็ดเลือดแดง ดังนี้
แอลลีล IA ควบคุมการสรางแอนติเจน A
แอลลีล IB ควบคุมการสรางแอนติเจน B
แอลลีล i ควบคุมไมใหมีการสรางแอนติเจนทั้ง 2 ชนิด
แอลลีล i เปนแอลลีลดอย สวนแอลลีล IA และ IB เปนแอลลีลเดน ซึ่งแอลลีลเดนทั้ง 2 แบบ สามารถ
ขมแอลลีล i ไมใหแสดงออกได แตไมสามารถขมซึ่งกันและกันได และจากที่กลาวมาขางตนแลววา ยีนที่ควบคุม
การแสดงออกของหมูเลือดระบบ ABO จะอยูกันเปนคู ซึ่งรูปแบบของคูยีน (จีโนไทป) มีทั้งหมดดังนี้
จีโนไทป ผลที่เกิดขึ้นกับเซลลเม็ดเลือดแดง ชนิดหมูเลือด (ฟโนไทป)
1. IAIA มีการสรางแอนติเจน A ที่ผิวเม็ดเลือดแดง หมูเลือด A
2. IAi มีการสรางแอนติเจน A ที่ผิวเม็ดเลือดแดง หมูเลือด A
3. IBIB มีการสรางแอนติเจน B ที่ผิวเม็ดเลือดแดง หมูเลือด B
4. IBi มีการสรางแอนติเจน B ที่ผิวเม็ดเลือดแดง หมูเลือด B
5. IAIB มีการสรางทั้งแอนติเจน A และ แอนติเจน B
หมูเลือด AB
ที่ผิวเม็ดเลือดแดง
6. ii ไมมีการสรางแอนติเจนที่ผิวเม็ดเลือดแดง หมูเลือด O
จากตารางจะเห็นวา ชนิดหมูเลือดจะตรงกับชนิดของแอนติเจนที่ถูกสรางขึ้นที่ผิวเม็ดเลือดแดง กลาวคือ
บุคคลที่มีหมู A จะมีแอนติเจน A ที่ผิวเม็ดเลือดแดง บุคคลที่มีเลือดหมู AB จะมีทั้งแอนติเจน A และแอนติเจน B
ที่ผิวเม็ดเลือดแดง สวนบุคคลที่มีหมูเลือด O ไมมีแอนติเจนที่ผิวเม็ดเลือดแดง
จากการศึกษาพบวาในพลาสมา (น้ําเลือด) มีแอนติบอดี (Antibody) ที่จําเพาะตอหมูเลือด ซึ่งมีอยู 2 ชนิด
คือ แอนติบอดี A และแอนติบอดี B โดยชนิดของแอนติบอดีในพลาสมาของบุคคลใดบุคคลหนึ่งจะตรงขามกับ
ชนิดของแอนติเจนที่ผิวเม็ดเลือดแดง เชน บุคคลที่มีเลือดหมู A จะมีแอนติเจน A ที่ผิวเม็ดเลือดแดง และมี
แอนติบอดี B ในพลาสมา สวนบุคคลที่มีหมูเลือด O ไมมีแอนติเจนที่ผิวเม็ดเลือดแดง แตมีแอนติบอดี A และ
แอนติบอดี B ในพลาสมา

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (45)


ตารางแสดงความสัมพันธระหวางหมูเลือด แอนติเจนที่ผิวเม็ดเลือดแดง และแอนติบอดีในพลาสมา
ของหมูเลือดระบบ ABO
หมูเลือด แอนติเจนที่ผิวเม็ดเลือดแดง แอนติบอดีในพลาสมา
A A B
B B A
AB A และ B ไมมี
O ไมมี A และ B

ตารางชนิดของแอนติเจนและแอนติบอดีของแตละหมูเลือดในระบบ ABO

(เม็ดเลือดแดง)

(น้ําเลือด)

A B AB O
(หมูเลือด)

การใหเลือด
บุคคลที่เกี่ยวของกับการใหเลือด คือ ผูให (เลือด) และผูรับ (เลือด) ซึ่งในการใหเลือด ผูที่มีความเสี่ยงตอชีวิต
คือ ผูรับ เพราะถาเลือดของผูรับไมสามารถเขากับเลือดของผูใหไดจะทําใหเซลลเม็ดเลือดแดงของผูรับจับตัวกัน
เปนกลุมแลวตกตะกอนอุดตันหลอดเลือด ซึ่งจะนําไปสูการเสียชีวิตไดในที่สุด ดังนั้นผูใหและผูรับควรมีเลือดหมู
เดียวกันจึงจะปลอดภัยที่สุด
หลักการสําคัญในการใหและรับเลือดอยางปลอดภัย คือ แอนติเจน (Antigen) ของผูใหตองไมตรงกับ
แอนติบอดี (Antibody) ของผูรับ

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (46) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


ตารางแสดงหมูเลือดของผูใหและผูรับที่สามารถใหและรับเลือดกันได โดยไมเกิดอันตราย
หมูเลือดของผูให หมูเลือดของผูรับ
A B AB O
หมายเหตุ :
A 9 8 9 8 9 หมายถึง ใหและรับเลือดกันได
B 8 9 9 8 8 หมายถึง ใหและรับเลือดกันไมได
AB 8 8 9 8
O 9 9 9 9

พอลิยีน (Polygene)
พอลิยีน คือ กลุมของยีนหรือยีนหลายๆ คู ที่อยูบนโครโมโซมคูเดียวกัน หรือตางคูกัน (ก็ได) ทําหนาที่
รวมกันในการควบคุมลักษณะพันธุกรรมหนึ่งๆ ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเปนลักษณะที่ไมสามารถสังเกตเห็นความแตกตาง
ไดอยางชัดเจน เชน ลักษณะสีผิวของคน ความสูง สติปญญา โดยการแสดงออกของลักษณะเหลานี้จะขึ้นอยูกับ
อิทธิพลของสิ่งแวดลอมดวย
ตัวอยางพอลิยีน มีดังนี้
¾ การถายทอดลักษณะสีของเมล็ดขาวสาลี แบงออกเปน 2 กรณี ดังนี้
1. กรณีถูกควบคุมโดยยีน 2 ตําแหนง
A, B ควบคุมเมล็ดสีแดง (Red)
a, b ควบคุมเมล็ดสีขาว (White)
2. กรณีที่ถูกควบคุมโดยยีน 3 ตําแหนง
A, B, C ควบคุมเมล็ดสีแดง (Red)
a, b, c ควบคุมเมล็ดสีขาว (White)
¾ การถายทอดลักษณะสีตาของคน
ประเภทของลักษณะทางพันธุกรรม
การแปรผันของลักษณะทางพันธุกรรมแบงออกเปน 2 ประเภท
1. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันตอเนื่อง (Continuous Variation Trait) คือ ลักษณะทาง
พันธุกรรมที่มีปริมาณลดหลั่นกันและไมสามารถบอกความแตกตางออกเปนกลุมๆ ไดอยางชัดเจน ถูกควบคุมโดย
ยีนหลายคู และสิ่งแวดลอมมีอิทธิพลตอการแสดงออกของยีน เชน ความสูง สติปญญา สีผิว เปนตน
ลักษณะเหลานี้สามารถตรวจวัดเชิงปริมาณได จึงเรียกไดอีกชื่อหนึ่งวา ลักษณะเชิงปริมาณ (Quantitative
Trait)
2. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันไมตอเนื่อง (Discontinuous Variation Trait) คือ
ลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถบอกความแตกตางเปนกลุมๆ ไดอยางชัดเจน ถูกควบคุมโดยยีน 1 คู (1 ตําแหนง)
สิ่งแวดลอมไมมีอิทธิพลตอการแสดงออกของยีน เชน หมูเลือด ลักษณะหอลิ้นไดและหอลิ้นไมได ลักษณะผิวเผือก
และผิวปกติ เปนตน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (47)


การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยยีนดอยบนออโตโซม (Autosome) และโครโมโซมเพศ
(Sex Chromosome)
ตัวอยางลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยยีนดอยบนออโตโซม
1. อาการผิวเผือก (Albino)
2. โรคทาลัสซีเมีย (Thalassemia)
3. โรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล (Sickle Cell Anemia)
ตัวอยางลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยยีนดอยบนโครโมโซม X
1. โรคฮีโมฟเลีย (Hemophilia)
2. โรคตาบอดสี (Color Blindness)
3. โรคกลามเนื้อแขนขาลีบ
4. โรค G-6-PD
เพดิกรีหรือพันธุประวัติ (Pedigree)
เพดิกรี คือ แผนภาพแสดงความสัมพันธในการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของครอบครัวหรือตระกูลหนึ่งๆ
ตัวอยางเชน

ภาพเพดิกรีการถายทอดลักษณะที่ถูกควบคุมโดยยีนเดนบนออโตโซม
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน คือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับยีนหรือโครโมโซม ซึ่งจะกอใหเกิดลักษณะทางพันธุกรรมที่ดี
หรือไมดีก็ได
มิวเทชันที่เกิดขึ้นกับยีน (Gene Mutation หรือ DNA Mutation) คือ การเปลี่ยนแปลงของยีนใน DNA
อยางถาวร ซึ่งจะสงผลตอการทํางานของยีน
พันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering)
พันธุวิศวกรรม เปนเทคนิคการสราง DNA สายผสม หรือรีคอมบิแนนท ดีเอ็นเอ (Recombinant DNA)
เพื่อใหไดสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะตามตองการ ซึ่งเทคนิควิธีดังกลาวจะตองอาศัยเอนไซมพื้นฐานสําคัญ 2 ชนิด คือ
เอนไซมตัดจําเพาะ (Restriction Enzyme) และเอนไซมดีเอ็นเอไลเกส (DNA Ligase Enzyme)

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (48) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


จีเอ็มโอ (GMOs)
จีเอ็มโอ หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ผานกระบวนการตัดตอยีนแลว หรืออาจกลาวไดวาเปนสิ่งมีชีวิตที่มีดีเอ็นเอ
สายผสม (Recombinant DNA) อยูภายในเซลล ซึ่งยีนที่ถูกใสเขาไปใน DNA ของสิ่งมีชีวิตเจาบาน (Host) นั้น
จะทําใหสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นๆ มีลักษณะตามที่มนุษยตองการ
เซลลของแบคทีเรีย
เซลลของมนุษย โครโมโซม
พลาสมิด
พลาสมิดถูกนําออกมาจากเซลลแบคทีเรีย

พลาสมิดถูกตัดยีนสวนหนึ่งออกไป

การตัดชิ้นสวนยีนบนโครโมโซม
ยีนควบคุมการสังเคราะหอินซูลินถูกใสเขาไปในพลาสมิด
ยีนที่ควบคุมการสังเคราะหอินซูลิน

แบคทีเรียที่จะใชในการทดลอง
พลาสมิดที่มียีนควบคุมการสังเคราะห
อินซูลิน
ใ ไ ใ

การเพิ่มจํานวนของแบคทีเรีย
ที่มีพลาสมิดลูกผสม

สามารถ
สังเคราะหอินซูลินได
ภาพการสรางแบคทีเรีย GMO ที่สามารถผลิตฮอรโมนอินซูลินได
การโคลน (Cloning)
การโคลน หมายถึง การสรางสิ่งมีชีวิต (ตัวหรือตน) ใหม ซึ่งมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนสิ่งมีชีวิต
ตนแบบทุกประการ เชน การปกชํา การตอกิ่ง การทาบกิ่ง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เปนตน
วิธีการโคลนสัตว คือ การนํานิวเคลียสของเซลลรางกาย (Somatic Cell) ใสเขาไปในเซลลไขที่ถูกดูดเอา
นิวเคลียสออกแลว

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (49)


เซลลเตานม
ของแกะหนาขาว เซลลเตานมและเซลลไข
รวมตัวกันโดยใชไฟฟากระตุน

เซลลไข การแบงเซลลเพื่อ
ของแกะหนาดําเพศเมีย เพิ่มจํานวนตัวเอง

ลูกที่คลอดออกมา เอ็มบริโอถูกใส
เปนแกะหนาขาว เขาไปในมดลูก
ของแกะหนาดํา
ภาพการโคลนแกะ
ลายพิมพดีเอ็นเอ (DNA Fingerprint)
ลายพิมพดีเอ็นเอ คือ รูปแบบของแถบดีเอ็นเอ ซึ่งแสดงความแตกตางของขนาดโมเลกุลดีเอ็นเอใน
สิ่งมีชีวิตแตละตัวหรือแตละบุคคลได ดังนั้นลายพิมพดีเอ็นเอจึงเปนเอกลักษณของแตละบุคคล
ลายพิมพ
DNA ตัวอยาง

ภาพการเปรียบเทียบลายพิมพดีเอ็นเอของผูตองสงสัยกับลายพิมพดีเอ็นเอตัวอยาง

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (50) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biological Diversity)
ความหลากหลายทางชีวภาพ คือ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตชนิดตางๆ ในการดํารงชีวิตอยูในแหลง
ที่อยูอาศัยเดียวกันหรือแตกตางกัน ซึ่งสิ่งมีชีวิตตางชนิดกันจะมีความแตกตางกันทั้งในดานชนิดและจํานวน หรือแม
เปนสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันก็อาจมีความแตกตางหลากหลายไดเชนกัน

ความหลากหลายทางชีวภาพ

แบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้

ความหลากหลายทางพันธุกรรม ความหลากหลายทางชนิดพันธุ ความหลากหลายทางระบบนิเวศ


แผนผังประเภทของความหลากหลายทางชีวภาพ

ประเภทของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตแบงออกเปน 2 ประเภท ตามจํานวนเซลล ดังนี้
1. สิ่งมีชีวิตเซลลเดียว เชน อะมีบา ยูกลีนา พารามีเซียม และแบคทีเรีย เปนตน
2. สิ่งมีชีวิตหลายเซลล เชน คน สัตว และพืช เปนตน
สิ่งมีชีวิตแบงออกเปน 2 ประเภท ตามการมีเยื่อหุมนิวเคลียส ดังนี้
1. โพรคาริโอต (Prokaryotic Cells) เปนสิ่งมีชีวิตที่เซลลไมมเี ยื่อหุมนิวเคลียส เชน แบคทีเรีย และ
สาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน เปนตน
2. ยูคาริโอต (Eukaryotic Cells) เปนสิ่งมีชีวิตที่เซลลมเี ยื่อหุมนิวเคลียส ไดแก เห็ด รา สาหรายชนิดตางๆ
(ยกเวนสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน) โพรโทซัว พืช และสัตว
สิ่งมีชีวิตแบงออกเปน 5 อาณาจักร ตามลักษณะรวมภายนอกและภายในเซลล ดังนี้
1. อาณาจักรมอเนอรา (Monera Kingdom) โพรคาริโอต
2. อาณาจักรฟงไจ (Fungi Kingdom)
3. อาณาจักรโพรทิสตา (Protista Kingdom)
ยูคาริโอต
4. อาณาจักรพืช (Plantae Kingdom)
5. อาณาจักรสัตว (Animalia Kingdom)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (51)


โครโมโซม
พิลัส

ไรโบโซม

เม็ดอาหาร

แฟลเจลลัม

แคปซูล

เยื่อหุมเซลล
พลาสมิด ผนังเซลล

ไซโทพลาซึม
ภาพโครงสรางเซลลของแบคทีเรีย
การจัดหมวดหมูของสิ่งมีชีวิต
เราสามารถจัดหมวดหมูของสิ่งมีชีวิตออกเปน 7 หมวดหมูหลักๆ จากใหญไปเล็กไดดังนี้
Kingdom
Phylum
Class
Order
Family
Genus
Species

สปชีส (Species) คือ กลุมสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันสามารถผสมพันธุกันแลวไดลูกที่ไมเปนหมัน

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (52) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


อาณาจักรเห็ดราและยีสต อาณาจักรพืช อาณาจักรสัตว

อาณาจักรโพรทิสตา

อาณาจักรมอเนอรา

ภาพสิ่งมีชีวิตใน 5 อาณาจักร
ที่มา : หนังสือเรียนชีวิตกับสิ่งแวดลอม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (53)


รูไว...ไวรัส
¾ ไวรัส (Virus) ไมมีลักษณะเปนเซลล เนื่องจากไมมีเยื่อหุมเซลล ไซโทพลาซึม และไรโบโซม แตเปน
อนุภาคที่ประกอบดวยโปรตีนซึ่งหอหุมสารพันธุกรรมเอาไว ไวรัสมีขนาดเล็กมากซึ่งเราจะมองเห็นไดโดยใชกลอง
จุลทรรศนอิเล็กตรอนเทานั้น
¾ ไวรัสสามารถเพิ่มจํานวนตัวเองไดเมื่อเขาไปอยูในเซลลหรือรางกายของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ดังนั้นในสภาวะ
ดังกลาว จึงถือวาไวรัสเปนสิ่งมีชีวิต ในทางตรงกันขามถาไวรัสไมไดอยูภายในเซลลหรือรางกายของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น
ไวรัสก็ไมสามารถเพิ่มจํานวนตัวเองได ดังนั้นในสภาวะเชนนี้จะถือวา ไวรัสไมใชสิ่งมีชีวิต
¾ โรคตางๆ ที่เกิดจากไวรัส ไมสามารถรักษาดวยยาปฏิชีวนะ (Antibiotic) ได ตัวอยางเชน
• ไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 • โรคตับอักเสบ
• เอดส • โรคหัด
• ไขเลือดออก • โรคอีสุกอีใส
• ไขหวัดนก • โรคตาแดง
• โรคชิคุนกุนยา • โรคพิษสุนัขบา
• ไขสมองอักเสบ • งูสวัด

ภาพไวรัสชนิดตางๆ

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (54) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม
ไบโอม (Biomes)
ไบโอม หมายถึง ระบบนิเวศใดก็ตามที่มีองคประกอบของปจจัยทางกายภาพ และปจจัยทางชีวภาพ โดย
สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในไบโอมตางๆ จะมีการปรับตัวใหเขากับปจจัยทางกายภาพในแตละเขตภูมิศาสตร
ไบโอมแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ดังนี้
1. ไบโอมบนบก
2. ไบโอมในน้ํา
1. ไบโอมบนบก
¾ ใชเกณฑปริมาณน้ําฝนและอุณหภูมิเปนตัวกําหนด
¾ ตัวอยางไบโอมบนบก
1. ไบโอมปาดิบชื้น
• พบไดในบริเวณใกลเขตศูนยสูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต ทวีปแอฟริกา
ทวีปเอเชียตอนใต และบริเวณบางสวนของหมูเกาะแปซิฟก
• ลักษณะภูมิอากาศรอนและชื้น
• มีฝนตกตลอดป ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 200-400 เซนติเมตรตอป
• มีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะพืชและสัตว
• มีความอุดมสมบูรณสูงมาก
2. ไบโอมปาผลัดใบในเขตอบอุน
3. ไบโอมทุงหญาเขตอบอุน
4. ไบโอมสะวันนา
5. ไบโอมปาสน
6. ไบโอมทะเลทราย
7. ไบโอมทุนดรา
2. ไบโอมในน้ํา
¾ ประกอบดวยไบโอมแหลงน้ําจืด และไบโอมแหลงน้ําเค็ม
¾ ไบโอมแหลงน้ําเค็มแตกตางจากไบโอมแหลงน้ําจืด ตรงที่มีน้ําขึ้นและน้ําลงเปนปจจัยทางกายภาพ
ที่สําคัญ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (55)


นิยามศัพทเกี่ยวกับระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ (Ecosystem) คือ หนวยของความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอมทั้งที่เปนสิ่งมีชีวิต
และสิ่งไมมีชีวิต ของแหลงที่อยูอาศัยแหลงใดแหลงหนึ่ง
ประชากร (Population) คือ สิ่งมีชีวิตชนิด (Species) เดียวกันทั้งหมดที่อาศัยอยูในแหลงเดียวกัน
ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง
กลุมสิ่งมีชีวิต (Community) คือ สิ่งมีชีวิตตั้งแต 2 ชนิด (Species) ขึ้นไป ทั้งหมดมาอยูรวมกันในแหลงใด
แหลงหนึ่ง ณ ชวงเวลาใดๆ

A: 25% B: 25% C: 25% D: 25% A: 80% B: 5% C: 5% D: 10%


กลุมสิ่งมีชีวิตที่ 1 กลุมสิ่งมีชีวิตที่ 2
ภาพกลุมสิ่งมีชีวิต
แหลงที่อยูอาศัย (Habitat) คือ สถานที่ซึ่งสิ่งมีชีวิตอาศัยอยูชั่วคราวหรือถาวร เพื่อใชเปนแหลงอาหาร
หลบภัย ผสมพันธุ วางไข และเลี้ยงตัวออน (สิ่งมีชีวิตจะตองมีปฏิสัมพันธกับสถานที่นั้นๆ จึงจะถือวาสถานที่แหงนั้น
เปนแหลงที่อยูอาศัย)
ชีวบริเวณ (Biosphere) คือ ผลรวมของทุกบริเวณบนโลกที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู
องคประกอบของระบบนิเวศ
1. องคประกอบที่ไมมีชีวิต หรือปจจัยทางกายภาพ (Physical Factor) เชน แสงสวาง อุณหภูมิ
ความกดดัน น้ํา ดิน ลม เปนตน
2. องคประกอบที่มีชีวิต หรือปจจัยทางชีวภาพ (Biotic Factor) เปนปจจัยที่แสดงถึงความสัมพันธ
ระหวางสิ่งมีชีวิต ซึ่งมี 2 แบบ คือ
2.1 ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในเชิงอาหาร
2.2 ความสัมพันธในการอยูรวมกันของสิ่งมีชีวิต
2.1 ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในเชิงอาหาร
สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศมีความสัมพันธเชิงอาหารตางบทบาทกัน ดังนี้
1) ผูผลิต (Producers) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สามารถสรางอาหารเองไดจากกระบวนการ
สังเคราะหดวยแสง โดยสวนใหญใชแกสคารบอนไดออกไซด (CO2) และน้ํา (H2O) เปนวัตถุดิบ
สิ่งมีชีวิตที่ทําหนาที่เปนผูผลิต ไดแก
- ไซยาโนแบคทีเรีย (สาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน)
- แพลงกตอนพืช
- สาหรายชนิดตางๆ เชน ไดอะตอม (สาหรายสีน้ําตาลแกมเหลือง) สไปโรไจรา และคลอเรลลา
(สาหรายสีเขียว)
- พืช

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (56) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


2) ผูบริโภค (Consumers) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่กินผูผลิตหรือผูบริโภคดวยกันเองเปนอาหาร
แบงออกเปน 4 กลุมใหญๆ ไดแก
2.1 ผูบริโภคพืช (Herbivores)
2.2 ผูบริโภค (เนื้อ) สัตว (Carnivores)
2.3 ผูบริโภคทั้งพืชและสัตว (Omnivores)
2.4 ผูบริโภคซากอินทรีย (Detritivores)
3) ผูยอยสลาย (Decomposers) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ทําหนาที่หลั่งเอนไซมออกมายอยซาก
สิ่งมีชีวิตเพื่อใหตนเองไดรับพลังงาน ซึ่งการทําหนาที่ของผูยอยสลายนั้นถือไดวาเปนขั้นตอนสําคัญของวัฏจักรของ
สารบางชนิด เชน วัฏจักรคารบอน
สิ่งมีชีวิตที่ทําหนาที่เปนผูยอยสลาย เชน แบคทีเรีย เห็ด รา และจุลินทรียอื่นๆ เปนตน

ภาพความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในเชิงอาหาร
2.2 ความสัมพันธในการอยูรวมกันของสิ่งมีชีวิต แบงออกเปน 3 แบบใหญ ๆ คือ
1. ซิมไบโอซิส (Symbiosis) คือ การอยูรวมกันแบบไมมีฝายใดเสียประโยชน ไดแก
1.1 ภาวะเกื้อกูล (Commensalism) เปนรูปแบบความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่อยู
รวมกัน โดยมีฝายหนึ่งไดประโยชนแตอีกฝายไมเสียประโยชน เชน การอยูรวมกันของพืชอิงอาศัย (กลวยไม,
ชายผาสีดา เปนตน) กับพืชยืนตน เหาฉลามกับปลาฉลาม ดอกไมทะเล (ซีแอนีโมนี) กับปลาการตูน ฯลฯ

ภาพฉลามกับเหาฉลาม

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (57)


1.2 ภาวะพึ่งพา (Mutualism) เปนรูปแบบความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่อยูรวมกัน
โดยตางฝายตางไดประโยชน ซึ่งถาแยกออกจากกันจะเกิดการตาย เชน ไลเคนส แบคทีเรีย ไรโซเบียมกับรากพืช
ตระกูลถั่ว โพรโทซัวในลําไสปลวก แบคทีเรีย E.coli ในลําไสใหญของคน แบคทีเรียในกระเพาะรูเมนของสัตว
เคี้ยวเอื้อง แหนแดงกับแอนาบีนา ฯลฯ

ภาพปมรากถั่วที่มีไรโซเบียมอาศัยอยู ภาพแบคทีเรีย E.coli ในลําไสใหญของคน

แอนาบีนา

แหนแดง

ภาพแหนแดงกับแอนาบีนา
1.3 ภาวะไดประโยชนรวมกัน (Protocooperation) เปนรูปแบบความสัมพันธของ
สิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่อยูรวมกัน โดยตางฝายตางไดประโยชน แตก็สามารถแยกกันอยูไดโดยไมมีการตายเกิดขึ้น เชน
นกเอี้ยงกับควาย ดอกไมกับแมลง ปูเสฉวนกับซีแอนีโมนี (ดอกไมทะเล) มดดํากับเพลี้ย กุงพยาบาลกับปลาผีเสื้อ
จระเขลุมแมน้ําไนลกับนกจระเข ฯลฯ

ภาพปูเสฉวนกับซีแอนีโมนี ภาพจระเขลุมแมน้ําไนลกับนกจระเข

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (58) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


2. แอนทาโกนิซึม (Antagonism) คือ การอยูรวมกันแบบมีฝายเสียประโยชน ไดแก
2.1 ภาวะปรสิต (Parasitism) เปนรูปแบบความสัมพันธที่สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งอาศัยอยูกับ
สิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง โดยผูอาศัย (Parasit) ไดประโยชน แตผูถูกอาศัย (Host) เสียประโยชน เชน พยาธิใบไมใน
ตับของคน กาฝากกับตนไม พยาธิตัวตืดในอวัยวะทางเดินอาหารของสัตว เห็บกับสุนัข เหากับหัวคน ฯลฯ
2.2 ภาวะลาเหยื่อ (Predation) เปนรูปแบบความสัมพันธที่สิ่งมีชีวิตหนึ่งเปนผูลา (Predator)
จับสิ่งมีชีวิตที่เปนเหยื่อ (Prey) กินเปนอาหาร โดยผูลาไดประโยชน เหยื่อเสียประโยชน (ตาย) เชน กบกินแมลง
งูกินกบ นกกินงู แมงมุมกินแมลง ฯลฯ
2.3 ภาวะแขงขัน (Competition) เปนรูปแบบความสัมพันธที่สิ่งมีชีวิตทั้ง 2 ฝาย ตางแกงแยง
ชิงผลประโยชนบางอยางจากกันและกัน เชน อาหาร แสงสวาง แหลงที่อยูอาศัย แกสออกซิเจน สัตวเพศเมีย ฯลฯ
2.4 ภาวะการสรางสารยับยั้ง (Antibiosis) เปนรูปแบบความสัมพันธที่สิ่งมีชีวิตฝายหนึ่ง
สรางและหลั่งสารเคมีไปยับยั้งการเจริญของอีกฝายหนึ่ง เชน ราเพนิซิลเลียมหลั่งสารยับยั้งการเจริญเติบโตของ
แบคทีเรีย ฯลฯ
3. นิวทรัลลิซึม (Neutralism) เปนรูปแบบความสัมพันธที่ไมมีฝายใดไดหรือเสียประโยชน
เพราะเปนสิ่งมีชีวิตที่ตองการสิ่งที่จําเปนตอการดํารงชีวิตตางกัน เชน กระตายและไสเดือนดินอาศัยอยูในทุงหญา
เดียวกัน ฯลฯ
บทบาทของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
1. สิ่งมีชีวิตที่สรางอาหารเองได (Autotroph) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สามารถสังเคราะหดวยแสงไดซึ่งมี
บทบาทเปนผูผลิตอาหาร (Producer) ไดแก พืชทุกชนิด โพรทิสตบางชนิด (สาหราย) และแบคทีเรียบางชนิด
2. สิ่งมีชีวิตที่สรางอาหารเองไมได (Heterotroph) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ไมสามารถสังเคราะหดวยแสงได
จึงมีบทบาทเปนผูบริโภค (Consumer) หรือผูยอยสลาย (Decomposer)
ผูบริโภคแบงออกเปน 4 กลุม ดังนี้
1) ผูบริโภคพืช (Herbivores)
2) ผูบริโภคเนื้อสัตว (Carnivores)
3) ผูบริโภคทั้งพืชและเนื้อสัตว (Omnivores)
4) ผูบริโภคซากอินทรีย (Detritivores)

ภาพผูยอยสลายในระบบนิเวศ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (59)


การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
ผูผลิตสามารถนําพลังงานแสงมาเก็บไวในโมเลกุลของอาหารไดเพียง 0.5-3.5% โดยพลังงานแสงบางสวน
จะสะทอนออกสูบรรยากาศ 10-15%
ผูบริโภคไดรับพลังงานจากการกินผูผลิต โดยพลังงานสวนหนึ่งจะใชไปในการประกอบกิจกรรม บางสวน
กลายเปนกากอาหารขับถายทิ้งไป แตสวนใหญจะกลายเปนพลังงานความรอนจากการหายใจ พลังงานที่ผูบริโภค
นําไปสรางเนื้อเยื่อของตนเองจึงเหลือเพียง 10% ของพลังงานศักยทั้งหมดในสิ่งมีชีวิตที่เปนอาหารของตนเอง

ภาพกฎ 10% ของการถายทอดพลังงานในโซอาหาร


รูปแบบของการถายทอดพลังงาน
1. โซอาหาร (Food Chain) คือ ความสัมพันธเชิงอาหารซึ่งมีการถายทอดพลังงานเคมีโดยการกินกัน
เปนทอดๆ จากผูผลิตสูผูบริโภค และจากผูบริโภคสูผูบริโภคลําดับถัดไป

นกฮูก

พืชดอก

กบ
หนอนผีเสื้อ งู
ภาพโซอาหาร

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (60) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


โซอาหารอาจแบงเปน 4 แบบใหญ ๆ คือ
1.1 โซอาหารแบบลาเหยื่อ
1.2 โซอาหารแบบปรสิต
1.3 โซอาหารแบบกินเศษอินทรีย
1.4 โซอาหารแบบผสม
2. สายใยอาหาร (Food Web) คือ ความสัมพันธระหวางโซอาหารตั้งแต 2 โซอาหารขึ้นไป ทําใหมี
โอกาสถายทอดพลังงานไดหลายทิศทาง และสิ่งมีชีวิตบางชนิดอาจมีหลายบทบาท เชน เปนทั้งผูบริโภคอันดับ 1
และ 2 เปนตน

ภาพสายใยอาหาร
การถายทอดสารปนเปอนในโซอาหารและสายใยอาหาร

ภาพการถายทอดสาร DDT ในโซอาหาร

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (61)


พีระมิดปริมาณของสิ่งมีชีวิตหรือพีระมิดนิเวศ (Ecological Pyramid)
พีระมิดนิเวศเปนแผนภาพแสดงความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตในดานปริมาณของผูผลิตกับผูบริโภคลําดับตางๆ
ในแหลงที่อยูอาศัยเดียวกัน ชวงเวลาเดียวกัน แบงออกเปน 3 ประเภท ตามหนวยที่ใชวัดปริมาณของแตละลําดับ
ขั้นเชิงอาหาร ไดแก
1. พีระมิดจํานวน (Pyramid of Number) เปนพีระมิดที่บอกจํานวนสิ่งมีชีวิตในแตละลําดับขั้นเชิง
อาหารในหนวยตนหรือตัว ตอหนวยพื้นที่หรือปริมาตร

เหยี่ยว
นกฮูก

นกกินหนอน
หนูนา หนอน

หญา
ตนโอค
a. b.
ภาพพีระมิดจํานวน
2. พีระมิดมวลชีวภาพ (Pyramid of Biomass) เปนพีระมิดแสดงปริมาณสิ่งมีชีวิตในแตละลําดับ
ขั้นเชิงอาหาร ในหนวยน้ําหนักแหง หรือจํานวนแคลอรี ตอหนวยพื้นที่หรือปริมาตร

เหยี่ยว

นกกินหนอน

หนอน

ตนโอค

ภาพพีระมิดมวลชีวภาพ

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (62) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


3. พีระมิดพลังงาน (Pyramid of Energy) เปนพีระมิดแสดงปริมาณสิ่งมีชีวิตโดยบอกเปนอัตราการ
ถายทอดพลังงาน หรืออัตราผลิตของแตละลําดับขั้นเชิงอาหาร ในหนวยของพลังงาน ตอหนวยพื้นที่หรือปริมาตร
ตอหนวยเวลา
นกฮูก

งู

หนู

ตั๊กแตน

หญา

ภาพพีระมิดพลังงาน
ประชากร (Population)
ประชากร คือ กลุมสิ่งมีชีวิตสปชีสเดียวกัน ที่อาศัยอยูในแหลงเดียวกันในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง
สมบัติของประชากร มีดังนี้
1. ขนาดของประชากร หมายถึง จํานวนประชากรที่อาศัยอยูในพื้นที่ที่กําหนด ซึ่งการหาขนาดประชากร
มักใชการสุมตัวอยางเนื่องจากประชากรของสิ่งมีชีวิตสวนใหญมีมากเกินไป ทั้งนี้ขนาดประชากรจะขึ้นอยูกับอัตรา
การเกิด อัตราการตาย การอพยพเขา และการอพยพออก
2. ความหนาแนนประชากร คือ จํานวนสิ่งมีชีวิตสปชีสเดียวกันตอพื้นที่หรือปริมาตร
การหาความหนาแนนของประชากร ทําไดดังนี้
1. การนับจํานวนประชากรทั้งหมด
2. การสุมตัวอยาง วิธีการที่นิยมใชมี 2 วิธี คือ
2.1 การใชควอแดรท (Quadrat)

ภาพการศึกษาความหนาแนนประชากรโดยใชควอแดรท
2.2 การทําเครื่องหมายแลวปลอยไปเพื่อจับใหม (Marking Recapture Method) โดยมีสูตร
คํานวณหาประชากรดังนี้
จํานวนประชากรทั้งหมด = จํานวนสัตวตัวอยางที่จับมาติดเครื่องหมายทั้งหมดในครั้งแรก × จํานวนสัตวตัวอยางทั้งหมดที่จับไดในครั้งที่สอง
จํานวนสัตวตัวอยางที่มเี ครื่องหมายที่จับไดในครั้งที่สอง

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (63)


หอยทาก เครื่องหมายบนเปลือกหอยทาก

ภาพการทําเครื่องหมายแลวปลอยไปเพื่อจับใหม
3. การแพรกระจายของประชากร ซึ่งจะสัมพันธกับปจจัยจํากัดของประชากรนั้นๆ ไดแก ปจจัยทาง
กายภาพ (อุณหภูมิ แสง pH) และปจจัยทางชีวภาพ (ผูลา อาหาร)
4. การรอดชีวิตของประชากร
¾ สิ่งมีชีวิตแตละชนิดจะมีแบบแผนการรอดชีวิตของประชากร ซึ่งขึ้นอยูกับชวงอายุขัยของ
สิ่งมีชีวิตแตละชนิด
¾ กราฟการรอดชีวิตของประชากรมี 3 รูปแบบ ดังนี้
• รูปแบบที่ 1 สิ่งมีชีวิตมีอัตราการรอดชีวิตสูงสุดในวัยแรกเกิดและจะคงที่เมื่อโตขึ้น หลังจากนั้น
จะต่ําเมื่อสูงวัยขึ้น เชน คน ชาง มา หมา
• รูปแบบที่ 2 สิ่งมีชีวิตมีอัตราการรอดชีวิตที่เทากันในทุกวัย เชน ไฮดรา เตา นก
• รูปแบบที่ 3 สิ่งมีชีวิตมีอัตราการรอดชีวิตต่ําในระยะแรกของชวงชีวิต หลังจากนั้นเมื่ออายุ
มากขึ้นอัตราการรอดชีวิตจะสูง เชน หอย ปลา และสัตวไมมีกระดูกสันหลังสวนใหญ

ภาพกราฟการรอดชีวิตของประชากรสิ่งมีชีวิต

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (64) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


การหมุนเวียนของสารที่สําคัญในระบบนิเวศ
วัฏจักรของสารแบงออกเปน 2 แบบ คือ
1. วัฏจักรแบบแกส (Gaseous Cycle) เปนการหมุนเวียนของสารที่มีบรรยากาศเปนแหลงหมุนเวียน
ที่สําคัญ ไดแก น้ํา คารบอน ออกซิเจน ซัลเฟอร และไนโตรเจน
CO2 ในบรรยากาศ
การเผาไหม
การหายใจ
การสังเคราะห
ดวยแสง

ผูบริโภคอันดับ 2
ผูบริโภคอันดับ 1

เกิดการยอยสลายโดย
จุลินทรียในดินและอื่นๆ ตายกลายเปนซาก

ภาพวัฏจักรคารบอน (อยางงาย)
2. วัฏจักรแบบตะกอน (Sedimentary Cycle) เปนการหมุนเวียนของสารที่มีแผนดินเปนแหลง
หมุนเวียน ที่สําคัญ ไดแก แคลเซียม ฟอสฟอรัส
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของกลุมสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ (Ecological Succession)
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของกลุมสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ หมายถึง การแทนที่ของกลุมสิ่งมีชีวิตเปนยุคๆ จาก
ยุคแรกจนถึงยุคสังคมสิ่งมีชีวิตขั้นสุด (Climax Community) เนื่องจากสิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป
การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบงตามลักษณะการเกิดออกเปน 2 ประเภท ไดแก
1. การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ (Primary Succession) คือ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของกลุม
สิ่งมีชีวิตในสถานที่ที่ไมมีสิ่งมีชีวิตใดอาศัยอยูกอนเลย
2. การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ (Secondary Succession) คือ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของ
กลุมสิ่งมีชีวิตในบริเวณที่เคยมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยูกอน แตถูกทําลายดวยปจจัยบางอยาง เชน น้ําทวมนานๆ ไฟไหมปา
เปนตน
มนุษยกับสภาวะแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติ
สภาวะแวดลอมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาซึ่งเปนปกติ แตถาหากมีการเปลี่ยนแปลงไปมากจนเปน
อันตรายตอการดํารงชีวิตในดานใดดานหนึ่งแลวจนถึงเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิต จะเรียกวา มลพิษ (Pollution)
มลพิษทางน้ํา
วิธีการตรวจน้ําเสียทําได 2 วิธีหลัก ดังนี้
1. วัดปริมาณแบคทีเรียโคลิฟอรม

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (65)


2. วัดปริมาณแกสออกซิเจนในน้ํา ซึ่งทําได 3 วิธี ดังนี้
2.1 วัดคา DO (Dissolved Oxygen) คือ ปริมาณ O2 ที่ละลายในน้ํา ถา DO นอยกวา 3 mg/lit
แสดงวา น้ําเสีย
2.2 วัดคา BOD (Biochemical Oxygen Demand) คือ ปริมาณ O2 ในน้ําที่จุลินทรียตองการใชใน
การยอยสลายสารอินทรีย ถาคา BOD มากกวา 100 mg/lit แสดงวา น้ําเสีย
2.3 วัดคา COD (Chemical Oxygen Demand) คือ ปริมาณ O2 ที่ใชในการสลายสารอินทรียในน้ํา
โดยใชสารเคมี เชน โพแทสเซียมไดโครเมต เปนตน
มลพิษทางอากาศ
อากาศที่มีสวนประกอบเปลี่ยนแปลงไปจากปกติมีสาเหตุหลายประการ สาเหตุสําคัญ เชน การปลอยสาร
ตางๆ เขาสูชั้นบรรยากาศของโรงงานอุตสาหกรรม หรือบริเวณที่มีการกอสราง ซึ่งอาจทําใหมีสารเจือปนอยูใน
อากาศปริมาณมากจนกอใหเกิดผลเสียตอการดํารงชีวิตของคน สัตว พืช รวมถึงสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นในบริเวณนั้น
ปรากฏการณเรือนกระจก (Greenhouse Effect) คือ ปรากฏการณที่แกสเรือนกระจกในบรรยากาศมี
ปริมาณมากเกินไป ซึ่งแกสเหลานั้นจะดูดซับความรอนและคายความรอนคืนสูโลกจึงทําใหโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น
รังสีความรอนถูกดูดซับ รังสีความรอนที่ผาน
โดยชั้นบรรยากาศ ชั้นบรรยากาศออกไปได

รังสีความรอน
สะทอนกลับ

รังสีความรอนถูกดูดซับ
โดยแกสเรือนกระจก
การเผาไมทําลายปา
การเผาไหมของเครื่องยนต การเผาไหมของ
โรงงานอุตสาหกรรม

ภาพปจจัยที่มีผลทําใหโลกรอนขึ้น
แกสเรือนกระจกที่สําคัญ เชน แกสคารบอนไดออกไซด (CO2) แกสมีเทน (CH4) ออกไซดของไนโตรเจน
และไอน้ํา (H2O) แกสเหลานี้มีความสามารถในการเก็บกักความรอนไดดี
การทําลายโอโซนในบรรยากาศ
การลดลงของโอโซน (O3) ในบรรยากาศจะสงผลใหรังสีอัลตราไวโอเลต (UV) จากดวงอาทิตยสองผาน
มายังโลกไดมากขึ้น และสาร CFC เปนสาเหตุสําคัญในการทําลายโอโซน ซึ่งสารดังกลาวจะอยูในบรรจุภัณฑแบบ
ฉีดพน (สเปรยตางๆ) และสารทําความเย็นในผลิตภัณฑหลายชนิด
พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)
คือ สนธิสัญญาเกี่ยวกับภูมิอากาศของโลก ซึ่งกําหนดเปนมาตรการทางกฎหมายที่ใชในการดําเนินการเพื่อ
นําไปสูเปาหมายการลดปริมาณการปลอยแกสเรือนกระจกใหได โดยประเทศไทยไดลงนามรับรองพิธีสารเกียวโต
เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2542 และไดใหสัตยาบันเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2545

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (66) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


แบบฝกหัด
ตอนที่ 1 : โครงสรางของเซลล
1. ขอความใดสรุปทฤษฎีเซลลไดดีที่สุด
1) เซลลประกอบดวยนิวเคลียส เยื่อหุมเซลล และไซโทพลาซึม
2) เซลลมีรูปรางและขนาดตางกัน
3) เซลลสามารถมองเห็นไดดวยกลองจุลทรรศน
4) เซลลเปนสวนประกอบของสิ่งมีชีวิต
2. ลักษณะรวมกันของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดคือขอใด
1) มีดีเอ็นเอ 2) มีสวนประกอบหลายอยาง มีอวัยวะ
3) สืบพันธุโดยวิธีไมโทซิส 4) ตองการออกซิเจนเพื่อการอยูรอด
3. องคประกอบใดพบไดในเซลลทุกชนิด
1) ไซโทพลาซึม นิวเคลียส และโครโมโซม 2) นิวเคลียส เยื่อหุมเซลล และไซโทพลาซึม
3) ไรโบโซม ไลโซโซม และไมโทคอนเดรีย 4) ไรโบโซม ไซโทพลาซึม และโครโมโซม
4. โครงสรางในขอใดที่ทั้งหมดไมมเี ยื่อหุม
1) ไมโทคอนเดรีย ไรโบโซม ไลโซโซม
2) นิวเคลียส เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม กอลจิคอมเพล็กซ
3) ไซโทสเกเลตอน นิวคลีโอลัส ไรโบโซม
4) แวคิวโอล ไลโซโซม คลอโรพลาสต
5. ออรแกเนลลใดพบไดในทั้งเซลลโพรคาริโอตและเซลลยูคาริโอต
1) ไรโบโซม 2) ไลโซโซม 3) นิวเคลียส 4) ไมโทคอนเดรีย
6. ออรแกเนลลใดที่บรรจุเอนไซมสําหรับยอยสลายเซลลที่เสื่อมสภาพแลว
1) นิวเคลียส 2) ไรโบโซม 3) ไลโซโซม 4) กอลจิคอมเพล็กซ
7. ออรแกเนลลใดทําหนาที่เปนแหลงเก็บรวบรวมและบรรจุสาร
1) ไรโบโซม 2) ไลโซโซม 3) กอลจิคอมเพล็กซ 4) ไมโทคอนเดรีย
8. ในระหวางกระบวนการเมตามอรโฟซิสของลูกออดเพื่อเจริญไปเปนกบ ออรแกเนลลใดที่ทําหนาที่ยอยสลาย
เซลลบริเวณหางของลูกออดใหหายไป
1) ไรโบโซม 2) ไลโซโซม 3) กอลจิคอมเพล็กซ 4) รางแหเอนโดพลาซึม
9. หนาที่ของรางแหเอนโดพลาซึมชนิดผิวเรียบคือขอใด
1) สรางไรโบโซม 2) สังเคราะหลิพิด 3) เก็บกรดนิวคลีอิก 4) ยอยสลายคารโบไฮเดรต
10. กระบวนการสังเคราะหโปรตีนเกิดขึ้นที่ออรแกเนลลใด
1) ไรโบโซม 2) นิวเคลียส 3) กอลจิคอมเพล็กซ 4) ไมโทคอนเดรีย
11. แอนติบอดีถูกสรางขึ้นที่โครงสรางใดของเซลลเม็ดเลือดขาว
1) นิวเคลียส 2) นิวคลีโอลัส 3) ไรโบโซม 4) กอลจิคอมเพล็กซ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (67)


12. เมื่อเรารับประทานอาหาร อาหารจะอยูในกระเพาะเปนเวลาหลายชั่วโมงขึ้นอยูกับชนิดของอาหาร และเมื่อ
สิ่งมีชีวิตเซลลเดียว เชน พารามีเซียมกินอาหาร อาหารจะอยูในโครงสรางใด
1) คลอโรพลาสต 2) ไมโทคอนเดรีย 3) นิวเคลียส 4) แวคิวโอล
13. ออรแกเนลลใดไมมดี ีเอ็นเออยูภายใน
1) ไมโทคอนเดรีย 2) คลอโรพลาสต 3) นิวเคลียส 4) รางแหเอนโดพลาซึม
14. ความสัมพันธระหวางออรแกเนลลและสารที่ถูกสรางขึ้นจากออรแกเนลลดังกลาวในขอใดถูกตอง
1) นิวคลีโอลัส - DNA 2) ไมโทคอนเดรีย - ATP
3) กอลจิคอมเพล็กซ - ลิพิด 4) รางแหเอนโดพลาซึมชนิดผิวเรียบ - โปรตีน
15. ออรแกเนลลใดไมเกี่ยวของกับการสรางโปรตีนของเซลล
1) ไรโบโซม 2) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดผิวขรุขระ
3) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดผิวเรียบ 4) กอลจิคอมเพล็กซ
16. หนาที่ของเอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดผิวขรุขระคือขอใด
1) กําจัดสารพิษและลําเลียงยาไปยังเปาหมาย
2) ปรับเปลี่ยนโครงสรางและกระตุนการทํางานของฮอรโมน
3) สังเคราะหและลําเลียงเอนไซม
4) ปลอยเอนไซมออกมายอยอาหารที่อยูในฟูดแวคิวโอล
17. ขอใดเรียงลําดับของโครงสรางที่สังเคราะหและหลั่งโปรตีนเพื่อลําเลียงออกสูนอกเซลลไดถูกตอง
1) ไมโทคอนเดรีย → กอลจิคอมเพล็กซ → เยื่อหุมเซลล
2) เยื่อหุมเซลล → กอลจิคอมเพล็กซ → ไมโทคอนเดรีย
3) กอลจิคอมเพล็กซ → รางแหเอนโดพลาซึมชนิดผิวขรุขระ → เยื่อหุมเซลล
4) รางแหเอนโดพลาซึมชนิดผิวขรุขระ → กอลจิคอมเพล็กซ → เยื่อหุมเซลล
18. เมื่อเปรียบเทียบเซลลพืชและเซลลสัตว ขอใดกลาวถูกตองที่สุด
1) พบไรโบโซมในเซลลสัตว แตไมพบในเซลลพืช
2) พบคลอโรพลาสตในเซลลพืชทุกเซลล แตไมพบในเซลลสัตว
3) พบเยื่อหุมเซลลที่เซลลพืช แตไมพบที่เซลลสัตว
4) พบคลอโรพลาสตในเซลลพืชบางเซลล แตไมพบในเซลลสัตว
19. ขอใดเปนองคประกอบของทั้งเซลลโพรคาริโอตและเซลลยูคาริโอต
1) ผนังเซลล 2) คลอโรพลาสต 3) กอลจิคอมเพล็กซ 4) ไมโทคอนเดรีย

ตอนที่ 2 : การเคลื่อนที่ของสารผานเซลล
1. เยื่อหุมเซลลมีสารใดเปนองคประกอบพื้นฐาน
1) น้ําตาล และฟอสเฟต 2) ฟอสโฟลิพิด และโปรตีน
3) คารโบไฮเดรต และเซลลูโลส 4) กรดนิวคลีอิก และฟอสโฟลิพิด
2. สารใดตอไปนี้สามารถเคลื่อนที่เขา-ออกเซลลไดงายที่สุด
1) น้ํา 2) กลูโคส 3) โซเดียมไอออน 4) โพแทสเซียมไอออน
3. สารใดตอไปนีไ้ มสามารถเคลื่อนที่ผานเยื่อหุมเซลลได
1) แปง 2) กลีเซอรอล 3) กรดอะมิโน 4) กลูโคส

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (68) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


4. จากภาพดานลางแสดงกระบวนการของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว

กระบวนการดังภาพเรียกวาอยางไร
1) ฟาโกไซโทซิส 2) พิโนไซโทซิส 3) เอกโซไซโทซิส 4) แอกทีฟทรานสปอรต
5. ปจจัยเริ่มแรกที่จะกอใหเกิดการแพรของสารคืออะไร
1) โมเลกุลที่เปนตัวนําพาสาร 2) ความแตกตางของความเขมขน
3) พลังงานที่จะใชในการเคลื่อนที่ของสาร 4) จํานวนไมโทคอนเดรียที่จะสรางพลังงานในการเคลื่อนที่
6. การลําเลียงสารเขา-ออกเซลลดวยวิธีการใด ตองอาศัยโปรตีนที่เยื่อหุมเซลลเปนตัวพา
1) เอนโดไซโทซิสและเอกโซไซโทซิส 2) แอกทีฟทรานสปอรตและฟาโกไซโทซิส
3) ออสโมซิสและการแพร 4) การแพรแบบฟาซิลิเทตและแอกทีฟทรานสปอรต
7. ขอใดเปนตัวอยางของแอกทีฟทรานสปอรต
1) คารบอนไดออกไซดเคลื่อนที่จากเลือดเขาสูเนื้อเยื่อ
2) โพแทสเซียมไอออนเคลื่อนที่กลับเขาสูไซโทพลาซึมของเซลลประสาท
3) แกสออกซิเจนเคลื่อนที่ออกจากถุงลมในปอดเขาสูหลอดเลือดฝอยที่อยูรอบๆ
4) น้ําเคลื่อนที่เขาสูเซลลเมื่อเซลลอยูในสารละลายไฮโพโทนิก
8. ขอใดเปนตัวอยางของการเคลื่อนที่แบบใชพลังงาน (Active Transport)
1) ไอออนเคลื่อนที่ในน้ําเลือด
2) กลูโคสเคลื่อนที่เขาสูเซลลของวิลไล
3) กลูโคสเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเขมขนต่ํา
4) น้ําเคลื่อนที่ภายในลําตนเนื่องจากแรงดึงจากการคายน้ํา
9. โมเลกุลของสารใดตอไปนี้แพรผานเยื่อหุมเซลลไดงายที่สุด
1) เอทิลแอลกอฮอล 2) กลูโคส 3) กรดแอสคอรบิก 4) กรดอะมิโน
10. ขอใดไมใชกระบวนการนําสารเขาสูเซลล
1) เอกโซไซโทซิส 2) เอนโดไซโทซิส 3) พิโนไซโทซิส 4) ฟาโกไซโทซิส
11. กระบวนการที่ใชในการลําเลียงกลูโคสเขาสูเซลลสัตวคือขอใด
1) แอกทีฟทรานสปอรต 2) การแพรแบบฟาซิลิเทต
3) เอนโดไซโทซิส 4) เอกโซไซโทซิส
12. นักวิทยาศาสตรสังเกตพบวา สารไซยาไนดมีผลยับยั้งการหายใจแบบใชออกซิเจนของเซลลสัตวกระบวนการใด
ตอไปนี้จะไดรับผลกระทบ
1) แอกทีฟทรานสปอรตของสารผานเยื่อหุมเซลล 2) การแพรของสารผานเยื่อหุมเซลล
3) พาสซีฟทรานสปอรตของสารผานเยื่อหุมเซลล 4) ขนาดของไรโบโซมในไซโทพลาซึม
13. กระบวนการลําเลียงสารของเซลลในขอใดแตกตางจากขออื่นมากที่สุด
1) การทําลายแบคทีเรียของนิวโทรฟล
2) การกินโพรทิสตขนาดเล็กที่อาศัยอยูในน้ําของอะมีบา
3) การดูดสารกลับเขาสูระบบหมุนเวียนเลือดของเซลลบุภายในทอหนวยไต
4) การหลั่งแอนติบอดีของเม็ดเลือดขาวเขาสูพลาสมา

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (69)


14. เหตุการณในขอใดอาศัยกระบวนการเอกโซไซโทซิส
1) การทําลาย Bacillus ของเม็ดเลือดขาว
2) การนําแบคทีเรียในน้ําเขาสูเซลลอะมีบา
3) การขับเกลือแรสวนเกินออกทางเหงือกของปลาทะเล
4) การหลั่งเอนไซมยอยซากอินทรียของเห็ดรา
15. กระบวนการใดตอไปนี้จะไดรับผลกระทบโดยตรง ถาไมโทคอนเดรียของเซลลไมสามารถทํางานได
1) การดูดซึมแอลกอฮอลของเซลล
2) การเคลื่อนที่ของน้ําเขาและออกเซลล
3) การเคลื่อนที่ของแกสออกซิเจนผานเยื่อหุมเซลล
4) การเคลื่อนที่ของกลูโคสจากความเขมขนนอยไปยังความเขมขนมาก
16. สารละลายโซเดียมคลอไรดเขมขน 0.9% เปนสารละลายไอโซโทนิกตอเซลลเม็ดเลือดแดง เมื่อนําเซลล
เม็ดเลือดแดงไปแชในสารละลายโซเดียมคลอไรดเขมขน 0.3% จะเกิดผลอยางไร
1) น้ําเคลื่อนที่เขาสูเซลลเม็ดเลือดแดง ทําใหเม็ดเลือดแดงแตก
2) น้ําเคลื่อนที่ออกจากเซลลเม็ดเลือดแดง ทําใหเม็ดเลือดแดงแตก
3) น้ําเคลื่อนที่เขาสูเซลลเม็ดเลือดแดง ทําใหเม็ดเลือดแดงเหี่ยว
4) น้ําเคลื่อนที่ออกจากเซลลเม็ดเลือดแดง ทําใหเม็ดเลือดแดงเหี่ยว
17. เซลลไขกบถูกนําไปแชในสารละลายไอโซโทนิกจะเกิดผลอยางไร
1) เซลลแตก 2) เซลลเหี่ยว 3) เซลลยังคงสภาพเดิม 4) เซลลมีปริมาตรเพิ่มขึ้น
18. เมื่อนําเซลลสัตวไปไวในสารละลายไฮโพโทนิกจะเกิดผลอยางไร
1) เซลลเตง 2) เซลลเหี่ยว 3) เซลลจะหลั่งเอนไซม 4) เซลลยังคงสภาพเดิม
19. สภาวะใดที่จะทําใหเซลลเม็ดเลือดแดงแตก
1) pH = 7.5 2) อุณหภูมิ 37°C
3) ถูกนําไปไวในน้ํากลั่น 4) ถูกนําไปไวในสารละลายเกลือแกง 11%
20. ของเหลวที่มีแรงดันออสโมติกเทาใดตอไปนี้จัดเปนไฮโพโทนิกตอเซลลที่มีแรงดันออสโมติก 5,200 มิลลิเมตรปรอท
1) 5,400 มิลลิเมตรปรอท 2) 5,200 มิลลิเมตรปรอท
3) 5,000 มิลลิเมตรปรอท 4) ตัวเลือก 1) และ 3)
21. ถาความเขมขนในไซโทพลาซึมของเซลลเทากับ 0.05% ถานําเซลลนี้ไปไวในสารละลายชนิดหนึ่งปรากฏวา
เซลลบวมเตงแลวแตก แสดงวาสารละลายนี้มีความเขมขนเทาใด
1) 0.005% 2) 0.05% 3) 0.5% 4) 5%
22. นักเรียนคนหนึ่งทําการทดลองโดยนําไขกบไปไวในสารละลายเกลือแกง เมื่อเวลาผานไปปรากฏวาเซลลมี
มวลเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับสารละลายดังกลาว
1) เปนสารละลายไฮเพอรโทนิกตอไขกบ 2) เปนสารละลายไฮโพโทนิกตอไขกบ
3) เปนสารละลายไอโซโทนิกตอไขกบ 4) เปนสารละลายอิ่มตัว

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (70) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


23. น้ําจะออสโมซิสเขาไปภายในเซลล ถาเซลลนั้นถูกนําออกจากสารละลาย ..........n........... ไปไวใน
สารละลาย ..........o........... ตามลําดับ
n และ o คืออะไร ตามลําดับ
1) สารละลายไอโซโทนิกและสารละลายไฮโพโทนิก
2) สารละลายไอโซโทนิกและสารละลายไฮเพอรโทนิก
3) สารละลายไฮโพโทนิกและสารละลายไอโซโทนิก
4) สารละลายไฮโพโทนิกและสารละลายไฮเพอรโทนิก
24. ถาความเขมขนของสารละลาย A สูงกวาความเขมขนของสารละลาย B ขอใดกลาวถูกตอง
1) สารละลาย A เปนไอโซโทนิกตอสารละลาย B 2) สารละลาย A เปนออสโมติกตอสารละลาย B
3) สารละลาย A เปนไฮโพโทนิกตอสารละลาย B 4) สารละลาย A เปนไฮเพอรโทนิกตอสารละลาย B
25. เหตุการณใดจะเกิดขึ้นเมื่อนําเม็ดเลือดแดงของมนุษยไปแขวนลอยในสารละลายไฮเพอรโทนิก
1) ไมมีอะไรเกิดขึ้น เพราะเม็ดเลือดแดงปกติก็แขวนลอยอยูในสารละลายไฮเพอรโทนิกอยูแลว
2) น้ําจะแพรออกจากเซลลเม็ดเลือดแดง ทําใหเซลลเหี่ยว
3) มีแรงดันออสโมติกสูง น้ําจะแพรเขาสูเซลล ทําใหเซลลแตก
4) น้ําจะแพรออกจากเซลล แตผนังเซลลมีความแข็งแรงจึงชวยใหเซลลคงรูปรางไวได
26. ถานักเรียนลอกผนังเซลลใบวานกาบหอยออก แลวนําเซลลไปแชในสารละลายไฮโพโทนิกจะเกิดอะไรขึ้นกับเซลล
1) เซลลตาย เพราะเซลลพืชไมสามารถมีชีวิตอยูไดถาไมมีผนังเซลล
2) เซลลขยายขนาดและแตกในที่สุด
3) เซลลเหี่ยวเพราะแวคิวโอลในเซลลมีขนาดเล็กลง
4) นิวเคลียสของเซลลจะแตก แตเซลลยังคงสภาพเดิม
27. ถาเซลลอยูในสารละลายไอโซโทนิก ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตอง
1) น้ําออสโมซิสเขาสูเซลลจึงทําใหเซลลเตงและแตกในที่สุด
2) เซลลจะคงสภาพเดิม เพราะไมมีการเคลื่อนที่ของน้ํา
3) น้ําออสโมซิสออกจากเซลลจึงทําใหเซลลเหี่ยว
4) เกิดการออสโมซิสของน้ําเขาและออกเซลลเทาๆ กันจึงทําใหเซลลยังคงสภาพเดิม
28. จงศึกษาขอมูลจากตารางที่กําหนด แลวตอบคําถาม
ตารางความเขมขนของไอออนธาตุตางๆ ในสารละลายแวคิวโอลของสาหรายไฟที่อยูในสระน้ําจืด
และความเขมขนของไอออนในน้ําของสระ
ความเขมขนของไอออน (mg/1,000 cm3)
สารละลาย
โพแทสเซียม โซเดียม แมกนีเซียม แคลเซียม คลอไรด
ในน้ําจืด 0.05 1.2 3.0 1.3 1.0
ในแวคิวโอล 59 86 22 19 107
ขอใดกลาวถูกตอง
1) ไอออนของธาตุตางๆ จะเคลื่อนที่เขาสูเซลลของสาหรายไฟดวยวิธีการแพร
2) ไอออนของธาตุตางๆ จะเคลื่อนที่เขาสูเซลลของสาหรายไฟดวยวิธีการออสโมซิส
3) ไอออนของธาตุตางๆ จะเคลื่อนที่เขาสูเซลลของสาหรายไฟดวยวิธีแอกทีฟทรานสปอรต
4) ไอออนของธาตุตางๆ จะเคลื่อนที่เขาสูเซลลของสาหรายไฟดวยวิธีการเอนโดไซโทซิส

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (71)


29. เด็กชายสมปองหั่นมันฝรั่งออกเปน 4 ชิ้น นําแตละชิ้นไปชั่งมวลและใสลงในน้ําเชื่อมที่มีความเขมขนแตกตางกัน
หลังจากนั้น 4 ชั่วโมง นํามันฝรั่งแตละชิ้นออกจากสารละลาย ทําใหแหงแลวชั่งมวลอีกครั้ง มวลของมันฝรั่ง
แตละชิ้นกอนและหลังแชในน้ําเชื่อมเปนดังตารางดานลาง
น้ําเชื่อม มวลกอนแช(g) มวลหลังแช(g)
A 24 22
B 25 34
C 28 23
D 32 35
น้ําเชื่อมชนิดใดเจือจางมากที่สุด
1) A 2) B 3) C 4) D

ตอนที่ 3 : การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
3.1 การรักษาดุลยภาพของพืช
1. พืชที่เติบโตอยูในทะเลทรายมักจะมีใบขนาดเล็กและปากใบนอย การปรับตัวดังกลาวเพื่อวัตถุประสงคใด
1) เพื่อลดการคายน้ํา 2) เพื่อปองกันไมใหใบพืชถูกเผาไหมดวยแสงอาทิตย
3) เพื่อเพิ่มอัตราการสังเคราะหดวยแสง 4) เพื่อปองกันไมใหสัตวมากัดกินใบ
2. การปรับตัวในขอใดที่ชวยในการควบคุมอุณหภูมิของพืช
1) มีใบขนาดใหญเพื่อชวยเพิ่มความเย็น 2) เพิ่มการผลิตเมล็ด
3) การลําเลียงกลูโคสไปยังราก 4) การระเหยของน้ําออกจากปากใบ
3. การคายน้ําของพืชจะเกิดขึ้นสูงสุดเมื่ออยูในสภาวะใด
1) ที่รมและลมสงบ 2) ที่รมและมีลมพัด
3) กลางแดดและลมสงบ 4) กลางแดดและมีลมพัด
3.2 การรักษาดุลยภาพของน้ําและสารตางๆ ภายในรางกาย
1. แอนติไดยูเรติกฮอรโมน (ADH) ถูกหลั่งจากอวัยวะใด
1) ไต 2) ตับออน
3) ตอมใตสมองสวนหนา 4) ตอมใตสมองสวนหลัง
2. ขอใดเปนบทบาทของวาโซเพรสซิน
1) เพิ่มการดูดกลับน้ําที่ไต 2) เพิ่มการดูดกลับน้ําตาลที่ไต
3) ลดการดูดกลับน้ําที่ไต 4) ลดการดูดกลับน้ําตาลที่ไต
3. เมื่อปริมาณ ADH ในเลือดเพิ่มขึ้นจะเกิดผลอยางไร
1) มีการดูดกลับน้ํานอย และปริมาณปสสาวะเพิ่มขึ้น
2) มีการดูดกลับน้ํานอย และปริมาณปสสาวะลดลง
3) มีการดูดกลับน้ํามาก และปริมาณปสสาวะลดลง
4) มีการดูดกลับน้ํามาก และปริมาณปสสาวะเพิ่มขึ้น

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (72) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


4. ถาระดับ ADH ในเลือดสูงขึ้นจะเกิดเหตุการณดังขอใด
1) เพิ่มการขับน้ําออกจากรางกาย 2) ลดแรงดันในการกรองสารที่หนวยไต
3) ลดการดูดกลับกลูโคส 4) เพิ่มความเขมเขนของปสสาวะ
5. ขอใดเปนผลจากการหลั่ง ADH ของรางกาย
1) ความดันเลือดเพิ่มขึ้น 2) เพิ่มการดูดกลับโซเดียมไอออนของหนวยไต
3) ลดปริมาณยูเรียในปสสาวะ 4) ลดการดูดกลับโซเดียมไบคารบอเนตของทอหนวยไต
6. ขอใดตอไปนี้เปนสาเหตุใหไตผลิตปสสาวะที่เขมขน
1) ปริมาตรเลือดเพิ่มขึ้น 2) การดื่มแอลกอฮอล
3) ความดันเลือดลดลง 4) การหลั่งฮอรโมน ADH ลดลง
7. ในภาวะปกติรางกายของเราจะกําจัดน้ําสวนเกินออกจากรางกายในรูปของสารใดบาง เรียงลําดับจากมากสุด
ไปนอยสุด
1) ปสสาวะ > เหงื่อ > อุจจาระ > ลมหายใจออก 2) ปสสาวะ > เหงื่อ > ลมหายใจออก > อุจจาระ
3) ปสสาวะ > อุจจาระ > เหงื่อ > ลมหายใจออก 4) ปสสาวะ > อุจจาระ > ลมหายใจออก > เหงื่อ
8. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับไตของคน
1) ทําหนาที่สะสมสารอาหาร เชน ไกลโคเจน
2) ผลิตปสสาวะที่เจือจางเมื่อทอรวมดูดกลับน้ําไดนอยลง
3) ตอบสนองตอฮอรโมน ADH โดยการเพิ่มการสรางปสสาวะ
4) กําจัดยูเรียออกจากรางกายโดยการขับเขาสูหวงเฮนเล
9. ขอใดไมใชหนาที่ของไตในสัตวเลี้ยงลูกดวยนม
1) รักษาสมดุลน้ํา 2) ควบคุมโซเดียมไอออนในเลือด
3) สรางยูเรีย 4) กําจัดน้ําสวนเกิน
10. เหตุการณใดจะไมเกิดขึ้น ถารางกายขาดน้ํา
1) กระหายน้ํามากขึ้น
2) เลือดเขมขนมากขึ้น
3) ความดันเลือดเพิ่มขึ้น
4) ไฮโพทาลามัสกระตุนการทํางานของตอมใตสมองสวนทาย
3.3 การรักษากรด-เบสในรางกาย
1. หลังการออกกําลังกายอยางหนัก เลือดในรางกายจะมีสภาพอยางไร
1) เลือดมีสภาพเปนเบส เพราะมี OH- ในเลือดต่ํา 2) เลือดมีสภาพเปนเบส เพราะมี OH- ในเลือดสูง
3) เลือดมีสภาพเปนกรด เพราะมี H+ ในเลือดต่ํา 4) เลือดมีสภาพเปนกรด เพราะมี H+ ในเลือดสูง
2. ขอใดแสดงสภาวะของเลือดในคนกอนและหลังการออกกําลังกายใหมๆ ไมถูกตอง
คาที่วัด กอนออกกําลังกาย หลังออกกําลังกาย
1) คา pH ของเลือด 7.4 7.8
2) ความเขมขนของออกซิเจน (หนวย/ซม3) 30 20
3) ความเขมขนของคารบอนไดออกไซด (หนวย/ซม3) 60 65
4) ความเขมขนของกรดแลกติก (หนวย/ซม3) 15 35

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (73)


3.4 การรักษาดุลยภาพของน้ําและแรธาตุในสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
1. นักชีววิทยาศึกษาความเขมขนของปสสาวะของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่อาศัยอยูบนบก ปลาน้ําจืด และปลาน้ําเค็ม
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
สัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่อาศัยอยูบนบก ปลาน้ําจืด ปลาน้ําเค็ม
1) ผลิตปสสาวะเจือจาง ผลิตปสสาวะเขมขน ผลิตปสสาวะเจือจาง
2) ผลิตปสสาวะเขมขน ผลิตปสสาวะเจือจาง ผลิตปสสาวะเจือจาง
3) ผลิตปสสาวะเจือจาง ผลิตปสสาวะเขมขน ผลิตปสสาวะเขมขน
4) ผลิตปสสาวะเขมขน ผลิตปสสาวะเจือจาง ผลิตปสสาวะเขมขน
2. ปลาน้ําจืดที่นําไปเลี้ยงในน้ําทะเลจะตายอยางรวดเร็ว ทั้งนี้เปนเพราะเหตุใด
1) น้ําทะเลมีปริมาณแกสออกซิเจนนอยกวาน้ําจืด
2) คารบอนไดออกไซดในรางกายถูกกําจัดออกไปไดยาก
3) ไอออนเคลื่อนที่ออกจากรางกายโดยการออสโมซิส
4) น้ําในรางกายออสโมซิสสูภายนอก
3. ปลาทะเลมีกลไกการควบคุมสมดุลของน้ําและเกลือแรดวยวิธีตอไปนี้ ยกเวนขอใด
1) มีตอมขับเกลือออกจากรางกาย
2) มีเซลลที่เหงือกกําจัดเกลือสวนเกินออก
3) กินน้ําทางปากเพื่อชดเชยน้ําที่สูญเสียไป
4) ขับปสสาวะที่เจือจางเพื่อรักษาเกลือแรในรางกายใหคงที่
4. การเปรียบเทียบลักษณะของปลาน้ําจืดและปลาทะเลในขอใดไมถูกตอง
ปลาน้ําจืด ปลาทะเล
ผิวหนังและเกล็ดปองกันไมใหแรธาตุจากน้ําทะเล
1) ผิวหนังและเกล็ดปองกันไมใหน้ําซึมเขาสูรางกาย
ซึมเขาสูรางกาย
แรงดันออสโมติกของของเหลวในรางกายต่ํากวา แรงดันออสโมติกของของเหลวในรางกายสูงกวา
2)
น้ําในแหลงอาศัย น้ําทะเล
3) ขับปสสาวะบอย ปริมาณมาก และเจือจาง ขับปสสาวะนอย และมีความเขมขนสูง
4) เหงือกคอยดูดซึมแรธาตุกลับเขาสูรางกาย เหงือกขับแรธาตุสวนเกินออกจากรางกาย
5. อวัยวะในขอใดทําหนาทีแ่ ตกตางจากอวัยวะในขออื่นอยางชัดเจน
1) เหงือกของปลาทู 2) ตอมทอนซิลของคน
3) ตอมนาซัลของนกทะเล 4) ตอมขับเกลือที่ผิวใบของตนแสม

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (74) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


3.5 การรักษาดุลยภาพอุณหภูมิรางกาย
1. สิ่งมีชวี ิตกลุมใดตอไปนี้ที่ใชพลังงานจากเมแทบอลิซึมในการรักษาอุณหภูมิรางกายใหคงที่
ก. ปลา ข. สัตวปก ค. สัตวเลื้อยคลาน
ง. สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก จ. สัตวเลี้ยงลูกดวยนม
1) ก., ข., ค., ง., และ จ. 2) ข., ค., และ จ.
3) ข. และ จ. 4) จ. เทานั้น
2. ในการทดลองไฮโพทาลามัสของหนูถูกทําใหมีอุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมิรางกายปกติ 2 องศาเซลเซียส
เหตุการณใดจะเกิดขึ้น
1) เพิ่มการไหลเวียนเลือดไปที่ผิวหนัง 2) เพิ่มอัตราการเกิดเมแทบอลิซึม
3) เพิ่มการหลั่งเหงื่อ 4) ลดกิจกรรมการทํางานของกลามเนื้อแขนขา
3. ขอใดเปนการตอบสนองตออุณหภูมิของสิ่งแวดลอมที่ต่ําลงของสัตวเลือดอุน
1) ลดปริมาณออกซิเจนที่จะเขาไปในรางกาย 2) ลดการทํางานของกลามเนื้อ
3) ลดปริมาณเลือดที่จะไหลไปยังบริเวณผิวหนัง 4) ลดอัตราเมแทบอลิซึมภายในเซลล
4. อุณหภูมิรางกายของงูจะแปรเปลี่ยนตลอดวัน ขอใดกลาวถูกตอง
1) งูเปนสัตวเลือดเย็น
2) ควบคุมสมดุลของน้ําในรางกายคอนขางยาก
3) การปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอมคอนขางยากลําบาก
4) ไมมีการปรับตัวทางดานโครงสรางเพื่อตอบสนองตออุณหภูมิของสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนไป
5. ขอความใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการควบคุมอุณหภูมิรางกายของสัตว
1) สัตวน้ําทั้งหมดเปนสัตวเลือดอุน
2) อุณหภูมิรางกายของสัตวเลือดเย็นจะเทากับอุณหภูมิของสิ่งแวดลอมเสมอ
3) การหายใจระดับเซลลของสัตวเลือดเย็นไมมีพลังงานความรอนเกิดขึ้น
4) อัตราการหายใจระดับเซลลของสัตวเลือดอุนจะขึ้นอยูกับอุณหภูมิของสิ่งแวดลอม
6. แผนภาพดานลางแสดงการรักษาสมดุลของอุณหภูมิในรางกายของสัตวเลือดอุน
อุณหภูมิรางกาย
การตอบสนอง X เพิ่มขึ้น
หนวยรับรูการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิทํางาน
สมองตรวจสอบกระแสประสาทที่สงเขามา

สมองตรวจสอบกระแสประสาทที่สงเขามา
หนวยรับรูการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิทํางาน
การตอบสนอง Y
อุณหภูมิรางกาย
ลดลง
การตอบสนอง X คืออะไร
1) เพิ่มอัตราการผลิตและขับเหงื่อ 2) ลดอัตราการผลิตและขับเหงื่อ
3) เพิ่มอัตราการผลิตและขับปสสาวะ 4) ลดอัตราการผลิตและขับปสสาวะ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (75)


7. นักวิทยาศาสตรนําสัตว 4 ชนิด มาศึกษาการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิรางกายในหองทดลองโดยจําลอง
สภาพที่อยูอาศัยเสมือนจริงสําหรับสัตวแตละชนิด จากนั้นวัดอุณหภูมิรางกายของสัตวแตละชนิดเมื่อสิ่งแวดลอม
มีอุณหภูมิเปลี่ยนไป ผลการศึกษาเปนดังกราฟ
อุณหภูมิรางกาย (°C)

อุณหภูมิของสิ่งแวดลอม (°C)
ขอความใดสอดคลองกับขอมูลจากกราฟมากที่สุด
1) สัตว I มีรักษาอุณหภูมิของรางกายใหคงที่ โดยการสั่นของกลามเนื้อเมื่อสิ่งแวดลอมมีอุณหภูมิต่ํากวา 37°C
2) สัตว II รักษาอุณหภูมิของรางกายใหคงที่ได เมื่ออุณหภูมิของสิ่งแวดลอมอยูในชวง 0–30°C
3) สัตว I และ II นาจะเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม
4) สัตว IV นาจะเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่อาศัยอยูในทะเล
8. ถารางกายของนักเรียนมีอุณหภูมิต่ําลง รางกายจะมีกลไกที่หลากหลายเพื่อรักษาสมดุลของอุณหภูมิใหคงที่
ขอใดไมใชวิธีการทางสรีระที่จะตอบสนองเมื่ออุณหภูมิของรางกายลดต่ําลง
1) เกิดการหดตัวของกลามเนื้อทําใหขนลุกชันขึ้น
2) เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึมไขมัน
3) ลดอัตราการผลิตเหงื่อ
4) หลอดเลือดที่ผิวหนังขยายขนาดเสนผานศูนยกลางใหมากขึ้น
9. เมื่ออุณหภูมิรางกายสูงกวา 37°C จะไมเกิดเหตุการณใดขึ้น
1) ตอมเหงื่อทํางานมากขึ้น 2) อัตราเมแทบอลิซึมมากขึ้น
3) หลอดเลือดที่ผิวหนังขยายตัวมากขึ้น 4) ปริมาณเลือดที่จะไปยังผิวหนังมากขึ้น
10. ขอใดเปนตัวอยางของการรักษาสมดุลของรางกาย (Homeostasis)
1) การหายใจเขาเพื่อรับออกซิเจน 2) การกําจัดกากอาหารที่ยอยไมไดออกทางทวารหนัก
3) การควบคุมน้ําตาลในเลือด 4) การขับปสสาวะออกจากกระเพาะปสสาวะจนหมด

ตอนที่ 4 : ภูมิคุมกันของรางกาย
1. ภูมิคุมกันระยะยาวเปนผลมาจากสิ่งใดตอไปนี้
1) การฉีดวัคซีนปองกันโรคโปลิโอ 2) การอักเสบจากการถูกผึ้งตอย
3) การฉีดอิมมูโนโกลบูลิน 4) ฟตัสไดรับภูมิคุมกันจากแม
2. ขอใดเปนลักษณะของระบบน้ําเหลือง
1) หลอดน้ําเหลืองไมมีลิ้นกั้น 2) มีเม็ดเลือดแดงเปนสวนประกอบ
3) มีฟาโกไซตเปนสวนประกอบ 4) น้าํ เหลืองสามารถไหลไดสองทิศทาง

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (76) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


3. ขอใดเกี่ยวของกับภูมิคุมกันดานแรกเมื่อมีแบคทีเรียเขามาในรางกาย
1) Lysozyme 2) Interferons 3) Antibody 4) Killer T cells
4. โรคคอตีบมีสาเหตุมาจากรางกายไดรับเชื้อแบคทีเรีย Corynebacteria Diphtheriae เด็กทารกอายุ 6 เดือน
จะมีภูมิคุมกันรับมาถาเปนดังขอใด
1) ไดรับเลือดจากพอ
2) ไดรับการฉีดแกมมาโกลบูลินจากแม
3) ไดดื่มน้ํานมแม
4) ไดรับการฉีดแบคทีเรียที่กอใหเกิดโรคคอตีบที่ตายแลว
5. วัคซีนกอใหเกิดภูมิคุมกันไดอยางไร
1) เปนสาเหตุใหรางกายสรางแอนติบอดี 2) ปองกันเชื้อโรคทุกชนิดที่จะเขาสูรางกาย
3) กินและทําลายแบคทีเรียที่เขาสูรางกาย 4) สรางแอนติเจนเพื่อทําลายแบคทีเรีย
6. แอนติเจน (Anigen) คือ
1) สารเคมีที่ใชในการตอตานเชื้อโรค
2) สิ่งมีชีวิตที่เปนสาเหตุใหเกิดโรคตางๆ
3) สิ่งแปลกปลอมที่เปนสาเหตุใหรางกายเกิดการสรางแอนติบอดี
4) สารเคมีที่หลั่งออกมาในระหวางกระบวนการสรางภูมิคุมกันของรางกาย
7. หนาที่ของฟาโกไซตในรางกายมนุษยคือ
1) สรางแอนติเจน 2) กินจุลินทรียที่เขาสูรางกาย
3) ทําลายแอนติบอดี 4) สรางแอนติบอดี
8. สิ่งใดตอไปนี้ชวยปองกันไมใหเชื้อโรคเขาสูรางกาย
1) ซิเลีย 2) แอนติเจน 3) ลิมโฟไซตชนิดบี 4) การอักเสบ
9. แอนติบอดีสังเคราะหโดยเซลลใด
1) ลิมโฟไซตชนิดบี 2) ฟาโกไซต 3) เซลลทีผูชวย 4) นิวโทรฟล
10. เพราะเหตุใดการใชแบคทีเรียที่ตายแลวหรือแบคทีเรียที่ออนฤทธิ์ลงในการสรางภูมิคุมกัน จึงชวยปองกัน
ไมใหรางกายติดเชื้อได
1) แอนติบอดีจะถูกสรางขึ้นมาเพื่อตอตานแบคทีเรียเหลานั้น
2) รางกายจะมีไขซึ่งจะไปฆาแบคทีเรียที่มีประโยชนตอรางกาย
3) วงจรชีวิตของแบคทีเรียถูกยับยั้ง
4) ไวรัสที่จะตอสูกับแบคทีเรียถูกกระตุนใหทํางาน
11. หนาที่สําคัญของระบบน้ําเหลืองในสัตวเลี้ยงลูกดวยนมคือขอใด
1) นําของเหลวที่ออกไปจากหลอดเลือดฝอยกลับเขาสูระบบหมุนเวียนเลือด
2) ควบคุมความเขมขนของสารละลายในรางกายใหมีแรงดันออสโมติกที่เหมาะสม
3) ตอตานเชื้อโรคโดยลําเลียงน้ําเหลืองจากบริเวณที่เชื้อโรคเขาสูรางกายไปกรองที่ไต
4) ลําเลียงน้ําเหลืองไปยังบริเวณที่ไดรับอันตรายของรางกาย เชน บริเวณที่ถูกมีดบาด
12. หนาที่ของตอมน้ําเหลืองคือขอใด
1) กรองซากของเซลล 2) ผลิตเกล็ดเลือด
3) ทําลายเซลลเม็ดเลือดแดงที่หมดอายุแลว 4) ผลิตน้ําเหลือง

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (77)


13. ขอใดเรียงลําดับเหตุการณที่เกิดขึ้นในระหวางเกิดการอักเสบไดถูกตอง
ก. เกิดหนองบริเวณที่ไดรับบาดเจ็บ
ข. เซลลที่ไดรับอันตรายหลั่งฮิสตามีน
ค. ความสามารถในการยอมใหสารผานเขา-ออกของหลอดเลือดฝอยเพิ่มขึ้น
ง. เกิดอาการบวมแดงบริเวณที่ไดรับบาดเจ็บ
1) ก. → ข. → ง. → ค. 2) ข. → ก. → ค. → ง.
3) ข. → ค. → ง. → ก. 4) ค. → ง. → ข. → ก.
14. เหตุการณใดตอไปนี้จะเกิดขึ้นเมื่อมีแอนติเจนเขาสูรางกาย
1) เกิดการผลิตเกล็ดเลือดเพิ่มมากขึ้น
2) เม็ดเลือดแดงฟาโกไซโทซิสแอนติเจน
3) แอนติบอดีจะปรับเปลี่ยนรูปรางใหเหมาะสมกับแอนติเจน
4) มีการสรางแอนติบอดีที่มีความจําเพาะตอแอนติเจน
15. เมื่อมีแบคทีเรียในเลือดจะเปนสาเหตุใหรางกายผลิตสารใด
1) เมือก 2) แอนติเจน 3) แอนติบอดี 4) กรดไฮโดรคลอริก
16. เอดส (AIDS) มีสาเหตุมาจากไวรัส HIV บุคคลที่เปนเอดสมีโอกาสเสี่ยงที่จะเปนโรคแทรกซอนอื่นๆ เชน
โรคติดเชื้อตางๆ และโรคมะเร็งซึ่งเกิดจากระบบภูมิคุมกันบกพรอง ทั้งนี้เปนเพราะไวรัส HIV ไปทําลายเซลล
ชนิดใดของรางกาย
1) เซลลบี (B-cell) 2) แมโครฟาจ (Macrophage)
3) เซลลที (T-cell) 4) เซลลพลาสมา (Plasma cell)
17. ภูมิคุมกันแบบไมจําเพาะของมนุษยคือขอใด
1) การสรางแอนติบอดีโดยพลาสมาเซลล 2) การตอบสนองตอแบคทีเรียแตละชนิดแตกตางกัน
3) การทําลายเซลลแบคทีเรียโดยเอนไซมในน้ําลาย 4) ตัวเลือก 1) และ 3)
18. ขอใดไมใชภูมิคุมกันแบบไมจําเพาะเจาะจง (Non-Specific Immune)
1) กรดเกลือในกระเพาะอาหาร 2) ไลโซไซมในน้ําตา
3) นิวโทรฟลฟาโกไซไทซิสแบคทีเรีย 4) พลาสมาเซลลสรางแอนติบอดีตอตานแบคทีเรีย
19. อวัยวะใดไมใชอวัยวะน้ําเหลือง
ก. มาม ข. ตอมไทมัส
ค. ตอมไทรอยด ง. ตอมหมวกไต
1) ก. เทานั้น 2) ง. เทานั้น 3) ก. และ ข. 4) ค. และ ง.
20. ขอใดจะกอใหเกิดภูมิคุมกันแบบรับมา
1) การฉีดวัคซีนปองกันวัณโรค
2) การฉีดเซรุมแกพิษงู
3) การติดไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 จากเพื่อน
4) การฉีดทอกซอยดปองกันโรคบาดทะยัก
21. โรคหรืออาการใดตอไปนี้สามารถรักษาไดดวยยาปฏิชีวนะ (Antibiotic)
1) อีสุกอีใส 2) เอดส
3) ไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 4) อาการเจ็บคอ

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (78) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


22. ขอใดเกี่ยวของกับภูมิคุมกันกอเอง
ก. ทารกแรกเกิดดูดน้ํานมจากอกแมเปนเวลานาน 6 เดือน
ข. การฉีดเซรุมปองกันพิษงูใหแกชาวนาที่ถูกงูเหากัด
ค. การฉีดทอกซอยดปองกันโรคคอตีบใหแกทารกอายุ 2 เดือน
ง. การติดเชื้อไวรัสจากการเลนกับเพื่อนที่เปนไขหวัด
1) ก. และ ข. 2) ก. และ ง. 3) ข. และ ค. 4) ค. และ ง.
23. ขอใดไมถูกตอง
1) มามเปนอวัยวะน้ําเหลืองที่มีขนาดเล็กกวาตอมไทมัส
2) ตอมน้ําเหลืองอยูภายในหลอดน้ําเหลือง และกระจายตัวอยูทั่วรางกาย
3) หลอดน้ําเหลืองมีลิ้นกั้นอยูภายในเปนระยะๆ
4) ตอมไทมัสเปนทั้งอวัยวะน้ําเหลือง และตอมไรทอ
24. อวัยวะน้ําเหลืองใดกรองเชื้อโรคออกจากเลือด
1) มาม 2) ทอนซิล 3) ตอมน้ําเหลือง 4) ตอมไทมัส
25. ขอใดไมใชลักษณะเฉพาะของไวรัส HIV
1) กลายพันธุไดงาย
2) ทําลายเซลลเม็ดเลือดทุกชนิด
3) เพิ่มจํานวนโดยใชวัตถุดิบจากเซลลที่ถูกทําลาย
4) ถายทอดไดทางเพศสัมพันธ หรือรับเลือดจากผูติดเชื้อ
26. ไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 ซึ่งเริ่มเกิดขึ้นในประเทศเม็กซิโกเมื่อเดือนเมษายน 2552 เกิดขึ้นจาก
สิ่งมีชีวิตชนิดใด
1) แบคทีเรีย H1N1 2) ไวรัส H1N1 3) แบคทีเรีย H5N1 4) ไวรัส H5N1
27. ขอความใดกลาวไมถูกตอง
1) วัคซีนปองกันโรคคอตีบ บาดทะยัก สกัดจากสารพิษทอกซอยด
2) วัคซีนปองกันโรคไอกรน ไทฟอยด สกัดมาจากจุลินทรียที่ตายแลว
3) การฉีดวัคซีนทําใหรางกายมีภูมิคุมกันทันทีและเกิดภูมิคุมกันอยูนาน
4) วัคซีนปองกันโรคโปลิโอ หัดเยอรมัน และคางทูม สกัดมาจากจุลินทรียที่มีชีวิตอยู
28. อวัยวะใดทําหนาที่ในระบบน้ําเหลือง
4

1 3

2
1) 1 2) 2 3) 3 4) 4
29. วัคซีนปองกันโรคใดที่ยังไมตองฉีดใหแกเด็กที่อยูในระยะแรกเกิดถึง 6 เดือน
1) หัด 2) ไอกรน 3) วัณโรค 4) ตับอักเสบชนิดบี

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (79)


30. สิ่งใดตอไปนี้ไมจัดเปนแอนติเจน
1) เซลลมะเร็งที่ตับ 2) ฝุนละอองที่เขาสูรางกาย
3) แบคทีเรียที่อาศัยอยูในลําไสคน 4) เกสรดอกไมที่เขาสูทางเดินหายใจ
31. ขอใดไมใชปราการดานแรกของระบบภูมิคุมกันตนเองจากเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมที่เขาสูรางกายของมนุษย
1) น้ําตามีไลโซไซม 2) ผิวหนังมีเคอราติน
3) กระเพาะอาหารมีกรดเกลือ 4) เม็ดเลือดขาวสรางแอนติบอดี
ตอนที่ 5 : การแบงเซลล
1. วัฏจักรของเซลล (Cell Cycle) ประกอบดวย
1) ไมโทซิส และไมโอซิส 2) G1, S, และ G2
3) โพรเฟส, เมทาเฟส, แอนาเฟส และเทโลเฟส 4) อินเตอรเฟส และไมโทซิส
2. ขอใดเปนผลที่เกิดจากการแบงเซลลแบบไมโอซิส
1) เซลลลูก 2 เซลล ที่มีขอมูลทางพันธุกรรมเหมือนกันทุกประการ
2) เซลลลูก 2 เซลล ที่มีขอมูลทางพันธุกรรมแตกตางกัน
3) เซลลลูก 4 เซลล ที่มีขอมูลทางพันธุกรรมเหมือนกันทุกประการ
4) เซลลลูก 4 เซลล ที่มีขอมูลทางพันธุกรรมแตกตางกัน
3. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับเซลลที่เกิดขึ้นจากการแบงเซลลแบบไมโอซิส เมื่อเทียบกับเซลลเริ่มตน
1) มีปริมาณไซโทพลาซึมเปนสองเทา และมีปริมาณ DNA เปนครึ่งหนึ่ง
2) มีจํานวนโครโมโซมเปนครึ่งหนึ่ง และมีปริมาณ DNA เปนครึ่งหนึ่ง
3) มีจํานวนโครโมโซมเทากัน และมีปริมาณ DNA เปนครึ่งหนึ่ง
4) มีจํานวนโครโมโซมเทากัน และมีปริมาณ DNA เทากัน
4. จํานวนโครโมโซมถูกลดลงระหวางการแบงเซลลแบบไมโอซิส ทั้งนี้เปนเพราะการแบงเซลลดังกลาวประกอบดวย
1) การแบงเซลลสองครั้ง โดยมีการจําลองตัวเองของโครโมโซมสองครั้ง
2) การแบงเซลลครั้งเดียว โดยมีการจําลองตัวเองของโครโมโซมครั้งเดียว
3) การแบงเซลลสองครั้ง โดยมีการจําลองตัวเองของโครโมโซมเพียงครั้งเดียว
4) การแบงเซลลสี่ครั้ง โดยมีการจําลองตัวเองของโครโมโซมเพียงครั้งเดียว
5. สเปรมของ Phodopus Sungorus มีโครโมโซม 14 แทง แลวไซโกตของสิ่งมีชีวิตนี้จะมีโครโมโซมเทาใด
1) 7 แทง 2) 14 แทง 3) 28 แทง 4) 42 แทง
6. เซลลของใบพืช Qqercus Alba มีโครโมโซม 24 แทง แลวเซลลรากและเซลลไขมีโครโมโซมเทาใด
ตามลําดับ
1) 12 แทง และ 12 แทง 2) 24 แทง และ 24 แทง
3) 48 แทง และ 12 แทง 4) 24 แทง และ 12 แทง
7. หนูเพศผูมีโครโมโซมเปนดิพลอยด 40 แทง ขอใดกลาวถูกตอง
1) โครโมโซมแตละแทงมีโครโมโซมคูเหมือน
2) เซลลผิวหนังมีโครโมโซม 20 แทง
3) ระหวางการแบงเซลลแบบไมโทซิสจํานวนโครโมโซมจะลดลง
4) ระยะสุดทายของไมโทซิสแตละเซลลจะประกอบดวย 10 โครโมโซม

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (80) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


8. ขอใดกลาวถึงไมโทซิสไดถูกตอง
1) เซลลดิพลอยด 1 เซลลจะเกิดเปนเซลลดิพลอยด 2 เซลล
2) การจําลองดีเอ็นเอเกิดขึ้นในระหวางเกิดไมโทซิส
3) ไรโบโซมสรางเสนใยสปนเดิล
4) ระยะสุดทายของไมโทซิสใชเวลานานกวาอินเตอรเฟส
9. ในการแบงเซลลแบบไมโอซิสมีการแบงไซโทพลาซึม (Cytokinesis) เกิดขึ้นกี่ครั้ง
1) 1 2) 2 3) 3 4) 4
10. ไมโอซิสแตกตางจากไมโทซิส เพราะไมโอซิสมีลักษณะดังขอใด
1) เซลลสืบพันธุที่เกิดขึ้นมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกัน
2) เซลลลูกที่เกิดขึ้นมีขนาดใหญกวาเซลลแม
3) เกิด 2 เซลลลูก ทุกๆ เซลลแม 1 เซลล
4) เซลลใหมที่เกิดขึ้นมีโครโมโซมเพียงครึ่งเดียวของเซลลแม
11. ความแตกตางระหวางไมโทซิสและไมโอซิสในขอใดถูกตอง
1) เซลลจะเกิดไซโทไคนีซิสในไมโทซิสเทานั้น
2) DNA จะจําลองตัวเองกอนการแบงเซลลแบบไมโอซิสเทานั้น
3) เสนใยสปนเดิลประกอบดวยไมโครทูบูลถูกสรางขึ้นในไมโทซิสเทานั้น
4) การแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมเกิดขึ้นในไมโอซิสเทานั้น
12. เซลลในขอใดที่มีขอมูลทางพันธุกรรมแตกตางกัน
1) เซลลกลามเนื้อ 2 เซลล ที่แตละเซลลมาจากฝาแฝดรวมไข 2 คน
2) เซลลประสาท 2 เซลลของบุคคลเดียวกัน
3) เซลลไข 2 เซลลของบุคคลเดียวกัน
4) เซลลตับและเซลลกลามเนื้อของบุคคลเดียวกัน
13. ภาพแสดงเซลลที่กําลังแบงตัวแบบไมโทซิส B คือสิ่งใด
1) โครโมโซม
2) เซนทริโอล
3) ไมโทคอนเดรีย
4) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
14. เซลลสืบพันธุ P และ Q ผสมกันกลายเปนเซลล R จากนั้นเซลล R เจริญเติบโตจนสามารถสรางเซลล-
สืบพันธุได 4 ชนิด คือ S, T, U, และ V ดังแผนภาพดานลาง

ขอใดกลาวเกี่ยวกับจํานวนโครโมโซมในแตละเซลลไดถูกตองที่สุด
1) จํานวนโครโมโซมในเซลล P และ Q ไมเทากัน
2) จํานวนโครโมโซมในเซลล P และ S เทากัน
3) จํานวนโครโมโซมในเซลล S เปน 1/4 ของจํานวนโครโมโซมในเซลล R
4) จํานวนโครโมโซมในเซลล T เปนครึ่งหนึ่งของจํานวนโครโมโซมในเซลล Q

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (81)


15. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับเซนทริโอล
1) จําลองตัวเองไดกอนการแบงเซลล 2) ปรากฏขณะมีการแบงเซลลเทานั้น
3) ประกอบดวยดีเอ็นเอและโปรตีน 4) พบไดในเซลลพืช
16. ภาพ A และ B แสดงขั้นตอนสุดทายของการแบงเซลล 2 เซลล

เยื่อหุมนิวเคลียส
เริ่มปรากฏ
1
นิวคลีโอลัส
เริ่มปรากฏ

กระบวนการใดที่เกิดขึ้นบริเวณ 1 และ 2 ของเซลลทั้งสอง


1) การสรางแผนกั้นเซลลบริเวณ 1, และการคอดเขาหากันของเยื่อหุมเซลลบริเวณ 2
2) การคอดเขาหากันของเยื่อหุมเซลลบริเวณ 1, การสรางแผนกั้นเซลลบริเวณ 2
3) การจําลองตัวเองของโครโมโซมในบริเวณ 1, เสนใยสปนเดิลยึดเกาะที่เยื่อหุมนิวเคลียสและเยื่อหุมเซลล
ในบริเวณ 2
4) เสนใยสปนเดิลยึดเกาะที่เยื่อหุมนิวเคลียสและเยื่อหุมเซลลในบริเวณ 1, การจําลองตัวเองของโครโมโซม
ในบริเวณ 2
17. ภาพดานลางแสดงเซลลที่มีโครโมโซม 4 แทง

ถาเซลลดังภาพเกิดการแบงเซลลแบบไมโอซิส เซลลลูกที่เกิดขึ้นในไมโอซิส I จะมีลักษณะอยางไร

1) 2)

3) 4)

18. ระหวางการแบงเซลลแบบไมโอซิส ถามี 40 โครมาทิดในระยะโพรเฟส I จะมีโครมาทิดจํานวนเทาใดในแตละ


เซลลลูกเมื่อสิ้นสุดระยะเทโลเฟส II
1) 5 2) 10 3) 20 4) 40
19. เซลลประกอบดวย 40 โครมาทิด ในระยะเริ่มตนของไมโทซิส เมื่อสิ้นสุดจะไดเซลลลูกที่มีโครโมโซมกี่แทง
1) 5 2) 10 3) 20 4) 40

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (82) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


20. เพราะเหตุใดไมโอซิส (Meiosis) จึงเกิดในกระบวนการสรางเซลลสืบพันธุ
1) เพื่อเพิ่มจํานวนเซลลสืบพันธุเปน 2 เทา
2) เพื่อปองกันการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศที่จะเกิดขึ้นในวงจรชีวิต
3) เพื่อปองกันการแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
4) เพื่อสรางเซลลสืบพันธุที่มีจํานวนโครโมโซมเปนแฮพลอยด
21. เหตุการณใดไมไดเกิดขึ้นในระยะอินเตอรเฟส (Interphase)
1) การสังเคราะหโปรตีน 2) โครโมโซมจําลองตัวเอง
3) โครโมโซมปรากฏใหเห็นชัดขึ้น 4) การลําเลียงโปรตีนเขาไปภายในนิวเคลียส
22. ขอความใดกลาวเกี่ยวกับไมโทซิสไดถูกตอง
1) เกิดขึ้นในรางกายของสัตวเทานั้น 2) เกิดขึ้นในรางกายของพืชเทานั้น
3) กอใหเกิดการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต 4) กอใหเกิดการสรางเซลลสืบพันธุของสิ่งมีชีวิต
23. การจําลองดีเอ็นเอ (DNA Replication) เปนกระบวนการสําคัญที่จะเกิดขึ้นกอนกระบวนการใดของเซลล
1) การสังเคราะหโปรตีน 2) การสังเคราะห mRNA
3) การแบงเซลล 4) การสรางเอนไซม
24. ขอใดตอไปนี้ไมใชความแตกตางระหวางการแบงเซลลแบบไมโทซิส และไมโอซิส
1) ชนิดของเซลลที่สรางขึ้น 2) จํานวนโครโมโซมในเซลลลูก
3) จํานวนครั้งของการแบงนิวเคลียส 4) โครโมโซมจําลองตัวเปน 2 เทาในระยะอินเตอรเฟส
25. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการแบงเซลลที่ปลายรากหอม
1) มีการคอดเขาหากันของผนังเซลลเพื่อใหเกิดเซลลใหม
2) มีการแบงนิวเคลียส 2 ครั้ง ตอเนื่องกัน
3) มีการจําลองตัวโครโมโซมขึ้นมาอีก 1 ชุด
4) มีระยะที่โฮโมโลกัสโครโมโซมแยกออกจากกันไปยังขั้วเซลล
26. ขอใดเกิดขึ้นในไมโอซิส แตไมไดเกิดในไมโทซิส
1) การเกิดครอสซิ่งโอเวอร
2) การสรางเสนใยสปนเดิล
3) การหายไปของเยื่อหุมนิวเคลียสและนิวคลีโอลัส
4) เกิด 4 เซลลลูก

ตอนที่ 6 : การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
1. DNA ประกอบดวยโมเลกุลของสารใด
1) ไรโบส 2) นิวคลีโอไทด 3) กรดนิวคลีอิก 4) กรดอะมิโน
2. ขอใดไมใชลักษณะของ DNA
1) มีโครงสรางเปนสายเกลียวคู
2) อะดีนีนสรางพันธะยึดจับกับไทมีน
3) น้ําตาล และหมูฟอสเฟตเปรียบเสมือนราวบันได
4) พันธะระหวางสายเกลียว 2 สาย คือ พันธะไอออนิก

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (83)


3. ขอใดตอไปนี้อธิบายโมเลกุลของดีเอ็นเอ
1) เปนสายเกลียวของฟอสเฟตและไนโตรจีนัสเบส
2) เปนสายเกลียวคูของน้ําตาลกลูโคสและฟอสเฟต
3) เปนโครงสรางที่มีลักษณะคลายบันไดประกอบดวยไขมันและน้ําตาล
4) เปนสายคูของพอลินิวคลีโอไทดที่ยึดเหนี่ยวกันดวยพันธะไฮโดรเจน
4. กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (DNA) มีโครงสรางเปนสายเกลียวคู ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตองเกี่ยวกับสายเกลียวคู
ทั้งหมดของ DNA
1) จํานวนอะดีนีนเทากับกวานีน
2) จํานวนกวานีนเทากับไซโทซีน
3) จํานวนไทมีนเทากับไซโทซีน
4) จํานวนอะดีนีน, กวานีน, ไทมีน และไซโทซีน มีเทาๆ กัน
5. ขอใดแสดงการเขาคูกันของเบสในดีเอ็นเอไดถูกตอง
1) อะดีนีน - กวานีน และ ไทมีน - ยูราซิล 2) กวานีน - ไซโทซีน และ อะดีนีน - ยูราซิล
3) อะดีนีน - ไทมีน และ กวานีน - ไซโทซีน 4) กวานีน - ไทมีน และ อะดีนีน - ไซโทซีน
6. เบสคูสมในโมเลกุลของ DNA ขอใดถูกตอง
1) G — C, A — U 2) T — U, A — G
3) G — T, A — C 4) G — C, A — T
7. อัตราสวนของ .................... ใน DNA เทากับ 1 : 1
1) กวานีนและอะดีนีน 2) อะดีนีนและไทมีน
3) ไซโทซีนและอะดีนีน 4) ยูราซิลและไทมีน
8. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ DNA 1 โมเลกุล
1) A = C, T = G 2) A = G, T = C
3) A + T = G + C 4) A + G = T + C
9. นิวคลีโอไทดที่ประกอบดวยเบสชนิดใดจะพบไดใน mRNA แตไมพบใน DNA
1) ยูราซิล 2) อะดีนีน 3) กวานีน 4) ไซโทซีน
10. ขอใดตอไปนี้จัดเปนเพียวรีนเบส (Purine Base)
1) ไซโทซีน 2) กวานีน 3) ไทมีน 4) ยูราซิล
11. สวนของยีนมีไนโตรจีนัสเบสเรียงลําดับดังนี้ T-C-G-A-A-T แลวลําดับเบสที่เปนคูสายของยีนดังกลาว
คือขอใด
1) A-C-G-T-A-A 2) A-C-G-U-U-A
3) A-G-C-T-T-A 4) U-G-C-A-A-U
12. ถาโมเลกุลของ DNA ประกอบดวยเบสไทมีน 35% แลวจะประกอบ ดวยเบสตอไปนี้รอยละเทาใด
1) อะดีนีน 30% 2) ไซโทซีน 30% 3) กวานีน 15% 4) ยูราซิล 35%
13. รอยละ 20 ของเบสที่เปนองคประกอบของ DNA ในมนุษย คือ กวานีน (G) แลวเบสอะดีนีน (A) ที่เปน
องคประกอบของ DNA มนุษยมีเทาใด
1) 20% 2) 30% 3) 40% 4) 80%

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (84) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


14. ขอใดกลาวถูกตองที่สุด
1) ยีนเปนสวนหนึ่งของดีเอ็นเอ 2) โครโมโซมแตละแทงอยูภายในดีเอ็นเอ
3) ดีเอ็นเอแตละโมเลกุลอยูภายในยีนแตละยีน 4) โครโมโซมแตละแทงประกอบดวยดีเอ็นเอ 4 โมเลกุล
15. ระหวางไมโอซิส โฮโมโลกัสโครโมโซมจะเปนดังภาพ

จํานวนโมเลกุลของ DNA ในโฮโมโลกัสโครโมโซมดังภาพมีเทาใด


1) 100 โมเลกุล 2) 46 โมเลกุล 3) 4 โมเลกุล 4) 2 โมเลกุล
16. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับแอลลีลเดน (Dominant Allele)
1) ไมกอใหเกิดมิวเทชัน
2) เปนหนวยที่ควบคุมลักษณะของเพศชาย
3) เปนสาเหตุของการเกิดลักษณะที่เปนอันตราย
4) กอใหเกิดฟโนไทปเดียวกันในเฮเทอโรไซโกตและโฮโมไซโกต
17. ชาวสวนคนหนึ่งผสมพันธุดอกไมสีแดงกับดอกไมสีขาว ปรากฏวาลูกที่เกิดขึ้นมีดอกสีชมพู เหตุการณดังกลาว
เกี่ยวของกับสิ่งใด
1) การขมแบบสมบูรณ 2) การขมแบบไมสมบูรณ
3) การแสดงออกรวมกัน 4) การถายทอดลักษณะเดน
18. ในมนุษย B แทน ยีนเดนควบคุมตาสีน้ําตาล, b แทน ยีนดอยควบคุมตาสีฟา จีโนไทปของพอแมที่มีตา
สีน้ําตาลทั้งคูในขอใดที่จะมีโอกาสไดลูกตาสีฟา
1) BB และ Bb 2) BB และ bb 3) bb และ bb 4) Bb และ Bb
19. สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมีจีโนไทป GgTt เซลลสืบพันธุของสิ่งมีชีวิตชนิดนี้จะมีจีโนไทปแบบใดไดบาง
1) G, g, T, t 2) Gg, gT, GT, gt 3) GG, gg, TT, tt 4) GT, Gt, gT , gt
20. ถานักเรียนผสมสิ่งมีชีวิตที่เปนดิพลอยดโฮโมไซกัสรีเซสซีฟกับสิ่งมีชีวิตที่เปนเฮเทอโรไซกัส โอกาสที่จะไดลูก
ที่มีฟโนไทปเปนโฮโมไซกัสรีเซสซีพเปนเทาใด
1) 0% 2) 25% 3) 50% 4) 100%
21. โครโมโซมเพศที่ผูหญิงไดรับมาจากแมมีกี่แทง
1) 1 2) 2 3) 23 4) 46
22. ลักษณะใดของคนที่มีความแปรผันไมตอเนื่อง
1) หมูเลือด 2) น้ําหนัก 3) ความสูง 4) ความกวางของฝามือ
23. ลักษณะใดของมนุษยที่ถูกควบคุมโดยยีนเทานั้น
1) อายุตาย 2) หมูเลือด
3) มะเร็งปอด 4) โรคภาวะบกพรองทางโภชนาการ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (85)


24. มนุษยแตละคนอาจมีเลือดหมู A, B, O หรือ AB ซึ่งเปนลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกกําหนดโดย
1) ฟโนไทป 2) มัลติเปลอัลลีล
3) ยีนบนโครโมโซม X 4) โฮโมโลกัสโครโมโซม 3 แทง
25. การใหและรับเลือดในขอใดผูรับจะไมเปนอันตราย
1) ผูใหหมูเลือด A ผูรับหมูเลือด O 2) ผูใหหมูเลือด A ผูรับหมูเลือด B
3) ผูใหหมูเลือด O ผูรับหมูเลือด B 4) ผูใหหมูเลือด AB ผูรับหมูเลือด O
26. คนที่มีเลือดหมู A สามารถรับเลือดไดจากบุคคลที่มีจีโนไทปแบบใด
1) IAIB 2) IBIB 3) IBi 4) ii
27. ผูหญิงเลือดหมู AB แตงงานกับชายเลือดหมู B ลูกที่เกิดมาไมมีโอกาสเลือดหมูใด
1) A 2) B 3) AB 4) O
28. พอ-แมที่มีหมูเลือดระบบ ABO แบบใด มีโอกาสใหกําเนิดลูกที่มีฟโนไทปแตกตางกันไดถึง 4 แบบ
1) B × B 2) A × B 3) O × AB 4) AB × AB
29. ชายคนหนึ่งเลือดหมู A ซึ่งมีพอเลือดหมู O แตงงานกับหญิงที่มีเลือดหมู B ซึ่งมีแมเลือดหมู O ลูกของ
ชาย-หญิง คูนี้จะมีเลือดหมูใด
1) AB เทานั้น 2) A หรือ B เทานั้น 3) AB หรือ O เทานั้น 4) A, B, AB หรือ O
30. หญิงคนหนึ่งหมูเลือด A เฮเทอโรไซกัส แตงงานกับชายหมูเลือด B เฮเทอโรไซกัส โอกาสที่จะมีลูกชาย
หมูเลือด O หรือเลือดหมู A รอยละเทาใด
หมูเลือด O (%) หมูเลือด A (%)
1) 0 50
2) 50 50
3) 50 0
4) 25 25
31. ถานักเรียนมีเลือดหมู O และตองการจะถายเลือด หมูเลือดใดที่จะกอใหเกิดการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง
ในเลือดของนักเรียน
ก. A ข. AB ค. B ง. O
1) ข. เทานั้น 2) ง. เทานั้น 3) ก. และ ค. 4) ก., ข., และ ค.
32. เด็กหญิงแกวมีเลือดหมู O เปนลูกสาวคนแรกของนางอลินและนายพสุธา ซึ่งนางอลินมีเลือดหมู A สวน
นายพสุธาไมทราบหมูเลือดของตนเอง แตทราบวาพอและแมของตนมีเลือดหมู B จากขอมูลขางตน
ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตองที่สุด
1) นางอลินมีจีโนไทป IAIA และนายพสุธามีจีโนไทป ii เด็กหญิงแกวจึงมีเลือดหมู O
2) นางอลินมีจีโนไทป IAi และนายพสุธามีจีโนไทป ii เด็กหญิงแกวจึงมีเลือดหมู O
3) เพราะพอ-แมของนายพสุธามีเลือดหมู B ทั้งคู ดังนั้นนายพสุธาไมใชพอของเด็กหญิงแกว
4) เพราะนางอลินมีเลือดหมู A ดังนั้นเด็กหญิงแกวตองมีเลือดหมู A
33. ลูกที่จะเกิดจากหญิงที่ตาบอดสีจะมีลักษณะอยางไร
1) ลูกผูหญิงทุกคนตาบอดสี 2) ลูกผูชายทุกคนตาบอดสี
3) ลูกผูหญิงครึ่งหนึ่งตาบอดสี 4) ลูกผูชายครึ่งหนึ่งตาบอดสี

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (86) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


34. ฮีโมฟเลียเปนลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยยีนดอยบนโครโมโซม X ขอใดตอไปนี้กลาวไมถูกตอง
1) หญิงที่เปนฮีโมฟเลียตองมีพอเปนฮีโมฟเลีย 2) ชายที่เปนฮีโมฟเลียตองมีแมเปนฮีโมฟเลีย
3) ชายที่เปนฮีโมฟเลียตองมีปูเปนฮีโมฟเลีย 4) หญิงที่เปนฮีโมฟเลียตองมียาที่เปนฮีโมฟเลีย
35. จากเพดิกรี ลักษณะที่ถูกถายทอดถูกควบคุมโดยแอลลีลประเภทใด

1) Autosomal Dominant 2) Sex-Linked


3) X-Linked Dominant 4) X-Linked Recessive
36. การถายทอดโรคทางพันธุกรรมชนิดหนึ่งที่ปรากฏในพันธุประวัติของครอบครัวมีลักษณะดังนี้

การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมนี้มีแบบแผนอยางไร
1) การถายทอดยีนที่ไมเกี่ยวเนื่องกับเพศ และลักษณะที่ผิดปกติเปนลักษณะดอย
2) การถายทอดยีนที่ไมเกี่ยวเนื่องกับเพศ และลักษณะที่ผิดปกติเปนลักษณะเดน
3) การถายทอดยีนที่เกี่ยวเนื่องกับ X (X-Linked Gene) และลักษณะที่ผิดปกติเปนลักษณะดอย
4) การถายทอดยีนที่เกี่ยวเนื่องกับ X (X-Linked Gene) และลักษณะที่ผิดปกติเปนลักษณะเดน
37. จากเพดิกรี

ลักษณะผิดปกติที่แสดงออกในเพดิกรี นาจะเกิดจากการถายทอดพันธุกรรมแบบใด
1) Autosomal Dominance 2) Autosomal Recessive
3) X-Linked Inheritance 4) Multiple Alleles
38. เพดิกรีในขอใดแสดงการถายทอดลักษณะที่เกิดจากยีนดอยบนโครโมโซม x
ก. ข.

ค. ง.

1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ก. และ ค.

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (87)


39. แบบแผนใดที่สอดคลองกับเพดิกรีของครอบครัวที่แสดงดังภาพ

1) Autosomal Recessive 2) Autosomal Dominant


3) Sex-Linked Recessive 4) Sex-Linked Dominant
40. ขอใดแสดงลําดับเหตุการณที่นําไปสูการแสดงออกทางพันธุกรรมไดถูกตอง
1) DNA → RNA → กรดอะมิโน → โปรตีน → การแสดงออกทางพันธุกรรม
2) RNA → กรดอะมิโน → DNA → โปรตีน → การแสดงออกทางพันธุกรรม
3) DNA → กรดอะมิโน → โปรตีน → RNA → การแสดงออกทางพันธุกรรม
4) RNA → โปรตีน → DNA → กรดอะมิโน → การแสดงออกทางพันธุกรรม
41. สําหรับมนุษย คําวา “จีโนมในนิวเคลียส” หมายถึง ยีนทั้งหมดบนโครงสรางใด
1) ออโตโซมทั้งหมด 2) โครโมโซม X
3) โครโมโซม Y 4) ออโตโซมทั้งหมด + โครโมโซมเพศ
42. ลักษณะทางพันธุกรรมใดถูกควบคุมโดยยีนดอยบนโครโมโซม X
ก. ทาลัสซีเมีย ข. ฮีโมฟเลีย
ค. ผิวเผือก ง. ตาบอดสี
1) ก. และ ข. 2) ก. และ ค. 3) ข. และ ง. 4) ค. และ ง.
43. รังสีหรือสารเคมีบางชนิดเปนสาเหตุที่กอใหเกิดมิวเทชันของยีนหรือโครโมโซม ทั้งนี้มิวเทชันที่เกิดขึ้นจะถูก
ถายทอดไปยังรุนลูกถาเกิดขึ้นกับเซลลชนิดใด
1) เซลลสมอง 2) เซลลกลามเนื้อหัวใจ 3) เซลลสืบพันธุ 4) เซลลมดลูก
44. สมาคมวิทยาศาสตรมีการสาธิตการขยายพันธุสัตวโดยเทคนิคการโคลนนิ่ง (Cloning) ซึ่งมันประกอบดวย
วิธีการดังขอใด
1) ฉีดอสุจิของเพศผูเขาไปในเซลลไขของสิ่งมีชีวิตเพศเมียที่เปนสปชีสเดียวกัน
2) สกัดและนําเอานิวเคลียสของเซลลไขออกไป แลวนํานิวเคลียสของเซลลรางกายของสิ่งมีชีวิตสปชีส
เดียวกันฉีดเขาไปแทนที่
3) ฉีดนิวเคลียสของเซลลไขเซลลหนึ่งเขาไปในเซลลไขอีกเซลลหนึ่งของสิ่งมีชีวิตเพศเมียตัวเดียวกัน
4) สกัดและนําเอานิวเคลียสของเซลลรางกายออกไป แลวนํานิวเคลียสของเซลลไขของสิ่งมีชีวิตสปชีส
เดียวกันฉีดเขาไปแทนที่

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (88) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


45. ตัวอยางดีเอ็นเอของเด็กชายคนหนึ่ง แม และชาย 4 คนที่คาดวาจะเปนพอของเด็ก ถูกนําไปตรวจสอบ
ความสัมพันธทางสายเลือดดวยวิธีเจลอิเล็กโตรโฟริซิส (Gel Electrophoresis) ผลการตรวจสอบเปนดังภาพ
ใครที่มีแนวโนมจะเปนพอของเด็กมากที่สุด
โลคัสที่ 1 โลคัสที่ 2
เด็กชาย แม A B C D เด็กชาย แม A B C D

รองหยอด รองหยอด
DNA DNA

1) A 2) B 3) C 4) D
46. ขอใดเปนตัวอยางของสิ่งมีชีวิตที่ผานกระบวนการพันธุวิศวกรรม
1) พืชที่มี DNA ของแบคทีเรียซึ่งสามารถสรางสารฆาแมลงไดตามธรรมชาติ
2) พืชชนิดใหมที่เกิดจากการผสมเกสรขามดอก
3) ผลไมไรเมล็ดซึ่งเกิดจากการเสียบกิ่งของพืชชนิดหนึ่งบนพืชอีกชนิดหนึ่ง
4) พืชที่มีคุณสมบัติทางยาใชรักษาโรคบางอยางได

ตอนที่ 7 : ความหลากหลายทางชีวภาพ
1. เซลลของโพรคาริโอตมีโครงสรางใด
1) กรดนิวคลีอิก 2) คลอโรพลาสต 3) นิวเคลียสขนาดเล็ก 4) ออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม
2. ขอใดเปนลักษณะของโพรคาริโอต
1) มีผนังเซลล 2) มีนิวเคลียส
3) ไมมีไรโบโซม 4) ไมมีออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม
3. แบคทีเรียซึ่งเปนโพรคาริโอติกเซลลมีความแตกตางจากยูคาริโอติกเซลลอยางไร
1) เซลลแบคทีเรียมีไรโบโซมสําหรับสรางโปรตีน 2) แบคทีเรียเก็บขอมูลทางพันธุกรรมไวใน DNA
3) เซลลแบคทีเรียไมมีเยื่อหุมนิวเคลียส 4) แบคทีเรียมีเยื่อหุมเซลล
4. นักอนุกรมวิธานพบสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งในขณะที่เดินทางเขาไปในปาฝนเขตรอนทําการตรวจสอบพื้นฐานพบวา
สิ่งมีชีวิตชนิดนี้มีไคทินเปนองคประกอบและไดรับสารอาหารโดยการดูดซึม สิ่งมีชีวิตนี้นาจะอยูในอาณาจักรใด
1) โพรทิสตา 2) แบคทีเรีย 3) ฟงไจ 4) พืช
5. ฉันเปนสิ่งมีชีวิตที่มีผนังเซลลประกอบดวยไคทิน และฉันเปนเฮเทอโรไทรพ ฉันคืออะไร
ก. เห็ด ข. ยีสต ค. เพนิซิลเลียม
ง. Escherichia coli (E. coli) จ. สาหรายสีเขียว
1) ก. เทานั้น 2) จ. เทานั้น 3) ก., ข. และ ค. 4) ค. และ ง.

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (89)


6. ตามคํานิยามทางชีววิทยาของคําวา “สปชีส” สิ่งมีชีวิตในขอใดคือสปชีสเดียวกัน
1) พืชที่มีโครงสรางดอกเหมือนกันที่ดึงดูดแมลงชนิดเดียวกัน
2) โพรทิสตที่มีรูปรางเหมือนกันและโครงสรางในการเคลื่อนที่เหมือนกัน
3) สัตวที่สามารถผสมพันธุกันไดและใหลูกที่สามารถสืบพันธุตอไปได
4) เห็ดที่มีสีเหมือนกันและสามารถเจริญอยูบนตนไมชนิดเดียวกัน
7. ขอใดคือลักษณะของไวรัส
1) ถูกทําลายไดโดยแอนติไบโอติก
2) หลั่งสารพิษเขาไปภายในรางกายของสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู
3) ใช DNA ของเซลลเจาบานในการเพิ่มจํานวนตัวเอง
4) ระบบภูมิคุมกันของสิ่งมีชีวิตไมสามารถกําจัดไวรัสได
8. ขอใดกลาวถูกตอง
1) ไวรัสทุกชนิดเปนอันตรายตอมนุษย
2) ไวรัสเปนสิ่งมีชีวิตจําพวกโพรคาริโอต
3) ไวรัสมีขนาดใหญกวาแบคทีเรียเล็กนอย
4) ไวรัสสามารถเขาไปครอบครองเซลลของยูคาริโอตได
9. ไวรัสเพิ่มจํานวนไดในสภาวะใด
ก. ในเซลลสัตว ข. ในเซลลพืช
ค. ในอาหารสังเคราะห ง. ในซากสิ่งมีชีวิต
1) ก. และ ข. 2) ค. และ ง. 3) ก., ข. และ ง. 4) ก., ข., ค. และ ง.
10. พืช 2 ตนจะเปนพืชสปชีส (Species) เดียวกันได ถามีลักษณะอยางไร
1) มีลักษณะใบเหมือนกัน 2) มีจํานวนใบเลี้ยงเทากัน
3) ผสมพันธุกันแลวใหลูกที่ไมเปนหมัน 4) สามารถสรางคลอโรฟลลชนิดเดียวกันได
11. สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรตอไปนี้ทุกชนิดหรือบางชนิดทําหนาที่เปนผูผลิตในระบบนิเวศ ยกเวนขอใด
1) อาณาจักรพืช 2) อาณาจักรฟงไจ 3) อาณาจักรโพรทิสตา 4) อาณาจักรมอเนอรา
12. สิ่งมีชีวิตที่เปนสาเหตุของโรคในพืชและโรคในสัตว แตไมสามารถมองเห็นไดภายใตกลองจุลทรรศนแบบใชแสง
สิ่งมีชีวิตชนิดนี้คือ
1) ไวรัส 2) แบคทีเรีย 3) รา 4) โพรโทซัว
13. การเรียงลําดับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตในขอใดถูกตองที่สุด
1) ราเมือก → แบคทีเรีย → ดาวทะเล
2) ดาวทะเล → หนอนตัวกลม → ฟองน้ํา
3) อะมีบา → สาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน → ผีเสื้อ
4) สาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน → สาหรายสีเขียว → อารโทรพอด
14. สิ่งมีชีวิตในขอใดทีไ่ มสามารถเกิดเมแทบอลิซึมได
1) พารามีเซียม 2) แบคทีเรีย
3) สาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน 4) ไวรัส

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (90) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


15. สาหรายเกลียวทอง (Spirulina) มีโครงสรางพื้นฐานของเซลลดังตอไปนี้ ยกเวนขอใด
1) มี DNA เปนสารพันธุกรรม
2) มีไรโบโซมจําเพาะไวสรางโปรตีน
3) มีไมโทคอนเดรียทําหนาที่สลายอาหารไหไดพลังงาน
4) มีสารคลอโรฟลลไวสังเคราะหดวยแสงเพื่อสรางคารโบไฮเดรต
16. สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมีหลายเซลล และเซลลจัดเรียงเปนเนื้อเยื่อ สรางอาหารไดเองจากกระบวนการสังเคราะห
ดวยแสง ผนังเซลลมีเซลลูโลสเปนองคประกอบสําคัญ สิ่งมีชีวิตชนิดนี้นาจะอยูในกลุมใด
1) ปะการัง 2) แบคทีเรีย 3) ไบรโอไฟต 4) ไซโกไมโคตา
17. สิ่งมีชีวิตในขอใดที่อยูในอาณาจักรเดียวกันกับ “ราเมือก”
1) สาหรายสีเขียว 2) เบสิดิโอไมโคตา
3) แอสโคไมโคตา 4) สาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน
18. ขอใดกลาวไมถูกตอง
1) สิ่งมีชีวิตสปชีสเดียวกันมีความแตกตางกันได
2) สิ่งมีชีวิตตางสปชีสกันไมมีโอกาสผสมพันธุกันได
3) สิ่งมีชีวิตสปชีสเดียวกันจะมีพฤติกรรมการสืบพันธุคลายคลึงกัน
4) สิ่งมีชีวิตแตละสปชีสจะมีลักษณะเดนเฉพาะที่แตกตางไปจากสปชีสอื่น
19. ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตองที่สุด
1) เตาเหลือง เตาเดือย และเตาปูลูเปนสิ่งมีชีวิตสปชีสเดียวกัน
2) ลูกออดและกบที่อาศัยอยูในแหลงน้ําเปนสิ่งมีชีวิตสปชีสเดียวกัน
3) สิ่งมีชีวิตสปชีสเดียวกันจะมีลักษณะตางๆ เหมือนกันทุกประการ
4) สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะภายนอกคลายคลึงกันเปนสิ่งมีชีวิตสปชีสเดียวกันเสมอ

ตอนที่ 8 : สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม
1. จากภาพดานลาง สิ่งมีชีวิตที่อยูในระดับใดที่ไดรับพลังงานสูงสุด

ก.

ข.

ค.

ง.

1) ก. 2) ข. 3) ค. 4) ง.

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (91)


2. ขอใดกลาวเกี่ยวกับระบบนิเวศไดถูกตอง
1) ระบบนิเวศสามารถดํารงอยูไดทั้งที่มีหรือไมมีแหลงพลังงานเขาสูระบบ
2) ระบบนิเวศตองมีผูบริโภค และสามารถดํารงอยูไดถาไมมีผูผลิต
3) ระบบนิเวศเกี่ยวของกับปฏิสัมพันธระหวางปจจัยทางชีวภาพและปจจัยทางกายภาพ
4) ระบบนิเวศสามารถดํารงอยูไดบนบก แตไมสามารถดํารงอยูไดในทะเลสาบ แมน้ํา หรือมหาสมุทร
3. สิ่งมีชีวิต 2 สปชีสพยายามที่จะใชแหลงอาศัย แหลงอาหาร และแหลงน้ําเดียวกัน จัดเปนความสัมพันธ
แบบใด
1) Saprophytic 2) Predation 3) Competition 4) Symbiotic
4. ขอใดตอไปนี้ทําใหอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น
1) การใชเชื้อเพลิงฟอสซิลมากขึ้น
2) การเพิ่มขึ้นของสาหรายในมหาสมุทร
3) การปลอยคารบอนไดออกไซดสูบรรยากาศลดลง
4) การเพิ่มขึ้นจํานวนสปชีสของสัตว
5. สิ่งมีชีวิตที่อยูในสนามหลังบานมีดังนี้ แบคทีเรีย ตนหญา ไมพุม ไมยืนตน แมลง แมงมุม นก และสัตว
เลี้ยงลูกดวยนมขนาดเล็ก การอยูรวมกันในสนามหญาของสิ่งมีชีวิตเหลานี้เรียกวาอยางไร
1) อาณาจักร 2) สังคมสิ่งมีชีวิต 3) ประชากร 4) ตัวเลือก 1) และ 2)
6. สิ่งมีชีวิตถูกจําแนกออกเปนผูผลิตและผูบริโภคตามสิ่งใด
1) อัตราเร็วในการเคลื่อนที่ 2) ขนาดของสังคมสิ่งมีชีวิต
3) วิธีการไดรับอาหาร 4) วิธีการสืบพันธุ
7. ปลวกกินเนื้อไม แตไมสามารถยอยได ในอวัยวะทางเดินอาหารของปลวกเปนแหลงที่อยูของโพรโทซัวขนาด
เล็กมากซี่งสามารถผลิตเอนไซมยอยสลายเนื้อไมได ถาไมมีโพรโทซัวดังกลาวแลวปลวกจะอดตาย ความสัมพันธ
ระหวางปลวกและโพรโทซัวเปนแบบใด
1) ภาวะเกื้อกูล (Commensalism) 2) ภาวะพึ่งพา (Mutualism)
3) ภาวะปรสิต (Parasitism) 4) ภาวะลาเหยื่อ (Predation)
8. ตารางดานลางแสดงปริมาณสารกัมมันตรังสีในแหลงน้ําซึ่งเกิดจากการทิ้งกากกัมมันตรังสีลงไป
ตัวอยางที่เก็บไดจากแหลงน้ํา ความเขมขนของสารกัมมันตรังสี (หนวยขึ้นอยูกับชนิดตัวอยาง)
น้ํา 1
โคลน 20
พืชน้ํา 300
ปลาเล็ก 1,000
ปลาใหญ 3,000
จากตารางแสดงใหเห็นการเปลี่ยนแปลงความเขมขนของสารกัมมันตรังสีอยางไร
1) ลดลงตามลําดับขั้นของโซอาหาร 2) เพิ่มขึ้นตามลําดับขั้นของโซอาหาร
3) สะสมอยูในผูผลิตมากกวาผูบริโภค 4) สะสมอยูในผูผลิตและผูบริโภคในปริมาณที่เทาๆ กัน

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (92) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


9. แผนภาพดานลางแสดงโซอาหารที่มีการสะสมปริมาณสารฆาแมลง
พืช → ปลาเล็ก → ปลาใหญ → นกกินปลา
ความเขมขนของสารฆาแมลง
ในเนื้อเยื่อ (mg/kg)
0.5
0.4
0.3
0.2
0.1
0 สิ่งมีชีวิต
A B C D
แผนภูมิแทงใดที่แสดงความเขมขนของสารฆาแมลงในเนื้อเยื่อของปลาใหญ
1) A 2) B 3) C 4) D
10. พลังงานสวนใหญที่มนุษยโลกใชกันอยูทุกวันนี้มาจากการเผาไหมเชื้อเพลิงฟอสซิล พิธีสารเกียวโต (Kyoto
Protocol) เปนขอตกลงระหวางชาติในการลดการปลอยแกสคารบอนไดออกไซด (CO2) และแกสอื่นๆ และ
แสดงใหเห็นถึงสถานการณสิ่งแวดลอมในปจจุบัน การเผาไหมเชื้อเพลิงฟอสซิลมากเกินไปจะทําใหเกิด
เหตุการณดังขอใด
1) ฝนกรดมากขึ้น และชั้นโอโซนเพิ่มขึ้น
2) ปรากฏการณเรือนกระจกมากขึ้น และระดับน้ําทะเลเพิ่มขึ้น
3) อุณหภูมิของโลกลดลง และระดับน้ําทะเลเพิ่มขึ้น
4) ชั้นโอโซนถูกทําลาย และปรากฏการณเรือนกระจกลดลง
11. จากแผนผังแสดงวัฏจักรไนโตรเจนดานลาง การยอยสลายเกิดขึ้นในชวงใด

แกสไนโตรเจน โปรตีนในพืช

ไนเตรต โปรตีนในสัตว

แอมโมเนีย
1) A 2) B 3) C 4) D
12. กระบวนการใดไมไดกอใหเกิดคารบอนไดออกไซดสูบรรยากาศ
1) การเผาไหมถานหิน 2) การหายใจของสัตว
3) การยอยสลายใบไมในดิน 4) การสังเคราะหดวยแสงในพืช

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (93)


13. แผนภาพดานลางแสดงโซอาหาร
ผูผลิต → สัตวกินพืช → สัตวกินเนื้อ → สัตวกินเนื้ออันดับสูงสุด
ลําดับขั้นเชิงอาหาร : 1 2 3 4
ถาสัตวกินเนื้อในลําดับขั้นเชิงอาหารที่ 3 ตายอยางรวดเร็วเนื่องมาจากเปนโรค สิ่งมีชีวิตในลําดับขั้นเชิง
อาหารใดจะมีจํานวนลดลง
1) 2 2) 1 และ 2 3) 1 และ 4 4) 2 และ 4
14. ขอใดไมใชสวนหนึ่งของวัฏจักรคารบอน
1) สัตวกินพืช 2) การระเหยของน้ําในแมน้ํา
3) ฟงไจยอยสลายสิ่งมีชีวิตที่ตายแลว 4) พืชดูดซับแกสคารบอนไดออกไซด
15. แผนภาพดานลาง คือ พีระมิดชีวมวลของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดในระบบนิเวศแหงหนึ่ง สิ่งมีชีวิตใดคือสิ่งมีชีวิตกิน
พืช (Herbivores)

1) A 2) B 3) C 4) D
16. ตนไมชนิดหนึ่งเปนอาหารของประชากรหนอนผีเสื้อขนาดใหญ นกขนาดเล็กจํานวนมากกินหนอนผีเสื้อเปนอาหาร
และนกขนาดเล็กถูกกินโดยนกขนาดใหญ ขอใดคือพีระมิดจํานวนของโซอาหารดังกลาว
1) 2)

3) 4)

17. ขอความใดกลาวถูกตองที่สุดเกี่ยวกับการถายทอดสารและพลังงานในระบบนิเวศ
1) ผูผลิตไดรับโปรตีนจากผูบริโภคอันดับที่ 1
2) ผูบริโภคไดรับคารโบไฮเดรตจากผูยอยสลาย
3) ผูบริโภคไดรับน้ําจากการหายใจของผูยอยสลาย
4) พลังงานถูกถายทอดจากผูบริโภคอันดับที่ 2 ไปยังผูบริโภคอันดับที่ 1
18. ภาพดานลางแสดงพีระมิดจํานวนในระบบนิเวศ โครงสรางใดของพีระมิดที่บอกใหทราบวาสิ่งมีชีวิตแตละตัว/ตน
มีขนาดใหญที่สุด

1) A 2) B 3) C 4) D

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (94) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


19. กระบวนการเปลี่ยนสารของวัฏจักรไนโตรเจนจะเกิดขึ้นโดยกิจกรรมของสัตว แบคทีเรีย และพืช ดังขอใด
สัตว แบคทีเรีย พืช
1) ไนเตรตเปนกรดอะมิโน โปรตีนเปนไนโตรเจนแกส ไนไตรตเปนไนเตรต
2) ยูเรียเปนโปรตีน แกสไนโตรเจนเปนแอมโมเนีย กรดอะมิโนเปนโปรตีน
3) โปรตีนเปนยูเรีย ไนไตรตเปนไนเตรต ไนเตรตเปนกรดอะมิโน
4) ยูเรียเปนแอมโมเนีย ยูเรียเปนโปรตีน โปรตีนเปนแกสไนโตรเจน
20. กราฟในขอใดที่แสดงการเปลี่ยนแปลงของจํานวนสัตวกินพืช (Herbivores) เมื่อสัตวกินเนื้อลดจํานวนลง ณ
เวลา X
1) จํานวนสัตวกินพืช 2) จํานวนสัตวกินพืช

เวลา เวลา
X X
3) จํานวนสัตวกินพืช 4) จํานวนสัตวกินพืช

เวลา เวลา
X X
21. จากสายใยอาหาร (Foob Web) ดานลาง ถาปลาลดจํานวนลงอยางรวดเร็วจะทําใหประชากรหนูลดจํานวนลงดวย
ทั้งนี้เปนเพราะเหตุใด
เหยี่ยว
นก ปลา
งู กุง
หนู สาหราย

ขาว
1) เพราะออกซิเจนมีปริมาณนอยลง 2) เพราะประชากรขาวลดจํานวนลง
3) เพราะถูกเหยี่ยวลากินเปนอาหารมากขึ้น 4) เพราะหนูเปนผูบริโภคอันดับที่ 1 เชนเดียวกับปลา

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (95)


22. ขอใดกลาวเกี่ยวกับโซอาหารและการถายทอดพลังงานในระบบนิเวศไมถูกตอง
1) สิ่งมีชีวิตชนิดใดชนิดหนึ่งอาจเปนผูบริโภคหลายอันดับ
2) ไสเดือนดินและกิ้งกือสามารถกินสิ่งมีชีวิตไดในหลายลําดับขั้นเชิงอาหาร (Trophic Level) ยกเวนผูผลิต
3) ลําดับขั้นเชิงอาหารต่ําสุด จะไดรับพลังงานมากกวาผูบริโภคอันดับสูงขึ้นไป
4) สายใยอาหารประกอบดวย 2 โซอาหารขึ้นไป
23. เพราะเหตุใดคารบอนไดออกไซดจึงถูกเรียกวากรีนเฮาสแกส
1) มีปริมาณมากเสมอในกรีนเฮาส 2) เกี่ยวของกับการสังเคราะหดวยแสงของพืช
3) ดูดกลืนรังสีอินฟราเรด 4) ดูดกลืนและปลอยรังสีอัลตราไวโอเลต
24. สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่จะไดรับผลกระทบมากที่สุดเมื่อมียาฆาแมลงอยูในระบบนิเวศ
1) ผูบริโภคอันดับที่ 1 เชน ตั๊กแตน 2) ผูผลิตปฐมภูมิ เชน พืช
3) ผูลาอันดับสุดทาย เชน เหยี่ยว 4) ผูบริโภคอันดับที่ 2 เชน หนูที่กินแมลง
25. ขอใดเปนผลนอยที่สุดจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
1) ระดับน้ําทะเลลดลงทําใหแนวปะการังและที่อยูบริเวณชายฝงถูกทําลาย
2) เพิ่มความถี่ในการเกิดพายุรุนแรง
3) น้ําทวมมากขึ้น
4) เกิดการแพรกระจายของโรคไปยังเขตรอน
26. ความสัมพันธระหวางสปชีสในขอใด ทีไ่ มมผี ลไปลดขนาดประชากร
1) Commensalism 2) Predation 3) Competition 4) Amensalism
27. ขอใดเปนตัวอยางที่แสดงใหเห็นวามีการแทนที่แบบปฐมภูมิ (Primary Succession)
1) การเกิดดินบริเวณปลองภูเขาไฟที่ดับแลว
2) การเจริญเติบโตของตนสนหลังจากไฟไหมปาครั้งใหญ
3) ดาวทะเลอาศัยอยูรวมกับแนวปะการัง
4) ตนสนเจริญเติบโตบนบกหลังจากปาถูกตัดไมทําลายปาไปจนหมด
28. ในระบบนิเวศแหลงน้ํา เชน ทะเลสาบมีการปนเปอนของ DDT ในแหลงน้ํา สิ่งมีชีวิตในขอใดนาจะมีปริมาณ
DDT สะสมมากที่สุด
1) นกนางนวล 2) แพลงกตอนสัตว 3) แพลงกตอนพืช 4) ปลา
29. ขอใดเปนตัวอยางของภาวะเกื้อกูล (Commensalism)
1) ผึ้งดูดน้ําหวานจากตอมน้ําหวานของดอกไม
2) พยาธิปากขอเจริญอยูในตัวสุนัข
3) ไรโซเบียมที่อาศัยอยูในเซลลของรากถั่ว
4) ปลาการตูนอาศัยอยูบริเวณเทนทาเคิลที่เปนพิษของซีแอนีโมนี

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (96) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


30. ถานักเรียนไดรับมอบหมายใหวัดความหนาแนนของหนูบนเกาะแหงหนึ่งโดยใชวิธีทําเครื่องหมาย ปลอยไป
แลวจับใหม นักเรียนจับหนูมาได 200 ตัว ทําเครื่องหมายดวยปายชื่อ (Tag) แลวปลอยไป 1 สัปดาหตอมา
นักเรียนจับหนูมาได 500 ตัว และนับวาจํานวนหนูที่มีปายชื่อ (Tag) สมการดานลางจะทําใหนักเรียน
ประมาณขนาดประชากรของหนูบนเกาะได ขอใดตอไปนี้จะตองเกิดขึ้นเพื่อใหการประมาณความหนาแนน
ของหนูมีความถูกตองแมนยํามากที่สุด
จํานวนสัตวทั้งหมดที่จับมาทําเครื่องหมายแลวปลอยไป
= จํานวนสัตวทั้งหมดที่มีเครื่องหมายที่จับไดในครั้งที่สอง
ขนาดประชากร จํานวนสัตวทั้งหมดที่จับไดในครั้งที่สอง
1) หนูที่ทําเครื่องหมายตองไมออกไปไกลจากบริเวณที่ปลอยมันไป
2) หนูที่ทําเครื่องหมายตองเปนตัวแทนของหนูทั้งหมด
3) หนูที่ทําเครื่องหมายตองปะปนกับประชากรหนูที่เหลือ
4) อัตราการตายในประชากรของหนูตองต่ํา
31. นักปกษีวิทยาศึกษาจํานวนประชากรนกบนเกาะชางโดยจับนกมาติดเครื่องหมาย 50 ตัว แลวปลอยไป หนึ่ง
เดือนตอมา จับนกอีกครั้งได 100 ตัว พบวาในจํานวนนี้มีนกที่ติดเครื่องหมายอยูแลว 2 ตัว ดังนั้นประชากร
นกบนเกาะนี้มีจํานวนประมาณเทาใด
1) 150 ตัว 2) 250 ตัว 3) 1,250 ตัว 4) 2,500 ตัว
32. นักนิเวศวิทยาตองการศึกษาจํานวนประชากรของนกตีทองในปาแหงหนึ่ง โดยครั้งแรกจับนกมาได 100 ตัว
ทําเครื่องหมายไวที่ปกนกแลวปลอยไป หลังจากนั้น 1 สัปดาห จับนกครั้งที่สองได 250 ตัว พบวามีนกที่ทํา
เครื่องหมายไวอยู 50 ตัว ประชากรของนกตีทองในปาแหงนี้เปนเทาใด
1) 250 ตัว 2) 350 ตัว 3) 500 ตัว 4) 850 ตัว
33. นักนิเวศวิทยาทําการวัดจํานวนประชากรของปลานิลในบอแหงหนึ่ง โดยสุมตัวอยางปลามาทําการติดเครื่องหมาย
จํานวน 140 ตัว แลวปลอยกลับลงบอ จับใหมอีกครั้งโดยทิ้งระยะเวลาหางจากการจับครั้งแรก 3 วัน
ปรากฏวาปลาที่สุมจับขึ้นมาทั้งหมด 250 ตัว เปนปลาตัวที่มีเครื่องหมายจํานวน 20 ตัว ประชากรของปลานิล
ทั้งหมดในบอเปนเทาใด
1) 370 ตัว 2) 970 ตัว 3) 1,250 ตัว 4) 1,750 ตัว
34. วัฏจักรของสารใดในระบบนิเวศที่มีความสัมพันธกับการเกิดฝนกรดมากที่สุด
1) ฟอสฟอรัส 2) คารบอน 3) แคลเซียม 4) ไฮโดรเจน
35. การสังเคราะหดวยแสงมีอิทธิพลตอปริมาณของธาตุใดในบรรยากาศมากที่สุด
1) ซัลเฟอร 2) คารบอน 3) ฟอสฟอรัส 4) ไนโตรเจน
36. ปจจัยใดในระบบนิเวศทีไ่ มไดหมุนเวียนเปนวัฏจักร (Cycle)
1) น้ํา 2) คารบอน 3) พลังงาน 4) ไนโตรเจน
37. วัฏจักรของสารใดไมมกี ารหมุนเวียนในรูปของสารประกอบที่เปนแกสในบรรยากาศ
1) กํามะถัน 2) คารบอน 3) ไนโตรเจน 4) ฟอสฟอรัส

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (97)


38. ภาพพีระมิดนี้แสดงถึงจํานวนของสิ่งมีชีวิตในโซอาหารใด

1) หญา → กระตาย → งู → เหยี่ยว


2) หญา → ตั๊กแตน → แมงมุม → กบ
3) ตนไม → เพลี้ย → ดวงเตาลาย → กบ
4) ตนไม → หนอนผีเสื้อ → แตนเบียน → ผูยอยสลายอินทรียสาร
39. พีระมิดนิเวศแบบใดจะมีลักษณะหัวตั้งเสมอ
1) พีระมิดมวลชีวภาพ 2) พีระมิดพลังงาน
3) พีระมิดจํานวน 4) พีระมิดประชากร
40. ขอความในขอใดไมถูกตอง
1) น้ําที่เนาเสียจะมีคา BOD สูง
2) การยอยสลายแบบใชออกซิเจนเปนสาเหตุใหน้ํามีกลิ่นเหม็น
3) เมื่อน้ําเนาเสียมากๆ ปลามักจะตายเนื่องจากขาดออกซิเจน
4) การใชปุยในการเกษตรกรรมมากๆ อาจทําใหแหลงน้ําที่อยูบริเวณใกลเคียงเกิดมลภาวะได
41. ดัชนีที่แสดงวาน้ําในแหลงน้ําธรรมชาติมีคุณภาพดีคือขอใด
1) น้ําที่มีคา OD สูง 2) น้ําที่มีคา COD สูง
3) น้ําที่มีคา BOD ต่ํา 4) น้ําที่มีอุณหภูมิสูงและมีคา DO ต่ํา
42. ถาจะระบุวาแหลงน้ํามีคุณภาพดี จะสังเกตไดจากอะไร
1) มีแมลงปอมาวางไข 2) มีสาหรายชนิดเดียวในน้ํา
3) มีจุลินทรียในน้ําเปนจํานวนมาก 4) มีหนอนแดงในน้ําเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว
43. การทิ้งน้ําเสียลงในคลองมีผลทําใหออกซิเจนในน้ําลดลง เพราะเหตุใด
1) เกิดน้ําเนา
2) สารอินทรียที่ปนมากับน้ําเนาเสียใชออกซิเจนในการดํารงชีวิต
3) มีแกสคารบอนไดออกไซดเพิ่มขึ้น
4) แบคทีเรียใชออกซิเจนในการสลายสารที่ปนมากับน้ําเสีย
44. กิจกรรมใดตอไปนี้ทําใหโลกรอนขึ้นมากที่สุด
1) ใชไมจากการทําลายปา 2) ใชไฟฟาจากโรงไฟฟานิวเคลียร
3) ใชพลังงานลมผลิตกระแสไฟฟา 4) ใชพลังงานจากเซลลแสงอาทิตย
45. แกสในขอใดไมใชเปนแกสเรือนกระจก
1) มีเทน 2) ฮีเลียม 3) ไนตรัสออกไซด 4) คารบอนไดออกไซด

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (98) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


46. แกสในขอใดจัดเปนแกสเรือนกระจก
1) คารบอนไดออกไซด คลอโรฟลูออโรคารบอน มีเทน
2) มีเทน คารบอนไดออกไซด ออกไซดของไนโตรเจน
3) ไนโตรเจน ออกซิเจน คารบอนไดออกไซด
4) มีเทน ออกไซดของไนโตรเจน คลอโรฟลูออโรคารบอน
47. มีเทนเปนแกสเรือนกระจกเชนเดียวกับคารบอนไดออกไซด แหลงน้ําขังที่มีคารบอนอินทรียจะปลอยมีเทน
ออกมา ที่ใดตอไปนี้เปนแหลงปลอยมีเทนมากที่สุด
1) คลอง 2) ลําธาร 3) นาขาว 4) สระบัว
48. ขอใดตอไปนี้กลาวไมถูกตองเกี่ยวกับภาวะโลกรอน
1) ภาวะโลกรอนมีผลนอยมากตอการอยูรอดของสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร
2) ภาวะโลกรอนทําใหบริเวณที่ชุมชื้นมีฝนตกมากขึ้น และเกิดพายุรุนแรง
3) ภาวะโลกรอนทําใหเกิดความแหงแลงจนอาจทําใหบางพื้นที่กลายเปนทะเลทราย
4) ภาวะโลกรอนทําใหสารประกอบมีเทนเยือกแข็งที่ฝงตัวอยูในชั้นน้ําแข็งหลอมเหลวและระเหยเปนแกสมากขึ้น
49. ขอใดไมใชสาเหตุที่ทําใหอุณหภูมิของโลกสูงขึ้น
1) มีการใชสารซีเอฟซีมากขึ้น 2) บรรยากาศชั้นบนมีแกสโอโซนเพิ่มมากขึ้น
3) บรรยากาศที่หอหุมโลกมีแกสตางๆ เพิ่มมากขึ้น 4) รังสีอัลตราไวโอเลตสองผานมายังโลกไดมากขึ้น
50. ขอความในขอใดถูกตองที่สุด
1) กิจกรรมตางๆ ของมนุษยเปนสาเหตุใหเกิดปรากฏการณเรือนกระจก
2) แกสคารบอนไดออกไซดเปนสาเหตุสําคัญของการทําลายโอโซนในบรรยากาศ
3) ปรากฏการณเรือนกระจกเปนปรากฏการณธรรมชาติที่เกิดขึ้นเปนปกติของโลก
4) การใชเชื้อเพลิงฟอสซิลเปนสาเหตุสําคัญใหสารคลอโรฟลูออโรคารบอนเพิ่มมากขึ้น
51. ขอความในขอใดไมถูกตองมากที่สุด
1) ปรากฏการณเรือนกระจกเปนปรากฏการณธรรมชาติที่เกิดขึ้นเปนปกติของโลก
2) การใชเชื้อเพลิงฟอสซิลเปนสาเหตุสําคัญของการทําลายโอโซนในชั้นบรรยากาศ
3) แกสคารบอนไดออกไซดเปนแกสที่มีความสามารถในการเก็บกักความรอนไดดี
4) กิจกรรมบางอยางของมนุษยเปนสาเหตุใหอุณหภูมิของบรรยากาศโลกเพิ่มมากยิ่งขึ้น
52. การเกิดสม็อก (Smog) จัดเปนมลพิษทางใด
1) มลพิษทางดิน 2) มลพิษทางน้ํา 3) มลพิษทางเสียง 4) มลพิษทางอากาศ
53. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับ CFC
1) บรรจุอยูในกระปองสเปรยตางๆ 2) เปนสารทําความเย็นในตูเย็น
3) ชวยเพิ่มปริมาณโอโซนในชั้นบรรยากาศ 4) เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหโลกรอนขึ้น
54. เหตุการณใดตอไปนี้บงบอกวาเกิดมลพิษ
1) ฝูงนกบินกลับรังกอนเวลาปกติ 2) มดดําขนไขยายรังจากดินหนีเขาสูในบานคน
3) แมลงปอจํานวนมากบินต่ําเรี่ยติดยอดหญา 4) เกิดปะการังออนสีเหลืองทองขึ้นตามชายฝงทะเล

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (99)


55. ในระบบนิเวศการถายทอดพลังงานที่มีประสิทธิภาพต่ําสุดคือขอใด
1) งูกินปลา 2) วัวกินหญา 3) ปูกินซากกุง 4) แมวกินหนู
56. วิธีการใดตอไปนี้เปนการลดการใชสารเคมีโดยอาศัยวิธีทางชีววิทยา
1) ทําเลาหมูบนบอปลา 2) ทํานากุงแบบระบบปด
3) ใชแบคทีเรียฆาลูกน้ํายุง 4) ปลูกหญาอาหารสัตวบนดินเค็ม
57. ระบบนิเวศแบบใดที่ภาวะยอยสลายเกิดขึ้นไดอยางรวดเร็ว
1) ปาชายเลน 2) ปาพรุในภาคใต 3) ปาดิบชื้นแถบรอน 4) ปาผลัดใบในแถบหนาว

เฉลยตอนที่ 1 : โครงสรางของเซลล
1. 4) 2. 1) 3. 4) 4. 3) 5. 1) 6. 3) 7. 3) 8. 2) 9. 2) 10. 1)
11. 3) 12. 4) 13. 4) 14. 2) 15. 3) 16. 3) 17. 4) 18. 4) 19. 1)

เฉลยตอนที่ 2 : การเคลื่อนที่ของสารผานเซลล
1. 2) 2. 1) 3. 1) 4. 1) 5. 2) 6. 4) 7. 2) 8. 3) 9. 1) 10. 1)
11. 2) 12. 1) 13. 4) 14. 4) 15. 4) 16. 1) 17. 3) 18. 1) 19. 3) 20. 3)
21. 1) 22. 2) 23. 1) 24. 4) 25. 2) 26. 2) 27. 4) 28. 3) 29. 2)

เฉลยตอนที่ 3 : การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
3.1 การรักษาดุลยภาพของพืช
1. 1) 2. 4) 3. 4)
3.2 การรักษาดุลยภาพของน้ําและสารตางๆ ภายในรางกาย
1. 4) 2. 1) 3. 3) 4. 4) 5. 1) 6. 3) 7. 2) 8. 2) 9. 3) 10. 3)
3.3 การรักษากรด-เบสในรางกาย
1. 4) 2. 1)
3.4 การรักษาดุลยภาพของน้ําและแรธาตุในสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
1. 4) 2. 4) 3. 4) 4. 2) 5. 2)
3.5 การรักษาดุลยภาพอุณหภูมิรางกาย
1. 3) 2. 2) 3. 3) 4. 1) 5. 4) 6. 2) 7. 2) 8. 4) 9. 2) 10. 3)

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (100) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


เฉลยตอนที่ 4 : ภูมิคุมกันของรางกาย
1. 1) 2. 3) 3. 1) 4. 2) 5. 1) 6. 3) 7. 2) 8. 1) 9. 1) 10. 1)
11. 1) 12. 1) 13. 3) 14. 4) 15. 3) 16. 3) 17. 3) 18. 4) 19. 4) 20. 2)
21. 4) 22. 4) 23. 1) 24. 1) 25. 2) 26. 2) 27. 3) 28. 4) 29. 1) 30. 3)
31. 4)

เฉลยตอนที่ 5 : การแบงเซลล
1. 4) 2. 4) 3. 2) 4. 3) 5. 3) 6. 4) 7. 1) 8. 1) 9. 3) 10. 4)
11. 4) 12. 3) 13. 2) 14. 2) 15. 1) 16. 1) 17. 2) 18. 2) 19. 3) 20. 4)
21. 3) 22. 3) 23. 3) 24. 4) 25. 3) 26. 1)

เฉลยตอนที่ 6 : การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
1. 2) 2. 4) 3. 4) 4. 2) 5. 3) 6. 4) 7. 2) 8. 4) 9. 1) 10. 2)
11. 3) 12. 3) 13. 2) 14. 1) 15. 3) 16. 4) 17. 2) 18. 4) 19. 4) 20. 3)
21. 1) 22. 1) 23. 2) 24. 2) 25. 3) 26. 4) 27. 4) 28. 2) 29. 4) 30. 4)
31. 4) 32. 2) 33. 2) 34. 3) 35. 1) 36. 2) 37. 3) 38. 4) 39. 2) 40. 1)
41. 4) 42. 3) 43. 3) 44. 2) 45. 2) 46. 1)

เฉลยตอนที่ 7 : ความหลากหลายทางชีวภาพ
1. 1) 2. 1) 3. 3) 4. 3) 5. 3) 6. 3) 7. 3) 8. 4) 9. 1) 10. 3)
11. 2) 12. 1) 13. 4) 14. 4) 15. 3) 16. 3) 17. 1) 18. 2) 19. 2)

เฉลยตอนที่ 8 : สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม
1. 4) 2. 3) 3. 3) 4. 1) 5. 2) 6. 3) 7. 2) 8. 2) 9. 2) 10. 2)
11. 4) 12. 4) 13. 3) 14. 2) 15. 3) 16. 2) 17. 3) 18. 4) 19. 3) 20. 3)
21. 3) 22. 2) 23. 3) 24. 3) 25. 1) 26. 1) 27. 1) 28. 1) 29. 4) 30. 3)
31. 4) 32. 3) 33. 4) 34. 2) 35. 2) 36. 3) 37. 4) 38. 3) 39. 2) 40. 2)
41. 3) 42. 1) 43. 4) 44. 1) 45. 2) 46. 1) 47. 3) 48. 1) 49. 2) 50. 3)
51. 2) 52. 4) 53. 3) 54. 3) 55. 3) 56. 3) 57. 3)

————————————————————

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 ______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (101)


ความรูพื้นฐานทางชีววิทยา
ชีววิทยา คือ การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
มาจากภาษากรีก : bios หมายถึงสิ่งมีชีวิต และ logos หมายถึง ความคิดและเหตุผลการศึกษาเกี่ยวกับ
สิ่งมีชีวิต
สามารถศึกษาไดหลายระดับ
- ศึกษาในระดับใหญ เชน การศึกษาความสัมพันธระหวางประชากรสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
การศึกษาความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกลุมตางๆ การศึกษาลักษณะรูปราง การดํารงชีวิต และการจัดจําแนกสิ่งมีชีวิต
- ศึกษาในระดับยอยลงมา เชน การศึกษาองคประกอบของสิ่งมีชีวิต ไดแก อวัยวะ เนื้อเยื่อ และเซลล
ทั้งในดานโครงสรางและหนาที่การทํางาน
นอกจากนี้ยังครอบคลุมถึงการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในระดับโมเลกุล อะตอม ที่เปนองคประกอบทางเคมีของ
เซลล เชน โมเลกุล DNA, RNA โมเลกุลของสารอินทรียและอะตอมของธาตุตางๆ ที่พบในสิ่งมีชีวิต รวมถึง
การศึกษาเรื่อง ปฏิกิริยาเคมี และพลังงานที่เกิดขึ้นในรางกายสิ่งมีชีวิตอีกดวย
- ชีววิทยา จึงเกี่ยวของกับความรูตางๆ หลายสาขา ทั้งทางดานเคมี ฟสิกส คณิตศาสตร และคอมพิวเตอร
ที่สามารถประยุกตนํามาใชอธิบาย หรือจําลองความเปนไปของสิ่งมีชีวิต เพื่อตอบปญหาตางๆ ที่มนุษยสงสัยเกี่ยวกับ
สิ่งมีชีวิตได

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (102) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


เคมีพื้นฐานในสิ่งมีชีวิต
ในรางกายของสิ่งมีชีวิตประกอบดวยสารหลายชนิด สารอนินทรียประกอบดวย น้ํา แรธาตุ ออกซิเจน
สารอินทรียประกอบดวย ไขมัน โปรตีน คารโบไฮเดรต กรดนิวคลิอิก และวิตามิน
สารอนินทรีย
- เปนสารที่ไมมีธาตุคารบอน และ ไฮโดรเจนเปนองคประกอบโมเลกุลขนาดเล็ก โครงสรางไมซับซอน
- น้ํา H2O เปนสารที่พบมากที่สุดในสิ่งมีชีวิตประกอบดวยอะตอมของ H และ O มีสูตร H2O อะตอมของ
H และ O ยึดดวย Covalent Bond โมเลกุลของน้ําเปนโมเลกุลที่มีขั้ว โดยอะตอมของ O แสดงประจุลบ
สวนอะตอมของ H แสดงประจุบวกมีสมบัติเปนตัวทําละลาย (Solvent) ที่ดี เปนองคประกอบที่สําคัญของ
Protoplasm เปนตัวทําละลายที่ดีในสิ่งมีชีวิต ควบคุมอุณหภูมิรางกายใหสม่ําเสมอชวยในการลําเลียงสารอาหาร
อวัยวะที่มีปริมาณน้ํามากที่สุด คือ สมอง (>70%) นอยที่สุด คือ ฟน (5%)

แรธาตุ (Minerals)
เปนสารอนินทรียที่เปนองคประกอบของสารอินทรียอื่นๆ โดยเฉพาะเอนไซมและโปรตีนตางๆ
- แรธาตุจะอยูในรูปของอิออน เชน Na+ Mg2+ NO3-
- ทําใหของเหลวในรางกายมีคุณสมบัติเปนกรด-เบสตามตองการ
- รักษาความเขมขนของเซลล
- Ca2+ เปนแรธาตุที่พบมากที่สุดในรางกาย
- เกลือ Oxalate ในกระเฉด ชะอม จะตกตะกอน เกิดนิ่ว
- Goitrin ในกะหล่ําปลี จะขัดขวางการดูดซึม Iodine ของรางกาย

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (103)


สารอินทรีย (สารชีวโมเลกุล (Biomolecules))
- เปนสารที่มีธาตุ Carbon และ Hydrogen เปนองคประกอบ บางชนิดอาจมีธาตุอื่น เชน Nitrogen
Phosphorus Sulfur เปนองคประกอบรวมดวย
- มีขนาดโมเลกุลใหญ เกิดจากปฏิกิริยาควบแนนของ Monomer แตละชนิด พบอยูในสิ่งมีชีวิตเทานั้น
- แบงเปนหลายประเภทไดแก ไขมัน คารโบไฮเดรต โปรตีน วิตามิน DNA และ RNA
ไขมันและน้ํามัน (Lipid)
- ประกอบดวย CHO แต H : O = 2 : 1
- ใหพลังงานมากที่สุด (1 gm ใหพลังงาน 9 calories)
- ละลายไดนอยในน้ํา ละลายไดดีในตัวทําละลายอินทรีย (benzene, hexane, ether, ethanol)
- ชวยควบคุมอุณหภูมิในรางกาย ปองกันอวัยวะภายใน
• มีชื่อทางเคมีวา ไตรกลีเซอไรด (Triglycerides)
• เปนสารประกอบประเภทเอสเทอร โดยไขมันมีสถานะของแข็ง สวนน้ํามันมีสถานะของเหลว
ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
- เปนสารประกอบที่เกิดจากการทําปฏิกิริยาระหวาง glycerol 1 โมเลกุล กับกรดไขมัน 3 โมเลกุล

กรดไขมัน (Fatty Acid)


- กรดอินทรีย ประกอบดวยโซคารบอนที่มีจํานวนแตกตางกัน และมีหมูคารบอกซิล ( COOH)
เปนหมูฟงกชั่น
- พบในไขมันหรือน้ํามันจากเซลลพืชหรือสัตว แบงเปน 2 ชนิด ไดแก
1. กรดไขมันอิ่มตัว เปนกรดไขมันที่ไมมีพันธะ C C อยูในโมเลกุล
2. กรดไขมันไมอิ่มตัว เปนกรดไขมันที่มีพันธะ C C อยางนอย 1 พันธะในโมเลกุล
- จะเปนไขมันหรือน้ํามัน ถาเปนกรดไขมันอิ่มตัวมาก จะเปนไขมัน เชน กรดปาลมิติก (C16) กรดสเตียริก
(C18)
- ถาเปนกรดไขมันไมอิ่มตัว จะเปนน้ํามัน เชน กรดโอเลอิก (C18)

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (104) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


สมบัติของไขมันและน้ํามัน
- ละลายไดดีในตัวทําละลายไมมีขั้ว
- เกิดกลิ่นเหม็นหืนเมื่ออากาศรอน เพราะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันที่ตําแหนงพันธะคู ไดแอลดีไฮด
และกรดไขมัน หรือเกิดไฮโดรไลซิสโดยจุลินทรีย ไดกรดไขมันอิสระ

ขอควรรู
- สารประเภทไขมันหรือน้ํามันจะมีความสามารถในการละลายแตกตางกันคือ เฮกเซน > เอทานอล > น้ํา
- กรดไขมันจําเปน ไดแก กรดไขมันที่รางกายจะขาดไมได และตองไดรับจากสารอาหาร ที่รับประทาน
ไดแก กรดไลโนเลนิก (Linolenic acid) และกรดไลโนเลอิก (Linoleic acid)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (105)


โปรตีน (Protein)
- มีรากศัพทมาจากภาษากรีกที่แปลวา “สิ่งสําคัญอันดับแรก” ประกอบดวยธาตุ C, H, O, N
เปนองคประกอบสําคัญ และมีธาตุอื่นๆ เชน S, P, Fe, Zn
- เปนสารพวก Polymer เกิดจากการเรียงตัวของกรด Amino ดวย Peptide Bond ไดสารประกอบ
เชิงซอน เรียกวา Polypeptide

- กรดอะมิโน มีหมูอะมิโน ( NH2) และหมูคารบอกซิล ( COOH) เปนหมูฟงกชั่น ในสิ่งมีชีวิตมีกรดอะมิโน


ประมาณ 20 ชนิด
- เปนกรดอะมิโนที่จําเปน รางกายไมสามารถสังเคราะหได 10 ชนิด คือ อารจินีน ฮิสทิดีน ไอโซลิวซีน
ลิวซีน ไลซีน เมไทโอนีน ฟนิลอะลานีน ทรีโอนิน ทริปโตเฟน และแวลีน

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (106) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


โปรตีนแบงตามหนาที่
- เอนไซม (Enzyme) มีหนาที่ในการเรงปฏิกิริยาเคมีตางๆ ในรางกาย เชน เอนไซมในกระบวนการหายใจ
การสังเคราะหโปรตีน
- ถาเอนไซมทําหนาที่ยอยอาหารจะเรียกวา น้ํายอย เชน อะไมเลส เพปซิน ไลเปส
- โปรตีนขนสง (Transport Protein) ไดแก โปรตีนที่ทําหนาที่ในการขนสงสารตางๆ ในรางกาย เชน
เฮโมโกลบิน (Hemoglobin) ขนสงออกซิเจนในเลือด ไมโอโกลบิน (Myoglobin) ชวยลําเลียงออกซิเจนในเซลล
กลามเนื้อลาย อัลบูมิน (Albumin) ชวยขนสงไขมัน
- โปรตีนโครงสราง (Structural Protein) เปนองคประกอบของโครงสรางของรางกาย เชน เคราทิน
(Keratin) ในเสนผมและขนสัตว คอลลาเจน (Collagen) ของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันและกระดูก โปรตีนพวกนี้จะมี
กรดอะมิโน Cysteine ซึ่งมีกํามะถันเปนองคประกอบอยูมากทําใหคงตัวมาก
- โปรตีนสะสม (Storage Protein) เปนโปรตีนที่สะสมเปนคลังอาหาร เชน อัลบูมินในไข (Albumin)
- โปรตีนเคลื่อนไหว (Contractile Protein) เปนโปรตีนที่ทําใหเกิดการเคลื่อนไหวหรือเคลื่อนที่ เชน
โปรตีนที่เปนสวนประกอบของไมโครทูบูล (Microtubule) ซีเลีย (Cilia) แฟลเจลลา (Flagella) โปรตีนใน
เซลลกลามเนื้อ ไดแก แอกทิน (Actin) และไมโอซิน (Myosin)
- พิษ (Toxin) เปนโปรตีนที่เปนสารพิษตางๆ เชน พิษงู พิษจากเชื้อแบคทีเรียบางชนิด

Enzyme คือ สารเคมีพวกโปรตีนที่เซลลผลิตขึ้น เพื่อทําหนาที่เรงปฏิกิริยาเคมีใหเกิดเร็วขึ้น โดยลด


พลังงานกระตุนของปฏิกิริยา
คุณสมบัติในการเปนตัวเรงปฏิกิริยาของเอนไซม
1. ทําใหอัตราเร็วของปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดเอนไซมจะไมมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น สามารถ
เรงปฏิกิริยาไดอีก
2. ความเขมขนของเอนไซมที่ตองใชในการเปลี่ยน Substrate ไปเปน Product ของปฏิกิริยาจะนอย เมื่อ
เปรียบเทียบกับความเขมขนของ Substrate
3. มีความจําเพาะกับสารที่เปน Substrate
4. เรงปฏิกิริยาไดโดยไมตองใชอุณหภูมิและความดันที่สูง

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (107)


ปฏิกิริยาระหวาง Enzyme และ Substrate
1. Lock and Key Theory
Substrate ที่เขารวมกับ Enzyme ที่ Active Site ของ Enzyme ได จะตองมีโครงสรางที่สวมพอดี
เหมือนแมกุญแจและลูกกุญแจ
2. Induced Fit Theory
Substrate จะไปเหนี่ยวนําให Active Site ของ Enzyme เปลี่ยนแปลงมาสวมกับ Substrate ไดพอดี
แต Enzyme จะเปลี่ยนโครงสรางไปในขณะที่รวมกับ Substrate (ES-complex) แตเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา Enzyme
จะกลับมามีโครงสรางเหมือนเดิม
ปจจัยที่มีผลตอการทํางานของเอนไซม
1. ความเขมขนของ Substrate
- ถาเพิ่มความเขมขนของ Substrate ใหสูงขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะสูงขึ้นจนถึงจุดหนึ่ง
แลวจะคงที่
2. ความเขมขนของ Enzyme
- ถาเพิ่มความเขมขนของ Enzyme ใหสูงขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะสูงขึ้นจน ถึงจุดหนึ่งแลวจะคงที่
3. อุณหภูมิ
- เอนไซมแตละชนิดจะทํางานที่อุณหภูมิที่เหมาะสม (Optimum Temperature)
- ถาอุณหภูมิสูงเกินไปจะทําให Active Site ของ Enzyme เสียสภาพไป (Denature) และไมสามารถ
ทํางานได

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (108) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


4. ความเปนกรด-เบส
- เอนไซมแตละชนิดจะทํางานที่ความเปนกรด-เบสที่เหมาะสม (Optimum pH)
- เอนไซมที่ทํางานในเซลล จะทํางานที่ pH ประมาณ 7

5. ตัวยับยั้งเอนไซม (Enzyme Inhibitor)


- เปนสารเคมีที่ทําใหปฏิกิริยาที่มีเอนไซมเกิดไดชาลง หรือหยุดปฏิกิริยา

5.1 ยับยั้งแบบแขงขัน (Competitive Inhibitor)


- โครงสรางคลาย Substrate แยงจับที่ Active Site ของ Enzyme
5.2 ยับยั้งแบบไมแขงขัน (Non-Competitive Inhibitor)
- สวนใหญเปนโลหะหนัก จับที่ Allosteric Site ของ Enzyme
- ทําใหโครงสรางของเอนไซมเปลี่ยนไป จึงจับกับ Substrate ไมได
5.3 ตัวยับยั้งแบบจับกับ enzyme-substrate (Uncompetitive inhibitor)
- จับกับ ES-complex เกิดเปน ESI-complex จึงเกิดปฏิกิริยาไมได

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (109)


คารโบไฮเดรต
เปนทั้งแหลงพลังงาน และ สวนประกอบโครงสรางของสิ่งมีชีวิต
- ประกอบดวยธาตุคารบอน ไฮโดรเจน และออกซิเจนอัตราสวนโดยอะตอมของ H : O = 2 : 1
อาจเขียนสูตรไดเปน (CH2O)n- Polyhydroxy Aldehydes หรือ Ketones เปนสารที่สามารถถูกไฮโดรไลซ
(เติมน้ํา) ใหเปนน้ําตาล

Polysaccharide H+ H+
Oligosaccharides Monosaccharides
H2O H2O

n H2O n H2O
[C12H20O10] n + n C12H22O11 + 2n C6H12O6
H H
starch maltose glucose
(a polysaccharide) (a disaccharide) (a monosaccharide)

คารโบไฮเดรต แบงตามขนาดของโมเลกุลได 3 ประเภท คือ


1. Monosaccharide
2. Disaccharide
3. Polysaccharide

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (110) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


Monosaccharide = เปนน้ําตาลโมเลกุลเดี่ยวที่ไมสามารถแตกตัวเปนโมเลกุลเล็กไดอีก มีจํานวนคารบอน
ในโมเลกุลตั้งแต 3 ถึง 8 อะตอม เชน C3H6O3, C6H12O6 (เฮกโซส) มีกลูโคส ฟรุกโตส กาแล็กโตส

Disaccharide = เปนน้ําตาลโมเลกุลคู ประกอบดวยน้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว 2 โมเลกุล และเสียโมเลกุล


ของน้ําออกไป เมื่อถูกไฮโดรไลสดวยกรดจะกลายเปนน้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว
ซูโครส + H2O, H+ → กลูโคส + ฟรุกโตส
แล็กโตส + H2O, H+ → กลูโคส + กาแล็กโตส
มอลโทส + H2O, H+ → กลูโคส + กลูโคส
Polysaccharide เปนคารโบไฮเดรตโมเลกุลขนาดใหญ เกิดจาก Mnosaccharide จํานวนมาก ตั้งแต
100-10,000 หนวย มารวมตัวกันและเสียน้ําออกไป เชน แปง ไกลโคเจน วุน เซลลูโลส และอินซูลิน เปนตน
โครงสรางอาจเปน โซตรง หรือโซกิ่ง

โซกิ่ง Branch-chain Polysaccahride

สายโซตรง Linear Polysaccharide

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (111)


พอลิแซ็กคาไรดที่สําคัญ
1. แปง (Starch) ประกอบดวยพอลิแซ็กคาไรด 2 ชนิด ไดแก Amylose กับ Amylopectin มีสูตรทั่วไป
เปน (C6H10O5)n
การหมัก C12 + H22O11 + H2O → 2C6H12O6 → 4C2H5OH + 4CO2
2. เซลลูโลส (Cellulose) เปนพอลิเเซ็กคาไรดที่พบมากที่สุดในธรรมชาติ เปนโครงสรางของพืชที่ประกอบดวย
กลูโคสประมาณ 5,000 หนวย ตอกันเปนเสนยาวตรงมีลักษณะเปนไฟเบอรเหนียว ทนทาน และไมละลายน้ํา
3. ไกลโคเจน
• เปนพอลิเเซ็กคาไรดที่สะสมอยูในคนและสัตว โดยเฉพาะในตับและในกลามเนื้อของคน
• มีสูตรเชนเดียวกับแปงแตมี n ตางกัน (C6H10O5n)n

การทดสอบคารโบไฮเดรต
การทดสอบน้ําตาล Benedict test เปนการทดสอบการเปนตัวรีดิวซ มอนอแซ็กคาไรดที่มีหมู H C O
หรือ 2R C O

การทดสอบแปง Iodine Test


เปนการทดสอบแปงดวยสารละลายไอโอดีน
สารตัวอยาง + สารละลายไอโอดีน → สารละลายเปลี่ยนเปนสีน้ําเงิน
Vitamin
- กลุมของสารอินทรียแตเปนสารที่ไมใหพลังงาน รางกายตองการนอยแตจําเปนตอรางกาย เพื่อชวยให
ปฏิกิริยาเคมีตางๆ ในรางกายดําเนินไปตามปกติ
แบงออกได 2 ประเภท คือ
1. วิตามินที่ละลายในน้ํา เปนวิตามินที่ประกอบดวยธาตุ CHO และธาตุอื่นๆ เชน N S Co ไดแก
วิตามิน B รวมตางๆ วิตามิน C
2. วิตามินที่ละลายในน้ํามันหรือไขมัน เปนวิตามินที่ประกอบดวยธาตุ CHO เทานั้น ไดแก วิตามิน A
D E และ K หนาที่สําคัญของวิตามิน
- เปนสวนประกอบของเอนไซม และ Coenzyme (ถือเปนหนาที่หลัก) โดยทําหนาที่รวมกับเอนไซม
ในการเรงปฏิกิริยา

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (112) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


วิตามิน A (Retinol)
• พบมากในผักใบเขียว ตับ
• เกี่ยวของกับการเจริญของกระดูก เยื่อบุผิว กระจกตา และเปนสวนประกอบของสารที่ชวยในการมองเห็น
ในที่มืด (อยูที่ Retina ของตา)
• ถาขาดวิตามินนี้จะทําใหเกิดโรค Night Blindness ในเด็กจะเจริญเติบโตชา
วิตามิน B1 (Thiamine)
• พบมากในขาวซอมมือ เนื้อสัตว นม ถั่วเหลือง
• เปนองคประกอบของ Thiamine Pyrophosphate Coenzyme ในปฏิกิริยาการหายใจระดับเซลล
• ถาขาดวิตามินนี้จะทําใหเกิดโรคเหน็บชา (Beriberi)
วิตามิน B2 (Riboflavin)
• พบมากใน เนื้อสัตว นม ไข ยีสต
• เปนองคประกอบของ FAD Coenzyme ในปฏิกิริยาการหายใจระดับเซลล
• ถาขาดวิตามินนี้จะทําใหเกิดโรคปากนกกระจอกวิตามิน
B12 (Cyanocobalamin)
• พบมากใน เนื้อสัตว ไข เนย
• ชวยในการสังเคราะห DNA รวมกับกรดโฟลิก และการสรางเม็ดเลือดแดง
• ถาขาดวิตามินนี้จะทําใหเกิดโรคโลหิตจางที่เม็ดเลือดแดงมี Hemoglobin นอย (Pernicious Anemia)
วิตามิน C (Ascorbic acid)
• พบมากใน ผลไมที่มีรสเปรี้ยว ผักใบเขียว
• ชวยในการสราง Collagen และกระดูกออน
• ชวยเพิ่มการดูดซึมเหล็กที่ลําไสเล็ก ชวยในการปองกันจากโรคหวัด
• ชวยลดระดับของซีรัมคลอเลสเตอรอล (เพราะวิตามินซีจะรวมตัวกับคลอเลสเตอรอลและแคลเซียม
ทําใหคลอเลสเตอรอลแตกกระจายในน้ําได)
• ชวยเพิ่มภูมิคุมกันตอโรคหัด คางทูม หากไดรับวิตามินซีในปริมาณสูงมาก จะชวยเพิ่มความตานทานตอ
เซลลมะเร็ง และสามารถทําลายเซลลมะเร็งแบบ Melanoma ได มีผลใหสามารถยืดอายุของผูปวยที่เปนโรคมะเร็ง
• ถาขาดวิตามินนี้จะทําใหเกิดเลือดออกตามไรฟน (Scurvy) ภูมิตานทานรางกายลดลง
วิตามิน D (Calciferol)
• พบมากใน น้ํามันตับปลา ไข เนย
• รางกายสามารถสังเคราะหไดจากรังสีอัลตราไวโอเลตซึ่งมีอยูในแสงแดดชวยในการดูดซึม Ca และ P
ที่ลําไส และการเกาะจับของ Ca และ P ที่กระดูกและฟน และควบคุมปริมาณของแคลเซียมในเลือด
• ถาขาดวิตามินนี้จะทําใหเกิดโรคกระดูกออนในเด็ก โรคกระดูกพรุนในผูใหญ
วิตามิน E (Tocopherol)
• พบมากใน ไขมันจากพืช (รํา ถั่วเหลือง) และพืชใบเขียว
• ชวยปองกันการแตกสลายของเยื่อหุมเซลล ปองกันการเปนหมันในสัตวตัวผู
• ถาขาดวิตามินนี้จะทําใหโรคโลหิตจางเนื่องจากเม็ดเลือดแดงแตกงาย เปนหมันในเพศชาย

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (113)


วิตามิน K (Naphthoquinone)
• พบมากใน ผักใบเขียว เนื้อสัตว การสังเคราะหของ E. coli ในลําไส
• ชวยในการสังเคราะหโปรตีนหลายชนิดที่เกี่ยวของกับการแข็งตัวของเลือด
• ถาขาดวิตามินนี้จะทําใหเลือดออกงายและแข็งตัวชา

Nucleic acid
สารชีวโมเลกุลที่มีขนาดใหญ เปนพอลิเมอรที่พบบนโครโมโซมในนิวเคลียส ของเซลลมีสมบัติเปนกรด
• หนาที่ควบคุมการสังเคราะหโปรตีนซึ่งนําไปสูการทําหนาที่เก็บ และถายทอดขอมูลทางพันธุกรรม
ของสิ่งมีชีวิตจากรุนหนึ่งไปยังรุนตอไป
• เพื่อใหแสดงลักษณะตางๆ ของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งยังทําหนาที่ควบคุมการเจริญเติบโต และกระบวนการตางๆ
ของสิ่งมีชีวิต
• มี 2 ชนิด คือ DNA (Deoxyribonucleic Acid) และ RNA (Ribonucleic Acid) โดยปกติ DNA
ประกอบดวยเกลียวสายพอลิเมอร 2 สาย ที่ยึดติดกันดวยพันธะไฮโดรเจนลักษณะคลายบันไดวน

โดยแตละสายของพอลิเมอรเกิดจากโมโนเมอรที่เรียกวา Nucleotides
โมเลกุลของกรดนิวคลีอิกประกอบดวยหนวยยอยที่เรียกวา นิวคลีโอไทด (Nucleotide)
โมเลกุลของนิวคลีโอไทดประกอบดวยสวนยอย 3 สวน ไดแก
• หมูฟอสเฟต (กรดฟอสฟอริก)
• น้ําตาลที่มีคารบอน 5 อะตอม (Pentose) มีอยู 2 ชนิด คือ น้ําตาลไรโบส และน้ําตาลดีออกซีไรโบส
น้ําตาลทั้งสองตางกันตรงที่น้ําตาลดีออกซีไรโบสขาดหมูไฮดรอกซี ( OH) ที่คารบอนตําแหนงที่สอง
• เบสที่มีไนโตรเจนเปนองคประกอบนิวคลีโอไทดมีอยูดวยกัน 5 ชนิด ซึ่งแตกตางกันที่องคประกอบที่เปนเบส
นิวคลีโอไทดจะเรียงตัวตอกันเปนสายยาวเรียกวา พอลินิวคลีโอไทด (Polynucleotide)
• เบสไนโตรเจน มีอยู 2 กลุม คือ เบสพิวรีน (Purine) ไดแก Adenine กับ Guanine อีกกลุมหนึ่ง คือ
เบสไพริมิดีน (Pyrimidine) ไดแก Thymine, Cytosine และ Uracil

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (114) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


• หนวยยอยทั้ง 3 มาประกอบกันขึ้นเปน Nucleotide โดยมีน้ําตาลเปนตัวเชื่อม กรดฟอสฟอริก
เชื่อมตอกับน้ําตาลเพนโทสดวยพันธะ Ester ที่คารบอนตําแหนงที่ 5 ของน้ําตาล สวนเบสไนโตรเจนนั้น
จะมาเชื่อมตอกับน้ําตาลที่คารบอน ตําแหนงที่ 1 ดวยพันธะ Glycosidic

โครงสรางของ DNA

- ประกอบดวยพอลินิวคลีโอไทด 2 สายเรียงตัวสลับทิศทางกัน และมีสวนของเบสเชื่อมตอกันดวย


พันธะไฮโดรเจน โมเลกุลบิดเปนเกลียวคลายบันไดเวียน สวน RNA เปนพอลินิวคลีอิกเพียงสายเดียว
- DNA และ RNA มีน้ําตาลที่เปนองคประกอบตางกัน ใน DNA เปนน้ําตาลดีออกซีไรโบส
(Deoxyribose Sugar) สวนใน RNA เปนน้ําตาลไรโบส (Ribose Sugar) เบสที่พบใน DNA และ RNA มีบางชนิด
ที่เหมือนกัน และบางชนิดตางกัน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (115)


โครงสรางของ RNA
• มีโครงสรางคลาย DNA คือ ประกอบดวยนิวคลีโอไทดเรียงตอกันดวยพันธะ Phosphodiester เปน
Polynucleotide แตองคประกอบของนิวคลีโอไทดแตกตางกันที่น้ําตาล และเบส
สวนประกอบของ DNA/RNA
มีแตใน DNA มีทั้งใน DNA และ RNA มีแตใน RNA
phosphate CH2 O base phosphate CH2 O base

sugars H H H H
H H H H
OH H OH OH
deoxyribose ribose

purines

O Adenine NH2 Guanine O

H CH3
H
N N N

O N O N O N
pyrimidines H H H
Thymine Cytosine Uracil

• โดยน้ําตาลใน RNA เปนไรโบส สวนเบสใน RNA มี Uracil (U) มาแทน Thymine (T)
• RNA ยังเปนโพลีนิวคลีโอไทดสายเดี่ยว ซึ่งตางจาก DNA ซึ่งเปนเกลียวคู
หนาที่ทางชีวภาพของนิวคลีโอไทด
1. เปนหนวยยอยสําหรับการสรางกรดนิวคลีอิก โดยที่ไรโบนิวคลีโอไทดเปนหนวยโครงสรางของ RNA
และดีออกซีไรโบนิวคลีโอไทดเปนหนวยโครงสรางของ DNA
2. เปนสารตัวกลางเก็บพลังงาน พลังงานที่ไดจากการเผาผลาญสารอาหาร สามารถเก็บไวในรูปพลังงาน
พันธะเคมี ระหวางหมูฟอสเฟต (Anhydride Bond) ภายในโมเลกุลของนิวคลีโอไทดที่มีฟอสเฟตมากกวา 1 หมู
สารตัวกลางเก็บพลังงานที่รูจักกันดี ไดแก ATP
3. เปนตัวกลางในการออกฤทธิ์ของฮอรโมน เชน cAMP
4. เปน Coenzyme เชน FAD FMN NAD NADP

การแบงเซลล
• เปนการเพิ่มจํานวนเซลล เซลลที่ไดจะมีขนาดเล็กลง แตมีจํานวนเซลลมากขึ้น สิ่งมีชีวิตนั้นจึง
เจริญเติบโตขึ้น
• Chromosome คือ สวนสําคัญในเซลลที่ทําหนาที่นําคุณสมบัติของเซลลแมไปยังเซลลลูก
• ในชวงที่ยังไมแบงเซลล Chromosome จะอยูในสภาพของ Chromatin
• มีทั้งการแบงนิวเคลียส (Karyokinesis) และแบงไซโทพลาซึม (Cytokinesis) ในสิ่งมีชีวิตพวกยูคาริโอต
การแบงเซลลจะประกอบดวย 2 ขั้นตอน คือ
1. การแบงนิวเคลียส (Karyokinesis) จะเกิดขึ้นกอนเพื่อแบงปริมาณสารพันธุกรรมในนิวเคลียส มี
2 แบบ คือ การแบงเซลลแบบไมโทซิส (Mitosis) และการแบงเซลลแบบไมโอซิส (Meiosis)
2. การแบงไซโทพลาซึม (Cytokinesis) จะเกิดขึ้นหลังจากมีการแบงนิวเคลียสเสร็จสิ้นลง โดยในเซลลสัตว
จะเวาเขา สวนเซลลพืชจะแบงออกมาจากดานในเซลล

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (116) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


การแบงนิวเคลียสแบบไมโทซิส (Mitosis)
- เปนการแบงเซลล เพื่อเพิ่มจํานวนเซลลของเซลลรางกาย (Somatic cell)
- ไมมีการลดจํานวนชุดโครโมโซม (เชน จากเซลลเริ่มตน 2n จะไดเซลลใหม เปน 2n หรือเซลลเริ่มตน n
จะไดเซลลใหมเปน n เหมือนเดิม)
- เมื่อสิ้นสุดการแบงเซลลจะได 2 เซลลใหมที่มีโครโมโซมเทาๆ กัน และเทากับเซลลตั้งตน
- ในพืชพบที่เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด, ปลายราก, แคมเบียม
- ในสัตว เชนคนที่โตเต็มวัยแลวพบในเนื้อเยื่อบุผิว, เซลลไขกระดูก, เซลลผิวหนัง ขน ผม เล็บ
สวนในเด็กที่ยังอายุไมถึง 20 ป พบในทุกเซลลที่ยังมีการเพิ่มขนาดและจํานวน เชน เซลลหัวใจ ตับ กลามเนื้อ
ยกเวนเซลลสมองที่ไมแบงเซลลเพิ่มอีก
โดยเซลลจะมีการเปลี่ยนแปลงหมุนเวียนไปตลอดเรียกวา “วัฏจักรเซลล” (Cell Cycle) หมายถึง
ชวงระยะเวลาการเปลี่ยนแปลงของเซลล ในขณะที่เซลลมีการแบงตัว ซึ่งประกอบดวย 2 ระยะไดแก อินเตอรเฟส
(Interphase) เปนการเตรียมตัวใหพรอมที่จะแบงตัว และระยะที่มีการแบงเซลลไมโตซิส (Mitotic Phase/ M phase)
ระยะอินเตอรเฟส (Interphase)
ระยะนี้เปนระยะเตรียมตัว ภายในนิวเคลียสจะมี การเปลี่ยนแปลงของสารพันธุกรรม
• เซลลเติบโตเติมที่ใชเวลานานที่สุด มีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีมากที่สุด จึงเรียกวา Metabolic stage
• โครโมโซมเปนเสนใยยาวขดไปมาเรียกวา เสนใยโครมาทิน (Chromatin)
• มีการสังเคราะห DNA ขึ้นมาอีก 1 เทาตัว ดังนั้นโครโมโซม 1 แทงจะมี 2 ขา เรียกแตละขานั้นวา
chromatid
• Nucleus เปนกอนกลมและเห็น nucleolus ชัดเจน
แบงออกเปน 3 ระยะยอย คือ
1. ระยะ G1 เปนระยะกอนการสราง DNA ซึ่งเซลลมีการเจริญเติบโตเต็มที่มีขนาดใหญขึ้น ระยะนี้
จะมีการสรางสารบางอยางโดยเฉพาะโปรตีน เอนไซม เพื่อใชสราง DNA ในระยะตอไป และมีการแบงตัวของ
เซนโทรโซม เพิ่มขึ้น (1เซนโทรโซมมีเซนตริโอล 1 คู) จึงเปนชวงที่มีเมตาบอลิซึมสูง เรียกวา “Metabolic stage”
นิวคลีโอลัสมีขนาดใหญเห็นไดชัดเจน
- ใชระยะยาวนานที่สุด
2. ระยะ S เปนระยะที่มีการสราง DNA จากการจําลองตัวเองของดีเอ็นเอ หรือโครโมโซม (DNA
Replication / Chromosome replication) จึงได DNA เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเทาตัว แตโครโมโซมที่จําลองขึ้น
ยังติดกับทอนเกา ที่ปมเซนโทรเมียร (Centromere) หรือไคเนโตคอร (kinetochore) และมองเห็นเปนลักษณะ
เสนใย เรียก “โครมาติน”
- ใชเวลานอยกวา G1 แตนานกวา G2
3. ระยะ G2 เปนระยะหลังสราง DNA ซึ่งเซลลมีการเตรียมพรอม ที่จะแบง มีการสรางโปรตีน
และออรแกเนลลตางๆ เพิ่มขึ้น
- มี DNA เปน 2 เทาของระยะ G1

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (117)


สรุปอินเตอรเฟส (Interphase)
- มีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีมากที่สุด (Metabolic Stage) เพื่อสรางสารสําคัญสําหรับการแบงเซลล
โดยเฉพาะชวง G1
- มีการเพิ่มจํานวนโครโมโซม (Chromosome replication / DNA Replication) ขึ้นมาอีกชุดหนึ่ง
และเชื่อมกันดวยเซนโทรเมียร มีลักษณะเปนเสนใยเรียก “โครมาติน” โดย 1 โครโมโซม จะมี 2 โครมาทิด ในชวง S
- มองเห็นนิวเคลียสมีขนาดใหญเกือบเต็มเซลล
- ใชเวลานานที่สุด, โครโมโซมมีความยาวมากที่สุด

ระยะ M (M-phase)
ระยะ M (M-phase) เปนระยะที่มีการแบงนิวเคลียส และแบงไซโทพลาซึม ซึ่งโครโมโซมจะมี
การเปลี่ยนแปลง หลายขั้นตอนกอนที่จะถูกแบงแยกออกจากกันประกอบดวย 4 ระยะยอย หลังจากที่เซลลมีการ
แบงนิวเคลียสเสร็จสิ้นลงจะมีการแบงไซโทพลาซึมออกเปน 2 สวนใหกับ 2 เซลลลูก ที่เกิดขึ้น
ในเซลลบางชนิด เชน เซลลเนื้อเยื่อเจริญของพืช เซลลไขกระดูก เพื่อสรางเม็ดเลือดแดง เซลลบุผิว
พบวาเซลลจะมีการแบงตัวอยูเกือบตลอดเวลา จึงกลาวไดวาเซลลเหลานี้อยูในวัฏจักรของเซลลตลอด แตเซลล
บางชนิดเมื่อแบงเซลลแลวจะไมแบงตัวอีกตอไป นั่นคือเซลลจะไมเขาสูวัฏจักรของเซลลอีก เขาสู G0 จนกระทั่ง
เซลลชราภาพ (Cell Aging) และตายไป (Cell Death) ในที่สุด แตเซลลบางชนิด จะพักตัวหรืออยูใน G0
ชั่วระยะเวลาหนึ่ง ถาจะกลับมาแบงตัวอีกก็จะเขาวัฏจักรของเซลลตอไป
การแบงแบบไมโตซิส
• เกิดขึ้นที่เซลลรางกาย (Somatic Cell)
• เพื่อเพิ่มจํานวนเซลล ทําใหจํานวนเซลลของรางกายมีจํานวนมากขึ้น สิ่งมีชีวิตจึงเจริญเติบโตขึ้น
• แบงได 4 ระยะยอย คือ Prophase, Metaphase, Anaphase และ Telophase
หลังจากแบงเซลล โครโมโซมของ Daughter Cell จะมีโครโมโซมเทากับ Mother Cell
Prophase
การเปลี่ยนแปลง คือ Chromatid เริ่มหดสั้น ไมเปนระเบียบ Nucleolus หายไป Nucleus ยังมีเยื่อหุม
- โครมาตินหดสั้น ทําใหมองเห็นเปนแทงโครโมโซมชัดเจนขึ้น
- ในเซลลสัตว Centriole เคลื่อนที่อยูตรงขามกันในแตละขั้วเซลลและสราง Microtubule เรียกวา
Mitotic Spindle และไปเกาะที่ Centromere ดังนั้นรอบ Centriole จึงมี Mitotic Spindle ยื่นออกมาโดยรอบ
เรียกวา Aster

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (118) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


- ไมโทติก สปนเดิลไปเกาะที่ไคนีโตคอร ซึ่งเปนโปรตีนที่จุด เซนโทรเมียร
- เซลลพืชไมมี Centriole แตมี Mitotic Spindle กระจายออกจากขั้วที่อยูตรงขามกัน (Polar Cap)
ใชระยะเวลานานที่สุดของ Mitosis
Metaphase
• Nuclear Membrane สลายตัว, Mitotic Spindle หดตัว ดึงให Chromatid เรียงตัวอยูในแนว
กึ่งกลางเซลล (Equatorial Plate)
• Chromatid หดสั้นมากที่สุด สะดวกตอการเคลื่อนที่
• โครโมโซมหดตัวสั้นและหนาที่สุด เห็นไดชัดเจน เหมาะตอการนับโครโมโซม และศึกษารูปรางโครงสราง
ของโครโมโซม ระยะที่เหมาะสมที่สุดในการศึกษาการจัดเรียงโครโมโซมเปนคูๆ (Karyotype) เหมาะตอการศึกษารูปราง
ความผิดปกติของโครโมโซม
• ตอนปลายระยะมีการแบงตัวของ Centromere ทําให Chromatid พรอมที่จะแยกจากกัน
• โครโมโซมหดสั้นมากที่สุด สะดวกตอการเคลื่อนที่
แอนาเฟส (Anaphase)
- ไมโทติก สปนเดิลหดตัว โครมาทิดซึ่งมีเซนโตรเมียรของตัวเอง จะถูกดึงแยกออกจากกันไปยังขั้วเซลล
กลายเปนโครโมโซมอิสระ
- โครโมโซมเพิ่มเปน 2 เทาตัว หรือจาก 2n เปน 4n (Tetraploid) ใชเวลาสั้นที่สุด โครโมโซมที่แยกจากกัน
จะเรียกวา Daughter Chromosome และมีเพียง 1 Chromatid
Telophase
• Chromosome รวมกลุมในแตละขั้วของเซลล
• มีการสราง Nuclear Membrane ลอมรอบโครโมโซม Nucleolus ปรากฏขึ้น Mitotic Spindle
สลายไป
• มีการแบงไซโทพลาซึมออกเปน 2 สวน ไดเซลลใหม 2 เซลลมีขนาดเทากันเสมอ
• Nucleus เซลลใหมมีองคประกอบและสมบัติเหมือนกับนิวเคลียสในระยะ Interphase ของเซลลเริ่มตน
• เยื่อหุมนิวเคลียส และนิวคลีโอลัสเริ่มปรากฏ
Cytokinesis
มีการแบงไซโทพลาซึมตามมา โดยเซลลสัตว เยื่อหุมเซลลคอดเขาไปบริเวณกลางเซลล เซลลพืช
เกิดเซลลเพลท (Cell plate) กั้นแนวกลางเซลล ขยายออกไปติดกับผนังเซลลเดิม ได 2 เซลลใหม เซลลละ 2n
เหมือนเดิมทุกประการ
• ในพืช มีการสรางถุงที่หลุดจาก Golgi body ภายในบรรจุ pectin และ cellulose
• ถุงมาเรียงอยูกลางเซลลเรียกวา Middle Lamella ตอมามี Cellulose มาสะสมดานขาง Middle
Lamella เกิดเปน Cell Wall
• ในสัตว Cell Membrane จะคอดเวาเขาเรียกวา Cleavage Furrow เกิดจากการเคลื่อนตัวของ
Microfilament ที่อยูใต Cell Membrane เขาหากัน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (119)


การแบงนิวเคลียสแบบไมโอซิส (Meiosis)
เปนการแบงเซลลของเซลลตนกําเนิดเซลลเพศ (Germ Line Cells) ในสัตวพบที่อัณฑะ (Testis) และรังไข
(Ovary) ในพืชพบที่อับเรณู (Anther) และรังไข (Ovule) เพื่อสรางเซลลสืบพันธุ โดยมีการแบงนิวเคลียส 2 ครั้ง
ผลลัพธคือไดเซลลสืบพันธุ (Gametes) 4 เซลล ที่มีสารพันธุกรรมหรือโครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลลเดิม
มีกระบวนการแบงนิวเคลียสและไซโตพลาสซึม 2 ครั้ง แต DNA มีการจําลองตัวเองครั้งเดียว
จุดประสงคของการแบงนิวเคลียสแบบไมโอซิส
1. เพื่อสรางเซลลสืบพันธุของสิ่งมีชีวิต ที่สืบพันธุแบบอาศัยเพศ
2. เพื่อใหไดลูกที่มีโครโมโซมเทากับพอและแม
3. เพื่อใหไดลูกที่มีลักษณะทางพันธุกรรมที่แตกตางจากรุนพอ และแม (พันธุทาง)

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (120) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


การแบงนิวเคลียสแบบ Meiosis มี 2 ขั้นตอนใหญๆ เชนเดียวกับการแบงนิวเคลียสแบบ Mitosis คือ
ระยะเตรียมความพรอม (Interphase) และระยะ M หรือ (M phase) แตจะมีการแบงติดตอกัน 2 ครั้ง
จึงแบงเปน
- Meiosis I แบงเพื่อลดจํานวนโครโมโซมจาก 2 ชุดเหลือ 1 ชุด แตละโครโมโซมในเซลลลูกจะมี 2
Chromatid
- Meiosis II แบงเหมือน Mitosis เพื่อแยกแตละ Chromatid ออกจากกันไปอยูในเซลลใหม
เริ่มจากเซลลที่มีโครโมโซม 1 ชุดแตมี 2 Chromatid แบงแลวเหลือ 1 Chromatid
- เมื่อสิ้นสุดการแบงเซลลจะไดเซลลลูก 4 เซลลที่มีโครโมโซม 1 ชุด
Interphase
Cell เตรียมพรอมเชนเดียวกับ Mitosis มี G1, S และ G2 การจําลองตัวเองของ DNA อาจจะยัง
ไมสิ้นสุดในระยะ S อาจจะเลยไปถึง Meiosis I
ปริมาตรของนิวเคลียสมีขนาดใหญกวาของเซลล Mitosis
การแบงไมโอซิสครั้งที่ 1 (Meiosis I) แบงเปนชวงตางๆ คือ Inter phase I (ชวงเตรียมความพรอม
กอนการแบงเซลล) → prophase I → metaphase I → anaphase I → telophase I
จะไดเซลลลุก 2 เซลลที่มีชุดโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง (Diploid 2n → Haploid n)
Prophase I
เปนกระบวนการที่ซับซอนและใชระยะเวลานานมากกวา Prophase ของ Mitosis มีการจับคูของ
Homologous Chromosome
- Leptotene เริ่มมีการพันเกลียวของโครโมโซมใหสั้นเขา และหนาขึ้น โครโมโซมมีลักษณะเปนสายยาวบาง
ยังเห็น Nucleolus ชัดเจน
- Zygotene โครโมโซมที่เปนคูกันจะมาแนบชิดกันตามความยาวของโครโมโซม โครโมโซมคูเหมือนจะ
มาเขาคูกัน (Synapsis) คูของโครโมโซมที่เขาคูกันเรียกวา Bivalent
- Pachytene ไบวาเลนทหดตัวสั้นเขาและหนาขึ้น และการแนบชิดของโครโมโซม ที่เปนคูกันจะสมบูรณ
และสิ้นสุดลง บางตําแหนงของโครโมโซมคูเหมือนเกิดการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนของโครโมโซม (Crossing Over)
ของ Non-sister Chromatid เกิดการจัดเรียงยีนบนโครโมโซมแตกตางไป จากเดิมที่เรียกวา Gene
Recombination ทําใหเกิด Genetic Variation
- Diplotene โครโมโซมที่เปนคูกันจะเริ่มแยกออกและถามี Crossing Over เกิดขึ้นในbivalent
อาจพบจุดตัดกันของ Non-sister Chromatid เรียกจุดตัดกันนี้วา Chiasma (pl. chiasmata)
- Diakinesis คลายกับดิโพลทีน แตโครโมโซมหด ตัวสั้นกวา โครโมโซมเปนรูป วงแหวน กากบาท
เยื่อหุมนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสเริ่มสลายตัว เปนระยะสุดทายของ Prophase I ; Nuclear Membrane และ
Nucleolus เริ่มสลายตัวในชวงปลาย Diakinesis และมีการสราง Mitotic Spindle ขึ้น Bivalent
ทั้งหมดเคลื่อนตัวเขาสูบริเวณกลางเซลล
metaphase I
จุดสังเกต จะเห็นไบวาเลนทอยูกลางเซลล Nuclear membrane สลายตัวหมดไป Homologous
ปลายดานหนึ่งของ Kinetochore Microtubule จะเกาะที่ Kinetochore ของแตละโครโมโซม

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (121)


Anaphase I
Homologous Chromosome แยกตัวออกจากกันไปยังขั้วของเซลล โดยไมมีการแบงตัวของ Centromere
ในโครโมโซมแตละแทง Chromosome ที่แยกออกไปยังขั้วเซลลประกอบดวย 2 Chromatid อาจเรียกวา Diad
ทําใหจํานวนโครโมโซมที่ขั้วเซลลทั้งสองตางลดจํานวนลงครึ่งหนึ่ง
Telophase I
มีการสราง Nuclear Membrane ที่บริเวณขั้วเซลล ไดเซลลลูก 2 เซลลที่มีโครโมโซมเปน Haploid (n)
เซลลสวนใหญยังไมแบงไซโทพลาซึมตามในระยะนี้
ระยะอินเตอรเฟส II (Inter Phase II)
เปนชวงระยะเวลาสั้นๆ หรืออาจไมมีเลยในบางเซลล จะผานเขา Prophase II ไมมีการจําลอง DNA เพิ่ม
Meiosis II
คลายกับ Mitosis มากแตมีขอแตกตางกัน คือ Meiosis II มี Chromosome ชุดเดียว Chromatid
ทั้งสองชนิดของแตละโครโมโซมมีหนวยพันธุกรรมไมเหมือนกัน
- Metaphase II โครโมโซมมาเรียงกันที่บริเวณกึ่งกลางเซลล
- Anaphase II โครมาทิดของแตละโครโมโซมแยกตัวเคลื่อนไปที่ขั้ว
- Telophase II ไดนิวเคลียส 4 หนวย แตละหนวยมีคุณสมบัติทางพันธุกรรมเฉพาะตัว
การแบงในชวง M phase II จะคลายคลึงกับการแบงเซลลแบบไมโตซิส มีการแยกตัวของโครมาติด
เกิดขึ้น เมื่อสิ้นสุดระยะนี้จะได 4 เซลลที่มีจํานวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่งเปนแฮพลอยด และ 4 เซลลที่ไดมี
จํานวนโครโมโซมและพันธุกรรมแตกตางจากเซลลเริ่มตน
1. โปรเฟส II (Prophase II) โครโมโซมของ แตละเซลลจะเริ่มปรากฏขึ้นมาใหมโครมาทิดจะ
หดสั้นมากขึ้น ไมมีการเกิดไซแนปซิส, ไคแอสมา ครอสซิ่งโอเวอร เหมือน Prophase I แตจะคลายไมโตซิส
2. เมตาเฟส II (Metaphase II) เยื่อหุมนิวเคลียสลายไป แตละโครโมโซมที่ประกอบดวย 2 โครมาติด
จะเคลื่อนตัวมาเรียงบริเวณตรงกลางเซลล มีเสนใยสปนเดิลยึดระหวางไคนีโตคอรของเซนโตรเมียร
แตละโครมาติด
3. แอนาเฟส II (Anaphase II) เซนโทรเมียรของแตละโครโมโซมจะแบงตัว จาก 1 เปน 2 และโครมาติด
จะแยกออกจากกัน ไปยังขั้วของเซลล ทําหนาที่เปนโครโมโซมใหม
4. ทีโลเฟส II (Telophase II) เกิดเยื่อหุมนิวเคลียสขึ้นมาลอมรอบโครโมโซมที่ขั้ว เมื่อเกิดการแบง
ไซโทพลาสซึมอีกจะไดเซลลลูก 4 เซลล แตละเซลลมีจํานวนโครโมโซมเปนแฮพลอยด และมีพันธุกรรมแตกตาง
จากเซลลเริ่มตน

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (122) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


แบบฝกหัด
1. ถาตองการศึกษาผลของปุยไนโตรเจนตอการเกิดใบใหมของตนกุหลาบ การใชตัวแปรในขอใดถูกตอง
ก. ตัวแปรอิสระ ไดแก ปริมาณปุยไนโตรเจน
ข. ตัวแปรอิสระ ไดแก ปริมาณน้ําที่รดตนกุหลาบแตละครั้ง
ค. ตัวแปรตาม ไดแก จํานวนใบใหมของตนกุหลาบ
ง. ตัวแปรควบคุม ไดแก อายุและพันธุของตนกุหลาบ
1) ก., ค. และ ง. 2) ข., ค. และ ง. 3) ก., ข. และ ค. 4) ถูกตองทุกขอ
2. จากการทดลองเลี้ยงปลาชนิดเดียวกัน 2 ตัว ในสิ่งแวดลอมเดียวกันทุกประการ ยกเวนอาหารปลา ใหตัวที่ 1
กินลูกน้ําและตัวที่ 2 กินอาหารสําเร็จรูป ปรากฏวาในสัปดาหตอมาปลาตัวที่ 2 ตาย สวนปลาตัวที่ 1 ปกติดี
ขอใดสรุปผลการทดลองถูกตอง
1) อาหารสําเร็จรูปทําใหปลาตัวที่ 2 เปนโรคและตาย
2) อาหารสําเร็จรูปทําใหน้ําเนาเสีย ปลาตัวที่ 2 จึงตาย
3) อาหารสําเร็จรูปมีสารพิษ ทําใหปลาตัวที่ 2 ตาย
4) เปนไปไดทุกขอ
3. การศึกษาสาขาวิชาใดที่เกี่ยวของกับการสรางพืชที่มีการดัดแปลงพันธุกรรมไดสําเร็จในปจจุบัน
1) Evolution 2) Morphology
3) Genetic Engineering 4) Bacteriology

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (123)


4. เมื่อศึกษาแผนสไลดที่ติดตัวอักษร โดยกลองจุลทรรศนใชแสงแบบธรรมดา (Compound light microscope)
ถาตองการใหภาพที่เห็นผานเลนสใกลตาเปนภาพตัวอักษร “ภ” ตัวอักษรที่ติดอยูบนแผนสไลดตองอยูในลักษณะใด

1) ภาพ A 2) ภาพ B 3) ภาพ C 4) ภาพ D


5. การจัดตัวของโครโมโซมในภาพ A และ B แสดงการแบงนิวเคลียสในระยะใด และจะพบในเซลลใด

ก. Metaphase ข. Anaphase
ค. เซลลสรางเซลลสืบพันธุของตั๊กแตน ง. เซลลที่ปลายรากหอม
1) ภาพ A คือ ก. และ ง. , ภาพ B คือ ข. และ ค.
2) ภาพ A คือ ข. และ ค. , ภาพ B คือ ข. และ ง.
3) ภาพ A คือ ก. และ ค. , ภาพ B คือ ก. และ ง.
4) ภาพ A คือ ข. และ ง. , ภาพ B คือ ก. และ ค.
6. กลิ่นเหม็นหืนเกิดขึ้นไดอยางไร
1) เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นที่ตําแหนงพันธะคูไดแอลดีไฮด
2) เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นที่ตําแหนงพันธะคูไดแอลกอฮอล
3) เกิดปฏิกิริยารีดักชั่นที่ตําแหนงพันธะคูไดแอลดีไฮด
4) เกิดปฏิกิริยารีดักชั่นที่ตําแหนงพันธะคูไดแอลกอฮอล
7. ขอใดถูกตอง
ก. เซลลูโลสเปน disaccharide ที่พบมากที่สุดในธรรมชาติ
ข. Nitrogenous base สามารถแบงออกเปน 2 กลุม มีทั้งหมด 4 ชนิด ที่เปนองคประกอบของดีเอ็นเอ
ค. การขาดวิตามิน B1 และ B12 ทําเกิดอาการของโรคเหน็บชาและปากนกกระจอก
1) ก. และ ข. ผิด 2) ข. และ ค. ผิด 3) ก. และ ค. ผิด 4) ไมมีขอใดถูกตอง
8. ขอใดคือขอแตกตางระหวางแบคทีเรียกับไวรัส
ก. ไวรัสเปนสิ่งมีชีวิตที่จัดวาเปนเซลล
ข. แบคทีเรียเปนสิ่งมีชีวิตที่มีเยื่อหุมนิวเคลียส
ค. ไวรัสเปนเพียงอนุภาค
ง. แบคทีเรียมีชั้นโปรตีนหอหุมสารพันธุกรรม เรียกวา capsid
1) ก. 2) ข. 3) ค. 4) ค. และ ง.
9. ขอใดกลาวถึงลักษณะของออรแกเนลลไดถูกตอง
1) กระบวนการ autophagy เกิดจากการทํางานของไลโซโซม
2) nucleolus เปนสวนที่ยอมติดสีเขมกวาสวนอื่น มีลักษณะเปนกอนกลม มีเยื่อหุม
3) ผนังเซลลจะประกอบไปดวยสารชนิด pectin และ chitin เทานั้น
4) ribosome ที่ทําหนาที่ในการผลิตโปรตีนสงออกนอกเซลล คือ ribosome ที่ลอยอยางอิสระใน cytoplasm

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (124) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


10. จากตาราง จงพิจารณาวาขอใดถูกตอง
Organelles Genetic materials Cell wall Nuclear-membrane Ribosome
A มี มี ไมมี มี
B มี มี มี มี
C มี ไมมี มี มี
D มี ไมมี ไมมี ไมมี
ก. A เปนเซลลที่สามารถเกิดกระบวนสังเคราะหดวยแสงได
ข. B เปนเซลลที่มีนิวเคลียสทุกชนิด
ค. C สามารถนํามาตรวจพิสูจนความสัมพันธแบบพอ-แม-ลูกหรือหาความสัมพันธเชิงวิวัฒนาการได
ง. D บางชนิดเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดโรคติดตอ
จ. A และ D สามารถทําลายไดดวยยาปฏิชีวนะ
ฉ. B และ C มีโปรตีนชนิดหนึ่งที่ชวยในการเคลื่อนที่ของโครโมโซม
1) ก., ค. และ จ. 2) ข., ง. และ จ. 3) ก., จ. และ ฉ. 4) ค., ง. และ ฉ.
11. จากการตรวจเซลลพบองคประกอบดังนี้ ขอใดเปนเซลลที่มาจากพืช
เซลล ผนังเซลล นิวเคลียส คลอโรพลาสต กอลจิคอมเพลกซ
ก. มี - - -
ข. มี มี มี มี
ค. มี มี - มี
ง. - มี - -
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ข. และ ง.
12. ขอใดที่เปนลักษณะรวมของเซลลูโลสและอะไมโลเพกติน
1) รูปแบบของพันธะไกลโคซิดิก 2) ชนิดของน้ําตาลเชิงเดี่ยวที่เปนองคประกอบ
3) มีการแตกแขนงของสายน้ําตาล 4) ยอยไดดวยน้ําลาย
13. สารใดตอไปนี้มีพันธะเปปไทด
ก. โพรแลกติน ข. ไบโอติน ค. แอกติน ง. ไนอาซีน
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ง. 3) ก. และ ค. 4) ค. และ ง.
14. ขอใดคือขอแตกตางระหวางกรดไขมันอิ่มตัวและไมอิ่มตัว
ก. จํานวนคารบอน ข. จํานวนพันธะโควาเลนทแบบพันธะเดี่ยว
ค. จํานวนพันธะโควาเลนทแบบพันธะคู ง. จํานวนหมูคารบอกซิล
1) ค. 2) ก. และ ข. 3) ก. ข. และ ค. 4) ข. ค. และ ง.
15. โครงสรางใดที่สามารถถูกยอยไดดวยโปรติเอส (proease)
ก. รางแหโครมาติน ข. ผนังเซลล ค. ไรโบโซม
1) ก. 2) ค. 3) ก. และ ค. 4) ก. ข. และ ค.
16. ปรากฏการณใดพบในเซลลพืชแตไมพบในเซลลสัตว
ก. เซลลเตง ข. เซลลแตก ค. เซลลเหี่ยว
1) ก. 2) ข. 3) ข. และ ค. 4) ก. และ ค.

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (125)


17. ใสเลือดสดในหลิดแกวที่มีสารตางๆ แลวตั้งทิ้งไวเลือดในหลอดใด แข็งตัวชาที่สุด
1) หลอดที่ 1 มีสารยับยั้งการทํางานของแคลเซียม
2) หลอดที่ 2 มีสารทํางาน วิตามิน K
3) หลอดที่ 3 มีสารทํางาน วิตามิน B 12
4) หลอดที่ 4 มีสารยับยั้งการทํางานของธาตุเหล็ก
18. สภาพ monoploid มักไมพบ ยกเวนสัตวในขอใด
1) ผึ้ง ตั๊กแตน 2) แตน ปลวก 3) ปลวก ตอ 4) มด ตอ
19. ผูที่มีปญหาเสนเลือดอุดตันควรทานอาหารที่ปรุงจากน้ํามันพืช เชนน้ํามันขาวโพด ซึ่งมีสมบัติดีกวาไขมันสัตว
ในขอใด
ก. ในจํานวนคารบอนเทากันจะมีจํานวนไฮโดรเจนนอยกวา
ข. ชวยเรงการเผาผลาญคลอเรสเทอรอล
ค. มีจํานวนกรดไขมันที่เปนองคประกอบนอยกวา
1) ก. และ ข. 2) ก. และ ค. 3) ข. และ ค. 4) ก., ข. และ ค.
20. สารในขอใดผานผนังเซลลได
1) อนุภาคของสารบางชนิด 2) ตัวถูกละลายบางชนิด
3) ตัวถูกละลายทุกชนิด 4) ตัวทําละลาย
21. โครงสรางใดของเซลลที่มี ribosome
ก. Microtubule ข. Centriole ค. Mitochondria ง. Chloroplast
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ก. และ ค. 4) ค. และ ง.
22. วิตามินซีมีความสําคัญตอรางกายอยางไร
1) รักษาบาดแผล 2) สรางสารสีในการมองเห็น
3) ชวยใหเลือดแข็งตัว 4) ชวยรักษาโรคโลหิตจาง
23. กระบวนการใดที่สามารถเกิดขึ้นไดเฉพาะในสิ่งมีชีวิตพสก prokaryote เทานั้น
1) การสรางน้ําตาลโดยใชพลังงานจากแสง 2) การสรางแอลกอฮอลหรือกรดแลกติก
3) การใชไนโตรเจนจากอากาศ 4) การสังเคราะหโปรตีน
24. ออรแกเนลลใดเปรียบไดกับ รถบรรทุกบริการเรงดวน
1) Golgi complex 2) Mitochondria 3) Lysosome 4) ER
25. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับออรแกเนลลและหนาที่
กําจัดสารพิษ กําจัดเชื้อโรค
1) ER lysosome
2) lysosome ER
3) golgi body mitochondria
4) mitochondria golgi complex

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (126) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


26. cholroplast และ mitochondria สามารถทํากิจกรรมใดที่ไมสามารถพบไดในออรแกเนลลอื่นในไซโตพลาซึม
ก. การแบงตัวเอง ข. การควบคุมการสังเคราะหโปรตีน
ค. การเคลื่อนยายตําแหนงภายในเซลล ง. การเปลี่ยนแปลงรูปราง
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ก. และ ง.
27. สารในขอใดที่ไมพบในผนังเซลลของเซลลพืชโดยทั่วไป
ก. เพคติน ข. ซูเบอริน ค. คิวติน ง. ลิกนิน
1) ก. 2) ข. 3) ข. และ ค. 4) ข. ค. และ ง.
28. เซลลเนื้อเยื่อเจริญของพืชสวนมากสรางฮอรโมนได จึงมีออรแกเนลลใดมากกวาเซลลทั่วไป
ก. ไมโทคอนเดรีย ข. เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
ค. กอลจิคอมเพล็กซ
1) ก. และ ข. 2) ข.และ ค. 3) ก. และ ค. 4) ก. ข. และ ค.
29. ผูที่บริโภคอาหารเฉพาะนม ไข และขนมปงเทานั้นจะมีโอกาสเปนโรคอะไรมากที่สุด
1) โรคเลือดออกตามไรฟน 2) โรคตาบอดกลางคืน
3) โรคกระดูกขาโกง 4) โรคเหน็บชา
30. สารสีในดอกดาวเรืองที่นํามาผสมในอาหารสัตวปกชวยทําใหไขแดงมีสีเขมขึ้น สามารถเปลี่ยนไปเปนวิตามิน
ชนิดใดได
1) วิตามินเอ 2) วิตามินบี 3) วิตามินซี 4) วิตามินดี
31. การบริโภคผักโขมตมมีโอกาสไมไดรับวิตามินชนิดใดที่อยูในผักโขม
1) วิตามินซี 2) วิตามินบีและซี 3) วิตามินเอ บี และซี 4) วิตามินเอ บี ซีและดี
32. วิตามินในขอใดที่เราสามารถสังเคราะหไดเอง
ก. วิจามินบี 1 ข. วิตามินบี 6 ค. วิตามินบี 12 ง. วิตามินเค
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ก. และ ง.
33. เซลลตับซึ่งมีหนาที่กําจัดสารออกจากเซลล จะมีออรแกเนลลชนิดใดมากที่สุด
1) ไรโบโซมและไมโทคอนเดรีย 2) RER และไมโทคอนเดรีย
3) SER และไมโทคอนเดรีย 4) ไรโบโซมและ SER
34. เหตุผลใดที่นักกีฬานิยมเลือกเครื่องดื่มประเภทกลูโคสเพื่อเสริมสรางกําลัง
ก. กลูโคสดูดซึมไดทันที ข. เลือดลําเลียงสารอาหารรูปกลูโคสเทานั้น
ค. กลูโคสใหพลังงานสูงกวาสารประเภทอื่น
1) ก. 2) ก. และ ข. 3) ก. และ ค. 4) ก., ข. และ ค.

เฉลยแบบฝกหัด
1. 1) 2. 1) 3. 3) 4. 3) 5. 3) 6. 1) 7. 4) 8. 3) 9. 1) 10. 4)
11. 2) 12. 2) 13. 3) 14. 1) 15. 3) 16. 2) 17. 1) 18. 4) 19. 2) 20. 4)
21. 4) 22. 1) 23. 3) 24. 1) 25. 1) 26. 1) 27. 2) 28. 2) 29. 1) 30. 1)
31. 1) 32. 3) 33. 4) 34. 2)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (127)


การประสานงานในรางกาย
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนไหวแบบอะมีบา (Amoeboid Movement)
เกิดจากการแปรสภาพกลับไปมาของเอ็กโทพลาซึม (Ectoplasm) ซึ่งมีลักษณะขนหนืดกับเอนโดพลาซึม
(Endoplasm) ซึ่งมีลักษณะเหลวและไหลได โดยการหดและคลายตัวของเสนใยโปรตีนในไซโทพลาซึม คือ ไม-
โครฟลาเมนต (Microfilament) ซึ่งประกอบดวยแอกทิน (Actin) และไมโอซิน (Myosin) ทําใหเกิด เทาเทียม
(Pseudopodium) ยื่นออกมา พบในโพรทิสตหลายชนิด เชน Amoeba, Arcella, Difflugia, Foraminifera
นอกจากนี้ยังพบในราเมือก (Slime Mold) เซลลอะมีโบไซต (Amoebocyte) ของฟองน้ํา เซลลเม็ดเลือดขาว
ของมนุษย เปนตน
การเคลื่อนไหวโดยใชแฟลเจลลัม (Flagellum)
พบในพวกยูกลีนา (Euglena), Ceratium, Volvox, Chlamydomonas, Trypanosoma เปนตน
¾ แฟลเจลลัมโบกพัดจากโคนไปสูปลาย ทําใหแฟลเจลลัมเคลื่อนไหวแบบลูกคลื่นและเกิดแรงผลักใหโพรทิสต
เคลื่อนที่ไปยังทิศตางๆ ได
¾ โครงสรางภายในประกอบดวย ไมโครทิวบูล (Microtubule) เรียงตัวแบบ 9 + 2 (อยูตรงแกนกลาง
2 หลอด ลอมรอบดวยไมโครทิวบูลที่อยูกันเปนคูเรียงโดยรอบ 9 คู)
การเคลื่อนไหวโดยใชซิเลีย (Cilia)
พบในพวกพารามีเซียม (Paramecium), Vorticella, Didinium เปนตน
¾ การโบกพัดกลับไปมาของซิเลียคลายกรรเชียงเรือ ทําใหโพรทิสตเคลื่อนที่ไดทุกทิศทาง
¾ โครงสรางภายในประกอบดวยไมโครทิวบูลเรียงตัวแบบ 9 + 2 เชนเดียวกับแฟลเจลลัม
การเคลื่อนไหวของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง มีรูปแบบแตกตางกันดังนี้
¾ แมงกะพรุน (Jelly Fish) เคลื่อนที่โดยการหดตัวของเนื้อเยื่อบริเวณของกระดิ่งและผนังลําตัว
ทําใหเกิดการพนน้ําออกจากลําตัว เกิดแรงดันใหเคลื่อนที่ในทิศทางตรงขามกับทิศทางที่น้ําพนออกมา
¾ พลานาเรีย (Planaria) เคลื่อนที่โดยอาศัยการหด และคลายตัวสลับกันของกลามเนื้อวงกลม
(Circular Muscle) และกลามเนื้อตามยาว (Longitudinal Muscle) และมีกลามเนื้อยืดระหวางสวนบน
กับสวนลางของลําตัว (Dorsoventral Muscle) ชวยทําใหลําตัวแบบพลิ้วไปในน้ํา
¾ ไสเดือนดิน (Earth Worm) เคลื่อนที่โดยการหด และคลายตัวสลับกันแบบแอนตาโกนิซึม (Antagonism)
ของกลามเนื้อวงกลม ซึ่งอยูชั้นนอก และกลามเนื้อตามยาวซึ่งอยูชั้นในโดยแตละปลองมีเดือย (Setae) ชวยยึดพื้น
ทําใหการเคลื่อนที่มีทิศทางแนนอน
¾ หอยฝาเดียว (Gastropods) เคลื่อนที่โดยใชเทา (Foot) ซึ่งเปนกลามเนื้อหนาและแบน อยูดานทอง
สวนหอยสองฝา (Bivalves) นอกจากเคลื่อนที่โดยใชเทาซึ่งเปนกลามเนื้อยื่นออกมาเพื่อคืบคลานแลว ยังวายน้ํา
โดยการปดเปดฝาสลับกันอีกดวย
¾ หมึก (Squid) เคลื่อนที่โดยการหดตัวของกลามเนื้อรอบทอพนน้ํา ซึ่งเรียกวา “ไซฟอน (Siphon)”
ทําใหน้ําถูกพนออกมาเกิดแรงดันใหหมึกเคลื่อนที่ไปในทิศตรงกันขาม

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (128) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


การเคลื่อนไหวของมนุษย ตองอาศัยการทํางานรวมกันของระบบอวัยวะดังตอไปนี้
ระบบโครงกระดูก กระดูกมนุษยมีทั้งหมด 206 ชิ้น แบงออกเปน
1. กระดูกแกน (Axial Skeleton) เปนโครงกระดูกแกนกลางของรางกาย ไดแก
¾ กะโหลกศีรษะ (Skull)
¾ กระดูกสันหลัง (Vertebrae)
2. กระดูกรยางค (Appendicular Skeleton) เชื่อมตอกับกระดูกแกน ไดแก
¾ กระดูกแขน
¾ กระดูกขา
¾ กระดูกไหปลารา
¾ กระดูกสะบัก
¾ กระดูกเชิงกราน
ระบบกลามเนื้อ รางกายมนุษยประกอบดวยกลามเนื้อมากกวา 500 มัด แบงออกเปน 3 ประเภท คือ
1. กลามเนื้อเรียบ (Smooth Muscle)
¾ เซลลมีรูปรางเรียว หัวทายแหลม มี 1 นิวเคลียส เห็นเดนชัด
¾ อยูนอกอํานาจจิตใจ (Involuntary Muscle)
¾ การหดและคลายตัวเกิดชาๆ พบในอวัยวะภายใน เชน ระบบยอยอาหาร ระบบขับถาย
ระบบสืบพันธุ และหลอดเลือด
2. กลามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle)
¾ เซลลมีหลายนิวเคลียส มักแยกเปน 2 แฉกเรียงติดตอกับแฉกของเซลลอื่นๆ ดูคลายรางแห
เห็นเปนลาย
¾ อยูนอกอํานาจจิตใจ
¾ ทํางานติดตอกันตลาดเวลา พบเฉพาะที่หัวใจเทานั้น
3. กลามเนื้อลาย (Striated Muscle)
¾ เซลลมีหลายนิวเคลียส ลักษณะเปนเสนใยคลายทรงกระบอกยาว
¾ อยูในอํานาจจิตใจ (Voluntary Muscle) สั่งงานได โดยการควบคุมของระบบประสาทสวนกลาง
¾ พบมากที่สุดในรางกายโดยยึดเกาะกับกระดูก ทําใหเกิดการเคลื่อนไหวได

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (129)


การรับรูและการตอบสนอง
โพรโทซัว ยังไมมีเซลลประสาท แตตอบสนองตอสิ่งเรา เชน แสง อุณหภูมิ สารเคมี ไดเพราะมีเสนใย-
ประสานงาน (Coordinating Fiber) ควบคุมการพัดโบกของซิเลียได เชน พารามีเซียม เปนตน
สัตวไมมีกระดูกสันหลัง เกือบทั้งหมดมีระบบประสาท ยกเวนพวกฟองน้ํา ซึ่งการรับรูและการตอบสนอง
ขึ้นกับการทํางานของเซลลแตละเซลล
¾ พวกไนดาเรียน เชน ไฮดรา เปนพวกแรกที่มีระบบประสาทเปนแบบรางแหประสาท (Nerve Net)
โดยเซลลประสาทจะเชื่อมโยงประสานกันทั่วรางกาย เมื่อมีสิ่งเรากระตุนจะนําความรูสึกไปทุกทิศทาง ดังนั้นการน
ำกระแสประสาทจะชา และมีทิศทางไมแนนอน
¾ พวกดาวทะเล มีวงแหวนประสาท (Nerve Ring) ซึ่งมีเสนประสาทตามแนวรัศมี (Radial Nerve)
แยกไปตามแฉก และเชื่อมโยงถึงกัน (คลายกับรางแหประสาทของไฮดรา)
¾ พวกหนอนตัวแบน เชน พลานาเรีย มีปมประสาท (Nerve Ganglion) เปนศูนยรวมของระบบประสาท
ซึ่งพัฒนาไปเปนสมอง และมีเสนประสาททอดยาวตลอดแนวลําตัวทั้ง 2 ดาน
¾ พวกแอนเนลิด (ไสเดือนดิน) และพวกอารโทรพอด (แมลง) มีปมประสาทสมอง (Cerebral Ganglia)
และเสนประสาทดานทอง (Ventral Nerve Cord) ทอดตามยาวลําตัว ปมประสาทของสัตวกลุมนี้มีจํานวน
เซลลประสาทมากกวาพยาธิตัวแบน
¾ สัตวมีกระดูกสันหลังและมนุษยมีระบบประสาทเจริญดี ประกอบดวยสมอง (Brain) และไขสันหลัง
(Spinal Cord) ซึ่งมีเซลลประสาท (Nerve Cell หรือ Neuron) จํานวนมากทําหนาที่เกี่ยวกับการรับรู
และตอบสนองตอสิ่งแวดลอม

ระบบประสาทของสัตวแตละกลุม

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (130) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


เซลลประสาท ประกอบดวย 2 สวน คือ
1. ตัวเซลล (Cell Body) มีรูปรางตางกันตามชนิดเซลล มีขนาด 4-25 ไมครอน ประกอบดวยนิวเคลียส
ไซโทพลาซึม หรือนิวโรพลาซึม (Neuroplasm) และออรแกเนลลหลายชนิด
2. ใยประสาท (Nerve Fiber) เปนแขนงเล็กๆ ที่ยื่นออกมาจากตัวเซลลแบงเปน 2 ประเภท คือ
2.1 เดนไดรต (Dendrite) เปนใยประสาทที่นํากระแสประสาทเขาสูตัวเซลล อาจมีเพียงหนึ่งใย
หรือหลายใยก็ได
2.2 แอกซอน (Axon) เปนใยประสาทที่นํากระแสประสาทออกจากตัวเซลล เซลลประสาทแตละเซลล
จะมีเพียงแอกซอนเดียวเทานั้น
¾ แอกซอนเสนยาวๆ จะมีเยื่อไมอีลิน (Myelin Sheath) ซึ่งเปนสารพวกไขมันและเกิดจาก
เซลลชวาน (Schwann Cell) หุมอยู รอยตอระหวางเซลลชวาน เรียกวา “โนดออฟแรนเวียร (Node of Ranvier)”
¾ ใยประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุม จะสงกระแสประสาทไดเร็วถึง 120 เมตรตอวินาที ในขณะที่
ใยประสาท ซึ่งไมมีเยื่อไมอีลินหุม สงกระแสประสาทไดเร็วเพียง 12 เมตรตอวินาที เทานั้น
เซลลประสาทมีรูปรางลักษณะแตกตางกันหลายแบบ จําแนกเปน 3 ประเภท คือ
1. เซลลประสาทรับความรูสึก (Sensory Neuron หรือ Afferent Neuron)
¾ ทําหนาที่รับความรูสึกจากอวัยวะตางๆ แลวสงกระแสประสาทไปยังระบบประสาทสวนกลาง
¾ มีทั้งเซลลประสาทขั้วเดียว และเซลลประสาทสองขั้ว
2. เซลลประสาทสั่งการ (Motor Neuron หรือ Efferent Neuron)
¾ ทําหนาที่นํากระแสประสาทจากสมอง หรือไขสันหลังไปยังอวัยวะตางๆ
¾ เปนเซลลประสาทหลายขั้ว
3. เซลลประสาทประสานงาน (Association Neuron หรือ Interneuron)
¾ ทําหนาที่นํากระแสประสาทระหวางเซลลประสาทรับความรูสึกกับเซลลประสาทสั่งการ
¾ เปนเซลลประสาทหลายขั้ว

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (131)


สมอง (Brain)
เจริญมาจากหลอดประสาทสวนหนาที่พองออกจนโตเต็มกะโหลกศีรษะ ภายในมีเซลลประสาทมากกวา
90% ของเซลลประสาททั้งหมด (สวนใหญเปนเซลลประสาทประสานงาน)
สมองแบงออกเปน 3 สวน คือ

โครงสรางสมองมนุษย
1. สมองสวนหนา (Forebrain หรือ Prosencepalon) ประกอบดวย
1.1 เซรีบรัม (Cerebrum) เปนสวนที่มีขนาดใหญที่สุด ผิวดานนอกมีรอยหยักเปนรองมากมาย
มีหนาที่เปน
- ศูนยควบคุมการรับความรูสึก เชน การมองเห็น การรับรส การไดยิน การดมกลิ่น
การพูดและการรับรูภาษา
- ศูนยกลางการเรียนรูดานความคิด ความจํา เชาวนปญญา การคิดแกปญหา
- ศูนยควบคุมการเคลื่อนไหวของกลามเนื้อ โดยสมองซีกขวาควบคุมกลามเนื้อซีกซาย
และสมองซีกซายควบคุมกลามเนื้อซีกขวา
1.2 ออลแฟกทอรีบัลบ (Olfactory Bulb) อยูดานหนาสุดของสมอง
- มีหนาที่เกี่ยวกับการดมกลิ่น
- สัตวมีกระดูกสันหลังพวกปลา, สุนัข สมองสวนนี้เจริญดี เพราะตองดมกลิ่น เพื่อหาอาหาร
แตในคนสมองสวนนี้ไมเจริญ
1.3 ทาลามัส (Thalamus) มีลักษณะกลมรี อยูถัดจากเซรีบรัมเหนือสมองสวนกลาง
- เปนศูนยรวมกระแสประสาทที่ผานเขามาแลวแยกกระแสประสาท ไปยังสมองสวนตางๆ
ที่เกี่ยวของ
- บอกความรูสึกอยางหยาบๆ ได โดยเฉพาะความรูสึกเจ็บปวด แตบอกตําแหนงความเจ็บปวด
ไมได

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (132) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


1.4 ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) อยูใตสมองสวนทาลามัส มีหนาที่
- สรางฮอรโมนประสาทเพื่อควบคุมการสรางฮอรโมนของตอมใตสมอง
- เปนศูนยควบคุมอุณหภูมิของรางกาย การนอนหลับ การเตนของหัวใจ ความดันเลือด
ความหิว ความอิ่ม ฯลฯ
- เปนศูนยควบคุมอารมณและความรูสึกตางๆ เชน โศกเศรา ดีใจ ความรูสึกทางเพศ
2. สมองสวนกลาง (Midbrain หรือ Mesencephalon) อยูถัดจากสมองสวนหนา มีหนาที่
- ควบคุมการเคลื่อนไหวของนัยนตา และการปดเปดของมานตา
- ในสัตวพวกปลา สัตวครึ่งบกครึ่งน้ํา และสัตวเลื้อยคลาน มีสมองสวนนี้ขนาดใหญยื่นออกมาเรียกวา
“Optic Lobe” ทําหนาที่เกี่ยวกับการมองเห็นและการไดยิน
3. สมองสวนทาย (Hind Brain หรือ Rhombencephalon) อยูทายสุดติดตอกับไขสันหลัง
ประกอบดวย
3.1 เซรีเบลลัม (Cerebellum) อยูหลังเซรีบรัม ผิวดานนอกเปนคลื่นหยักนอยกวาเซรีบรัม มีหนาที่
- ควบคุมการทรงตัวของรางกาย
- เปนศูนยประสานการเคลื่อนไหวใหเปนไปอยางราบรื่น และสละสลวย (สัตวที่เคลื่อนไหว 3 มิติ
เชน นก ปลา มีสมองสวนนี้เจริญดีมาก)
3.2 พอนส (Pons) อยูดานหนาเซรีเบลลัมติดกับสมองสวนกลาง มีหนาที่
- ควบคุมการทํางานของอวัยวะบริเวณศีรษะ เชน การเคี้ยวอาหาร การหลั่งน้ําลาย
การหลับตา การยักคิ้ว การยิ้ม การเคลื่อนไหวบริเวณใบหนา เปนตน
- ควบคุมการหายใจ
- เปนทางผานของกระแสประสาทจากเซรีบรัมไปเซรีเบลลัม และเซรีเบลลัมไปไขสันหลัง
3.3 เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla Oblongata) อยูทายสุดติดกับไขสันหลัง มีหนาที่
- ควบคุมการเตนของหัวใจ การหายใจ และความดันเลือด
- เปนศูนยควบคุมการกลืน การไอ การจาม การสะอึก การอาเจียน
- เปนทางผานของกระแสประสาทระหวางสมองกับไขสันหลัง
อวัยวะรับสัมผัส (Sense Organ)
นัยนตา
¾ เปนอวัยวะรับแสงทําใหมองเห็นสิ่งตางๆ และบอกสีของวัตถุนั้นๆ ได
¾ มีสวนประกอบปองกันอันตราย ลูกนัยนตา (Eyeball) ดังนี้
- คิ้วและขนตา ปองกันฝุนละออง
- หนังตา ปองกันอันตรายจากสิ่งแปลกปลอมเขาตา
- น้ําตา ผลิตจากตอมน้ําตาที่ขอบบนของหางตา ชวยหลอเลี้ยงลูกตาใหชุมชื้น (ภายในน้ําตามีสาร
ชวยฆาจุลินทรีย และน้ํามันเคลือบลูกนัยนตา)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (133)


¾ นัยนตาคนคอนขางกลมอยูในเบาตา ขนาด 2.5 เซนติเมตร ประกอบดวยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ดังนี้

โครงสรางนัยนตามนุษย
1. สเคลอรา (Sclera)
- เปนเยื่อเหนียวไมยืดหยุนอยูชั้นนอกสุดของนัยนตา มีสีขาวจึงเห็นเปนสีขาว
- สวนหนาสุดเยื่อชั้นนี้โปรงใสและนูน เรียกวา “กระจกตา (Cornea)” เปนทางผานของแสง
เขาสูดานในตา (ปจจุบันสามารถเปลี่ยนกระจกตาใหกับผูปวยที่มีกระจกตาพิการได)
2. โครอยด (Choroid)
- เปนเยื่อบางๆ มีเสนเลือดฝอยมาเลี้ยง และมีรงควัตถุกระจายอยูจํานวนมาก ปองกันไมใหแสง
ผานไปดานหลังนัยนตา
- ดานหนาเลนสตามีแผนกลามเนื้อยื่นออกมาจากชั้นโครอยด เรียกวา “มานตา (Iris)” ซึ่งมีสี
ตางกันขึ้นกับรงควัตถุ เชน มีเมลานิน (Melanin) มากทําใหเห็นตาสีดํา มีกวานีน (Guanine) ปนกับเมลานิน
ทําใหเห็นตาสีฟา สวนคนเผือกไมมีรงควัตถุที่มานตา จึงเห็นมานตาเปนสีแดงของเสนเลือด
- ชองกลางมานตา คือ ปวปล (Pupil) จะเปลี่ยนขนาดตามความเขมแสง กลาวคือ ในที่มี
แสงสวางจามานตาจะคลายตัว ทําใหปวปลแคบลง แตในที่มืดสลัวมานตาจะหดตัว ทําใหปวปลกวางขึ้น มานตาจึง
ทําหนาที่ควบคุมปริมาณแสงเขาสูนัยนตา
3. เรตินา (Retina) อยูชั้นในสุด ทําหนาที่เปนจอรับภาพ ประกอบดวยเซลลรับแสง 2 ชนิด คือ
3.1 เซลลรูปแทง (Rod Cell)
- มีความไวตอแสงมาก ทํางานไดดีแมในที่มีแสงสลัวๆ แตไมสามารถบอกความแตกตาง
ของสีได
- ภายในเซลลรูปแทงมีสารสีมวงแดง เรียกวา “โรดอปซิน (Rhodopsin)” เมื่อไดรับแสง
จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเปน Lumirhodopsin ทําใหเกิดกระแสประสาทขึ้น ถายทอดไปตามใยประสาทจากนั้น
Lumirhodopsin ก็จะเปลี่ยนเปน Metarhodopsin แลวสลายเปนออปซิน (Opsin) กับเรตินีน (Retinine)
ซึ่งจะรวมตัวกลับไปเปนโรดอปซินตามเดิม

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (134) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


3.2 เซลลรูปกรวย (Cone Cell)
- ทํางานไดดีในที่มีแสงสวางมาก สามารถบอกความแตกตางของสีตางๆ ได
- ภายในเซลลรูปกรวย มีสารไวแสง คือ ไอโอดอปซิน (Iodopsin หรือ Photopsin)
- เรตินาแตละขางมีเซลลรูปกรวยประมาณ 7 ลานเซลล กระจายอยูมากทางดาน หลังเรตินา
- เซลลรูปกรวยแบงเปน 3 ชนิด คือ ชนิดที่รับแสงสีแดง สีน้ําเงิน และสีเขียว
ซึ่งอาจทําใหเกิดสีผสมได เชน หากกระตุนเซลลรูปกรวยดวยความเขมแสงเทากันจะเกิดสีใหม ดังนี้
สีแดง + สีเขียว เห็นเปนสีเหลือง
สีแดง + สีน้ําเงิน เห็นเปนสีมวง
- บริเวณที่มีเซลลรูปกรวยหนาแนนที่สุด คือ จุดกึ่งกลางของเรตินา เรียกวา “โฟเวีย (Fovea)”
หากภาพตกที่จุดนี้จะเห็นภาพชัดเจนที่สุด
- บริเวณที่ไมมีเซลลรับแสงอยูเลย คือ จุดบอด (Blind Spot) ซึ่งมีเสนประสาทสมองคูที่ 2
มารับกระแสประสาท จะไมสามารถรับภาพไดเลย
หู
¾ เปนอวัยวะรับฟงเสียง โดยการรับความถี่คลื่นเสียงระดับตางๆ และควบคุมการทรงตัว
¾ หูของคนแบงออกเปน 3 สวนคือ

โครงสรางหูมนุษย

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (135)


1. หูสวนนอก (Outer Ear) ประกอบดวย
- ใบหู (Pinna) เปนกระดูกออนยืดหยุนได พบเฉพาะสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม มีหนาที่รับ
และรวบรวมคลื่นเสียงผานรูหู
- รูหู (External Auditary Canal) เปนทอกลวง ภายในมีขนเล็กๆ และตอมสรางขี้หู (Ceruminous
Gland) สรางสารคลายขี้ผึ้งเคลือบไมใหรูหูแหง นานๆ เขาจะสะสมรวมกับฝุนละออง กลายเปนขี้หูหลุดออกมาเอง
โดยไมตองแคะ
- เยื่อแกวหู (Tympanic Membrane) เปนเยื่อบางๆ กั้นระหวางรูหูกับหูสวนกลาง เมื่อคลื่นเสียง
ผานเขามาจะสั่นสะเทือน และสงแรงสั่นสะเทือนไปยังหูสวนกลาง
2. หูสวนกลาง (Middle Ear) ประกอบดวย
- กระดูกหูรูปคอน (Malleus) ทั่ง (Incus) และโกลน (Stapes) มีหนาที่ขยายระดับคลื่นเสียง
เพิ่มจากหูสวนนอกประมาณ 22 เทา
- ทอยูสเตเชียน (Eustachian Tube) เปนทอเชื่อมตอกับคอหอย มีหนาที่ปรับความดัน ระหวาง
ภายนอกกับภายในหูใหเทากัน
3. หูสวนใน (Inner Ear) ประกอบดวย
- คอเคลีย (Cochlea) เปนหลอดยาวขดซอนกันคลายกนหอย ภายในมีของเหลว เรียกวา
“Endolymph” และอวัยวะรับเสียง เรียกวา “Organ Of Corti” ซึ่งมีความไวตอการสั่นสะเทือนมาก
และสงคลื่นไปยังเสนประสาทสมองคูที่ 8 เพื่อสงตอไปยังเซรีบรัมตอไป
- เซมิเซอรคิวลารแคแนล (Semicircular Canal) เปนหลอดครึ่งวงกลม 3 หลอด วางตั้งฉากกัน
ปลายหลอดพองเปนกระเปาะ เรียกวา “Ampulla” ภายในกระเปาะมีกลุมเซลลประสาทรับความรูสึก เรียกวา
“Crista” และกอนหินปูนเล็กๆ เรียกวา “Otolith” ทําหนาที่ควบคุมการทรงตัว รับรูตําแหนงและสมดุลของ
รางกายได
¾ โรคซิฟลิส และยาพวกสเตร็ปโตมัยซิน กานามัยซิน อาจทําลายเสนประสาทรับฟง และการทรงตัวได
จมูก
¾ เปนอวัยวะสําหรับดมกลิ่น ประกอบดวยรูจมูกและโพรงจมูก เปนทางผานของอากาศ
¾ เยื่อบุจมูก (Olfactory Membrane) มีเซลลรับกลิ่น (Olfactory Cell) ซึ่งสงกระแสประสาทไปยัง
สมองสวน Olfactory Bulb และ Cerebrum ตามลําดับ
ลิ้น
¾ เปนอวัยวะรับรส บริเวณผิวดานบนลิ้นมีปุมเล็กๆ มากมาย เรียกวา “ปาปลลา (Papilla)” ซึ่งภายใน
มีตุมรับรัส (Taste Bud) ทําหนาที่รับรสชาติของอาหาร
¾ ตุมรับรสมี 4 ชนิด คือ
- ตุมรับรสเปรี้ยวอยูบริเวณขางลิ้น
- ตุมรับรสเค็มอยูบริเวณปลายลิ้นและขางลิ้น
- ตุมรับรสหวานอยูบริเวณปลายลิ้น
- ตุมรับรสขมอยูบริเวณโคนลิ้น
¾ เซลลรับรส ในตุมรับรสจะสงกระแสประสาทไปตามเสนประสาทสมองคูที่ 7 และ 9 ไปยังเซรีบรัม

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (136) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


ระบบตอมไรทอ
1. ระบบตอมไรทอ (Endocrine System) สรางสารเคมี เรียกวา “ฮอรโมน (Hormone)”
เขาสูกระแสเลือด ลําเลียงไปยังอวัยวะเปาหมาย (Target Organ) เพื่อควบคุมการทํางานของอวัยวะใหเปนปกติ
2. ตอมไรทอ (Endocrine Gland) มีขนาดเล็ก ประกอบดวยเซลลมีลักษณะพิเศษ ไมมีทอลําเลียง
ฮอรโมนที่สรางขึ้น ตองใชกระแสเลือดชวยหมุนเวียน มีตนกําเนิดจากเนื้อเยื่อชั้นตางๆ ดังนี้

ระบบตอมไรทอ

เนื้อเยื่อ ตอมไรทอ
เอกโทเดิรม ตอมใตสมอง, ตอมไพเนียล, อะดรีนัลเมดัลลา
มีโซเดิรม อัณฑะ, รังไข, อะดรีนัลคอรเทกซ
เอนโดเดิรม ไทรอยด, พาราไทรอยด, ไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (137)


ฮอรโมนจากตอมไรทอตางๆ มีบทบาทตอมนุษย ดังนี้
1. ตอมใตสมอง (Pituitary Gland หรือ Hypophysis) มีขนาดเล็กเทาเมล็ดถั่ว
อยูดานลางสมองสวนไฮโพทาลามัส แบงออกเปน 3 สวน ดังนี้

ตอมใตสมอง

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (138) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


1.1 ตอมใตสมองสวนหนา สรางฮอรโมนมาควบคุมการทํางานของตอมไรทออื่นๆ จึงอาจเรียกวา
“Master Gland” ก็ได ฮอรโมนที่สรางจากตอมใตสมองสวนนี้ ไดแก
โกรทฮอรโมน (Growth Hormone : GH หรือ Somatotrophin Hormone : STH)
¾ ควบคุมการเจริญเติบโตโดยทั่วไปของรางกาย โดยเฉพาะการแบงเซลล การสังเคราะหโปรตีน
และการสรางกระดูก
¾ ถาขาดฮอรโมนนี้ในวัยเด็ก จะเปนโรคเตี้ยแคระ (Dwarfism) แตถาขาดในวัยผูใหญ จะเปน
โรคซิมมอน (Simmon’s Disease) ถามีฮอรโมนนี้มากเกินไปในวัยเด็ก จะเปนโรคยักษ (Gigantism) แตถามีมาก
ในผูใหญจะเปนโรคอะโครเมกาลี (Acromegaly)
โกนาโดโทรฟน (Gonadotrophin) ประกอบดวยฮอรโมน 2 ชนิด คือ
1. ฟอลลิเคิล สติมิวเลติงฮอรโมน (Follicle Stimulating Homone : FSH)
¾ กระตุนการเจริญของฟอลลิเคิลในรังไขของเพศหญิง และรวมกับฮอรโมน LH กระตุนให
ฟอลลิเคิลสรางฮอรโมนเอสโทรเจน (Estrogen)
¾ กระตุนการเจริญของอัณฑะและหลอดสรางอสุจิของเพศชาย
2. ลูทิไนซิงฮอรโมน (Luteinizing Hormone : LH)
¾ ทําใหเกิดการตกไข (Ovulation) และทําใหฟอลลิเคิลกลายเปนคอรพัสลูเทียม ซึ่งจะหลั่ง
ฮอรโมนโพรเจสเทอโรน (Progesterone) ออกมากระตุนผนังมดลูกชั้นใน (Endometrium) ใหเตรียมรับการฝงตัว
ของเอ็มบริโอ
¾ กระตุนกลุมเซลลอินเตอรสติเชียล (Interstitial Cell) ในอัณฑะใหหลั่งฮอรโมนเทสโทสเตอโรน
(Testosterone) จึงอาจเรียก LH อีกชื่อวา “Interstitial Cell Stimulating Hormone” หรือ “ICSH”
1.2 ตอมใตสมองสวนกลาง มีขนาดเล็กเห็นชัดในสัตวครึ่งบกครึ่งน้ํา ผลิตฮอรโมนเพียงชนิดเดียว
คือ เมลาโนไซตสติมิวเลติงฮอรโมน (Melanocyte Stimulating Hormone : MSH)
¾ กระตุนรงควัตถุเมลานิน (Melanin) ที่ผิวหนังใหกระจายไปทั่วเซลล ทําใหผิวมีสีเขมขึ้น
พบในสัตวพวกปลา สัตวครึ่งบกครึ่งน้ํา และสัตวเลื้อยคลาน ในสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม แตการเปลี่ยนสีผิวเกิดขึ้น
เพียงชั่วคราวและคอนขางชา
1.3 ตอมใตสมองสวนหลัง ไมใชตอมไรทอที่แทจริง เพราะสรางฮอรโมนเองไมได แตรับฮอรโมนมาจาก
ไฮโพทาลามัส ไดแก
ออกซีโทซิน (Oxytocin)
¾ กระตุนการหดตัวของกลามเนื้อเรียบ เชน กลามเนื้อมดลูกบีบตัวขณะคลอดบุตร กลามเนื้อ
รอบตอมน้ํานมบีบตัวใหน้ํานมหลั่งออกมาเลี้ยงลูกออน
วาโซเพรสซิน (Vasopressin) หรือแอนติไดยูเรติกฮอรโมน (Antidiuretic Hormone : ADH)
¾ ควบคุมการดูดน้ํากลับของทอหนวยไตเพื่อรักษาสมดุลของน้ําในรางกาย หากมี ADH ในเลือด
นอยเกินไป จะเกิดโรคเบาจืด คือ มีน้ําในปสสาวะมากกวาปกติ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (139)


2. ไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส (Islets Of Langerhans)
2.1 อินซูลิน (Insulin)
¾ ควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดใหเปนปกติ โดยกระตุนการนํากลูโคสเขาสูเซลลตับ และกลามเนื้อ
เพิ่มอัตราการสลายกลูโคสเพื่อสรางพลังงาน และเปลี่ยนกลูโคสเปนไกลโคเจนสะสมไว
¾ ถารางกายขาดอินซูลิน จะทําใหระดับน้ําตาลกลูโคสในเลือดสูงเกิน 400 mg ตอเลือด 100 cm3
เกิดเปนโรคเบาหวาน (Diabetes Millitus) มีอาการปสสาวะมาก มีน้ําตาลปนในปสสาวะ น้ําหนักลด ออนเพลีย
บาดแผลหายยาก มองภาพไมชัด
2.2 กลูคากอน (Glucagon) กระตุนการสลายไกลโคเจนจากตับเปนกลูโคส เขาสูระบบหมุนเวียนเลือด
และกระตุนการสรางกลูโคสจากสารชนิดอื่น (Gluconeogenesis) จะเห็นวาการหลั่งฮอรโมนอินซูลิน และ
กลูคากอนถูกควบคุม โดยระดับน้ําตาลในเลือด
3. ตอมหมวกไต (Adrenal Gland)
¾ เปนตอมไรทอ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก อยูสวนบนของไตทั้ง 2 ขาง
¾ ประกอบดวยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ
3.1 อะดรีนัลคอรเทกซ (Adrenal Cortex)
เปนเนื้อเยื่อชั้นนอกของตอมหมวกไตเจริญมาจากเนื้อเยื่อ Mesoderm ผลิตฮอรโมนประเภท
สเตรอยด มากกวา 50 ชนิด แบงเปน 3 กลุม คือ
กลูโคคอรติคอยดฮอรโมน (Glucocorticoid Hormone)
¾ ควบคุมเมแทบอลิซึมของคารโบไฮเดรต โดยกระตุนใหตับเปลี่ยนไกลโคเจนเปนกลูโคส ทําให
ระดับกลูโคสในเลือดสูงขึ้น
¾ มีหลายชนิด เชน คอรติซอล (Cortisol) คอรติโซน (Cortisone) คอรติคอสเตอโรน
(Corticosterone) เปนตน
มิเนราโลคอรติคอยดฮอรโมน (Mineralocorticoid Hormone)
¾ ควบคุมสมดุลของน้ําและแรธาตุในรางกาย โดยกระตุนใหทอหนวยไต ตอมเหงื่อ ผนังลําไสดูดน้ํา
และ Na เขาสูเสนเลือดและขับ K+ ออกจากทอหนวยไต
+
ฮอรโมนเพศ (Sex Hormone)
¾ มีบทบาทนอยเมื่อเทียบกับฮอรโมนเพศที่สรางจากอวัยวะสืบพันธุ
¾ หากอะครีนิลคอรเทกซสรางฮอรโมนเพศมากเกินปกติจะทําใหเปนหนุมสาวเร็วขึ้น เสียงหาว
มีขนตามรางกายมากกวาปกติ ผูหญิงบางคนมีหนวดเคราเกิดขึ้น

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (140) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


3.2 อะดรีนัลเมดัลลา (Adrenal Medulla)
เปนเนื้อเยื่อชั้นในสุดของตอมหมวกไต เจริญมาจากเนื้อเยื่อ Ectoderm ผลิตฮอรโมนที่สําคัญ
2 ชนิด คือ
อะดรีนาลินฮอรโมน (Adrenalin Hormone) หรือเอพิเนฟรินฮอรโมน (Epinephrine
Hormone)
¾ กระตุนการสลายไกลโคเจนจากตับและกลามเนื้อเปนกลูโคส ทําใหระดับน้ําตาลในเลือดสูงขึ้น
¾ กระตุนระบบประสาทสวนกลางใหตื่นตัว ตัดสินใจเร็ว และมีความกลา ขณะที่เปลี่ยนอารมณ
รุนแรง เชน โกรธ กลัว ตกใจ เปนตน
นอรอะดรีนาลินฮอรโมน (Noradrenalin Hormone) หรือนอรเอฟเนฟรินฮอรโมน
(Norepinephrine Hormone)
¾ หลั่งจากอะดรีนัลเมดัลลาและปลายประสาทของเสนประสาทซิมพาเทติก
¾ มีหนาที่คลายอะดรีนาลิน เชน กระตุนการเตนของหัวใจและเพิ่มระดับกลูโคสในเลือด
โดยสลายไกลโคเจน แตมีผลนอยกวาอะดรีนาลินมาก
4. ตอมไทรอยด (Thyroid Gland)
¾ เปนตอมไรทอขนาดใหญที่สุด ลักษณะเปนพู 2 พู อยูสองขางคอหอย มีเยื่อบางๆ เรียกวา
“Isthmus” เชื่อมตอกันระหวาง 2 พู
¾ กลุมเซลลภายในตอมไทรอยด สรางฮอรโมนได 2 กลุม คือ
4.1 ไทรอกซิน (Thyroxin)
¾ ควบคุมอัตราเมแทบอลิซึมในการใชออกซิเจนสลายอาหารใหเกิดพลังงาน
¾ ควบคุมการเจริญเติบโตของรางกายโดยเฉพาะพัฒนาการของสมอง
¾ กระตุนเมทามอรโฟซิสของสัตวครึ่งน้ําครึ่งบก ทําใหลูกออดเปลี่ยนเปนกบ (หากขา
ดฮอรโมนนี้ลูกออดจะไมเปลี่ยนเปนกบ หากไดรับมากจะเปลี่ยนแปลงรูปรางเร็วขึ้น และกบมีขนาดเล็กกวาปกติ)
4.2 แคลซิโทนิน (Calcitonin)
¾ มีหนาที่ลดระดับแคลเซียมในเลือด โดยดึงแคลเซียมสวนเกิน ไปสะสมในกระดูก
ทําใหกระดูกหนาขึ้น
5. ตอมพาราไทรอยด (Parathyroid Gland)
¾ สรางฮอรโมนพาราทอรโมน (Parathormone : PTH) ทําหนาที่รักษาสมดุลของแคลเซียมโดยดึง
Ca และ PO43- ออกจากกระดูก และเพิ่มการดูดกลับ Ca2+ ที่ทอหนวยไต
2+
¾ พาราทอรโมนจะทํางานตรงขามกับแคลซิโทนินเพื่อควบคุมสมดุลของแคลเซียม

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (141)


6. อวัยวะสืบพันธุ (Gonad) สรางฮอรโมนเพศออกมาควบคุมลักษณะทางเพศ ดังนี้
6.1 อัณฑะ (Testis)
¾ กลุมเซลลเรียกวา “เลยดิกเซลล (Leydig’s Cell)” ซึ่งแทรกอยูระหวางหลอดสรางอสุจิ
จะสรางฮอรโมนเพศชาย เรียกวา “แอนโดรเจน (Androgen)” ซึ่งมีหลายชนิด เชน เทสโทสเตอโรน (Testosterone)
แอนโดรสทีนไดโอน (Androstenedione) ดีไฮโดรเอพิแอนโดรสเตอโรน (Dehydroepiandrosterone)
¾ ฮอรโมนเพศชายมีหนาที่ควบคุมลักษณะเพศขั้นที่สอง (Secondary Sexual Characteristic)
ของเพศชาย เชน เสียงแตกหาว นมขึ้นพาน ลูกกระเดือกแหลม มีหนวดเครา มีขนบริเวณรักแร หนาอก หนาแขง
และอวัยวะเพศ กระดูกหัวไหลกวาง กลามเนื้อแขนขาแข็งแรง เปนตน
6.2 รังไข (Ovary)
¾ กลุมเซลล เรียกวา “ฟอลลิคูลาร เซลล (Follicular Cell)” ในรังไขจะสรางฮอรโมน
เพศหญิง เรียกวา “เอสโทรเจน (Estrogen)” มีหนาที่ดังนี้
¾ ควบคุมลักษณะเพศขั้นที่สองของเพศหญิง เชน มีเสียงแหลม สะโพกผาย เตานม และ
อวัยวะสืบพันธุ ขยายใหญ มีขนบริเวณรักแรและอวัยวะเพศ
¾ รวมกับฮอรโมนโพรเจสเทอโรนกระตุนการเจริญของตอมน้ํานม ควบคุมการมีประจําเดือน
¾ รวมกับฮอรโมนออกซีโทซิน กระตุนการบีบตัวของมดลูกขณะคลอดบุตร
¾ คอรปสลูเทียม (Corpus Luteum) ที่เปลี่ยนแปลงมาจากฟอลลิเคิลภายในรังไข
จะสรางฮอรโมนโพรเจสเทอโรน (Progesterone) มีหนาที่ดังนี้
¾ รวมกับอีสโทรเจนกระตุนการเจริญของเยื่อบุผนังมดลูก เตรียมรับการฝงตัวของเอ็มบริโอ
¾ การกินสารสังเคราะห ซึ่งเรียกวา “โพรเจสทิน (Progestin)” จะยับยั้งการหลั่งฮอรโมนโกนาโด
โทรฟนจากตอมใตสมองไดดี จึงชวยยับยั้งการตกไขได
7. ฟโรโมน (Pheromone) เปนสารเคมีที่สัตวหลั่งออกมาภายนอกรางกายแลวทําใหสัตวตัวอื่น ที่เปน
ชนิดเดียวกันเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหรือสรีระของรางกายได เชน สารดึงดูดเฟสตรงขาม สารนําทาง สารเตือนเหตุ
หรือหลั่งออกมาทําใหมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระ พบในแมลงสังคมพวกมด ปลวก ผึ้ง เชน ผึ้งราชินี จะหลั่งสาร
Queen Substance ออกมาใหผึ้งงานกินทําใหเปนหมัน

พฤติกรรมของสัตว
พฤติกรรม (Behavior) เปนปฏิกิริยาที่สิ่งมีชีวิตแสดงออกมา เพื่อตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอม
ทั้งภายนอกและภายในของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ
กลไกการเกิดพฤติกรรม มีลําดับขั้นดังแผนภาพ
สิ่งเรา → หนวยรับความรูสึก → ระบบประสาทสวนกลาง → หนวยปฏิบัติงาน → พฤติกรรม
พฤติกรรมที่มีมาแตกําเนิด (Inherited Behavior)
¾ เปนพฤติกรรมแบบงายๆ ที่มีแบบแผนแนนอน และมีลักษณะเฉพาะในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันสามารถ
ถายทอดทางพันธุกรรมไดโดยไมตองเรียนรูกอน
¾ พฤติกรรมที่ตอบสนองตอสิ่งแวดลอมเพื่อใหเหมาะสมตอการดํารงชีวิต เรียกวา “โอเรียนเตชัน
(Orientation)” แบงออกเปน

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (142) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


1. พฤติกรรมแบบไคนีซีส (Kinesis)
¾ เปนการเคลื่อนที่เขาหาหรือหนีสิ่งเรา โดยไมมีทิศทางแนนอน
¾ พบในพวกโพรทิสตหรือสัตวชั้นต่ําที่ยังไมมีระบบประสาทเจริญดีพอ
ตัวอยางเชน
- การเคลื่อนที่เขาหาฟองแกส CO2 หรือบริเวณที่มีสภาพเปนกรดออนๆ ของพารามีเซียม
- การเคลื่อนที่หนีแสงสวางของอะมีบา
- การเคลื่อนที่ของเหาไมในสภาพแวดลอมที่มีความชื้นนอยๆ
2. พฤติกรรมแบบแทกซิส (Taxis)
¾ เปนการเคลื่อนที่เขาหาหรือหนีสิ่งเราอยางมีทิศทางแนนอน เพราะมีหนวยรับความรูสึกเจริญดี
พอสมควร
¾ พบในโพรทิสตและสัตวชั้นต่ําบางชนิด
ตัวอยางเชน
- การเคลื่อนที่เขาหาแสงสวางของยูกลีนา พลานาเรีย แมลงเมา และเห็บบางชนิด
- การเคลื่อนที่หนีแสงของหนอนแมลงวันและลูกน้ํายุงลาย
- การบินเขาหาแหลงอาหารของคางคาวตามเสียงสะทอน
3. พฤติกรรมแบบรีเฟลกซ (Reflex)
¾ เปนการตอบสนองทันทีทันใดตอสิ่งเรา โดยไมตองรอคําสั่งจากสมอง มีแบบแผนการตอบสนอง
ที่แนนอนไมซับซอน
¾ พบในสัตวที่มีระบบประสาทเจริญดีแลว
ตัวอยางเชน
- การชักเทาหนีเมื่อเหยียบตะปู การหดมือหนีไฟ การกะพริบตาเมื่อมีฝุน การไอจามเมื่อเกิด
ระคายเคือง
- การหดตัวของหอยไปอยูในเปลือก
4. พฤติกรรมแบบรีเฟลกซตอเนื่อง (Chain Of Reflex)
¾ เปนพฤติกรรมที่มีมาแตกําเนิด แสดงออกไดโดยไมผานการเรียนรู มีแบบแผนที่แนนอนใน
สิ่งมีชีวิตแตละชนิด จึงอาจเรียกวา “พฤติกรรมสัญชาติญาณ (Instinctive Behavior)”
¾ มีการตอบสนองโดยการแสดงออกตอเนื่องเปนลําดับ โดยพฤติกรรมรีเฟลกซที่เกิดกอนจะ
กระตุนใหเกิดพฤติกรรมตอไปตอเนื่องกันเปนลําดับ
¾ สวนใหญเปนพฤติกรรมที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุ การเลี้ยงดูตัวออน การสรางที่อยูอาศัย
การหาอาหาร การอพยพ พบในพวกแมลง ปลา สัตวเลื้อยคลาน และนก
ตัวอยางเชน
- การสรางรังของนก
- การชักใยและการสรางปลอกหุมไขของแมงมุม
- การฟกไขและการเลี้ยงลูกออนของไก
- การดูดนมของเด็กออน
- การกลิ้งไขเขารังของหานเกรยแลค

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (143)


พฤติกรรมที่เกิดจากการรับรู (Learning Behavior) เกิดจากประสบการณตั้งแตแรกเกิด
จนถึงตัวเต็มวัยทําใหมีการแสดงออกที่ซับซอนและมีประสิทธิภาพ มีหลายรูปแบบ คือ
1. พฤติกรรมแบบแฮบบิชูเอชัน (Habituation)
เปนพฤติกรรมของสัตวที่ลดปฏิกิริยาตอบสนองตอสิ่งเราที่ไมเปนอันตรายทั้งๆ ที่สิ่งเรายังคง
กระตุนอยู พบในสัตวที่มีระบบประสาทเจริญดี ซึ่งสามารถจดจําสิ่งเราที่มากระตุน และแยกไดวาสิ่งเราใด มีอันตราย
หรือไม ตัวอยางเชน
- สุนัขจะเหาและหอน หรือตกใจเมื่อไดยินเสียง เครื่องบินในครั้งแรก ตอมาเมื่อไดยินซ้ําๆ
จนเคยชิน ก็ไมตอบสนองอีกเพราะไมมีผลตอตัวเอง
- ลูกนกจะตกใจกลัวทุกสิ่งที่ผานเหนือหัวจึงหมอบลง ตอมาจึงเรียนรูที่จะหมอบเฉพาะศัตรู
เชน เหยี่ยว แตถาเปนนกชนิดอื่นที่ไมเปนอันตราย หรือใบไมหลนลงมาก็จะไมมีปฏิกิริยาตอบสนอง
- นกจะตกใจบินหนีเมื่อเห็นหุนไลกาเคลื่อนไหวในครั้งแรกๆ ตอมาก็ไมมีปฏิกิริยาตอบสนอง
เพราะเรียนรูวาไมมีอันตราย
2. พฤติกรรมแบบฝงใจ (Imprinting Behavior)
เปนพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในชวงเวลาสั้นๆ เพื่อตอบสนองตอสิ่งเราที่ประสบเปนครั้งแรกของชีวิต
ความฝงใจที่เกิดขึ้นอาจจดจําไปตลอดชีวิตหรือฝงใจเพียงระยะหนึ่งก็ได ตัวอยางเชน
- การเดินตามวัตถุที่เคลื่อนไหวและมีเสียงไดจากการมองเห็นครั้งแรกของลูกเปด ไก หรือหาน
หลังฟกออกจากไข
- การวางไขที่ดอก หรือผลไมที่ยังออนของแมลงวันทอง หรือแมลงหวี่
3. พฤติกรรมแบบลองผิดลองถูก (Trial And Error)
เปนพฤติกรรมที่เรียนรูจากการไดทดลองทําดูกอน แลวเลือกตอบสนองตอสิ่งเราที่เกิดผลดี
และหลีกเลี่ยงการตอบสนองตอสิ่งเราที่เกิดผลเสียหรือเกิดอันตราย ตัวอยางเชน
- การเคลื่อนที่ของไสเดือนดินในกลองรูปตัว T หลังการทดลองซ้ําๆ ประมาณ 200 ครั้ง
ไสเดือนดินจึงเลือกทางที่ถูกตอง คือ ทางที่มืดและชื้น ถึง 90% ในขณะที่กอนฝก การเลือกทางที่เหมาะสมของ
ไสเดือนดินถูกตองเพียงประมาณ 50% เทานั้น
4. พฤติกรรมแบบมีเงื่อนไข (Conditioning)
เปนพฤติกรรมที่เรียนรูจากการตอบสนองสิ่งเราแทและสิ่งเราที่เปนเงื่อนไขรวมกัน และเมื่อ
กระตุนโดยสิ่งเราที่เปนเงื่อนไขเพียงอยางเดียวก็สามารถแสดงพฤติกรรมเชนเดิมได ตัวอยางเชน
สุนัข + อาหาร (สิ่งเราแท) → น้ําลายไหล
สุนัข + อาหาร + เสียงกระดิ่ง (สิ่งเราที่เปนเงื่อนไข) → น้ําลายไหล
สุนัข + เสียงกระดิ่ง → น้ําลายไหล
5. พฤติกรรมแบบใชเหตุผล (Reasoning)
เปนพฤติกรรมการเรียนรูขั้นสูงสุด โดยการนําประสบการณในอดีตมารวมเปนประสบการณใหม
เพื่อแกปญหาเฉพาะหนา หรือแกปญหาในสถานการณใหม
พฤติกรรมแบบนี้ไมพบในสัตวไมมีกระดูกสันหลัง สวนสัตวมีกระดูกสันหลังเห็นไดชัดในคน
และลิงเทานั้น ตัวอยางเชน
- ลิงชิมแปนซี ใชกลองมาวางซอนกันเพื่อใหสามารถหยิบกลวยในที่สูงๆ ได
- เด็กสามารถเดินออมรั้ว หรือไขกุญแจออกมาหยิบอาหารนอกรั้วได

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (144) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


พฤติกรรมทางสังคม เปนการสงสัญญาณใหสัตวชนิดเดียวกันหรือตางชนิดกัน แสดงพฤติกรรม
ออกมาทําใหสัตว ในสังคมนั้นดํารงชีวิตอยูเปนระบบได ตัวอยางเชน
¾ การสื่อสารดวยทาทาง (Visual Communication)
- การขยับปกขึ้นลงและถูขาตัวเองของแมลงวันเพศผู เพื่อเกี้ยวพาราสีกอนจะผสมพันธุ
- การรําแพนอวดหางของนกยูงเพศผู หรือการเตนรําสายตัวไปมาของนกกระเรียน เพื่อเกี้ยวพา
ราสีเพศเมีย
- การเตนรําของผึ้งเพื่อบอกแหลงอาหาร โดยพบวา เตนแบบวงกลม เริ่มเตนตามเข็มนาฬิกา
และทวนเข็มนาฬิกา แสดงวาอาหารอยูใกลๆ หางรังไมเกิน 70 เมตร เตนแบบเลขแปด หรือเตนสายทอง
(Waggle Dance) เริ่มเตนตามเข็มนาฬิกาในวงแรก และทวนเข็มนาฬิกาในวงที่สองแสดงวาอาหารอยูไกลจาก
รังมากกวา 70 เมตร
¾ การสื่อสารดวยเสียง (Sound Communication)
- การใชเสียงรองของกบตัวผู ชะนีตัวเมีย กระตุนใหเพศตรงขามไดยินเพื่อการผสมพันธุ
- การใชเสียงสะทอนกลับของคางคาวเพื่อหาแหลงอาหาร
¾ การสื่อสารดวยการสัมผัส (Tactile Communication)
พบในสัตวชั้นสูงเปนสวนใหญ แสดงถึงความเปนมิตร ความออนนอม และมีผลตอพัฒนาการ
ทางอารมณ ตัวอยางเชน
- สุนัขเลียปากสุนัขตัวอื่นที่เหนือกวา
- ลิงชิมแปนซียื่นมือใหตัวอื่นที่มีอํานาจเหนือกวาจับในลักษณะหงายมือ
- ลูกนกนางนวลใชจงอยปากจิกที่จงอยปากแม เพื่อใหแมคายอาหารออกมา

การสืบพันธุ
การสรางสมาชิกใหมแกประชากรพรอมกับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เพื่อดํารงเผาพันธุไมใหสูญหาย
มี 2 ระดับ คือ
1. ระดับเซลล (การแบงเซลล)
2. ระดับสิ่งมีชีวิต (ตัวของสิ่งมีชีวิต)
Organismic reproduction
- Asexual Reproduction
1. Fission 2. Fragmentation 3. Budding
4. Regeneration 5. Sporulation 6. Vegetative propagation
Fission สวนใหญพบใน protists หลังจากแบง เซลลจะแยกไปเจริญเติบโต
Sporulation เซลลแบงนิวเคลียสหลายครั้ง (mitosis) จนไดเซลลขนาดเล็กจํานวนมาก และแตละเซลล
เรียกวา spore
- Sexual Reproduction มีองคประกอบ 3 อยาง คือ
1. อวัยวะสืบพันธุ (Reproductive organs)
2. การสรางเซลลสืบพันธุ (Gametogenesis) 3. การปฏิสนธิ (Fertilization)
Conjugation เปนการสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพารามีเซียมโดยพารามีเซียม 2 ตัว จับคูกัน และมีการ
แลกเปลี่ยนสารพันธุกรรม

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (145)


ตางรางแสดงความแตกตางของการสืบพันธุแบบ Asexual Reproduction และแบบ Sexual Reproduction
ประเภท ลักษณะ
Asexual reproduction - ไมตองการอวัยวะพิเศษเฉพาะ
- สวนตางๆ ของรางกายมีการสรางเซลลใหมโดยการแบงเซลลแบบ mitosis
- ไมมีการรวมกันของนิวเคลียสในเซลลสืบพันธุ
- ลักษณะทางพันธุกรรมรุนลูกไมเปลี่ยนแปลงจากรุนพอ-แม
- รุนลูกทนทานตอการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมไดนอย
Sexual reproduction - มีการสรางเซลลสืบพันธุของเพศผูและเพศเมีย
- มีการแบงเซลลแบบ meiosis เพื่อลดจํานวนโครโมโซม
- จํานวน chromosome ลดลงครึ่งหนึ่งของเซลลรางกาย
- มีการผสมกันของเซลลสืบพันธุทั้งสองเพศเรียกวา การปฏิสนธิ (fertilization)
- พบไดในสิ่งมีชีวิตที่มีรางกายซับซอน
Gamete
Isogamete
- มีรูปรางและขนาดเหมือนกัน แยกเพศยาก พบในโพรติสตบางชนิด
Heterogamete
- Anisogamete รูปรางเหมือนกันแตขนาดตางกัน พบในโพรติสตบางชนิด
- Oogamete แตกตางกันทั้งขนาดและรูปราง
Gametogenesis
การสรางเซลลสืบพันธุในสัตว (Animal gametogenesis) แบงออกเปน 2 ชนิด คือ
- การสรางอสุจิ (Spermatogenesis)
- การสรางไข (Oogenesis)
ตารางเปรียบเทียบระหวางการสรางอสุจิและการสรางไข
ความแตกตาง Spermatogenesis Oogenesis
ตําแหนงที่เกิด Seminiferous tubules Ovary oogonium (2n) และพัฒนาเปน 1° oocyte (2n)
เซลลเริ่มตน 1 Spermatogonium (2n) ในชวงกอนคลอด 1 เดือน
Meiosis I 2 2° Spermatocyte (n) 2° oocyte (n) และ 1 st polar body (n)
Meiosis II 4 Spermatid (n) Ootid (n) ในระยะ metaphase II และ 1st polar body
(n) และจะแบงเซลลตอไปจนได ovum และ 2nd polar
body (n) เมื่อมีการปฏิสนธิ
Differentiation Spermatozoa (n) Ovum (n)
* 1st polar body (n) และ 2nd polar body (n) จะสลายไป

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (146) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


แสดงตําแหนงที่มีการสรางเซลลอสุจิ

แสดงการสรางเซลลสืบพันธุในคน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (147)


แสดงองคประกอบของอวัยวะในระบบสืบพันธุเพศชาย

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (148) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


แสดงอวัยวะในระบบสืบพันธุเพศหญิง

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (149)


ตารางแสดงชนิดและการทํางานของฮอรโมนที่เกี่ยวของกับระบบสืบพันธุในเพศชาย
ชนิด อวัยวะเปาหมาย การทํางาน
GnRH ให ant.pituitary gland กระตุนใหหลั่ง FSH และ ICSH (LH)
Follicular stimulating hormone กระตุนการเจริญของ seminiferous tub.
(FSH)
Interstitial cell stimulating Leydig cell สราง androgen
hormone (ICSH)
Androgen กระตุนการเกิด 2° male characteristics
- testosterone ยับยั้งการหลั่ง ICSH, hypothalamus
- aldosterone

ตารางแสดงชนิดและการทํางานของฮอรโมนที่เกี่ยวของกับระบบสืบพันธุในเพศหญิง
ชนิด อวัยวะเปาหมาย การทํางาน
GnRH ant. pituitary gland กระตุนให ant. pituitary gland หลั่ง FSH
และ LH
Follicle stimulating hormone 1° oocyte ที่มี follicle cell กระตุนให 1° oocyte ที่มี follicle cell
(FSH) ลอมรอบมีการแบง mitosis
Estrogen กระตุนการเกิด 2° female characteristics
และผนังมดลูกหนาตัว
Luteinizing hormone (LH) เซลลไข ทํางานรวมกับ FSH กระตุนใหไขเจริญเปน
corpus luteum
Progesterone ผนังมดลูก ทํางานรวมกับ estrogen กระตุนผนังมดลูก
ใหหนาตัว ยับยั้งการสราง FSH และ LH
Oxytocin มดลูก ทํางานรวมกับ prostaglandin ชวยในการ
บีบตัวของมดลูกทําใหเด็กคลอด
Prolactin ตอมน้ํานม กระตุนตอมน้ํานมสรางน้ํานม
กระตุน corpus luteum สราง
progesterone

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (150) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
แสดงการทํางานของฮอรโมนในระบบสืบพันธุเพศชาย แสดงการทํางานของฮอรโมนในระบบสืบพันธุเพศหญิง

_______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (151)


(a)

(b)

แสดงการกระตุนการทํางานของตอมน้ํานม

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (152) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


แสดงระดับของฮอรโมนชนิดตางๆ

แสดงการเปลี่ยนแปลงของเซลลไขและการทํางานของฮอรโมนในระบบสืบพันธุเพศหญิง

ปจจัยที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุ
สัตวที่ระบบรางกายไมซับซอน จะอาศัยปจจัยสิ่งแวดลอมภายนอกกระตุนใหมีการสรางฮอรโมน จึงมี 2 ปจจัย
คือ สิ่งแวดลอมภายนอก และฮอรโมน แตสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานมไมอาศัยปจจัยสิ่งแวดลอมภายนอก แตจะขึ้นกับ
ฮอรโมนเพียงอยางเดียว
การปฏิสนธิ (Fertilization) แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
การปฏิสนธิภายนอก (External fertilization) คือ การรวมตัวระหวางไขกับอสุจิ โดยที่เพศเมียปลอยไข
ออกมาภายนอกและเพศผูปลอยอสุจิออกมาผสม โดยมีน้ําเปนสื่อ เชน ในปลา กบ ซึ่งเพศเมียนั้นมักผลิตไขออกมา
เปนจํานวนมาก และไดตัวออนมากมาย เพื่อใหเหลือรอดชีวิตในสภาพแวดลอมที่เต็มไปดวยศัตรู และการดิ้นรน
ตอสู ในกลุมตัวออนที่ตองมาเจริญอยูภายนอก มักมีกรรมวิธีในการอยูรอด เชน การสรางเปลือกแข็งหุมตัวออนไว
จนกวาจะเจริญเติบโตพอที่จะชวยตัวเองได จึงหลุดจากเปลือกออกมา
การปฏิสนธิภายใน (Internal fertilization) คือ การที่เพศผูปลอยอสุจิออกเขาไปผสมกับไขที่อยูภายใน
เพศเมีย พบมากในสัตวบก เมื่อผสมแลวตัวออนอาจถูกสงมาเจริญภายนอก เชน นก ไก สัตวปกและสัตว
สะเทินน้ําสะเทินบกบางชนิด หรือเจริญอยูภายในจนถึงระยะหนึ่งแลวหลุดออกมาอยูภายนอก
ในกรณีที่เพศเมียเลี้ยงตัวออนภายในครรภ พบวาจํานวนตัวออนที่เกิดจากการผสมครั้งหนึ่งๆไมมากนัก
เพราตัวออนเหลานี้จะไดรับการเลี้ยงดูปกปองอยางดี

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (153)


การปฏิสนธิของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม
- เริ่มจาก Acrosomal reaction โดย sperm วายมาที่ไขที่มี zona pellucida หุม (คลาย vitelline
layer) และมี receptor แลว sperm ปลอย hydrolytic enzyme เพื่อเขาไป egg plasma membrane
- เกิดการเชื่อมรวมกันของ cell membrane ของ sperm และ egg เกิด membrane potential
ปองกัน sperm ตัวอื่นเขามาผสม เกิดการเปลี่ยนแปลงประจุไฟฟาที่บริเวณผิว membrane อยางรวดเร็วเรียกวา
fast block to polyspermy
- Cortical granule ปลอยสารออกมาและไมทําให fertilization membrane หนาตัว แตจะแข็งตัว
โดยที่ Fertilization membrane ขัดขวางไมให sperm ตัวอื่นเขาผสม เปน slow block to polyspermy

คือเกิดการหนาตัวขึ้นอยางชาๆ Microvilli ของ egg จะนํา sperm เขาไปทั้งเซลล (basal body ใน tail
จะบีบตัวเปน centriole ของ zygote) แลว Sperm nucleus กระตุนไข (2nd oocyte) แบง meiosis
ตอแลวนิวเคลียส sperm กับไขจะหลอมรวมกันได zygote (2n) แลวแบง mitosis เพื่อเพิ่มจํานวนเซลลตอไป
การตั้งครรภ (Pregnancy)
ขณะที่เริ่มตั้งครรภจนคลอด ระดับฮอรโมนในเลือดจะเปลี่ยนแปลงไป เริ่มจาก รกลูก (fetal placenta)
สราง Human Chorionic Gonadotropin(HCG) ชวยยืดอายุ corpus luteum ใหอยู 3-4 เดือน
หลังจากนั้นรกก็จะสราง estrogen และ progesterone แทนเพื่อชวยให embryo ไมหลุดจากมดลูก
ตลอดการตั้งครรภ อยางไรก็ดีฮอรโมน progesterone ตองมีระดับสูงกวา estrogen เพราะวาสมบัติของ estrogen
ไปทําใหมดลูกบีบตัว สวน progesterone ทําใหมดลูกลดการบีบตัวลง
ขณะตั้งครรภ ฮอรโมน prolactin จะคอยๆ เพิ่มระดับขึ้น และจะขึ้นสูงมากเมื่อใกลกําหนดคลอด เมื่อทารก
คลอดออกมาแลวถาแมใหลูกดูดนม ระดับฮอรโมน prolactin ยังคงสูงอยู
เมื่อใกลคลอด ฮอรโมน estrogen จะมีระดับสูงขึ้นทันทีทันใด จนมีระดับสูงกวา progesterone มดลูกจะบีบตัว
อยางแรงจนถุงน้ําคร่ําแตก ดันใหทารกหลุดออกมาจากมดลูกผานชองคลอด และรกหลุดตามออกมา เมื่อรกหลุดออกมา
ระดับฮอรโมน estrogen และ progesterone จะลดระดับลงมาทันทีอยูในระดับปกติ
ในระหวางที่ลูกดูดนม แรงกระตุนจากการดูดนม (suckling stimulus) จะผานเขาสูระบบประสาท
ไปยับยั้งการหลั่งของ gonadotropins (FSH, LH) จากตอมใตสมองสวนหนา ทําใหไมมีการเจริญของถุงไข
และไมมีการตกไข ถาลูกเลิกดูดนมจะไมมีตัวยับยั้งการหลั่งของ gonadotropins ตอมใตสมองสวนหนาจะหลั่ง
FSH, LH ออกมา วงจรก็เริ่มขึ้นใหม

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (154) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


Multiple pregnancy
ในการปฏิสนธิบางครั้งอาจทําใหเกิดตัวออนไดมากกวา 1 อาจเกิดจากไขและอสุจิมากกวา 1 เชน ไข 2 ใบ
อสุจิ 2 ตัวเรียกวา dizygotic (fraternal) twins อาจเปนเพศเดียวกันหรือตางเพศกันก็ได ลักษณะทาง
พันธุกรรมตางกัน หรือเกิดจากไข 1 ใบอสุจิ 1 ตัวเรียกวา monozygotic (identical) twins แตเกิดความผิดปกติ
ในการแบงเซลล เชน เกิดการแยกของ blastomere หรือ inner cell mass ออกเปน 2 กลุม การแบงหลังเกิด
ชอง amniotic cavity แลวเจริญเปนตัวออน (embryo) เพิ่มขึ้น ซึ่งมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกัน
และเปนเพศเดียวกัน
การผสมเทียม
วิธีการ สาเหตุ ลักษณะทั่วไป ขั้นตอน
In Vitro แมมี fallopian tube ปฏิสนธินอก เจาะไขที่สุกใสในจานเพาะเชื้อ
Fertilization ที่ตีบตัน รางกาย นํา sperm เขาผสมกับไขในจานแกว
(IVF) (ในหลอดแกว) นํา zygote (2 วัน) ใสกลับเขามดลูกแม
Gamete Intra ตองมีทอนําไขปกติ กระตุนใหไขตกหลายใบ
Fallopian ดูดไขผูหญิงออกมาเก็บไวในหลอด
tube ดูด sperm ใสในหลอดโดยมีฟองอากาศกั้น
Transfer ฉีดไขและ sperm เขาไปที่ทอนําไข
(GIFT) นํา blastocyst cell มาฝงที่ผนังมดลูก
ZIFT คลาย IVF ผสมอสุจิและไขนอกรางกาย จนไดระยะ zygote
ฉีด zygote กลับเขาไปในทอนําไข
ICSI เพศชายมีอสุจินอยมาก ใชเข็มแกวเล็กๆดูดอสุจิ 1 ตัว ฉีดเขาไปในไข
คุณภาพของอสุจิไมดี โดยตรง
เลี้ยงในตูอบจนไดตัวออนประมาณ 4-8 เซลล
นําตัวออนนี้กลับเขาไปในโพรงมดลูก

การเจริญเติบโตของสัตว กระบวนการที่สําคัญตอการเจริญเติบโต มี 4 ขั้นตอน คือ


1. การแบงเซลล เพื่อเพิ่มจํานวนเซลล (cell multiplication) แตยังไมพัฒนาเปนเซลลที่ทําหนาที่เฉพาะ
2. การเพิ่มขนาดของเซลล (cell growth) เกิดจากเซลลไดรับอาหารที่เพียงพอ
3. การเปลี่ยนแปลงเซลลเพื่อทําหนาที่เฉพาะอยาง (cell differentiation) มีการรวมกลุมเซลลที่ทําหนาที่
เหมือนกัน กลายเปนเนื้อเยื่อ
4. การเปลี่ยนแปลงรูปรางเปนอวัยวะและเกิดรูปราง (morphogenesis)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (155)


เสนโคงของการเติบโต (growth curve) เสนโคงที่แสดงอัตราการเติบโต อาจจะวัดออกมาเปนหนวย
น้ําหนักที่เพิ่มขึ้นตอหนวยเวลาที่เปลี่ยนไป สิ่งมีชีวติ สวนใหญ จะมีเสนโคงของการเติบโตเปนรูปตัว S หรือ
sigmoid curve เสมอ

แสดงเสนโคงการเจริญเติบโตของคนเปรียบเทียบกับกุง

เซลลไขของสัตวประเภทตางๆ พรอมที่จะเกิด fertilization ในระยะตางๆ กัน เชน


1. ตั้งแตยังไมเกิด meiosis เชน หนอน
2. ระยะ meiosis I เชน Ascaris
3. ระยะ meiosis II เชน สัตวเลี้ยงลูกดวยนม คน
4. เมื่อเกิด meiosis สมบูรณ เชน สัตวพวก echinoderms
Embryonic development
เปนการศึกษาชวงระยะการเจริญของเอ็มบริโอ ซึ่งจะเริ่มตนหลังจากไขเกิดการปฏิสนธิแลว เอ็มบริโอ
ระยะแรก คือ Zygote ระยะเอ็มบริโอจะสิ้นสุดเมื่อเกิดอวัยวะตางๆ ครบ ในสัตวชนิดตางๆ จะมีชวงเวลาของการ
เกิดเอ็มบริโอแตกตางกัน เชนในคน ประมาณ 8-10 สัปดาห ไกประมาณ 4 วัน และกบประมาณ 2 วัน เปนตน
จากไซโกตซึ่งเปนเซลลเดี่ยวไปสูสภาพที่ซับซอนขึ้น โดยเกิดขึ้นเปนลําดับขั้นตอนตางๆ ดังนี้
Cleavage เปนกระบวนการที่ไซโกตมีการแบงเซลลแบบ mitotic division อยางรวดเร็ว ทําใหได
เอ็มบริโอที่มีหลายเซลล เรียกวา blastula ระยะ cleavage เซลลจะผาน S และ M phase ของ cell cycle
โดยไมเกิด G1 และ G2 และเอ็มบริโอไมเพิ่มขนาดขึ้น cytoplasm ของ zygote จะแบงจนไดเซลลเล็กๆ
จํานวนมาก เรียก blastomere องคประกอบในเซลล (mRNA, proteins, yolk) กระจายไมสม่ําเสมอ (polarity)
yolk เปน key factor ในการกําหนด polarity และมีผลตอ cleavage Zygote ประกอบดวย 2 สวน ไดแก
vegetal pole และ animal pole โดยที่การเกิด Cleavage ที่ animal pole เกิดขึ้นเร็วกวาที่ vegetal pole
ผลของ cleavage ไดเอ็มบริโอมีลักษณะเปนกอนกลมตัน เรียกวา morula ตอมาเกิดชองวางที่มีของเหลว
บรรจุอยู (blastocoel) ภายใน morula เรียกเอ็มบริโอระยะนี้วา blastula
ใน cytoplasm ของไขกบจัดเรียงตัวใหมขณะเกิด fertilization ทําใหเกิดบริเวณสีเทา ที่เรียกวา gray
crescent ซึ่งเกิดบริเวณตรงกลางของไขดานตรงขามกับที่ sperm เจาะเขาไป

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (156) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


ตารางแสดงความแตกตางปริมาณ yolk ที่อยูในไขมีผลตอ cleavage
ปริมาณไข ลักษณะการเกิด Cleavage
นอยหรือปานกลาง การแบงเซลลเกิดขึ้นตลอดทั้งไข เรียก holoblastic cleavage
มาก แบงเฉพาะสวนที่ไมมี yolk ดาน animal pole เรียก meroblastic cleavage

ตารางแสดงลักษณะการเกิด cleavage ของสิ่งมีชีวิตแตละชนิด


สิ่งมีชีวิต รูปแบบของ Clevage
เมนทะเล คน equal holoblastic cleavage
กบ unequal holoblastic cleavage
ไก meroblastic cleavage

Gastrulation เปนกระบวนการเกิดเนื้อ 3 ชั้นเรียกวา embryonic germ layers แบงออกเปน


ectoderm เนื้อชั้นนอกของ gastrula mesoderm เนื้อชั้นกลาง และ Endoderm เนื้อชั้นใน ซึ่งเปนทอยาวใน
นอกจากนั้นระยะนี้เปนระยะที่เกิด cell motility ซึ่งกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง 2 รูปแบบ คือ การเปลี่ยนแปลง
รูปรางของเซลลและการเปลี่ยนแรงยึดเหนี่ยวระหวางเซลล
Organogenesis การเกิดอวัยวะตางๆจากเนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ
- neutral tube และ notochord เปนอวัยวะแรกที่เกิดขึ้นในกบ และ สัตวพวก chordate อื่นๆ
- dorsal mesoderm เหนือ archenteron รวมกันเกิดเปน notochord
- ectoderm เหนือ notochord หนาตัวขึ้นเกิดเปน neutral plate แลวบุมลงไปเปน neutral tube
ซึ่งตอไปจะเจริญเปน brain, spinal cord และมีอวัยวะอื่นๆ เกิดขึ้นตามมา

แสดงการแบงเซลลของเอ็มบริโอในระยะตางๆ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (157)


การเจริญเติบโตของกบ
ไขกบเปนไขชนิด telolecithal egg ซึ่งปนไขที่มีไขแดงรวมกัน อยูทางดานใดดานหนึ่งของไข โดยดานบน
ของไข มีไขแดงนอย มีนิวเคลียสอยูดวย เรียกบริเวณนี้วา animal pole ดานลาง จะมีไขแดงสะสมอยูมาก
เรียกวา vegetal pole ไขกบที่ออกมานอกตัวแมอยูในระยะ metaphase II เมื่อถูกผสมจากอสุจิเปน zygote
แลว จะแบงเซลลแบบ mitosis ไปเรื่อยๆ โดยที่ขนาดของเซลลเล็กลงทุกที และมีจํานวนเพิ่มขึ้น ระยะนี้เรียกวา
cleavage stage จนไดเอ็มบริโอรูปรางคลายนอยหนาเรียกวา morula จากนั้นเซลลที่อยูดานในจะเคลื่อนที่
แยกออกจากกัน ทําใหเกิดชองวาง blastocoel ที่มีของเหลวอยู เอ็มบริโอระยะนี้เรียกวา blastula stage ตอมา
เซลลดานบนมีการแบงเซลลอยางรวดเร็วกวาเซลลดานลาง ทําใหเซลลดานบนเคลื่อนที่ลงมาคลุมดานลางไว
พรอมทั้งดันเซลลดานลางใหบุมเขาไปขางใน แลวเซลลดานบนที่แบงลงมาก็เคลื่อนที่ตามเขาไปทําใหเซลลตางๆ
ของตัวออนเรียงกันเปนชั้นๆ และมีชองใหมเกิดขึ้น คือ gastrocoel เอ็มบริโอระยะนี้เรียกวา gastrula stage

แสดงการพัฒนาของตัวออนกบ

blastocoel จะมีขนาดเล็กลงเรื่อยๆ เนื่องจากถูกเบียด และหายไป ในขณะที่ชอง gastrocoel


ขยายใหญขึ้น บริเวณปากชอง gastrocoel คือ blastopore พบวา สวนของ blastopore จะเจริญเปนทวารหนัก
สวนตรงขามกับ blastopore จะเปลี่ยนแปลงไปเปนปาก ดังนั้นกบจึงเปนสัตวที่มีทวารหนักเกิดกอนปาก
(deuterostome) gastrocoel จะพัฒนาเปนทางเดินอาหาร และการพัฒนาของระบบประสาทโดยเริ่มจาก ectoderm
ที่อยูเหนือ notochord หนาตัวขึ้นเปน neural plate จากนั้นขอบดานซายและดานขวาของ neural plate
ยกตัวขึ้นเปน neural folds จนในที่สุดเมื่อ neural folds โคงเขาชิดกันเกิดเปน neural tube ขณะที่ mesoderm
ที่อยูดานขางของ notochord จะแปรสภาพไปเปน somites (อยู 2 ขางของ neural tube)

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (158) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


การเจริญเติบโตของไก
ไขเปนชนิด polylecithal egg ไดแก ไขที่มีไขแดงบรรจุเปนอาหารสะสมอยูเปนจํานวนมาก มีเพียง
บริเวณเล็กๆ ใกลผิวเซลลเทานั้นที่ไมมีไขแดงอยู สวนนี้มีนิวเคลียสและไซโทพลาซึมอยู (germinal spot)
เซลลของไขไก คือ สวนที่เรียกวาไขแดงเทานั้น ไขขาวและเปลือกไขเปนสวนประกอบที่อยูภายนอกเซลล
ไกเปนสัตวที่มีการปฏิสนธิภายในตัว อสุจิจะเขาปฏิสนธิกับไขกอนที่จะมีการไขขาวและเปลือกไขมาหุม เมื่ออสุจิ
ปฏิสนธิกับนิวเคลียสไข จะได zygote และ cleavage จนไดเอ็มบริโอระยะ blastula และ gastrula ตามลําดับ
ทําใหจุดบนไขแดงเกิดเปนบริเวณกวาง เรียกวา germinal disc
เริ่มดวยการแยกชั้นของเซลลในระยะ blastula ออกเปน 2 ชั้น ชั้นบนเรียกวา epiblast เจริญเปลี่ยนแปลง
ไปเปนเนื้อเยื่อชั้นนอก สวนชั้นลาง คือ hypoblast เจริญไปเปนเนื้อเยื่อชั้นใน ชองระหวางชั้นทั้งสอง คือ
blastocoel ระยะ gastrula จะเกิดการเคลื่อนที่ของ epiblast เขาไปใน blastocoel ซึ่งจะเจริญพัฒนา
ไปเปนเนื้อเยื่อชั้นกลาง กลุมเซลล epiblast ดานขวาและซายเคลื่อนที่เขาสูแนวกลาง และมวนตัวเขาไปขางใน
เรียกวา primitive streak โดยกลุมเซลลทางดานหนาสุดเรียกวา Hensen’s node มวนตัวเขาไปกอน
เกิดเปนแทง notochordเนื้อเยื่อทั้ง 3 ชั้น จะเจริญไปเปนอวัยวะตางๆของไก และเจริญไปเปนโครงสรางที่อยู
นอกเอ็มบริโอ (extraembryonic structure) ซึ่งโครงสรางเหลานี้จําเปนสําหรับสิ่งมีชีวิตที่ออกลูกเปนไข 4 อยาง
คือ
- ถุงไขแดง (yolk sac)
- ถุงน้ําคร่ํา (amnion)
- chorion
- allantois

แสดงการพัฒนาของเซลลในระยะ Blastula ของตัวออนไก

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (159)


แสดงโครงสรางไข

โครงสรางของไข
ตารางแสดงโครงสรางของไขไก
องคประกอบ ลักษณะ บทบาท
- เปนสวนที่มีเสนเลือด เพื่อลําเลียงอาหารจาก endodermal cell ภายในบรรจุอาหารสําหรับ
ถุงไขแดง
- เจริญมาจากเนื้อเยื่อชั้นใน และบางสวนของเนื้อเยื่อชั้นกลาง ตัวออน
(yolk sac)
และบางสวนของเนื้อเยื่อชั้นกลาง
- เจริญจากเนื้อเยื่อชั้นใน แลกเปลี่ยนแกสกับภายนอก,
allantoids - เจริญออกจากตัวเอ็มบริโอแทรกชิดไปกับเปลือกไข เก็บของเสียพวก uric acid
- มีขนาดใหญขึ้นเมื่อเอ็มบริโอมีอายุมากขึ้น
ถุงน้ําคร่ํา - เปนถุงชั้นใน อยูใกลเอ็มบริโอ มีของเหลวบรรจุ ปองกันการกระทบกระเทือน
(amnion)
- เปนถุงชั้นนอก ลอมรอบเอ็มบริโอ และโครงสรางที่อยูนอก แลกเปลี่ยนแกส
Chorion เอ็มบริโอทั้งหมด
- อยูใกลเปลือกไข
Chorionic - ชองระหวางถุงน้ําคร่ําและคอเรียน ติดตอไปถึงชองเอ็มบริโอได
cavity
ปองกันสวนประกอบทั้งหมด
เปลือกไข ภายในไข
(shell) ปองกันการสูญเสียน้ําได
อยางดี

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (160) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


การเจริญเติบโตของคน
ไขเปนชนิด alecithal egg คือ มีไขแดงสะสมอยูนอยมาก การปฏิสนธิเกิดที่ fallopian tube สวนตน แลว
embryo จะเคลื่อนตัวจนกระทั่งมาฝงที่ผนังมดลูก (endometrium) ระยะที่มีการฝงตัวของเซลล คือ ระยะ
blastocyst
Blastocyst มีเซลล 2 กลุม คือ trophoblast เรียงตัวอยูรอบๆ และ inner cell mass อยูตรงกลาง
ฝงตัว (implantation) ที่ผนังมดลูกจะฝงในวันที่ 7 หลังปฏิสนธิแลวจึงเกิดรก (placenta) ซึ่งมี 2 สวน คือ รกแม
(maternal placenta) เกิดจาก endometrium ของแม และรกลูก (fetal placenta) ประกอบดวยสวนถุง
chorion ที่พัฒนาจาก embryo ระยะ blastocyst นี้ blastomere แบงออกเปน 2 กลุม คือ กลุม trophoblast
ที่ลอมรอบชอง blastocyst cavity ซึ่งจะเจริญเปนสวนหนึ่งของรกและหาอาหารเลี้ยงตัวออน อีกกลุมหนึ่ง
อยูทางดานบนเรียกวา inner cell mass เจริญเปนตัวออนตอไป หลังจากปฏิสนธิ embryo จะสรางถุง chorion
ลอมรอบ บางสวนของถุงยื่นเปนแขนงเล็กๆ เรียกวา chorionic villi แทรกไปใน endometrium ของมดลูก
และพัฒนาเปนรก Embryo สรางถุงน้ําคร่ําหอหุมตัวเองปองกันกระแทก ซึ่งประกอบดวยฮอรโมนและเอนไซม
รวมทั้งสารอาหารตางๆ

แสดงการพัฒนาของทารกในครรภ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (161)


การคุมกําเนิด (Contraception)
การคุมกําเนิดมีไดหลายวิธี สามารถเลือกใชตามความเหมาะสมของสุขภาพ ความสะดวก และรางกายของ
แตละบุคคล ประสิทธิภาพในการคุมกําเนิดแตละวิธีนั้น ขึ้นอยูกับความถูกตองในการใช ซึ่งอธิบายพอสังเขปไดดังนี้
ผูหญิง
- ปองกันไมใหไขสุก ไมใหเกิด ovulation โดยทานยาคุมกําเนิดที่มี estrogen / progesterone
- ปองกันบริเวณที่มีการปฏิสนธิ โดยการผูกหรือตัดทอนําไข
- ปองกันการปฏิสนธิจาก sperm โดยการใชยาฆา sperm หรือการใชแผนครอบกั้นปากมดลูก การใช
ถุงยางอนามัย
- ปองกันการฝงตัวของ blastocyst โดยใสหวงคุมกําเนิด
- การนับวันปลอดภัย
- การทําแทง
- การทําหมัน
ยาเม็ดคุมกําเนิด
เปนการปองกันการตกไข ประกอบดวยฮอรโมน 2 ชนิด คือ progestin (โพรเจสเทอโรนสังเคราะห) และ
เอสโทรเจน ซึ่งจะมีผลไปยับยั้งการหลั่ง LH และ FSH วิธีใช คือรับประทานครั้งละ 1 เม็ดเปนเวลา 3 สัปดาห
แลวหยุด สัปดาหตอไปจะเวนการรับประทาน หลังจากนั้นเมื่อขาดฮอรโมนประจําเดือนจะไหล วิธีนี้เปนวิธีที่มี
ประสิทธิภาพสูงถึง 99.7 เปอรเซ็นต
การฉีดยาคุมกําเนิด
เปนการปองกันการตกไขไดอีกวิธีหนึ่ง โดยฉีดฮอรโมน progestin ฮอรโมนนี้ โดยออกฤทธิ์กดการทํางาน
ของตอมใตสมองสวนหนา ฉีดเขากลามเนื้อของสตรีที่ตองการคุมกําเนิดทุกๆ 3 เดือน

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (162) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


การฝงแคปซูลเขาใตผิวหนัง
เปนการฝงฮอรโมน progestin ที่เปนแคปซูลบริเวณใตทองแขน ฮอรโมนถูกปลอยออกจากแคปซูล
ในปริมาณนอยๆ อยางตอเนื่องในกระแสเลือด มีผลยับยั้งการตกไขและกระตุนการหลั่งเมือกเหนียวในชองคลอด
การฝงแคปซูลจะอยูได 5 ป มีผลขางเคียงสําหรับผูใช คือ กระปดกระปอยอาจนานถึง 1 ป
การใช diaphragm
เปนวิธีการคุมกําเนิดโดยใชฝาครอบปากมดลูก เพื่อปองกันการเขาไปปฏิสนธิของอสุจิ กอนใชมักจะทาครีม
ลงบน diaphragm เพื่อฆาอสุจิ อัตราการตั้งครรภโดยวิธีการใชไดอะแฟรมนอยกวา 10%
การปองกันการฝงตัวของตัวออน (prevent implantation)
เปนวิธีการคุมกําเนิดโดยวิธีการใสหวง (intra-uterine device หรือ IUD) เปนพลาสติกรูปกลม หรือโคง
ขนาดเล็ก สอดเขาไปในมดลูก การใสครั้งหนึ่งอาจทิ้งไวไดนานถึง 10 ป หรือจนตองการมีบุตร กลไกการทํางาน
ของวิธีการนี้ยังไมสามารถระบุไดชัด แตพบวารางกายผลิตเม็ดเลือดขาวออกมาตอตานสิ่งแปลกปลอม ขอเสีย คือ
เลือดไหลกระปดกระปอยและเปนลิ่ม เสี่ยงตอการอักเสบของมดลูก ปจจุบันไมเปนที่นิยมใช และเปนวิธีที่มี
ประสิทธิภาพถึง 90 เปอรเซ็นต
การคุมกําเนิดแบบนับวัน (rhythm method)
เปนการหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธในชวงไขตก จากการศึกษาพบวา ไขที่ตกสามารถมีชีวิตอยูในทอนําไข
ไดนาน 24 ถึง 48 ชั่วโมง สวนอสุจิอยูในทอนําไขไดนานถึง 72 ชั่วโมง ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ
ในชวง 7 วันกอนและหลังไขตก ประสิทธิภาพของการคุมกําเนิดดวยวิธีนี้ ตองใชควบคูไปกับความรูเรื่องการ
เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในรางกาย การเปลี่ยนแปลงของเมือกในชองคลอด เปนตน อัตราการตั้งครรภจากการ
คุมกําเนิดแบบนับวัน คือ 10 ถึง 20%
การแทง (abortion)
ภาวะสิ้นสุดการตั้งครรภกอนถึงกําหนดคลอดตามปกติ เนื่องจากการตายของตัวออนหรือทารก แบงออก
เปน 3 ประเภท คือ
1. การแทงเอง (spontaneous abortion) เกิดจากความผิดปกติของตัวออนเอง พบประมาณ 1 ใน 3
ของหญิงตั้งครรภ
2. การทําแทงเพื่อการรักษา (therapeutic abortion) เปนวิธีการทําแทงเพื่อรักษาชีวิตของแมที่มีปญหา
ดานสุขภาพทางกายหรือจิตใจ หรือเมื่อพบความผิดปกติของตัวออน
3. การทําแทงเพื่อการคุมกําเนิด ซึ่งเปนการทําแทงที่ใชวิธีแตกตางกันตามอายุทารก เชน ชวง 3 เดือนแรก
ใชวิธีการดูดออก หลังจาก 3 เดือนขึ้นไป ใชวิธีการถางขยายปากมดลูกและดูดออก เปนตน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (163)


ผูชาย
- การหลั่งภายนอก โดยฝายชายจะหลั่งน้ํากามภายนอกระบบสืบพันธุเพศหญิง พบวาโอกาสในการ
ตั้งครรภมีสูงถึง 22 เปอรเซ็นต
- ปองกันไมใหอสุจิ ออกมาภายนอก โดยการทําหมัน ตัดที่ vas deferens (vasectomy)
- ปองกันการปฏิสนธิ โดยการใชถุงยางอนามัย

ตางรางแสดงความแตกตางการทําหมันชายและการทําหมันหญิง
ความแตกตาง ชาย (Vasectomy) หญิง (Tubal ligation)
จุดมุงหมาย ไมใหอสุจิผานทออสุจิออกมา ไมใหไขผานทอนําไขมาผสมกับอสุจิ
วิธีการ ตัดทอ vas deferens ออกสวนหนึ่ง ตัดทอนําไขออกสวนหนึ่งและผูกปลายไว
ผล อสุจิถกู ดูดซึมกลับเขาไปในอัณฑะ ไขยังคงมีการเจริญแตผานออกไปผสมไมได
น้ําอสุจิจะไมมีอสุจิอยู
การแกหมัน การเชื่อมตอทอ vas deferens การเชื่อมตอทอนําไข

พืชดอก มีองคประกอบของระบบสืบพันธุ ดังนี้


- กลีบเลี้ยง (sepal) มีสีเขียวลักษณะคลายใบ
- กลีบดอก (petal) เปนชั้นที่มีสีสวยงาม
- เกสรตัวผู (stamen) ประกอบดวยอับเรณู (anther) และกานชูอับเรณู (filament)
- เกสรตัวเมีย (pistil) ประกอบดวย ยอดเกสรตัวเมีย (stigma) กานเกสรตัวเมีย (style) และรังไข (ovary)
กระบวนการสรางเซลลสืบพันธุของพืชดอก
Microsporogenesis
Anther มี pollen sac ภายในประกอบดวย microspore mother cells แบงเซลลแบบ meiosis I และ
II ไดเปน diad และ tetrad microspores ตามลําดับ ในแตละTetrad microspore แตกออกเปน 4
microspores แตละ microspore แบงนิวเคลียสแบบ mitosis ได generative nucleus และ tube nucleus
เรียก microspore ที่มี 2 นิวเคลียส วา ละอองเรณู (pollen grain, pollen, male gametophyte)
Megasporogenesis
Ovary มี ovule ซึ่งมี megaspore mother cell แบงแบบ meiosis I และ II ได 4 นิวเคลียส (n) ซึ่ง
3 นิวเคลีย สสลายไป สวน 1 นิวเคลียส ที่เหลือแบงแบบ mitosis 3 ครั้ง ได 8 นิวเคลียส
มีการจัดเรียงตัวของนิวเคลียสไดเปน embryo sac (female gametophyte) ประกอบดวย 3 antipodal cells
อยูทางดาน antipodal end สวนทางดาน micropyle ประกอบดวย 1 egg cell และ 2 synergid cells
สวนตรงกลางประกอบดวย 2 polar nuclei

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (164) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


การถายละอองเรณู (pollination)
Tube nucleus สรางหลอดละอองเรณู (pollen tube) เขาสูรังไขทาง micropyle จากนั้น Generative
nucleus แบง mitosis ได 2 sperm nuclei โดย 1 sperm nucleus ผสมกับเซลลไขไดเปน zygote (2n) อีก
1 sperm nucleus ผสมกับ polar nuclei ไดเปน endosperm (3n) การผสมที่เกิดขึ้น 2 ครั้งใน embryo sac
เรียกวา การเกิดปฏิสนธิซอน (Double fertilixation)

แสดงองคประกอบของดอก

แสดงการเกิดปฏิสนธิซอนของพืชมีดอก

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (165)


แบบฝกหัด
1. จะพบมี Spermatocyte และ Oocyte ในหลอดสรางอสุจิและรังไขของคน เมื่อมีอายุประมาณเทาไหร
1) 1 ขวบ และ 5 ขวบ 2) 1 วัน และ 1 วัน
3) 13 ป และ 8 เดือน (ในครรภมารดา) 4) 13 ป และ 11 วัน
2. ในนิวเคลียสของเซลลใดไมพบฮอมอโลกัสโครโมโซม
1) เซลลที่รังไขของดอก
2) ไมโครสปอรมาเทอรเซลล (microspore mother cell)
3) เซลลแอนติโพแดล (antipodal cell)
4) ไซโกต
3. เซลลคูใดมีสภาพเปนแฮพลอยด (haploid) เหมือนกัน
1) สเปอรมาโทโกเนียม, สปอร
2) โอโอไซตระยะที่ 2 (secondary oocyte), ละอองเรณู
3) สเปอรมาไซตระยะแรก (primary spermatocyte), โอโอโกเนียม
4) สปอรมาเทอรเซลล (spore mother cell), โพลารบอดี
4. ขอใดไมเปนจริงในระยะ cleavage ของ zygote สัตว
1) แบงเซลลแบบไมโทซิส 2) เพิ่มอัตราสวนของนิวเคลียส : ไซโทพลาซึม
3) เพิ่มอัตราสวนของพื้นที่ผิว : ปริมาตร 4) มีขนาดโตขึ้น
5. การสืบพันธุขอใดสอดคลองกับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาไดดี
ก. budding ข. meristem culture ค. conjungation ง. Parthenogenesis
1) ก. และ ง. 2) ข. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ก. และ ข.
6. ในสัตวที่เจริญเติบโตในมดลูก ตัวออนที่เติบโตขึ้นมาไดอาหารจากมารดาอยางไร
1) ไดรับจากเลือดแมโดยตรง
2) โมเลกุลของอาหารแพรจากระบบเลือดแมสูระบบเลือดของลูก
3) รับวัตถุดิบอนินทรียจากแมมาสังเคราะหโมเลกุลอาหาร
4) เซลลของตัวออนสังเคราะหโมเลกุลอาหารเองดวยวิธีใหม
7. ของเสียที่เปนสารประกอบไนโตรเจนของเอ็มบริโอของนกและสัตวเลื้อยคลานจะ
1) แพรออกจากไขโดยผานทาง chorioallantoric memberane
2) เก็บสะสมไวในไขจนกวาจะออกมาเปนตัว
3) ละลายอยูใน amniotic fluid
4) ไมมีการสรางขึ้นมาในขณะอยูในรังไข
8. วุนที่อยูรอบๆ ไขกบทําหนาที่
1) ปองกันไขไมใหไดรับอันตราย 2) ปองกันตัวไรน้ําไมใหเขาไปกินไข
3) ปองกันไมใหไขเบียดตัวมากเกินไป 4) เปนอาหารสําหรับเลี้ยงเอ็มบริโอขณะเติบโต

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (166) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


9. ถาสวนของรางกายของสัตวพวกกุง ปู หรือปลาดาว ขาดหายไป สัตวเหลานี้สามารถสรางตัวที่ขาดหายไป
ขึ้นมาใหมได ปจจัยสําคัญที่ควบคุม คือ
1) นิวเคลียส 2) สภาพแวดลอม
3) นิวเคลียสและไซโทพลาซึม 4) นิวเคลียสไซโทพลาซึมและสถาพแวดลอม
10. การเปลี่ยนแปลงในขอใดที่ ไมถือวาเปนการเติบโตของเซลล
1) เซลลที่แบงตัวเปนสอง 2) เซลลที่สรางโปรตีนเพิ่มขึ้น
3) เซลลที่มีขนาดใหญตามอายุ 4) เซลลที่ดูดน้ําจนใหญขึ้น
11. การที่ระยะคลีเวจ (cleavage) ของไกเกิดเฉพาะบริเวณเล็กๆ ที่ปลอดจากไขแดง (yolk) นั้นเปนเพราะ
1) ไขแดงมีมาก ไมสามารถแบงตัวได 2) ไขแดงอยูในแวคิวโอล
3) ไขแดงอยูนอกเซลล 4) ไขแดงเปนสารอาหารสําหรับตัวออน
12. ขอใดไมใชหนาที่ของ placenta
1) สรางฮอรโมน
2) สงผานแอนติบอดีจากแมไปยังฟตัส
3) แลกเปลี่ยนสารอาหาร กาซ และของเสียระหวางแมกับฟตัส
4) นํากลับเม็ดเลือดแดงที่หมดอายุจากฟตัสไปยังแม
13. การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตกลุมใดที่มีแบบแผนกลายกัน
1) คางคก กุง ยุง 2) แมลงหวี่ เตา แย
3) เขียด เปด ปู 4) ปลาหมึก ปลา อึ่งอาง
14. ขอใดถูกตองในขั้นตอนการเจริญของไขกบ ถากําหนดให
ก. ปริมาณของไขแดงมีอิทธิพลตอแบบแผนการเจริญระยะแรกของสิ่งมีชีวิต
ข. การแบงเซลลของไซโกตเกิดขึ้นเฉพาะที่ ไมตลอดทั่วทั้วไซโกต
ค. ในระยะคลีเวจไมมีการเปลี่ยนแปลงขนาดเซลล แตมีจํานวนเซลลเพิ่มมากขึ้น
ง. การเคลื่อนยายและการเปลี่ยนแปรสภาพ (differentiation) ของกลุมเซลลมีผลตอกระบวนการ
เกิดเนื้อเยื่อและโครงสรางของสิ่งมีชีวิต
1) ก., ข. และ ค. 2) ก., ข. และ ง. 3) ก., ค. และ ง. 4) ข., ค. และ ง.
15. ขอใดที่ไมเปนจริงในระยะ cleavage ของ zygote สัตว
1) แลงเซลลแบบไมโทซิส 2) เพิ่มอัตราสวนของนิวเคลียส : ไซโทพลาซึม
3) เพิ่มอัตราสวนของเพื้นผิว : ปริมาตร 4) มีขนาดโตขึ้น
16. ขอความที่เปนคูในขอใดที่ไมสอดคลองกัน
1) mesoderm - notochord 2) ectoderm - eye lens
3) ectoderm - liver 4) endoderm - lungs
17. ชายวัยกลางคนเปนโรคที่มีผลในการทําลายเซลลในหลอดสรางอสุจิ จึงทําใหเกิดความผิดปกติในขอใด
ก. สรางน้ําอสุจิ (Semen) ข. การสรางฮอรโมนเพศชาย
ค. การแสดงลักษณะของเพศชาย ง. การสรางตัวอสุจิ
1) ก. 2) ง. 3) ข. และ ค. 4) ก. และ ง.

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (167)


18. ผูหญิงวัยเจริญพันธุตกไขเปนปกติทุกๆ 28 วัน ถาตัดตอมใตสมองสวนหนาออกในวันที่ 12 หลังการมี
ประจําเดือนครั้งสุดทาย จะมีการตกไขอีก 2-3 วันตอมาหรือไม เพราะเหตุใด
1) ไมตกไขเพราะขาด FSH มากระตุน
2) ไมตกไขเพราะขาด LH มากระตุน
3) ไมตกไขเพราะขาด FSH มากระตุนการสรางเอสโทรเจน
4) ตกไขตามปกติเพราะในวันที่ 12 ไขเจริญถึงโอโอไซตระยะที่ 2 แลว
19. ลูกแกะดอลลี่ที่เกิดจากวิธีโคลนนิง (cloning) นั้นเกิดขึ้นโดยไมตองมีกระบวนการใด
ก. การสรางไข ข. การสรางอสุจิ ค. การปฏิสนธิ ง. การฝงตัวในมดลูก
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ก., ข. และ ค. 4) ก., ข., ค. และ ง.
20. บริเวณโฟเวียจะพบวา
1) มีเซลลรูปยาวเปนแทงมากกวาบริเวณอื่น 2) มีเซลลรูปกรวยมากกวาบริเวณอื่น
3) เปนบริเวณที่ไมมีเซลลรูปกรวย 4) เปนบริเวณที่ไมมีเซลลรับแสงเลย
21. สวนที่เปน motor และ sensory ของสมองคนสวนใหญของบริเวณนี้จะทําหนาที่เกี่ยวกับ
1) มือ และปาก 2) หนา และปาก 3) มือ และเทา 4) แขน และขา
22. ขณะที่ชายคนหนึ่งเดินเลาะตามชายอาคารรานคาเขาสามารถ กมศีรษะหลบจากไมที่ยื่นออกมาจากรานคา
ไดอยางกะทันหัน การกระทําของชายผูนี้อาศัยการสั่งงานจาก
1) สมอง และไขสันหลัง 2) ไขสันหลัง
3) ระบบประสาทอัตโนวัติ 4) การทํางานของตอมไรทอ
23. วิตามินที่ชวยปองกันการเกิดโรคนัยนตาฟางสวนมากไดมาจาก
1) ผักบุง 2) ขาวซอมมือ 3) ถั่วเหลือง 4) ยีสต
24. คนไขรายหนึ่งถูกนําสงโรงพยาบาลเนื่องจากไมสามารถ ทรงตัวอยูได ทานคิดวาสมองสวนใดเสียไป
1) ซีรีบรัม 2) ทาลามัส 3) ซีรีเบลลัม 4) เมดัลลา ออบลองกาตา
25. การเปลี่ยนแปลงที่จุดหนึ่งของเซลลประสาทขณะที่นํากระแสความรูสึก คือ
1) เกิดดีโพลาไรเซชัน (depolarization) 2) นําโซเดียมเขาสูเซลลและโพแทสเซียมออกจากเซลล
3) สรางสารเคมีเพื่อสงตอกระแสความรูสึก 4) ขอ 1) และ 2) ถูก
26. บริเวณโฟเวีย (fovea) ของเรตินา มี (ก) rod cells และ (ข) cone cells ดังนี้
1) ก > ข 2) ข > ก 3) ก เทานั้น 4) ข เทานั้น
27. นิโคตินในบุหรี่มีผลตอระบบประสาทที่ไปยังกลามเนื้อหัวใจอยางไร
1) กระตุนประสาทพาราซิมพาเทติก 2) กระตุนประสาทซิมพาเทติก
3) หามประสาทซิมพาเทติก 4) หามประสาทพาราซิมพาเทติก
28. หากมีอาหารตาบอดสีแดง ผูนั้นจะมองเห็นสีใดผิดปกติไปดวย
1) เหลืองและเขียว 2) น้ําเงินและเขียว 3) น้ําเงินและเหลือง 4) เหลืองและมวง
29. ระบบประสาทซิมพาเทติกควบคุมการทํางานในขอใด
1) การหลับตา 2) การหลั่งน้ําลาย 3) การหายใจเขาออก 4) การหลั่งเหงื่อ

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (168) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


30. จงเรียงลําดับความเร็วในการทํากระแสประสาทจากนอยที่สุดไปสูมากที่สุด
ก. มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 4 ไมครอนและมีเยื่อไมอีลีนหุม
ข. มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 4 ไมครอนและไมมีเยื่อไมอีลีนหุม
ค. มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 25 ไมครอนและมีเยอไมอีลีนหุม
ง. มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 25 ไมครอนและไมมีเยื่อไมอีลีนหุม
1) ข. → ก. → ง. → ค. 2) ก. → ง. → ค. → ข.
3) ง. → ค. → ข. → ก. 4) ค. → ข. → ก. → ง.
31. เมื่อเขาไปในหองมีด นัยนตาจะปรับตัวอยางไรจึงสามารถมองเห็นวัตถุในหองได
1) มานตาหรี่ลง 2) กลามเนื้อซิเลียรีหดตัว
3) rod cells สรางโรดอปซิน 4) cone cells รวมกลุมที่บริเวณโฟเวีย
32. คนปาใชยางนองทาปลายหอกเพื่อใชในการลาสัตว ทําใหสัตวที่ถูกแทงวิ่งหนีไมได ยางนองมีผลอยางไรตอ
ระบบประสาท
1) ทําลายเอนไซมโคลีนเอสเทอเรส 2) กระตุนการสรางแอซีทิลโคลีน
3) ยับยั้งการทํางานของแอซีทิลโคลีน 4) ทําใหการสงกระแสประสาทผานซิแนปสเร็วขึ้น
33. บริเวณใดบางที่เปนสวนประกอบของกานสมอง (brain stem)
A = สมองสวนกลาง B = ซีรีเบลลัม C = พอนส D = เมดัลลาออบลองกาตา
1) A, B, C 2) A, C, D 3) A, B, D 4) B, C, D
34. การเปลี่ยนแปลงในขอใดจะเกิดขึ้นเมื่อลอกเยื่อไมอีลีนของเซลลประสาทออก
1) Na+ ผานเขาเซลลงายขึ้น
2) เกิดกระแสประสาทไดงายขึ้น
3) ระยะเวลาจากถูกกระตุนจนเกิดกระแสประสาทนอยลง
4) การนํากระแสประสาทชาลง
35. ถากระตุนเซลลประสาทถี่ๆ ซ้ํากันหลายๆ ครั้ง ในขณะที่ผิวดานนอกมีประจุลบจะมีผลอยางไร
1) เกิดกระแสประสาทขนาดเทาเดิม เคลื่อนที่ในอัตราเร็วเทาเดิม
2) เกิดการแสประสาทขนาดเพิ่มขึ้น เคลื่อนที่ชากวาเดิม
3) ไมเกิดกระแสประสาท เพราะไมมีโซเดียม - โพแทสเซียมปม
4) ไมเกิดกระแสประสาท เพราะ Na+ และ K+ ยังไมกลับที่เดิม

เฉลยแบบฝกหัด
1. 3) 2. 3) 3. 2) 4. 4) 5. 3) 6. 2) 7. 2) 8. 1) 9. 4) 10. 4)
11. 1) 12. 4) 13. 1) 14. 3) 15. 4) 16. 3) 17. 2) 18. 2) 19. 2) 20. 2)
21. 1) 22. 1) 23. 1) 24. 3) 25. 1) 26. 2) 27. 2) 28. 4) 29. 4) 30. 1)
31. 3) 32. 1) 33. 2) 34. 4) 35. 4)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (169)


การรักษาดุลยภาพรางกายมนุษยและสัตว
การรักษาดุลยภาพ
สัตวสามารถรักษาสภาวะภายในรางกายไวได แมวาสภาพแวดลอมภายนอกจะมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก
จนอาจเปนอันตรายตอเซลลได เรียกลักษณะนี้วา Homeostasis
1. Thermoregulation เปนการรักษาสมดุลของอุณหภูมิภายในรางกาย
2. Osmoregulation เปนการรักษาสมดุลของสารละลายและน้ําในรางกาย
3. Excretion คือการกําจัดของเสียพวกไนโตรเจน (nitrogen-containing waste) ออกนอกรางกาย
แบงสิ่งมีชีวิตเปน 2 แบบ คือ
Regulator : สัตวที่มีการรักษา homeostasis ภายในรางกายไมใหมีการเปลี่ยนไปมาก
ในขณะที่สภาพแวดลอมภายนอกมีการเปลี่ยนแปลงอยางมาก (thermoregulator, osmoregulator)

Conformer : สั ต ว ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงสภาพภายในร า งกายตามสภาพแวดล อ มภายนอก


(thermoconformer, osmoconformer)
Thermoregulationการไดรับหรือสูญเสียความรอนของสัตว เกิดไดจากกระบวนการตางๆ ดังนี้
1. Conduction : การถายทอดความรอนจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง (สูงไปต่ํา) โดยตรง
2. Convection : การนําพาความรอนไปโดยการเคลื่อนผานของอากาศหรือของเหลว
3. Radiation : การแพรกระจาย (emission) ความรอนจากวัตถุหนึ่งไปยังวัตถุหนึ่งในรูปของ
คลื่นแมเหล็กไฟฟา โดยวัตถุนั้นไมตองสัมผัสกันโดยตรง
4. Evaporation : การระเหยของของเหลวไปเปนแกส มีการใชความรอนในการทําใหเกิดการระเหย

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (170) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


- Ectotherm and Endotherm แบงสัตวตามวิธีการไดรับความรอนของรางกายเปน
1. Ectotherm : พวกที่ไดรับความรอนจากสิ่งแวดลอมภายนอก ไดแก สัตวไมมีกระดูกสันหลัง, ปลา,
สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก, สัตวเลื้อยคลาน
2. Endotherm : พวกที่ไดความรอนจากกระบวนการ เมตาบอลิสมของรางกาย ไดแก
นกและสัตวเลี้ยงลูกดวยนม

ผิวหนัง และ thermoregulation ผิวหนังเปนสวนกั้นสิ่งแวดลอมภายนอกออกออกจากสภาวะแวดลอม


ภายในรางกาย ชวยรักษาดุลยภาพใหคงที่
• ผิวหนัง ชวยปองกันเชื้อโรค รักษาอุณหภูมิรางกาย ขับถายของเสีย
• ตอมเหงื่อ (sweat) มีทั้ง artery และ vein มาหลอเลี้ยงเพื่อขับของเสียจากเลือดแพรจากหลอดเลือดฝอย
ออกไปยังตอมเหงื่อ
• เหงื่อ ถูกลําเลียงออกจากตอมเหงื่อไปรูเหงื่อ
• ขณะที่เหงื่อระเหยออกจากผิวหนัง จะพาความรอนของรางกายออกมาดวย เปนการชวยระบายความรอน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (171)


• ไขมัน (adipose) และขน ทําหนาที่เปนฉนวนปองกันการสูญเสียความรอนออกนอกรางกาย
• ถาอุณหภูมิรางกายลดลง hypothalamus สงสัญญาณใหหลอดเลือดที่ผิวหนังหดตัว ปริมาณเลือดที่
ผิวหนังลดลง จึงลดการระบายความรอนจากเลือด
- กลามเนื้อที่ผิวหนังหดตัว เกิดการตั้งชัน (erection) ของขน
- การหดและคลายตัวของกลามเนื้ออยางรวดเร็วเพื่อผลิตความรอน ทําใหเกิดการสั่น hypothalamus
สงสัญญาณใหเซลลรางกายเพิ่มอัตรา metabolism
• ถาอุณหภูมิรางกายสูงขึ้น
- hypothalamus สงสัญญาณใหหลอดเลือดที่ผิวหนังขยายตัว ปริมาณเลือดที่ผิวหนังเพิ่มขึ้น จึงระบาย
ความรอนจากเลือด
- ตอมเหงื่อ ขับเหงื่อเพิ่มขึ้น ชวยระบายความรอน
- hypothalamus สงสัญญาณใหเซลลรางกายลดอัตรา metabolism

บทบาทของ
hypothalamus
ในการควบคุมอุณหภูมิ
ภายในรางกายสัตว

การไดรับความรอนจากการกระพือปกของแมลง : การทํางานของกลามเนือ้ อก

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (172) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


Hibernation and Estivation Hibernation : การปรับตัวทางสรีรวิทยาที่ทําใหสัตวอยูรอดไดในสภาพ
อากาศหนาวและขาดแคลนอาหารเปนเวลานาน โดยการลดเมตาบอลิสม, ระบบไหลเวียนเลือด, การหายใจ
และอุณหภูมิรางกาย
Estivation : การปรับตัวทางสรีรวิทยาที่ทําใหสัตวอยูรอดไดในสภาพอากาศรอน และขาดแคลนน้ํา
เปนเวลานาน โดยการลดเมตาบอลิซึม

NaCl ต่ํา

NaCl สูง

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (173)


การยอยอาหาร (Digestion)
เปนกระบวนการแปรสภาพโมเลกุลของสารอาหารขนาดใหญกลายเปนโมเลกุลขนาดเล็กที่สามารถแพรเขา
สูเซลลเพื่อนําไปใชประโยชนได แบงออกเปน 2 รูปแบบ คือ
1. การยอยอาหารภายในเซลล (Intracellular Digestion) พบในสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว เชน อะมีบา
เซลลเม็ดเลือดขาว และเซลลปลอกคอ (Choanocyte) ของฟองน้ํา เปนตน มีการนําอาหารเขาสูเซลลโดยวิธี
เอนโดไซโทซิสแลวหลั่งเอนไซมออกมายอยอาหารภายในเซลล
2. การยอยอาหารภายนอกเซลล (Extracellular Digestion) พบในสิ่งมีชีวิตที่มีระบบทางเดินอาหาร
และพวกผูยอยสลายอินทรียสาร เชน เห็ด รา โดยเซลลจะหลั่งเอนไซมออกมายอยอาหารภายนอกเซลล
แลวดูดซึมอาหารที่ยอยแลวเขาสูเซลล
การยอยอาหารในสัตวชั้นสูง มี 2 ขั้นตอน คือ
1. การยอยเชิงกล (Mechanical Digestion) เปนการทําใหอาหารมีขนาดเล็กลง โดยที่องคประกอบ
ทางเคมีของอาหารไมเปลี่ยนแปลง เชน การบดเคี้ยวของฟน การบีบตัวของทางเดินอาหาร
2. การยอยเชิงเคมี (Chemical Digestion) เปนการทําใหอาหารมีขนาดเล็กลงและมีองคประกอบ
ทางเคมีเปลี่ยนไปจากเดิม เชน การยอยอาหารโดยเอนไซมชนิดตางๆ
ระบบยอยอาหารของมนุษย มีสวนประกอบดังนี้

ระบบยอยอาหารของมนุษย

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (174) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


ปาก (Mouth) ประกอบดวย
1. ฟน (Teeth)
- มี 2 ชุด คือ ฟนน้ํานม 20 ซี่ และฟนแท 32 ซี่
- ทําหนาที่ฉีก กัด บดเคี้ยวอาหารใหมีขนาดเล็กลง จัดเปนการยอยเชิงกล
2. ลิ้น (Tongue)
- ชวยคลุกเคลาอาหารขณะเคี้ยว และชวยดันอาหารเคลื่อนลงสูคอหอย
- มีตอมรับรส (Taste Bud) 4 ประเภท คือ รสขมบริเวณโคนลิ้น รสเปรี้ยวบริเวณขอบขางลิ้น
รสหวานบริเวณปลายลิ้น และรสเค็มบริเวณปลายลิ้น และขอบขางลิ้น
3. ตอมน้ําลาย (Salivary Gland)
- มี 3 คู ไดแก บริเวณกกหู (Parotid Gland) ซึ่งหากติดเชื้อไวรัสจะทําใหกกหูบวม เรียกวา
“คางทูม (Parotitis)” บริเวณใตขากรรไกรลาง (Submaxillary Gland) และบริเวณใตลิ้น (Sublingual Gland)
- ตอมน้ําลายที่ผลิตน้ําลายชนิดเหนียวจะสรางเมือก (Mucin) สวนตอมน้ําลาย ที่ผลิตน้ําลายชนิดใส
จะสรางน้ํายอย คือ ไทอาลิน (Ptyalin) หรือแอมิเลส (Amylase) ซึ่งยอยแปงใหเปนน้ําตาล
- น้ําลายคนปกติมี pH 6.2-7.4 หากมีสมบัติเปนกรดมากเกินไปจะละลาย แคลเซียมออกจากฟน
ทําใหฟนผุ
คอหอย (Pharynx)
- เปนทางผานของอาหาร และอากาศ ขณะกลืนอาหารเพดานออนจะยกตัวขึ้นปดชองหายใจ ฝาปด
กลองเสียง (Epiglottis) จะปดหลอดลม ทําใหอาหารไมตกลงไปในหลอดลม
- บริเวณคอหอยมีตอมทอนซิล 3 คู ชวยทําลายจุลินทรียไมใหผานเขาไปภายใน
หลอดอาหาร (Esophagus)
- เปนทางผานของอาหารลงสูกระเพาะอาหาร ไมมีตอมผลิตเอนไซมยอยอาหาร มีแตน้ําเมือกชวย
หลอลื่นอาหารใหเคลื่อนที่สะดวก
- มีการบีบตัวเปนชวงๆ ติดตอกัน เรียกวา “เพอริสทัลซิส (Peristalsis)” ทําใหอาหารเคลื่อนที่ลงสู
กระเพาะอาหารได
กระเพาะอาหาร (Stomach)
- เปนสวนของทางเดินอาหารที่ใหญที่สุด ดานบนและดานลางสุดของกระเพาะอาหารมีกลามเนื้อหูรูด
(Sphincter) ควบคุมการเคลื่อนที่ของอาหารในกระเพาะ ผนังดานในเปนรอยยนพับซอนกันเรียกวา “รูกี (Rugae)”
- ในภาวะปกติ กระเพาะอาหารมีขนาด 50 ลูกบาศกเซนติเมตร แตสามารถขยายไดถึง 10-40 เทา
- กลุมเซลลที่ผนังดานในกระเพาะอาหารมีหนาที่ตางกัน ดังนี้
1. Mucous Cell สรางเมือกหนา 1-1.5 มิลลิเมตร เคลือบกระเพาะอาหารปองกันเอนไซม หรือกรดเกลือ
ทําลายผนังกระเพาะอาหาร
2. Parietal Cell สรางกรดเกลือ pH ประมาณ 2-3 ชวยทําลายจุลินทรียในอาหารได
3. Chief Cell สรางเอนไซม Pepsinogen ซึ่งจะแปรสภาพไปเปน Pepsin เมื่อถูกกระตุนดวย
กรดเกลือ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (175)


- การยอยในกระเพาะอาหารมีทั้งการยอยเชิงกลและการยอยเชิงเคมี น้ํายอยที่หลั่งออกมาประมาณ
วันละ 2000-3000 cc. เรียกวา “Gastric Juice” ประกอบดวยกรดเกลือ, สารเมือก และเอนไซมหลายชนิด
คือ Pepsinogen Prorennin Lipase
- อาหารอยูในกระเพาะอาหารนาน 0.5-3 ชั่วโมง อาจมีการดูดซึมแรธาตุหรือน้ําบางเล็กนอย แตดูดซึม
แอลกอฮอลไดดีถึง 30-40%
ลําไสเล็ก (Small Intestine)
- มีความยาวมากที่สุด ประมาณ 6 เมตร แบงออกเปน 3 สวน คือ
1. Duodenum เปนลําไสเล็กตอนตน มีการหลั่งน้ําดีจากถุงน้ําดี และน้ํายอยจากตับออนที่บริเวณนี้
สารอาหารเกือบทุกชนิด ฃถูกดูดซึมเขาสูกระแสเลือดที่บริเวณนี้เปนสวนใหญ
2. Jejunum มีการดูดซึมอาหารพวกไขมันเปนสวนใหญ
3. Ileum มีการดูดซึมเกลือน้ําดีและวิตามิน B12
- ผนังชั้นในของลําไสเล็กเปนปุมเล็กๆ จํานวนมาก เรียกวา “วิลไล (Villi)” ชวยเพิ่มพื้นที่ผิวในการยอย
และดูดซึมสารอาหารภายในวิลไลมีหลอดเลือดฝอย และทอน้ําเหลืองมากมาย ทําหนาที่ลําเลียงสารอาหารไปยัง
เซลลทั่วรางกาย
- การยอยในลําไสเล็กมีทั้งการยอยเชิงกลและเชิงเคมี น้ํายอยที่หลั่งออกมาประมาณวันละ 3 ลิตร
เรียกวา “Intestinal Juice” มี pH 7.0-7.5
อวัยวะที่เกี่ยวของกับการยอยในลําไสเล็ก
ตับออน (Pancreas)
1. ประกอบดวยตอมมีทอสรางเอนไซม เรียกวา “Pancreatic Juice” ผลิตออกมาวันละประมาณ
800 มิลลิลิตร
2. เมื่ออาหารผานมาถึงลําไสเล็ก สวนดูโอดินัมและเจจูนัมจะหลั่งฮอรโมน 2 ชนิด คือ
2.1 ซีคริติน (Secretin) กระตุนใหตับออนหลั่งน้ํายอยที่มีเกลือคารบอเนต ชวยลดสภาพกรดของ
อาหารจากกระเพาะอาหาร
2.2 แพนครีโอไซมิน (Pancreozymin) กระตุนใหตับออนหลั่งเอนไซมมีหลายชนิด ดังนี้
เอนไซมที่ยอยแปง
ตับ (Liver)
1. เปนอวัยวะขนาดใหญที่สุดในชองทอง (1300-1600 กรัม)
2. มีกลุมเซลลทําหนาที่สรางน้ําดี (Bile) ประมาณวันละ 600-800 cc. เก็บสะสมในถุงน้ําดี
(Gall Bladder) ซึ่งฝงอยูในตับบริเวณพูใหญดานขวา
3. น้ําดีมีสีเหลืองปนเขียว pH ประมาณ 7.5 ประกอบดวยเกลือน้ําดี (Bile Salt) ซึ่งทําใหไขมัน
แตกตัวเปนอนุภาคเล็กๆ กับรงควัตถุ (Bile Pigment) สีเหลืองปนเขียว (Biliverdin) และคอเลสเทอรอล
(อาจกอใหเกิดนิ่วในถุงน้ําดี หรืออุดตันทอน้ําดีจนเกิดโรคดีซานได)

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (176) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


ลําไสใหญ (Large Intestine)
1. เปนสวนสุดทายของระบบทางเดินอาหารยาวประมาณ 1.50 เมตร
2. ประกอบดวย ซีคัม (Caecum) ซึ่งมีไสติ่ง (Appendix) ยื่นออกมา โคลอน (Colon),
ไสตรง (Rectum) ซึ่งมีอุจจาระ (Feces) เตรียมขับออกนอกรางกาย และทวารหนัก (Anus) เปนสวนสุดทาย
3. ผนังชั้นในลําไสใหญไมมีวิลไล แตมี Globet Cell ผลิตสารเมือกชวยในการขับถาย
ไมมีการยอยมีเพียงการดูดซึมน้ํา และเกลือแร กลับคืนรางกาย
4. แบคทีเรียในลําไสใหญยอยสารบางอยางในกากอาหาร ทําใหเกิดแกสขึ้นประมาณ 500 มิลลิลิตร
ตอวัน แกสที่เกิดขึ้นบางชนิด เชน ไฮโดรเจนซัลไฟดหรือสารพวกอะมีนที่ระเหยได ทําใหเกิดกลิ่นเหม็น
การยอยอาหารของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง
ฟองน้ํา ไมมีทางเดินอาหาร ผนังดานในมีเซลลปลอกคอ (Collar Cell หรือ Choanocyte) คอยดักจับ
อาหารพวกแบคทีเรีย หรืออินทรียสารขนาดเล็กที่ลอยในน้ํา
ไฮดรา ปะการัง ดอกไมทะเล มีทางเดินอาหารไมสมบูรณ มีชองวางในลําตัว (Gastrovascular Cavity)
เปนทั้งปาก และทวารหนัก มีเซลลทําหนาที่จับอาหารและหลั่งเอนไซมออกมายอยอาหารได
พลานาเรีย มีคอหอย (Pharynx) คลายงวงยื่นออกมาดูดอาหาร ลําเลียงไปตามทางเดินอาหารที่
แตกแขนงแยกไปสองขางลําตัว
พยาธิใบไม มีอวัยวะดูดเกาะ (Sucker) ที่สวนหัว ทางเดินอาหารแตกแขนงไมมากนัก สวนพยาธิตัวตืดมี
อวัยวะดูดเกาะหลายอันที่สวนหัวเรียกวา “สโคเล็กซ (Scolex)” และไมมีทางเดินอาหาร
ไสเดือนดิน มีทางเดินอาหารสมบูรณ มีกึ๋น (Gizzard) เปนกลามเนื้อที่แข็งแรงทําหนาที่บดอาหาร
แมลง มีทางเดินอาหารสมบูรณ มีปากหลายรูปแบบ มีตอมน้ําลายและเอนไซมในทางเดินอาหาร
ชวยในการยอย

ระบบยอยอาหารของสัตว

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (177)


การยอยอาหารของจุลินทรีย
โพรโทซัว มีเอนไซมจากไลโซโซมยอยอาหารในฟูดแวคิวโอล (Food Vacuole)
อะมีบา ใชซูโดโพเดียม (Pseudopodium) โอบลอมอาหาร และหลั่งเอนไซมยอยอาหารไปใชประโยชน
พารามีเซียม ใชซิเลียโบกพัดอาหารเขาในเซลลเปนฟูดแวคิวโอลแลวหลั่งเอนไซมยอยสลาย

ระบบหายใจ

การหายใจ

การหายใจ (Respiration) เปนกระบวนการสลายสารอาหารของสิ่งมีชีวิตเพื่อใหไดพลังงานออกมาใช


ในการดํารงชีพ ประกอบดวย
1. การหายใจภายนอก (External Respiration) เปนการนําอากาศเขาสูรางกาย และมีการแลกเปลี่ยน
แกสภายในปอด
2. การหายใจภายใน (Internal Respiration) เปนการแลกเปลี่ยนแกสที่เกิดขึ้นภายในเซลล และเกิด
พลังงานออกมาใชในกิจกรรมของเซลล

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (178) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


โครงสรางระบบหายใจของมนุษย แบงเปน 2 สวน คือ
1. สวนที่เปนทางผานอากาศ (Air Passage)
จมูก (Nose) มีรูจมูก (Nostril) 2 รู ภายในโพรงจมูกมีเยื่อเมือกและขนชวยจับฝุนละออง มี Globlet
Gland หลั่งสารใหความชุมชื้นและมีหลอดเลือดสานเปนรางแห เมื่อฉีกขาดจะเกิดเลือดกําเดา (Epistaxis)
คอหอย (Pharynx) เปนทางผานของอาหารและอากาศ ยาวประมาณ 13 เซนติเมตร
กลองเสียง (Larynx) ทําใหเกิดเสียงเมื่ออากาศผานกลองเสียง มีฝาปดกลองเสียง (Epiglottis)
ปดกลองเสียงขณะกลืนอาหาร มีกระดูกออนชิ้นใหญอยูดานหนา เรียกวา “ลูกกระเดือก (Adam’s Apple)”
หลอดลมคอ (Trachea) เปนทอกลวงอยูดานหนาหลอดอาหาร ประกอบดวยกระดูกออนรูปเกือกมา
16-20 อัน ปองกันไมใหแฟบ ผนังดานในมีขนและตอมน้ําเมือก
หลอดลม (Bronchus) แยกออกจากหลอดลมคอ เปน 2 กิ่งซายขวา ประกอบดวยกระดูกออนรูปเกือกมา
มีขนและเมือกภายใน
หลอดลมฝอย (Bronchiole) แยกออกจากหลอดลมเปนแขนงเล็กๆ จํานวนมาก มีผนังบาง และมีขน
เสนเล็กๆ จํานวนมาก
2. สวนแลกเปลี่ยนแกส (Air Exchange)
ถุงลม (Alveolus) เปนถุงเล็กๆ มีเสนผานศูนยกลาง 0.25 มิลลิเมตร ประมาณ 300 ลานถุงตอปอด
1 ขาง มีพื้นที่ผิวประมาณ 90 ตารางเมตร หรือ 40 เทาของพื้นที่รางกาย ถุงลมมีผนังบาง และมีหลอดเลือดฝอย
มาเลี้ยงเพื่อแลกเปลี่ยนแกส
การนําอากาศเขาและออกจากปอด ควบคุมโดยศูนยควบคุมการสูดลมหายใจ ซึ่งอยูที่สมองสวนทาย
คือ Medulla Oblongata มี 2 ขั้นตอน คือ
การหายใจเขา มีกลไกดังนี้
ปริมาณ CO2 ในเลือดสูง

เสนประสาทฟรีนิก (Phrenic Nerve) เสนประสาทอินเตอคอสตอล (Intercostal Nerve)

กลามเนื้อยึดกระดูกซี่โครงแถบนอกหดตัว แถบในคลายตัว กลามเนื้อกะบังลมหดตัว

ปริมาตรชองอกเพิ่มขึ้น ทําใหความดันภายในชองอกนอยกวาภายนอก

หายใจเขา

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (179)


การหายใจออก มีกลไกดังนี้
อัลวิโอลัสพองตัวขยายใหญ

เสนประสาทเวกัส (Vagus Nerve)

ศูนยควบคุมหายใจเขาหยุดสงกระแสประสาท ศูนยควบคุมหายใจออกกระตุนกลามเนื้อ

กะบังลมคลายตัว กลามเนื้อยึดกระดูกซี่โครงแถบนอกคลายตัวแถบในหดตัว

ปริมาตรชองอกลดลง ทําใหความดันภายในชองอกมากกวาภายนอก

หายใจออก

การแลกเปลี่ยนแกสในรางกายมนุษย เกิด 2 บริเวณ คือ


1. ปอด เปนการแลกเปลี่ยนระหวาง O2 ในอัลวิโอลัสกับ CO2 ในเสนเลือดฝอย โดย O2 รวมตัวกับ
ฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดงเปน Oxyhaemoglobin (HbO2) ลําเลียงไปเลี้ยงเซลลทั่วรางกาย สวน CO2
เขาสูอัลวิโอลัสแลวกําจัดออกจากรางกายทางลมหายใจออก
2. เนื้อเยื่อ เปนการแลกเปลี่ยนระหวาง O2 ในเสนเลือดฝอยกับ CO2 ในเนื้อเยื่อ โดย O2 แพรเขาสูเซลล
เพื่อใชในการหายใจระดับเซลล และสรางพลังงานออกมา สวน CO2 แพรเขาสูเลือด ทําปฏิกิริยากับน้ําในเลือด
กลายเปนกรดคารบอนิก และเปลี่ยนเปนไฮโดรเจนคารบอเนตไอออน เพื่อลําเลียงไปกําจัดออกที่ปอดตอไป
สิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีอัตราการหายใจแตกตางกัน ขึ้นอยูกับขนาดรางกาย อายุ เพศ กิจกรรม
และการดํารงชีวิต พบวาอัตราการหายใจของชายมากกวาหญิง เด็กมากกวาผูใหญ สัตวมากกวาพืช สัตวเลือดอุน
มากกวาสัตวเลือดเย็น ออกกําลังกายมากกวานอนหลับ ฯลฯ
โพรทิสต มีการแลกเปลี่ยนแกสโดยการแพรผานเขาออกเยื่อหุมเซลลโดยตรง
ฟองน้ํา ไฮดรา ปะการัง แมงกะพรุน มีการแลกเปลี่ยนแกสโดยการแพรผานเซลลผิว
พยาธิใบไม พลานาเรีย มีลําตัวแบนชวยเพิ่มที่ผิวในการแลกเปลี่ยนแกส ทําใหเกิดการแพรจากเซลลหนึ่ง
ไปยังอีกเซลลหนึ่งอยางรวดเร็วและทั่วถึง
ไสเดือนดิน มีผิวหนังชุมชื้น ชวยในการแลกเปลี่ยนแกสที่ผิวหนัง และมีระบบเลือดชวยลําเลียงออกซิเจน
เขาสูเซลลตางๆ ไดรวดเร็วขึ้น โดยออกซิเจนจับกับฮีโมโกลบินในน้ําเลือด ในขณะที่สัตวครึ่งบก-ครึ่งน้ําก็มีการ
แลกเปลี่ยนแกสแบบนี้เชนเดียวกัน แตออกซิเจนจับกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (180) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


สัตวที่อาศัยอยูในน้ํา มีการแลกเปลี่ยนแกสที่เหงือก ซึ่งมีระบบเลือดมาหลอเลี้ยงและลําเลียงไปยังเซลล
ทั่วรางกาย พบวา
- ปลา กุง หอย ปู เปนพวกที่มีเหงือกในรางกาย (Internal Gill)
- ไสเดือนทะเล ลูกออด ซาลามานเดอรบางชนิด มีเหงือกอยูนอกรางกาย (External Gill)
- แมเพรียง มีแผนเนื้อแบนๆ ยื่นออกทางดานขางลําตัวชวยในการหายใจ เรียกวา “พาราโพเดียม
(Parapodium)”
- ปลิงทะเล มี Respiratory Tree อยูภายในรางกาย มีลักษณะเปนทอยาวแตกแขนงมากมาย
ชวยในการแลกเปลี่ยนแกส
แมลง มีทอลม (Trachea) เปนอวัยวะแลกเปลี่ยนแกส โดยอากาศจากภายนอกเขาสูรางกายแมลง
ผานทางรูหายใจ (Spiracle) ทอลมและแขนงทอลม (Tracheole) ซึ่งแทรกอยูในเนื้อเยื่อทั่วรางกาย สําหรับแมลง
ที่บินเร็วจะมีถุงลม (Air Sac) เก็บอากาศไวสําหรับหายใจ เชน ผึ้ง ตอ แตน เปนตน
พวกแมงมุม แมงปอง มีปอดแผง (Book Lung) ทําหนาที่แลกเปลี่ยนแกส โดยอากาศเขาสูรางกายทาง
รูหายใจและปอดแผง ซึ่งมีลักษณะเปนถุงยาวและบางซอนเปนชั้นพับไปมาเปนแผง
สัตวที่อาศัยบนบก สวนใหญหายใจโดยใชปอด (Lung) เชน หอยฝาเดียว หอยทาก ปลามีปอด
(Protopterus sp. พบในแอฟริกาและ Lepidosiren sp. พบในอเมริกาใต) สัตวครึ่งบกครึ่งน้ํา สัตวเลื้อยคลาน
สัตวปก และสัตวเลี้ยงลูกดวยนมทุกชนิด
- กบ ไมมีกะบังลม จึงนําอากาศเขาสูปอด โดยการกลืนอากาศ
- ปอดสัตวเลื้อยคลาน มีหองเล็กๆ และซับซอนกวาปอดสัตวครึ่งบกครึ่งน้ํา
- ปอดสัตวปก มีถุงลม (Airsac) เจริญดีแทรกไปตามอวัยวะตางๆ ชวยใหตัวเบาและเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการถายเทอากาศ

ระบบขับถาย
การขับถาย (Excretion) เปนการกําจัดของเสียที่เกิดจากเมแทบอลิซึมของสิ่งมีชีวิต เชน แอมโมเนีย
ยูเรีย กรดยูริก คารบอนไดออกไซด
สิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีกลไกในการรักษาสมดุลของรางกายแตกตางกัน ดังนี้
สิ่งมีชีวิตเซลลเดียว มีการขับถายโดยการแพรของเสียผานเยื่อหุมเซลลโดยตรง พวกโพรโทซัวบางชนิด
เชน พารามีเซียม จะมีคอนแทรกไทลแวคิวโอล (Contractile Vacuole) ควบคุมสมดุลน้ํา และกําจัดของเสีย
ออกภายนอกเซลล
พวกฟองน้ําและซีเลนเทอเรต กําจัดของเสียโดยการแพรผาน เยื่อหุมเซลล และขับออกทางชองวาง
ภายในรางกาย (Gastrovascular Cavity) และปาก ตามลําดับ
พวกหนอนตัวแบน เชน พลานาเรีย มี เฟลมเซลล (Flame Cell) กระจายตลอดความยาวลําตัว
ภายในมีซิเลีย (Cilia) โบกพัดน้ํา และของเสียออกทางชองขับถายที่ผนังลําตัว สวนแอมโมเนียแพรออกทาง
ผิวหนัง
พวกแอนเนลิด เชน ไสเดือนดิน มี เนฟริเดียม (Nephridium) 1 คูตอปลอง ภายในมีซิเลียโบกพัด
ของเสียพวกแอมโมเนียและยูเรียออกภายนอกรางกาย

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (181)


พวกอารโทรพอด เชน แมลง มี ทอมัลพิเกียน (Malpighian Tubule) อยูบริเวณรอยตอระหวาง
กระเพาะอาหารกับลําไส ของเสียถูกลําเลียงเขาสูทอนี้ และขับออกมาพรอมกากอาหารในสภาพกึ่งเหลวกึ่งแข็ง
ปลาน้ําจืด อาศัยอยูในน้ําซึ่งมีความเขมขนต่ํากวาสารละลายภายในรางกาย ทําใหน้ําแพรเขาสูรางกาย
ตลอดเวลา โดยเฉพาะบริเวณเหงือกซึ่งสัมผัสน้ําตลอดเวลา ปลาจึงปรับตัว ดังนี้
- มีเกล็ดหรือผิวหนังหนาเพื่อปองกันไมใหน้ําซึมผานได
- ไต กรองและดูดกลับสารที่มีประโยชนทําใหปสสาวะปลาน้ําจืดมีความเขมขนต่ําหรือเจือจาง และปสสาวะบอย
- บริเวณเหงือกมีเซลลพิเศษดูดแรธาตุที่จําเปนกลับสูรางกายโดยวิธีแอกทีฟทรานสปอรต
ปลาน้ําเค็ม
อาศัยอยูในน้ํา ซึ่งมีความเขมขนสูงกวาสารละลายภายในรางกายจึงตองพยายามปรับตัวใหสารละลาย
ภายในรางกายมีสภาพเปน Isotonic Solution กับน้ําทะเล ดังนี้
- ปลาฉลาม ปลากระเบน สะสมยูเรียในเลือด และมี Rectal Gland กําจัดเกลือที่เกินความตองการ
- ปลากระดูกแข็ง มีเกล็ดปกคลุมปองกันเกลือแรแพรเขาสูรางกาย เซลลที่เหงือกขับเกลือที่มาก
เกินพอออก และกําจัดแรธาตุตางๆ ออกทางทวารหนัก โดยไมมีการดูดซึมเขาสูเซลล
นก มีขนปกคลุมรางกาย ปองกันการสูญเสียน้ํา ขับถายโดยไต เปลี่ยนของเสียพวกแอมโมเนียเปน
กรดยูริกขับออกนอกรางกาย
นกทะเล กินอาหารที่มีเกลือมากเกินความจําเปนจึงตองกําจัดเกลือออกโดยใชตอมนาสิก (Nasal Gland)
และขับน้ําเกลือออกทางรูจมูก (Nostril)
สัตวเลื้อยคลาน มีผิวหนังหนาและมีเกล็ดปกคลุมรางกายปองกันการสูญเสียน้ํา มีไตขับถายออกมาในรูป
กรดยูริก เชนเดียวกับนก

NaCl ต่ํา

NaCl สูง

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (182) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


nephrostome

(nephridiopore)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (183)


การขับถายของมนุษย
อวัยวะขับถายของมนุษย คือ ไต (Kidney) มี 1 คู รูปรางคลายเมล็ดถั่วสีน้ําตาลแดง ประกอบดวยเนื้อเยื่อ
2 ชั้น คือ คอรเทกซ (Cortex) อยูชั้นนอกและเมดัลลา (Medulla) อยูชั้นใน ซึ่งมีสวนที่เรียกวา “พาพิลลา
(Papilla)” ขึ้นไปจรดกับกรวยไต (Pelvis) ซึ่งเชื่อมตอกับทอไต (Ureter) กระเพาะปสสาวะ (Urinary Bladder)
และทอปสสาวะ (Urethra) ตามลําดับ ไตแตละขางประกอบดวย หนวยไต (Nephron) ประมาณ 1 ลานหนวย
มีโครงสรางสําคัญ ดังนี้
1. โบวแมนสแคปซูล (Bowman’s Capsule) เปนเยื่อบางๆ สองชั้นคลายกระเปาะเชื่อมตอกับทอหนวยไต
2. โกลเมอรูลัส (Glomerulus) เปนกลุมเสนเลือดฝอยอยูแนบชิดติดกับเยื่อชั้นในของโบว-แมนสแคปซูล
3. ทอหนวยไต ประกอบดวย
- ทอขดสวนตน (Proximal Convoluted Tubule) ทําหนาที่ดูดกลับสารที่มีประโยชน
- หวงเฮนเล (Loop Of Henle) ทําหนาที่ปรับปสสาวะใหเขมขนหรือเจือจางตามเหมาะสม
และดูดกลับสารที่มีประโยชน
- ทอขดสวนทาย (Distal Convoluted Tubule) ทําหนาที่เปลี่ยนของเหลวที่ผานมาเปนปสสาวะ
ปรับ pH และความเขมขนปสสาวะใหเหมาะสม

ระบบขับถาย

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (184) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


การกรองของเสียที่หนวยไตมีขั้นตอน ดังนี้
เลือด
เสนเลือดรีนัลอารเตอรี (Renal Artery) โกลเมอรูลัส โบวแมนแคปซูล
สารที่ผานการกรอง
ดูดกลับสารที่มีประโยชน
ทอปสสาวะ กระเพาะปสสาวะ ทอไต ทอรวม ทอหนวยไต

สารที่ทอหนวยไตดูดกลับคืนโดยไมตองใชพลังงาน คือ น้ํา กลูโคส และกรดอะมิโน สวนการดูด


กลับคืนแรธาตุตองใชกระบวนการแอกทีฟทรานสปอรต ซึ่งควบคุมโดยฮอรโมนแอลโดสเตอโรน (Aldosterone)
จากตอมหมวกไต สําหรับของเสียที่ขับออกมานอกรางกาย คือ ยูเรีย กรดยูริก และแอมโมเนีย
การรักษาสมดุลของน้ําในรางกายมนุษย สารที่กรองผานโกลเมอรูลัสประมาณวันละ 180 dm3 แตรางกาย
ขับปสสาวะออกมาเพียงวันละ 1.5 dm3 แสดงวามีการดูดกลับภายในไตมากถึงวันละ 178.5 dm3 ศูนยควบคุม
การกระหายน้ําอยูที่ไฮโพทาลามัส เมื่อรางกายขาดน้ําเนื่องจากสูญเสียเหงื่อมาก รางกายจะมีกลไกกระตุนใหเกิด
อาการกระหายน้ํา เราจึงตองดื่มน้ําชดเชยน้ําที่สูญเสียไป
ความผิดปกติที่เกี่ยวของกับไตอาจกอใหเกิดโรคไดหลายอยาง เชน
โรคนิ่ว เกิดจากตะกอนแรธาตุในน้ําปสสาวะจับตัวเปนกอนอุดตันทางเดินปสสาวะ หรือการบริโภคอาหาร
ที่มีสารออกซาเลตสูง เชน ผักโขม ใบชะพลู การรับประทานอาหารซึ่งมีธาตุฟอสฟอรัสมากจะชวยไมให
ออกซาเลตจับตัวเปนผลึกได
โรคไตวาย อาจเกิดจากการติดเชื้อรุนแรง การสูญเสียเลือดจํานวนมากหรือโรคเบาหวานเรื้อรังนานๆ ทําให
ไตไมทํางาน มีการสะสมของเสียในเลือด สมดุลของสารในรางกายผิดปกติอาจทําใหเสียชีวิตได
โรคเบาหวาน เกิดจากความผิดปกติของตับออนที่ไมสามารถควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดได ไตจึงดูดกลับ
น้ําตาลเขาสูเลือดไมหมด ทําใหมีน้ําตาลปนในปสสาวะของคนที่เปนโรคเบาหวาน

ระบบหมุนเวียนเลือด
การลําเลียงสารในสิ่งมีชีวิต
เปนการนําสารอาหารที่ยอยแลว ออกซิเจน เอนไซม ฮอรโมน แรธาตุตางๆ ฯลฯ ไปยังเซลลทั่วรางกาย
และนําของเสียที่รางกายไมตองการ กําจัดออกจากรางกาย สัตวชั้นต่ําเซลลเดียวมีการแลกเปลี่ยนสารระหวาง
เซลลกับสิ่งแวดลอมโดยตรงโดยการแพร สวนสัตวชั้นสูงมีระบบหมุนเวียนเลือดชวยในการลําเลียงสารอยางมี
ซึ่งแบงออกเปน 2 รูปแบบ คือ
1. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปด (Open Circulatory System) เปนระบบหมุนเวียนเลือดที่ไหล
ออกจากเสนเลือดเขาสูชองวางในลําตัว และที่วางระหวางอวัยวะตางๆ ในรางกาย พบในสัตวพวกหอย
และอารโทรพอด
2. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปด (Closed Circulatory System) เปนระบบหมุนเวียนเลือดที่มี
เลือดไหลอยูในเสนเลือดโดยตลอด พบในสัตวพวกแอนเนลิด หมึก และสัตวมีกระดูกสันหลัง

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (185)


ระบบหมุนเวียนเลือด

การลําเลียงสารในไสเดือนดิน
มีหัวใจเทียม (Pseudoheart) บริเวณปลองที่ 7-11 บีบตัวสงเลือดไปยังสวนตางๆ ของรางกาย
เซลลเม็ดเลือดแดงมีนิวเคลียสแตไมมีสี น้ําเลือดมีสีแดงเพราะมีฮีโมโกลบินละลายอยู
การลําเลียงสารในพวกมอลลัสค
หอย มีระบบหมุนเวียนแบบเปด โดยหัวใจสงเลือดไปตามหลอดเลือด และแทรกซึมไปตามชองรับเลือด
สัมผัสกับเนื้อเยื่อโดยตรง
หมึก มีระบบหมุนเวียนเลือดแบบปด เลือดมีฮีโมไซยานิน หัวใจมี 2 แบบ คือ Systemic Heart รับเลือด
จากเหงือกสงไปสวนตางๆ ของรางกายและ Branchial Heart สงเลือดไปแลกเปลี่ยนแกสที่เหงือก
การลําเลียงสารในแมลง
มีระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรเปด โดยเลือดจะไหลเวียนจากหลอดเลือดเขาสูชองวางของเนื้อเยื่อ
(Haemocoel) หัวใจของแมลงเกิดจากการพองตัวของหลอดเลือดในแตละปลองเกิดเปนหองประมาณ 9 หอง
มีอัตราการเตนประมาณ 14-160 ครั้งตอนาที เลือดแมลงประกอบดวย น้ําเลือด (Plasma) และเม็ดเลือด
(Hemocyte) ไมมีรงควัตถุในเลือดสําหรับลําเลียงแกส เพราะมีระบบทอลมลําเลียงแกสไดอยางมีประสิทธิภาพ
การลําเลียงสารในสัตวมีกระดูกสันหลัง
ปลา มีหัวใจ 2 หอง (Atrium 1 และ Ventricle 1) มีระบบการไหลเวียนของเลือดผานหัวใจ 1
ครั้งตอรอบ ดังนี้
หัวใจหองบน (Atrium) เซลลทั่วรางกาย
O2 มาก
หัวใจหองลาง (Ventricle) เหงือก

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (186) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


สัตวครึ่งบกครึ่งน้ํา มีหัวใจ 3 หอง (Atrium 2 และ Ventricle 1) มีหนาที่ตางกัน ดังนี้
- หองบนขวา รับเลือดที่มี CO2 มากจากสวนตางๆ ของรางกาย
- หองบนซาย รับเลือดที่มี O2 มากจากปอด
- หองลาง สงเลือดที่มี O2 และ CO2 จากหองบนไปยังสวนตางๆ ของรางกาย
สัตวเลื้อยคลาน มีหัวใจ 3 หอง (Atrium 2 และ Ventricle 1) หองลางมีผนังกั้นแตไมตลอด
ยกเวนจระเขมีผนังกั้นโดยสมบูรณจึงถือวาหัวใจมี 4 หอง
สัตวปก มีหัวใจ 4 หอง (Atrium 2 และ Ventricle 2) และมีขนาดใหญเมื่อเทียบกับขนาดตัว เลือดที่มี
O2 มากและมี O2 นอยแยกจากกันโดยสมบูรณ
สัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม มีหัวใจ 4 หอง การหมุนเวียนเลือดไหลผานหัวใจ 2 ครั้งตอรอบ โดยเลือดที่มี O2
มากไหลผานหัวใจซีกซาย สวนเลือดที่มี CO2 มากไหลผานหัวใจซีกขวาโดยไมปะปนกัน
การลําเลียงสารในรางกายมนุษย

ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (187)


หัวใจของมนุษยมีลักษณะ ดังนี้
1. มีเยื่อหุม (Pericardium) 2 ชั้น ระหวางเยื่อหุมชั้นนอกกับชั้นในมีของเหลวใส (Pericardial Fluid)
ชวยหลอลื่น และลดแรงเสียดทานขณะหัวใจเตน
2. มีเสนเลือดโคโรนารี (Coronary Artery) นําอาหารและออกซิเจนมาเลี้ยงกลามเนื้อหัวใจ
3. มี 4 หอง หองบน (Atrium) 2 หอง หองลาง (Ventricle) 2 หอง ภายในมีลิ้นหัวใจ (Valve)
ทําหนาที่ปองกันไมใหเลือดไหลยอนกลับ ดังนี้
3.1 ลิ้นไบคัสพิด (Bicuspid Valve หรือ Mitral Valve) กั้นหองบนซายกับลางซาย
3.2 ลิ้นไตรคัสพิด (Tricuspid Valve หรือ Atrioventricular Valve) กั้นหองบนขวากับลางขวา
3.3 ลิ้นเอออรติกเซมิลูนาร (Aortic Semilunar Valve) อยูตรงบริเวณโคนเสนเลือดแดงใหญ (Aorta)
3.4 ลิ้นพัลโมนารีเซมิลูนาร (Pulmonary Semilunar Valve) อยูตรงบริเวณโคนเสนเลือด
พัลโมนารีอารเทอรี ซึ่งนําเลือดไปแลกเปลี่ยนแกสที่ปอด
ความดันเลือด (Blood Pressure) เกิดจากการบีบตัวของหัวใจทําใหเกิดแรงดันในเสนเลือด 2 คา คือ
1. ความดันซิสโทลิก (Systolic Pressure) หมายถึง ความดันเลือดสูงสุดขณะหัวใจบีบตัว มีคาประมาณ
120 มิลลิเมตรปรอท
2. ความดันไดแอสโทลิก (Diastolic Pressure) หมายถึง ความดันเลือดขณะที่หัวใจคลายตัว มีคาประมาณ
80 มิลลิเมตรปรอท
2.1 ความดันเลือดคนปกติมีคา 120/80 มิลลิเมตรปรอท แตอาจเปลี่ยนแปลงไดขึ้นอยูกับอายุ เพศ
อารมณ น้ําหนักตัว อาหาร และโรคบางอยาง
2.2 การวัดความดันเลือดใชเครื่องมือ เรียกวา “Sphygmomanometer” วัดที่เสนอารเตอรี บริเวณ
ตนแขนชีพจร (Heart Rate) เกิดจากแรงดันเลือดทําใหเสนอารเตอรีหดและขยายตัวสลับกันตามจังหวะ
การเตนของหัวใจ คนปกติมีอัตราการเตนของชีพจรประมาณ 72 ครั้งตอนาที
เสนเลือด (Blood Vessel) แบงเปน 3 ชนิด คือ
1. เสนอารเตอรี (Artery) หมายถึง เสนเลือดที่นําเลือดออกจากหัวใจโดยมากเปนเลือดที่มีออกซิเจน
มากจึงเรียกกันวา “เสนเลือดแดง” ยกเวน Pulmonary Artery ซึ่งนําเลือดจากหัวใจไปปอดมีออกซิเจนนอย
เสนอารเตอรีที่มีขนาดใหญที่ สุด คือ เอออรตา (Aorta)
2. เสนเวน (Vein) หมายถึง เสนเลือดที่นําเลือดเขาสูหัวใจ สวนใหญเปนเลือดที่มีออกซิเจนนอย
จึงเรียกกันวา “เสนเลือดดํา” ยกเวน Pulmonary Vein ซึ่งนําเลือดจากปอดเขาสูหัวใจมีปริมาณออกซิเจนมาก
เสนเวนที่มีขนาดใหญที่สุด คือ เวนาคาวา (Vena Cava)
3. เสนเลือดฝอย (Capillary) หมายถึง เสนเลือดขนาดเล็กที่แทรกในเนื้อเยื่อ มีผนังบางมาก
ทําหนาที่แลกเปลี่ยนแกสและสารตางๆ ระหวางเลือดกับเซลลทั่วรางกาย เลือดของมนุษยมีประมาณ 7-8%
ของน้ําหนักตัวมีสวนประกอบดังนี้

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (188) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


3.1 น้ําเลือด (Plasma) เปนของเหลวสีเหลืองออนคอนขางใส มีประมาณ 55% ของเลือดทั้งหมด
ประกอบดวย
- น้ํา 90-93%
- โปรตีน 7-10% ไดแก อัลบูมิน (Albumin) โกลบูลิน (Globulin) ไฟบริโนเจน (Fibrinogen)
- ฮอรโมน เอนไซม แอนติบอดี
- สารอาหารที่ยอยแลว เชน กลูโคส กรดอะมิโน กรดไขมัน
- แรธาตุและวิตามินตางๆ
- ของเสียที่ตองการกําจัดออก เชน ยูเรีย คารบอนไดออกไซด
ถานําเลือดที่แข็งตัวแลวมาปนแยกเอาเซลลเม็ดเลือด เพลตเลต และไฟบรินออกจะเหลือของเหลวใส
เรียกวา “ซีรัม (Serum)”
3.2 เม็ดเลือด (Blood Corpuscle) มีประมาณ 45% ของเลือดทั้งหมด ประกอบดวย
เซลลเม็ดเลือดแดง (Red Blood Cell หรือ Erythrocyte)
- รูปรางกลมแบน ตรงกลางบุมเพราะไมมีนิวเคลียส (ตอนสรางใหมๆ มีนิวเคลียส) มีขนาด
7-8 ไมโครเมตร
- ในระยะเอ็มบริโอสรางจากตับ มาม ไขกระดูก เมื่อคลอดแลวสรางจากไขกระดูก มีอายุเฉลี่ย
100-120 วัน แหลงทําลาย คือ ตับและมาม
- คนที่มีเม็ดเลือดแดงนอยกวาปกติ จะเปนโรคโลหิตจาง (Anemia) แตหากมีเม็ดเลือดแดง
มากกวาปกติอาจเกิดโรค Polycythema ทําใหเลือดขนและอุดตันได
- เยื่อหุมเซลลของเม็ดเลือดแดง ประกอบดวย “ฮีโมโกลบิน (Hemoglobin)” ซึ่งมีเหล็กอยู 4
อะตอมตอ 1 โมเลกุล ดังนั้นฮีโมโกลบินจึงรวมกับ O2 ไดครั้งละ 4 โมเลกุลกลายเปนออกซีฮีโมโกลบิน
(Oxyhemoglobin) ลําเลียงไปยังเซลลทั่วรางกาย
เซลลเม็ดเลือดขาว (White Blood Cell หรือ Leucocyte)
- รูปรางกลม ขนาดใหญประมาณ 6-15 ไมโครเมตร เคลื่อนที่แบบอะมีบา นิวเคลียส
มีรูปรางตางกันหลายแบบ เมื่อยอมดวยสี Wright’s Stain ติดสีน้ําเงิน
- สรางจากไขกระดูกและตอมน้ําเหลือง มีปริมาณนอย คือ 5000-10000 เซลลตอเลือด 1
ลูกบาศกมิลลิเมตร แบงออกเปน 2 กลุม คือ
™ เม็ดเลือดขาวที่มีแกรนูล (Granule Leucocyte) นิวเคลียสมีหลายพู (Lobe)
พบประมาณ 70% ของเม็ดเลือดขาว ไดแก
นิวโทรฟล (Neutrophil) มีปริมาณมากที่สุด สรางจากไขกระดูก นิวเคลียสมี 3-5 พู
หนาที่กินสิ่งแปลกปลอม โดยวิธี Phagocytosis
อีโอซิโนฟล (Eosinophil) พบในเนื้อเยื่อมากกวากระแสเลือด นิวเคลียสมี 2 พู
กําจัดสิ่งแปลกปลอมโดยการจับกินและทําลายสารพิษ
เบโซฟล (Basophil) พบนอยที่สุด นิวเคลียสมี 2 พูขึ้นไป จับกินสิ่งแปลกปลอม
เฮพาริน (Heparin) ไมใหเลือดแข็งตัว รวมทั้งตอบสนองตอสิ่งแปลกปลอมที่กอใหเกิด
อาการแพ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (189)


™ เม็ดเลือดขาวที่ไมมีแกรนูล (Nongranule Leucocyte) ไดแก
โมโนไซต (Monocyte) มีขนาดใหญที่สุด นิวเคลียสใหญเกือบเต็มเซลล มีหนาที่กําจัด
เชื้อโรค หรือสิ่งแปลกปลอมโดยวิธี Phagocytosis
ลิมโฟไซต (Lymphocyte) มีความสําคัญในการสรางแอนติบอดี (Antibody) เพื่อตอบสนอง
ตอสิ่งแปลกปลอมอยางจําเพาะ ลิมโฟไซตที่สรางจากตอมไธมัส เรียกวา “T-Lymphocyte” หรือ “T-cell”
มีหนาที่ตอตานเชื้อโรค สิ่งแปลกปลอม และอวัยวะที่ปลูกถายจากผูอื่น สวนลิมโฟไซตที่สรางจากไขกระดูก
เรียกวา “B-Lymphocyte” หรือ “B-Cell” มีหนาที่สรางแอนติบอดี
เพลตเลต (Platelet หรือ Thrombocyte)
- เปนชิ้นสวนของไซโทพลาซึมของเซลลในไขกระดูก อาจเรียกวา “เกล็ดเลือด
แผนเลือด หรือเศษเม็ดเลือด”
- มีรูปรางไมแนนอนขนาดเล็ก 1-2 ไมโครเมตร มีอายุเพียง 10 วัน
- มีหนาที่เกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด โดยทํางานรวมกับแคลเซียมและวิตามิน K

ระบบน้ําเหลือง (Lymphatic System)

ระบบน้ําเหลือง

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (190) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


น้ําเหลือง (Lymph) เปนของเหลวซึ่งซึมผานเสนเลือดฝอยออกมาหลอเลี้ยงอยูรอบๆ เซลล ประกอบดวย
น้ํา กลูโคส อัลบูมิน ฮอรโมน เอนไซม แกส เซลลเม็ดเลือดขาว (แตไมมีเซลลเม็ดเลือดแดงและเพลตเลต)
ทอน้ําเหลือง (Lymph Vessel) มีหนาที่ลําเลียงน้ําเหลืองทั่วรางกายเขาสูเสนเวนใหญใกลหัวใจ
(Subclavian Vein) ปนกับเลือดที่มี O2 นอย ทอน้ําเหลืองมีลิ้นกั้นคลายเสนเวน และมีอัตราการไหลชามาก
ประมาณ 1.5 มิลลิเมตรตอนาที
อวัยวะน้ําเหลือง (Lymphatic Organ) ไดแก
1. ตอมน้ําเหลือง (Lymph Node)
- พบทั่วรางกายภายในมีลิมโฟไซตอยูเปนกระจุก
- ตอมน้ําเหลืองบริเวณคอ มี 5 ตอม เรียกวา “ทอนซิล (Tonsil)” มีหนาที่ปองกันจุลินทรียที่ผานมา
ในอากาศไมใหเขาสูหลอดอาหาร และกลองเสียงจนอาจเกิดอักเสบขึ้นมาได
2. มาม (Spleen)
- เปนอวัยวะน้ําเหลืองที่มีขนาดใหญที่สุด
- มีหนาที่ผลิตเซลลเม็ดเลือด (เฉพาะในระยะเอ็มบริโอ) ปองกันสิ่งแปลกปลอม และเชื้อโรคเขาสู
กระแสเลือด สรางแอนติบอดีทําลายเซลลเม็ดเลือดแดง และเพลตเลตที่หมดอายุ
3. ตอมไทมัส (Thymus Gland)
- เปนเนื้อเยื่อน้ําเหลืองที่เปนตอมไรทอ
- สรางลิมโฟไซตชนิดเซลลที เพื่อตอตานเชื้อโรคและอวัยวะปลูกถายจากผูอื่น
ภูมิคุมกันของรางกายมนุษย ไดแก
1. ภูมิคุมกันโดยกําเนิด (Innate Immunity) เปนการปองกันและกําจัดแอนติเจน ที่เกิดขึ้นเองในรางกาย
กอนที่รางกายจะไดรับแอนติเจน มีหลายรูปแบบ เชน
- เหงื่อ มีกรดแลกติกปองกันเชื้อโรคเขาสูรางกายทางผิวหนัง
- หลอดลม โพรงจมูกมี ขน ซิเลียและน้ําเมือกดักจับสิ่งแปลกปลอม
- กระเพาะอาหาร และลําไสเล็ก มีเอนไซม
- น้ําลาย น้ําตา น้ํามูก มีไลโซไซม (Lysozyme) ทําลายจุลินทรียได
2. ภูมิคุมกันจําเพาะ (Acquired Immunity) เกิดขึ้นเมื่อรางกายเคยไดรับแอนติเจนแลว
การสรางระบบภูมิคุมกันเพื่อตอตานเฉพาะโรคของมนุษย มี 2 วิธี
2.1 ภูมิคุมกันกอเอง (Active Immunization)
- เกิดจากการนําเชื้อโรคที่ออนกําลัง ซึ่งเรียกวา “วัคซีน (Vaccine)” มาฉีด กิน ทา
เพื่อกระตุนใหรางกายสรางแอนติบอดีตอตานเชื้อนั้นๆ
- วัคซีนที่เปนสารพิษและหมดความเปนพิษแลวเรียกวา “ทอกซอยด (Toxoid)” ก็สามารถ
กระตุนใหสรางภูมิคุมกันได เชน วัคซีนคุมกันโรคคอตีบ บาดทะยัก
- วัคซีนที่ไดจากจุลินทรียที่ตายแลว เชน โรคไอกรน ไทฟอยด อหิวาตกโรค
- วัคซีนที่ไดจากจุลินทรียที่ยังมีชีวิต เชน วัณโรค หัด โปลิโอ คางทูม หัดเยอรมัน
- ภูมิคุมกันกอเองคุมกันอยูไดนาน แตการตอบสนองคอนขางชา ประมาณ 4-7 วัน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (191)


2.2 ภูมิคุมกันรับมา (Passive Immunization)
- เปนการนําซีรัมที่มีแอนติบอดีอยูแลว มาฉีดใหผูปวยทําใหไดรับภูมิคุมกันโดยตรงตอตานโรค
ไดทันที
- ใชรักษาโรครุนแรงเฉียบพลัน เชน คอตีบ พิษงู
- ซีรัม ผลิตจากการฉีดเชื้อโรคที่ออนกําลังเขาในสัตว แลวนําซีรัมของสัตวที่มีแอนติบอดี
มารักษาโรคในมนุษย
- ภูมิคุมกันที่แมใหลูกผานทางรกและน้ํานมหลังคลอดจัดเปนภูมิคุมกันรับมาเชนกัน
- ภูมิคุมกันรับมารักษาโรคไดทันที แตอยูไดไมนานและผูปวยอาจแพซีรัมสัตว

แบบฝกหัด
1. กิจกรรมในขอใดเกี่ยวของกับเซลลวิลลัสของลําไสเล็ก
ก. ผลิตเอนไซมอะไมเลส
ข. ยอยไดเพปไทดใหเปนกรดอะมิโน
ค. ผลิตเอนไซมไลเพสยอยไขมัน กลายเปนกรดไขมันกับกลีเซอรอล
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ก. และ ค. 4) ถูกตองทุกขอ
2. ความผิดปกติในขอใดที่จะทําใหไมมีการยอยไขมัน
ก. ตับไมสรางเอนไซมไลเพส ข. ตับไมสรางเกลือน้ําดี
ค. อาหารจากกระเพาะมีฤทธิ์เปนกรด ง. ตับออนไมสรางเอนไซมทริปซิน
1) เฉพาะ ก. 2) เฉพาะ ข. 3) ข. และ ค. 4) ก. และ ง.
3. สัตวในขอใดมีอวัยวะใชหายใจเหมือนกัน
ก. ปลิงน้ําจืด ข. พลานาเรีย ค. ผึ้ง ง. ปู
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ก. และ ง.
4. เหตุการณใดเกิดขึ้นระหวางการหายใจแบบใชออกซิเจน
ก. มีการลําเลียงอิเล็กตรอนจากสารอาหารผานตัวรับอิเล็กตรอนในไซโทพลาซึมและนิวเคลียส
ข. มีการผลิต ATP เฉพาะบริเวณเยื่อไมโทคอนเดรีย
ค. มีออกซิเจนเปนตัวรับอิเล็กตรอนแลวมารวมกับโปรตอนไดโมเลกุลน้ํา
ง. มีการผลิต ATP ในเมทริกซและไซโทพลาซึม
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ก. และ ค.
5. เลือดของสัตวชนิดใดไมมีสี
1) ปู กั้ง ตั๊กแตน 2) พยาธิใบไม ไสเดือนดิน
3) แมลงสาบ ตั๊กแตน 4) ดาวทะเล ปลิงทะเล

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (192) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


6. ขอใดทําหนาที่ลําเลียงคารบอนไดออกไซดในรางกายของมนุษย
ก. Erythrocyte ข. Plasma ค. Platelets ง. Hemoglobin
1) ก. และ ข. 2) ค. และ ง. 3) ก., ข. และ ง. 4) ข., ค. และ ง.
7. คอนแทร็กไทลแวคิวโอลของพารามีเซียมเทียบไดกับอวัยวะในขอใด
ก. ลําไสเล็ก ข. ไต ค. เนฟริเดียม ง. ทอมัลพิเกียน
1) เฉพาะ ก. 2) เฉพาะ ข. 3) ก., ข. และ ค. 4) ข., ค. และ ง.
8. ขอแตกตางระหวางสวนประกอบของสารภายใน Glomerulus และ Bowman’Capsule ของ Nephron
ของไตคือขอใด
1) ระดับโปรตีน 2) ระดับโปรตีนและกลูโคส
3) ระดับน้ําและยูเรีย 4) ระดับโปรตีน น้ํา ยูเรีย และกลูโคส
9. เฟลมเซลล (Flame Cell) เปนอวัยวะที่ใชกําจัดของเสียในสิ่งมีชีวิตกลุมใด
ก. พลานาเรีย พยาธิใบไม ข. สัตวที่มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น
ค. สัตวที่มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
1) เฉพาะ ก. 2) ก. และ ข. 3) ก. และ ค. 4) ถูกตองทุกขอ
10. อวัยวะใดมีบทบาทในการยอยอาหารพวกโปรตีน
1) ตับ ตับออน กระเพาะอาหาร 2) ตับออน กระเพาะอาหาร ลําไสเล็ก
3) ลําไสเล็ก ตับ ตับออน 4) กระเพาะอาหาร ตับ ลําไสเล็ก
11. สารอาหารพวกใดที่เมื่อดูดซึมแลวจะเขาตับกอนไปที่หัวใจ
1) กรดอะมิโน วิตามินเอ กลูโคส 2) กลูโคส กรดอะมิโน วิตามินซี
3) วิตามินดี กลูโคส กรดอะมิโน 4) วิตามินซี เกลือแร วิตามินเอ
12. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับกระบวนการสลายสารอาหารระดับเซลล
1) เมื่อไดรับออกซิเจนเพียงพอ เซลลสัตวทั่วไปจะมีกระบวนการสลาย ลิพิด เปนคารบอนไดออกไซดและน้ํา
2) ตัวนําอิเล็กตรอนที่สําคัญในกระบวนการสลายสารอาหารคือ NAD+ และ FAD
3) NADH เปนตัวใหอิเล็กตรอน และ NAD+ เปนตัวรับอิเล็กตรอนในกระบวนการถายทอดอิเล็กตรอน
ที่เกิดขึ้นในไมโทคอนเดรีย
4) ไกลโคไลซิสเกิดในไซโทพลาซึมของเซลลยูคาริโอต
13. เชื้อโรคที่เขาสูระบบหมุนเวียนโลหิต สวนใหญจะถูกดักจับและทําลายในอวัยวะใด
1) ตอมไทมัส 2) ตอมน้ําเหลือง 3) มาม 4) ไขกระดูก
14. การเลี้ยงทารกดวยน้ํานมแมเปนการใหภูมิคุมกันแกทารกเปรียบเทียบไดกับขอใด
1) การฉีดวัคซีน 2) การฉีดซีรัม
3) การฉีดทอกซอยด 4) การเลนกับเพื่อนที่เปนโรคติดตอ
15. ตอมใดไมมีบทบาทเกี่ยวกับการตอตานหรือทําลายสิ่งแปลกปลอมที่เขาสูรางกาย
1) ตอมน้ําลาย 2) ตอมไทรอยด 3) ตอมไขมัน 4) ตอมเหงื่อ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (193)


16. ลิมโฟไซตในอวัยวะใดของระบบภูมิคุมกันที่ไมสรางแอนติบอดี
ก. ไขกระดูก ข. ตอมไทมัส ค. มาม ง. ตอมน้ําเหลือง
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ก. และ ง.
17. การเคลื่อนที่ของโครโมโซมจะเปนอยางไร หากขั้นตอนการสราง Microfilament ถูกขัดขวางในระหวาง
ที่เซลลกําลังมีการแบงนิวเคลียสในระยะ Anaphase
1) โครโมโซมจะหยุดอยูกับที่ 2) โครโมโซมจะเคลื่อนที่แยกออกจากกัน
3) โครโมโซมจะเคลื่อนที่เขาหากัน 4) โครโมโซมจะกระจายตัวอยางอิสระ
18. ขอใดคือปจจัยที่เหมาะสมที่สุดตอการทํางานของลิเพส (Lipase) ที่ลําไสเล็ก
ก. มีน้ําดี ข. มี pH เปนกลาง
ค. มีเอนเทอโรไคเนส ง. มีโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ก. และ ง.
19. เหตุใดคนเราจึงไมสามารถพูด หายใจเขา และกลืนไดพรอมกัน
ก. เวลาพูดหรือหายใจเขา ฝาปดกลองเสียงจะตองเปด แตเวลากลืน ฝาปดกลองเสียงจะตองปด
ข. เวลากลืน เพดานออนและลิ้นไก จะถูกดันขึ้นปดทางเดินลมหายใจ ขณะที่ฝาปดกลองเสียงปด
ค. เวลาหายใจเขา อากาศจะผานกลองเสียง แตเวลากลืน อากาศจะผานกลองเสียงไมได
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ก. และ ค. 4) ก., ข. และ ค.
20. ขอใดถูกตอง
1) กระบวนการหมักในยีสตเกิดขึ้นเมื่อเซลลมีความตองการเอทิลแอลกอฮอล
2) กระบวนการถายทอดอิเล็กตรอนในไมโทคอนเดรีย เกิดขึ้นเฉพาะในภาวะ ที่มีออกซิเจน
3) การเกิดคารบอนไดออกไซดจากกระบวนการสลายอาหาร เกิดขึ้นเฉพาะในไมโทคอนเดรีย
4) การสราง ATP ในกระบวนการสลายอาหารแบบใชออกซิเจนมาจากการทํางานของ ATP synthase เทานั้น
21. ปฏิกิริยาใดตอไปนี้ที่พบในเซลลเม็ดเลือดแดงที่เคลื่อนที่ในหลอดเลือดฝอย ในเนื้อเยื่อของรางกาย
(กําหนดให Hb หมายถึง ฮีโมโกลบิน)
ก. Hb + 4O2 → Hb(O2)4 ข. Hb(O2)4 → Hb + 4O2
ค. CO2 + H2O → H2CO3 ง. Hb + CO2 → HbCO2
1) ก. และ ข. 2) ก. และ ค. 3) ข. และ ค. 4) ข. และ ง.
22. สภาวะของกลามเนื้อในขอใดที่ชวยทําใหเกิดการหายใจเขา
1) กลามเนื้อกะบังลมคลายตัวทําใหกะบังลมโคงขึ้น
2) กลามเนื้อบริเวณซี่โครงแถบนอกหดตัวทําใหกระดูกซี่โครงยกขึ้น
3) กลามเนื้อบริเวณซี่โครงแถบในหดตัวทําใหกระดูกซี่โครงยกขึ้น
4) กลามเนื้อหนาทองหดตัวทําใหปริมาตรในชองทองเพิ่มขึ้น
23. จากตัวอยางตอไปนี้โครงสรางของระบบขับถายชนิดใดที่ไมเขาคูกับชนิดของสัตว
1) เฟลมเซลล-พลานาเรีย 2) ทอมัลพิเกียน-หนอนแมลงวัน
3) เนฟริเดียม-ดอกไมทะเล 4) ไต-เตา

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (194) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


24. ขอใดเปนลักษณะของสัตวที่มีระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปด
ก. ไมมีหลอดเลือด
ข. มีเลือดทําหนาที่ลําเลียงสาร
ค. มีชองรับเลือดภายในลําตัวเปนทางลําเลียงสาร
ง. มีการเรียงตัวของเซลลบริเวณผิดลําตัวไมเกิน 2 ชั้น
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ก. และ ง.
25. เมื่อมีความเขมขนของกรดคารบอนิกในเลือดสูงขึ้น รางกายจะเปลี่ยนแปลงอยางไร
ก. เพิ่มการหายใจ ข. ขับออกเพิ่มขึ้นทางปสสาวะ
ค. ขับออกทางปสสาวะ
1) ก. 2) ก. และ ข. 3) ข. และ ค. 4) ก., ข. และ ค.
26. สารในขอใดที่ทอของหนวยไตดูดกลับคืนสูเสนเลือดฝอยที่ปกคลุมหนวยไต แตพบในน้ําปสสาวะในปริมาณ
มากกวา
ก. โปรตีน ข. กลูโคส ค. โซเดียม ง. คลอไรด
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ก. และ ง.
27. ในหนูทดลองปกติ หลังจากฉีดวาโซเพรสซิน (ADH) ความเขมขนของสารในปสสาวะจะเปลี่ยนไปอยางไร
โซเดียม กลูโคส
1) เขมขนมากขึ้น เขมขนมากขึ้น
2) เขมขนนอยลง เขมขนนอยลง
3) เขมขนมากขึ้น ไมเปลี่ยนแปลง
4) เขมขนนอยลง ไมเปลี่ยนแปลง
28. ปลาอินทรีมีวิธีรักษาสมดุลของเหลวในรางกายอยางไร
1) กลืนน้ําเขารางกาย และกําจัดเกลือแรสวนเกินออกจากรางกาย
2) กําจัดทั้งน้ําและเกลือแรสวนเกินออกจากรางกาย
3) เคลื่อนยายทั้งน้ําและเกลือแรเขาสูรางกาย
4) กําจัดน้ําออกจากรางกายแตรักษาเกลือแรไว

เฉลยแบบฝกหัด
1. 2) 2. 2) 3. 1) 4. 3) 5. 3) 6. 3) 7. 4) 8. 1) 9. 3) 10. 2)
11. 2) 12. 1) 13. 2) 14. 2) 15. 2) 16. 1) 17. 2) 18. 4) 19. 4) 20. 2)
21. 3) 22. 3) 23. 3) 24. 2) 25. 4) 26. 1) 27. 3) 28. 1)

————————————————————

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (195)


การดํารงชีวิตของพืช
โครงสรางและหนาที่
เนื้อเยื่อพืช (Plant Tissue)
เนื้อเยื่อพืช คือ กลุมเซลลที่อยูรวมกันเพื่อทําหนาที่เฉพาะอยางใดอยางหนึ่ง
ประเภทของเนื้อเยื่อพืช
1. เนื้อเยื่อเจริญ (Meristematic tissue)
1.1 Apical meristems : ปลายยอด ปลายราก
1.2 Intercalary meristems : ขอปลอง
1.3 Lateral meristems : cambium

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (196) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


2. เนื้อเยื่อถาวร (Permanent tissue)
2.1 Epidermis : ชั้นนอกสุด
2.2 Parenchyma : พบไดทั่วไป มีเม็ดสี
2.3 Collemchyma : ตามมุมมีสารมาสะสม
2.4 Sclerenchyma : ลิกนินสะสมที่ผนังเซลลมาก (ไมมีชีวิต)
2.5 Endodermis : มีลิกนิน และซูเบอรินสะสมมาก
2.6 Cork : เนื้อเยื่อชั้นนอกของลําตน

2.7 Xylem : ทอลําเลียงน้ํา


♦ Tracheids : หัวทายปลายแหลม ตอกันเปนทอ
♦ Vessel : ผนังมีลิกนินสะสมเปนลวดลาย ปลายเปดหัวทาย
♦ Parenchyma
♦ Fiber

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (197)


2.8 Phloem : ทอลําเลียงอาหาร
♦ Sieve tube member : ทรงกระบอก ไมมีนิวเคลียส มีแตไซโทพลาซึม ที่รอยตอระหวาง
เซลลมีตะแกรง (Sieve plate)
♦ Companion cell : อยูขางๆ Sieve tube member
♦ Parenchyma
♦ Fiber

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (198) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


โครงสรางของพืช (Plant Structure)
ราก
เนื้อเยื่อของรากแบงออกเปน 4 บริเวณ
♦ Root cap
♦ Zone of cell division
♦ Zone of cell elongation
♦ Zone of cell differentiation

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (199)


โครงสรางของรากพืชใบเลี้ยงคูและใบเลี้ยงเดี่ยว
♦ Epidermis : เซลลผิวดานนอกสุด
♦ Cortex : กินพื้นที่บริเวณกวาง
♦ Endodermis : เซลลแถวเดียว ผนังหนา ถัดจาก คอเท็กซ
♦ Pericycle : ถัดจาก endodermis ตนกําเนิดของรากแขนง
♦ Vascular bundle

Dicotyledonous plant Monocotyledonous plant

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (200) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


โครงสรางของลําตนพืชใบเลี้ยงคูและใบเลี้ยงเดี่ยว
Monocotyledonous plant Dicotyledonous plant
มัดทอลําเลียงกระจายทั่ว มัดทอลําเลียงเรียงอยูโดยรอบ

สรุปขอแตกตางระหวางพืชใบเลี้ยงเดี่ยวกับพืชใบเลี้ยงคู

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (201)


การลําเลียงสารในพืช

xylem vessel phloem sieve tube member

การเคลื่อนที่ของน้ําในดินเขาสูราก
1. Symplast : ผาน plasmodesmata
2. Apoplast : ผานผนังเซลลและชองวางระหวางเซลล

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (202) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


กระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช

โครงสรางของใบ

โครงสรางของปากใบพืช (เปด/ปด)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (203)


การสังเคราะหดวยแสงมี 2 ขั้นตอน
1. Light reaction : produce ATP and NADPH + H+ เกิดบนเยื่อไทลาคอยดของคลอโรพลาสต
2. CO2 Fixation (Calvin cycle) : เกิดใน stroma

การถายทอดอิเล็กตรอนใน Light Reaction

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (204) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


CO2 Fixation (Calvin cycle) : เกิดใน stroma
สามารถแบงออกได 3 ขั้นตอน คือ
1. Carboxylation reaction
2. Reduction reaction
3. Regeneration reaction

ในการสราง glucose 1 โมเลกุล ตองตรึง CO2 ทั้งสิ้น 6 โมเลกุล


พืช C3 กับ พืช C4 (เพิ่มประสิทธิภาพในการสังเคราะหแสง โดยการตรึง CO2 สองครั้ง)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (205)


ตารางเปรียบเทียบการะบวนการสังเคราะหแสงของพืช C3 กับพืช C4
ขอเปรียบเทียบ พืช C3 พืช C4
1. การตรึง CO2 เกิด 1 ครั้งที่ mesophyll cell
เกิด 2 ครั้ง ที่ mesophyll cell
และ bundle sheeth
2. สารที่ใชตรึง CO2 RuBP (C5) PEP (C3)
RuBP (C5)
3. เอนไซมที่ใชตรึง CO2 RuBP carboxylase PEP carboxylase
RuBP carboxylase
4. ผลิตภัณฑตัวแรก PGA (C3) OAA (C4)
5. ตัวอยางพืช พืชสวนใหญ เชน ขาว ขาว พืชในเขตรอน เชน ขาวโพด ขาวฟาง
สาลี ถั่ว มะมวง บานไมรูโรย หญาในเขตรอน

การสืบพันธุของพืชดอก
สวนประกอบของดอก

การปฏิสนธิ (Fertilization)
การที่นิวเคลียสของเซลลสืบพันธุเพศผูและเพศเมียรวมตัวกัน ซึ่งการปฏิสนธิในพืชดอกนั้นเกิดจาก Sperm
2 ตัว ซึ่งจะเกิดการปฏิสนธิทั้งสิ้น 2 ครั้ง จึงเรียกวา การปฏิสนธิซอน (Double fertilization) ดังนี้
Sperm + egg Zygote Embryo
Sperm + polar nuclei Endosperm (อาหารสําหรับ Embryo)

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (206) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


ภาพแสดงการปฏิสนธิของพืช

โครงสรางเมล็ดของพืชใบเลี้ยงเดียวและพืชใบเลี้ยงคู

การเจริญของพืชใบเลี้ยงเดียวและพืชใบเลี้ยงคู

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (207)


ฮอรโมนที่มีผลตอการเจริญของพืช
1. Auxin : สรางจากปลายยอดและปลายราก, หนีแสง แตเคลื่อนที่ตามแรงโนมถวง
- กระตุนการยืดยาวที่ยอด
- ยับยั่งการยืดยาวที่ราก
- ยับยั้งการเจริญของตาขาง
2. Cytokinin : กระตุนการแบงเซลล การเกิดตาขาง
3. Gibberellin : กระตุนการยืดยาวของเซลล และกระตุนการงอก
4. Abscisic acid : ยับยั้งการเจริญในสภาวะที่ไมเหมาะสม การยืดตัวของเซลล กระตุนการรวงของใบแก
5. Ethylene : กระตุนการรวงของใบ และควบคุมการปดเปดของปากใบ
Phototropism

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (208) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


ตัวอยางแบบฝกหัดและเก็งขอสอบ
1. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับโครงสรางของพืชดอก
ก. กานใบประกอบขึ้นจากเซลลทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต
ข. พิธ (Pith) สามารถพบไดทั้งในราก ลําตน และใบของพืชใบเลี้ยงคูที่อยูในการเจริญเติบโตขั้นแรก
ค. เซลลขนราก และเซลลคุมเปนเซลลที่พบในเนื้อเยื่อชนิดเดียวกัน แตเซลลขนรากไมมีคลอโรพลาสต
ง. ใบของพืชน้ําตองมีเซลลคุม จึงจะเกิดกระบวนการสังเคราะหดวยแสงและการลําเลียงน้ําได
1) ก. และ ข. 2) ค. และ ง. 3) ก. และ ค. 4) ข. และ ง.
2. ขอใดแสดงการเคลื่อนไหวแบบทรอปกมูฟเมนตของพืช
1) ใบมะขามหุบในเวลาพลบค่ํา 2) ดอกมะลิหุบเมื่ออากาศเย็น
3) ชอดอกทานตะวันหมุนตามดวงอาทิตย 4) ดอกบัวหลวงบานในเวลาเชา

P700*

P680*

NADP + NADPH
ไซโทโครมคอมเพล็กซ
ระดับพลังงาน

ADP + Pi ATP

ระบบแสง I
การถายทอดอิเล็กตรอน
แบบที่ 1
ระบบแสง II การถายทอดอิเล็กตรอน
+ แบบที่ 2
2H 2 O O 2 + 4H

3. กระบวนการในคลอโรพลาสตจากภาพขางบนขอใดถูกตอง
ก. เกิดที่เยื่อไทลาคอยดเทานั้น
ข. มีการเปลี่ยนรูปของพลังงาน
ค. การถายทอดอิเล็กตรอนแบบที่ 1 ทําใหเกิดการสราง NADPH และ ATP
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ก. และ ค. 4) ก., ข. และ ค.

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (209)


4. การตรึงคารบอนไดออกไซดในพืชเกิดขึ้นที่ใด
1) ทุกเซลลของพืช C3 และพืช CAM
2) มีโซฟลลของพืช C3 และพืช C4
3) เฉพาะที่บันเดิลชีทของพืช C4 และทุกเซลลของพืช CAM
4) เฉพาะที่บันเดิลชีทของพืช C4 และมีโซฟลลของพืช CAM
5. ขอใดเปนการปรับตัวของพืชเพื่อลดการสูญเสียน้ํา
ก. การตรึงคารบอนไดออกไซดแบบ CAM
ข. ปากใบอยูต่ํากวาระดับผิวใบ
ค. การเกิดกัตเตชัน
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ก. และ ค. 4) ก., ข. และ ค.
6. ขอใดถูกตองสําหรับปฏิกิริยาแสง (Light reaction)
1) กลุมโปรตีนสําคัญในการถายทอดอิเล็กตรอนในปฏิกิริยาแสงมีเพียง 2 กลุม คือ ระบบแสง I และระบบ
แสง II
2) คลอโรฟลลทุกโมเลกุลในระบบแสง สามารถเปนตัวใหอิเล็กตรอนในปฏิกิริยาแสง หากไดรับคลื่นแสงที่
เหมาะสม
3) ATP Synthase ที่อยูบริเวณเยื่อไทลาคอยดเปนตัวเรงปฏิกิริยาการสราง ATP ในปฏิกิริยาแสง
4) การถายทอดอิเล็กตรอนแบบไมเปนวัฏจักรทําใหได NADH
7. ในสภาวะปกติขอความใดตอไปนี้ถูกตอง
1) พืช C3 สังเคราะหแสงในเวลากลางวัน สวนพืช CAM สังเคราะหแสงในเวลากลางคืน
2) พืช C3 สังเคราะหแสงในเวลากลางวัน สวนพืช C4 สังเคราะหแสงในเวลากลางคืน
3) พืช C4 สังเคราะหแสงในเวลากลางวัน สวนพืช CAM สังเคราะหแสงในเวลากลางคืน
4) พืช C4 และ CAM สังเคราะหแสงในเวลากลางวัน
8. คําอธิบายในขอใดไมถูกตอง
ซีพทิวบ (Sieve tube) เวสเซล (Vessel)
1) ประกอบดวยเซลลที่ตายแลว ประกอบดวยเซลลที่ตายแลว
2) มีผนังเซลลเปนผนังขั้นตน (Primary wall) มีผนังเซลลขั้นที่สอง (Secondary wall)
3) ผนังกั้นเซลลมีรูเปดคลายตะแกรง ผนังกั้นเซลลสลายไป
4) ทําหนาที่ลําเลียงอาหาร ลําเลียงน้ําและแรธาตุ
9. เลนทิเซล (Lenticel) พบในลําตนของพืชชนิดใด
ก. ไผ ข. มะพราว ค. ชบา ง. เข็ม
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ก. และ ง.

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (210) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


10. สารพวกใดที่ไดจากปฏิกิริยาที่ใชแสงแลวนําไปใชในปฏิกิริยาที่ไมใชแสง
1) ATP, NADH + H+ 2) O2, NADP, ATP
3) ATP, NADPH + H + 4) O2, NADPH + H+, ATP
11. เซลลรูปรางยาว ผนังหนามีลวดลายรางแหที่ผนังดานขางซึ่งเกิดจากการพอกของสารลิกนิน ผนังดานหัวทายมี
รูพรุน เซลลเรียงตอกันตามยาวคลายทอคือขอใด
1) ซีฟทิวบ 2) เทรคีด 3) ไฟเบอร 4) เวสเซล
12. ขอใดเกี่ยวของกับสารสี
1) สารสีที่ใชในการสังเคราะหดวยแสงของสาหรายสีเขียว คือ คลอโรฟลล เอ คลอโรฟลล บี และแคโรทีนอยด
2) สารสีที่ใชในการสังเคราะหดวยแสงของพืช อยูที่เยื่อหุมชั้นใน และเยื่อไทลาคอยดของคลอโรพลาสต
3) คลอโรฟลล เอ และแคโรทีนอยด ดูดกลืนพลังงานแสงไดดีที่ความยาวคลื่น ประมาณ 400-500 นาโนเมตร
และ 630-700 นาโนเมตร ตามลําดับ
4) สารสีทุกชนิดที่พบในพืช ไดแก คลอโรฟลล แคโรทีนอยด และแอนโทไซยานิน ลวนทําหนาที่เปนแอนเทนนา
ดูดรับพลังงานแสง
13. ขอใดถูกตองสําหรับปฏิกิริยาแสง
1) อิเล็กตรอนที่ถายทอดจากระบบแสง I สูระบบแสง II ผานอิเล็กตรอนหลายตัว จะมีพลังงานลดลงเปน
ลําดับ
2) เมื่อคลอโรฟลล เอ โมเลกุลพิเศษที่เปนศูนยกลางของปฏิกิริยาแสง สงอิเล็กตรอนใหตัวรับอิเล็กตรอนแลว
จะมีการสงตอใหตัวรับอิเล็กตรอนอื่นอีกหลายตัว
3) ในลูเมนของไทลาคอยดของกรานา มรการสะสมโปรตอนมากขึ้น จนเกิดความแตกตางของปริมาณ
โปรตอนในลูเมน และในสโตรมา ทําใหเกิดการสังเคราะห ATP ภายในลูเมน
4) ระหวางปฏิกิริยาแสง สารที่สะสมอยูบนเยื่อไทลาคอยด คือ คลอโรฟลล และแคดรทีนอยด แตสารที่
สะสมอยูในลูเมนของไทลาคอยด คือ อิเล็กตรอนที่ไดจากากรแตกตัวของน้ํา
14. กําหนดให
A = cork cambium B = periderm C = vascular cambium
D = secondary phloem E = secondary xylem F = pith
G = primary xylem H = primary phloem
เมื่อนําตนพืชใบเลี้ยงคูมาตัดตามขวางจะพบเนื้อเยื่อพืชที่เรียงลําดับจากขั้นนอกสุดไปในสุดเปนไปตามขอใด
1) A B C D E F G H 2) E F G H A B C D
3) C D E A B F G H 4) B A H D C E G F
15. โครงสรางใดตอไปนี้ที่ทําใหเกิดวงป (Annual Ring)
1) primary phloem 2) primary xylem
3) secondary xylem 4) secondary phloem

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (211)


เฉลยตัวอยางแบบฝกหัดและเก็งขอสอบ
1. เฉลย 3) ก. และ ค.
กานใบประกอบดวยเซลล Collenchyma ที่มีชีวิตและประกอบดวยทอลําเลียงน้ําและอาหาร ซึ่ง
มีทั้งเซลลที่มีชีวิตและไมมีชีวิต
เซลลขนรากและเซลลคุมเปลี่ยนแปลงมาจากเซลลผิว (Epidermis) แตเซลลคุมมีคลอโรพลาสต
เซลลขนรากไมมีคลอโรพลาสต
2. เฉลย 3) ชอดอกทานตะวันหมุนตามดวงอาทิตย
ทรอปกมูฟเมนต (Tropic movement) เปนการเคลื่อนไหวของพืชที่เกิดจากการเจริญเติบโต
อยางมีทิศทาง เชน ทานตะวันหมุนตามดวงอาทิตย เปนการตอบสนองตอแสง
แนสติกมูฟเมนต (Nastic movement) เปนการตอบสนองของพืชที่ไมถูกกําหนดโดยทิศทางของ
ปจจัยที่มากระตุน เชน การหุบบานของดอกไม มีปจจัยภายนอก ไดแก แสงและอุณหภูมิ การเปลี่ยนแปลง
ความเตงของเซลลพิเศษ
3. เฉลย 4) ก., ข. และ ค.
ในปฏิกิริยาแสงของพืชจะเกิดบนเยื่อไทลาคอยด โดยระบบแสง I และ II เมื่อระบบแสงไดรับ
พลังงานจะเปลี่ยนพลังงานแสงใหเปน ATP และสรางสาร NADPH
4. เฉลย 2) มีโซฟลลของพืช C3 และพืช C4
พืช C3 มีการตรึง CO2 ในชั้นมีโซฟลส แตไมมีการตรึง CO2 ในบันเดิลชีท
พืช C4 มีการตรึง CO2 ในชั้นมีโซฟลสและบันเดิลชีท
พืช CAM ตรึง CO2 ในเซลลทุกเซลล แตเกิดในเวลากลางคืน
5. เฉลย 1) ก. และ ข.
CAM = Crassulacean Acid Metabolism เปนลักษณะของพืชที่พบในเขตทะเลทราย จะเปด
ปากใบตอนกลางคืนเพื่อหลีกเลี่ยงการสูญเสียน้ําในเวลากลางวัน และปากใบอยูต่ํากวาระดับเอพิเดอรมิส
ซึ่งจะชวยลดการสูญเสียน้ํา
6. เฉลย 3) ATP synthase ที่อยูบริเวณเยื่อไทลาคอยดเปนตัวเรงปฏิกิริยาการสราง ATP ในปฏิกิริยาแสง
1) ยังมีรงควัตถุและโปรตีนอื่นอีกเชน (Pq) Plastoquinone และ (Pc) Plastocyanin เปนตน
2) เฉพาะคลอโรฟลลเอที่ใหอิเล็กตรอน
4) จะทําใหได NADPH
7. เฉลย 4) พืช C4 และ CAM สังเคราะหแสงในเวลากลางวัน
การสังเคราะหดวยแสง C4 และ CAM จะเกิดในเวลากลางวัน แต CAM จะมีการตรึง CO2
ในเวลากลางคืน และพืช C4 มีการตรึง CO2 ในเวลากลางวัน 2 ครั้ง ในเซลล 2 ชนิด ครั้งแรกจะเกิดที่
มีโซฟลล ครั้งที่ 2 ที่ Bundle sheath

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (212) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


8. เฉลย 1) ประกอบดวยเซลลที่ตายแลว
Sieve tube เปนสวนประกอบของทอลําเลียงอาหาร Phloem ซึ่งยังเปนเซลลที่มีชีวิตอยู
สวน Vessel เปนองคประกอบของทอลําเลียงน้ํา ซึ่งเปนเซลลืที่ตายแลว
9. เฉลย 3) ค. และ ง.
เลนทิเซล (Lenticel) เปนชองแลกเปลี่ยนแกสระหวางเนื้อเยื่อในลําตนกับบรรยากาศภายนอก
พบในพืชใบเลี้ยงคูหรือพืชที่มีเนื้อไม
10. เฉลย 3) ATP และ NADPH + H+
ATP และ NADPH + H+ เปนสารที่ไดจากปฏิกิริยาที่ใชแสง แลวนําไปรีดิวส PGA ใหกลายเปน
ฟอสโฟกลีเซอรัลดีไฮด (Phosphoglyceraldehyde) เรียกยอวา PGAL ในปฏิกิริยาที่ไมใชแสง
11. เฉลย 4) เวสเซล
เวสเซล (Vessel) มีขนาดใหญแตสั้นกวาเทรคีด ประกอบดวยเวสเซลเมมเบอร ซึ่งเปนเซลลืที่มี
ผนังหนา มีสารพวกลิกนินมาสะสม เซลลมีรูปรางยาว ปลายเซลลอาจเฉียงหรือตรงและมีชองทะลุถึงกัน
เวสเซลเมมเบอรหลายเซลลืมาเรียงตอกันมีลักษณะคลายทอน้ํา
12. เฉลย 1) สารสีที่ใชในการสังเคราะหแสงของสาหรายสีเขียว คือ คลอโรฟลล เอ คลอโรฟลล บี และแคโร-
ทีนอยด
พืชและสาหรายสีเขียวมีคลอโรฟลล 2 ชนิด คือ คลอโรฟลล เอ และคลอโรฟลล บี นอกจากนี้ยัง
มีแคโรทีนอยด สาหรายบางชนิดมีไฟโคบิลิน สารสีที่ใชในกระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืชอยูที่ไทลา
คอยดของคลอโรพลาสต
13. เฉลย 2) เมื่อคลอโรฟลล เอ โมเลกุลพิเศษที่เปนศูนยกลางของปฏิกิริยาแสง สงอิเล็กตรอนใหตัวรับ
อิเล็กตรอนแลว จะมีการสงตอใหตัวรับอิเล็กตรอนอื่นอีกหลายตัว
ในขั้นตอนปฏิกิริยาใชแสง แสงจะเปลี่ยนเปนพลังงานเคมีที่พืชสามารถนําไปใชตอไปในปฏิกิริยา
ไมใชแสง
14. เฉลย 4) B A H D C E G F
เมื่อนํ าตน พืชใบเลี้ย งคูม าตัด ตามขวางจะพบเนื้อ เยื่อ พืชที่ เรียงลําดั บจากขั้นนอกสุ ดไปในสุ ด
ดังตอไปนี้ เริ่มจากเนื้อเยื่อ periderm = cork cambium = primary phloem = secondary phloem =
cambium = secondary xylem = primary xylem และ pith ตามลําดับ
15. เฉลย 3) secondary xylem
วงปเกิดจากการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ secondary xylem ภายในเนื้อไมของพืชใบเลี้ยงคู
โดยที่แตละปจะประกอบดวย 2 ฤดู คือ ฤดูแลงและ ฤดูฝน ในชวงฤดูแลงเซลลืมีการเจริญเติบโตนอยจึง
กอใหเกิดลีกษณะเปนแถบเนื้อเยื่อสีเขม สวนในฤดูฝนมีน้ําอาหารดีจึงมีการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อมาก
จะปรากฏเปนแถบสีจาง สลับกันอยางนี้เรื่อยไปทุกป จึงเกิดเปนวงปในเนื้อไมขึ้น

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (213)


พันธุศาสตร (Genetics)
การถายทอดลักษณะของเมนเดล
- ถั่วลันเตา (Pisum sativum) อายุสั้น ดูแลรักษางาย และควบคุมการผสมพันธุไดงาย

Monohybrid cross : การผสมลักษณะที่สนใจเพียงหนึ่งลักษณะ

ลักษณะเมล็ดเรียบ = ลักษณะเดน S
ลักษณะเมล็ดยน = ลักษณะดอย s

เมล็ดถั่วพันธุแทเมล็ดเรียบ = SS
เมล็ดถั่วพันธุแทเมล็ดยน = ss

ลูกผสมรุนที่หนึ่ง ไดเมล็ดเรียบทั้งหมด
ลูกผสมรุนที่ 2 ไดเมล็ดเรียบ:เมล็ดยน = 3 : 1

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (214) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


กฏขอที่หนึ่งของเมนเดล Law of segregation
“ลักษณะแตละลักษณะถูกควบคุมดวย factor 1 คู เมื่อมีการสรางเซลลสืบพันธุ factor ที่อยูเปนคูนี้จะแยก
ออกจากกันเขาสูเซลลสืบพันธุ (gamate) เซลลละ 1 อันและจะกลับมาเขาคูอีกครั้งในลูก เมื่อมีการผสมระหวาง
เซลลสืบพันธุจากพอกับแม”
กําหนดให ยีน S = ลักษณะเมล็ดเรียบ
ยีน s = ลักษณะเมล็ดยน
P เมล็ดเรียบพันธุแท × เมล็ดยนพันธุแท
SS ss
เซลลสืบพันธุ
F1 Ss เมล็ดเรียบ
F1 × F1 Ss × Ss
Gamete
F2 SS Ss Ss ss (1 SS : 2Ss : 1ss)
3 เมล็ดเรียบ 1 เมล็ดยน
Dihybrid cross : การผสมพอแมที่มีลักษณะที่ตางกัน 2 ลักษณะ
ตัวอยาง
1. ลักษณะรูปรางเมล็ด
เมล็ดเรียบ × เมล็ดยน
2. ลักษณะสีเมล็ด
เมล็ดสีเหลือง × เมล็ดสีเขียว
ผสม
เมล็ดเรียบสีเหลืองพันธุแทกับเมล็ดยนสีเขียวพันธุแท

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (215)


ถาแยกศึกษา
ลักษณะรูปรางเมล็ด ลักษณะสีเมล็ด
P เมล็ดเรียบ × เมล็ดยน P เมล็ดสีเหลือง × เมล็ดสีเขียว
F1 เมล็ดเรียบ F1 เมล็ดสีเหลือง
F2 423 เมล็ดเรียบ : 133เมล็ดยน F2 416 เมล็ดสีเหลือง : 140 เมล็ดสีเขียว
อัตราสวน 3/4 เรียบ : 1/4 ยน อัตราสวน 3/4 สีเหลือง : 1/4 สีเขียว
3/4 เมล็ดเรียบ × 3/4 เมล็ดสีเหลือง = 9/16 เมล็ดเรียบสีเหลือง
3/4 เมล็ดเรียบ × 3/4 เมล็ดสีเขียว = 3/16 เมล็ดเรียบสีเขียว
1/4 เมล็ดยน × 3/4 เมล็ดสีเหลือง = 3/16 เมล็ดยนสีเหลือง
1/4 เมล็ดยน × 3/4 เมล็ดสีเขียว = 1/16 เมล็ดยนสีเขียว
อัตราสวน F2 ใน dihybrid cross
9/16 เมล็ดเรียบสีเหลือง 3/16 เมล็ดยนสีเหลือง
3/16 เมล็ดเรียบสีเขียว 1/16 เมล็ดยนสีเขียว
กฏขอที่สองของเมนเดล Law of independence assortment
“ยีนที่อยูบนโครโมโซมตางคูกัน มีความเปนอิสระที่จะเขาสูเซลลสืบพันธุเดียวกัน”
ให ยีน S = เมล็ดเรียบ ยีน Y = เมล็ดสีเหลือง
ยีน s = เมล็ดยน ยีน y = เมล็ดสีเขียว
ยีนนี้ตั้งอยูบนโครโมโซมคนละคูกัน
P เมล็ดเรียบสีเหลือง × เมล็ดยนสีเขียว
Genotype SSYY ssyy
Gamete SY sy
F1 SsYy (เรียบสีเหลือง)
F1 × F1 SsYy × SsYy
Gamete SY Sy sY sy SY Sy sY sy
F2

SY Sy sY sy
SY SSYY SSYy SsYY SsYy
Sy SSYy SSyy SsYy Ssyy
sY SsYY SsYy ssYY ssYy
sy SsYy Ssyy ssYy ssyy

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (216) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


โครงสรางของ DNA
• DNA – Deoxyribonucleic acid
• RNA – Ribonucleic acid
ดีเอ็นเอ และอารเอ็นเอ ประกอบดวยหนวย ยอยตางๆ เรียกวานิวคลีโอไทด (nucleotide)
nucleotide ประกอบดวยสารเคมี 3 กลุม
- น้ําตาล (Sugar)
- เบส (Base)
- หมูฟอสเฟต (Phosphate)

โครงสรางของนิวคลีโอไซดและนิวคลีโอไทด

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (217)


พันธะที่เชื่อมระหวางนิวคลีโอไทด คือ Phosphodiester Bond
ขอแตกตางระหวางดีเอ็นเอ และอารเอ็นเอ
ดีเอ็นเอ อารเอ็นเอ
น้ําตาล Ribose deoxyribose
เบส A, G, C, T A, G, C, U
กฏของ Chargaff
ดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตตางๆ ประกอบดวยเบส
1. A = T, G = C
2. A + G (purine) = T + C (pyrimidine)
3. A + G / T + C = 1
4. A + T / G + C มีคาเฉพาะในสิ่งมีชีวิตแตละชนิด
5. องคประกอบของเบสจากดีเอ็นเอของคนที่สกัดมาจากตางอวัยวะมีคาเทากัน
โครงสรางของ DNA Double stranded helix ของ James Watson & Francis Crick (1953)

• เกลียวคู (double helix) เวียนขวา


• Complementary base มีการจับคูของเบสคูสม A : T และ G : C ดวยพันธะ hydrogen
• Antiparallel สองสายมีทิศทางกลับหัวกลับหาง
• เสนผาศูนยกลาง 20 อังสตรอม คูเบสหางกัน 3.4 A
• ทํามุม 36 องศา 1 รอบมี 10 คูเบส

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (218) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


การจําลองโมเลกุลดีเอ็นเอ (DNA Replication)
สามารถเกิดขึ้นได 3 แบบ
1. Conservative
2. Semi-conservative
3. Dispersive

องคประกอบที่จําเปนในกระบวนการจําลองโมเลกุลดีเอ็นเอ
ดีเอ็นเอตนแบบ (DNA template)
ไพรเมอร (primer) : โอลิโกนิวคลีโอไทดสั้นๆ ที่เปนจุดเริ่มตน
นิวคลีโอไทดทั้ง 4 ชนิด (dNTP)
Magnesium ion (Mg2+)
เอนไซม DNA polymerase

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (219)


เอนไซมและโปรตีนที่เกี่ยวของในการจําลองโมเลกุลดีเอ็นเอ
1. Helicase (H) สลายพันธะไฮโดรเจน (hydrogen bond)
2. DNA binding protein (ssb) จับกับดีเอ็นเอสายเดี่ยว
3. DNA gyrase (topoisomerase) คลายปมที่จุดแยก
4. Primase หรือ Primerase สราง RNA primer
5. DNA polymeraseIII สังเคราะหดีเอ็นเอตอจาก primer
6. DNA polymeraseI ตัด primer ออกโดยใชคุณสมบัติ 5′-3′ exonuclease
7. DNA ligase เชื่อมรอยขาดของพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร(nick)
Central dogma

การลอกรหัส (Transcription)
• เปนการสราง RNA จาก DNA ตนแบบ
• สังเคราะหโดยเอนไซม RNA polymerase ในทิศทางจาก 5′ → 3′

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (220) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


รหัสพันธุกรรม (Codon = Genetic code)
• รหัสพันธุกรรม คือ รหัสที่กําหนดชนิดของกรดอะมิโน
• ประกอบดวย 3 นิวคลีโอไทด (Triplet codon) กําหนดโดย นิวคลีโอไทด 4 ชนิด G, A, T, C ใน
DNA หรือ G, A, U, C ใน RNA
• ทั้งหมด มี 64 รหัส (64 = 43 = 4 × 4 × 4)
- มี 61 รหัส กําหนด กรดอะมิโน 20 ชนิด
- 3 รหัส เปน stop/terminator codon (UGA, UAA, UAG)
คุณสมบัติของรหัสพันธุกรรม
• Triplet code ประกอบดวย 3 เบส แปลใหกรดอะมิโน 1 ตัว
• Commaless ไมมีการเวนวรรค อานตอเนื่องกัน เชน
- AUGUACGGCUGA
- met tyr gly stop
• Non-overlapping ไมมีการซอนกัน
• Degeneracy กรดอะมิโนแตละชนิดมีไดหลายรหัสพันธุกรรม เชน
- CUU, CUC, CUA, CUG = Leucine
• Stop codon มี 3 รหัส คือ UAG, UGA และ UAA

องคประกอบของการสังเคราะหโปรตีน
1. mRNA ที่มีรหัสพันธุกรรม (codon)
2. ไรโบโซม เลื่อนไปจนถึง start codon (AUG)
3. tRNA เปนอารเอ็นเอที่มีรหัสคูกับ codon เรียก anticodon เชน codon AUG, anticodon UAC
นําอะมิโน Methionine

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (221)


ตัวอยางแบบฝกหัดและเก็งขอสอบ
1. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับหมูเลือด
1) คนที่มีหมูเลือด O สามารถรับเลือดจากคนหมูเลือด B ไดโดยไมเปนอันตราย เพราะหมูเลือด O ไมมี
แอนติเจน A ที่จะจับกับแอนติบอดี A ของหมูเลือด B
2) คนที่มีหมูเลือด A ไมสามารถรับเลือดจากคนหมูเลือด AB ได เพราะแอนติเจน B จากหมูเลือด AB
จะจับกับแอนติบอดี B ของหมูเลือด A
3) คนที่มีหมูเลือด Rh- สามารถรับเลือดไดจากทั้งหมูเลือด Rh- และ Rh+
4) แมที่มีหมูเลือด Rh+ ถามีทารกในครรภคนที่ 2 หรือ 3 เปน Rh- อาจทําใหทารกเกิดอีรีโทรบลาสโทซิส-
ฟทาลิสได
2. จาก mRNA ที่มีลําดับนิวคลีโอไทด 5′ UAC UCC AGU AUA CCA GAG 3′ mRNA ขางตนถูกสังเคราะห
มาจาก DNA ตนแบบ ที่มีลําดับนิวคลีโอไทดอยางไร
1) 5′ TAC TCC AGT ATA CCA GAG 3′ 2) 5′ ATG AGG TCA TAT GGT CTC 3′
3) 5′ GAG ACC ATA TGA CCT CAT 3′ 4) 5′ CTV TGG TAT ACT GGA GTA 3′
3. ตารางรหัสพันธุกรรม

จากตาราง มิวเทชันที่ทําใหเบสลําดับที่ 5 ของ mRNA ที่มีลําดับนิวคลีโอไทดเปน 5′ AUGUCCGUA 3′


เปลี่ยนจาก C เปน A จะสงผลถึงชนิดของกรดอะมิโนในลําดับที่ 2 ของสายพอลิเพปไทดที่ถูกสรางขึ้นจาก
mRNA นี้อยางไร
1) ไมมีการเปลี่ยนแปลงชนิดของกรดอะมิโน 2) เปลี่ยนชนิดของกรดอะมิโนจาก Ser เปน Tyr
3) เปลี่ยนชนิดของกรดอะมิโนจาก Arg เปน Asp 4) เปลี่ยนชนิดของกรดอะมิโนจาก Pro เปน Thr

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (222) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


4. ขอใดไมถูกตอง
1) เกลียวคูของสายพอลินิวคลีโอไทดเวียนขวาตามเข็มนาฬิกา
2) เบสคูสมในสายพอลินิวคลีโอไทดยึดกันดวยพันธะไฮโดรเจน
3) ถาเปรียบโครงสรางของสายดีเอ็นเอเปนบันไดเวียน ราวบันไดเกิดจากไนโตรจีนัสเบสจับกับหมูฟอสเฟต
4) โครงสรางของเบสพิวรีน เปนวงแหวนที่ประกอบดวยคารบอนและไนโตรเจน 2 วง แตเบสไพริมิดีนมีวง
แหวนดังกลาว 1 วง
5. ขอใดสอดคลองกับกฎแหงการแยก
1) กฎขอนี้ไดมาจากการศึกษาลักษณะที่ไดจากการผสมพิจารณาสองลักษณะ
2) ยีนที่อยูเปนคูจะแยกออกจากกันในระหวางการแบงเซลลแบบไมโทซิสของการสรางเซลลสืบพันธุ
3) ในการผสมของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเดนแทกับลักษณะดอยแทจะใหลูกรุน F2 ที่มีลักษณะเดนตอลักษณะ
ดอยเปน 3 : 1
4) ยีนที่แยกออกจากยีนที่เปนคูกัน จะจัดกลุมอยางอิสระกับยีนอื่นที่แยกออกจากคูเชนกัน ในการเขาไปอยู
ในเซลลสืบพันธุ
6. ถาประชากรในอําเภอหนึ่ง ซึ่งอยูในภาวะสมดุลของฮารดี-ไวนเบิรก มีจํานวนทั้งหมด 10000 คน มีผูปวย
เปนโรคซิสติค ไฟโบรซิส ซึ่งเปนโรคพันธุกรรมแบบยีนดอยบนโครโมโซมรางกาย 4 คน จะมีประชากร
ประมาณกี่คนที่เปนพาหะของโรค
1) 49 คน 2) 98 คน 3) 196 คน 4) 392 คน
7. นักวิทยาศาสตรนําขาวสองตนมาผสมกัน โดยตนเพศเมียมีจีโนไทปเปน aa สวนตนเพศผูมีจีโนไทปเปน Aa
ผลจากการผสมนี้จะทําใหไดจีโนไทปของเอนโดเสปรมแบบใดบาง ในอัตราสวนเทาใด
1) 1 Aaa : 1 aaa 2) 3 Aaa : 1 aaa 3) 1 AAa : 1 aaa 4) 3 AAa : 1 aaa
8. การถายทอดโรคทางพันธุกรรมชนิดหนึ่งที่ปรากฏในพันธุประวัติของครอบครัวมีลักษณะดังนี้

การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมนี้มีแบบแผนอยางไร
1) การถายทอดยีนที่ไมเกี่ยวเนื่องกับเพศ และลักษณะที่ผิดปกติเปนลักษณะดอย
2) การถายทอดยีนที่ไมเกี่ยวเนื่องกับเพศ และลักษณะที่ผิดปกติเปนลักษณะเดน
3) การถายทอดยีนที่เกี่ยวเนื่องกับ X (X-linked gene) และลักษณะที่ผิดปกติเปนลักษณะดอย
4) การถายทอดยีนที่เกี่ยวเนื่องกับ X (X-linked gene) และลักษณะที่ผิดปกติเปนลักษณะเดน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (223)


9. นักวิทยาศาสตรพบวา DNA ของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมีปริมาณ Cytosine 38% ดังนั้นปริมาณของ Thymine
คิดเปนกี่เปอรเซ็นต
1) 12 2) 24 3) 31 4) 38
10. การศึกษาขอมูลจากภาพที่เกิดจากการหักเหของรังสีเอกซผานผลึก DNA ทําใหวัตสันและคริกไดทราบ
คุณสมบัติของ DNA ไดแก
ก. โมเลกุลมีรูปรางเปนเกลียว ข. ระยะหางของเกลียวแตละรอบ
ค. ลําดับของนิวคลีโอไทดในสาย DNA ง. ความยาวของเสนผานศูนยกลางของเกลียว DNA
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ก., ข. และ ค. 4) ก., ข. และ ง.
11. สมมติวามีสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งสรางโปรตีนจากกรดอะมิโนจํานวน 40 ชนิด โดย RNA ประกอบดวยนิวคลีโอ
ไทดจํานวน 3 ชนิด ดังนั้นรหัสพันธุกรรม (codon) ที่สั้นที่สุดจะประกอบดวยกี่นิวคลีโอไทด
1) 2 2) 3 3) 4 4) 5
12. จากตารางรหัสพันธุกรรมดานลาง
U C A G
UUU Phe UCU Ser UAU Tyr UGU Cys U
UUC Phe UCC Ser UAC Tyr UGC Cys C
U
UUA Leu UCA Ser UAA Stop UGA Stop A
UUG Leu UCG Ser UAG Stop UGG Trp G
CUU Leu CCU Pro CAU His CGU Arg U
CUC Leu CCC Pro CAC His CGC Arg C
C
CUA Leu CCA Pro CAA Gln CGA Arg A
CUG Leu CCG Pro CAG Gln CGG Arg G
AUU Ile ACU Thr AAU Asn AGU Ser U
AUC Ile ACC Thr AAC Asn AGC Ser C
A
AUA Ile ACA Thr AAA Lys AGA Arg A
AUG Met ACG Thr AAG Lys AGG Arg G
GUU Val GCU Ala GAU Asp GGU Gly U
GUC Val GCC Ala GAC Asp GGC Gly C
G
GUA Val GCA Ala GAA Glu GGA Gly A
GUG Val GCG Ala GAG Glu GGG Gly G

ถาเกิดมิวเทชันเฉพาะที่ (Point mutation) ในสายของ DNA ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของลําดับกรดอะมิโน


จาก I le Thr Asn Cys His Asp Tyr Glu His
เปน I le Thr I le Val Met I le I le Glu His
ขอใดเปนรูปแบบของมิวเทชันที่มีความเปนไปไดมากที่สุด
1) การแทนที่คูเบส (Substitution) 5 ตําแหนง
2) การเพิ่มขึ้นของนิวคลีโอไทด (Insertion) 1 ตําแหนง
3) การขาดหายไปของนิวคลีโอไทด (Deletion) 1 ตําแหนง
4) การเพิ่มขึ้นของนิวคลีโอไทด (Insertion) และการขาดหายไปของนิวคลีโอไทด (deletion) อยางละ 1 ตําแหนง

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (224) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


เฉลยตัวอยางแบบฝกหัดและเก็งขอสอบ
1. เฉลย 2) คนที่มีหมูเลือด A ไมสามารถรับเลือดจากคนหมูเลือด AB ได เพราะแอนติเจน B จากหมูเลือด
AB จะจับกับแอนติบอดี B ของหมูเลือด A
ตามกฏการใหเลือด “ตองไมใหแอนติเจนของผูใหตรงกับแอนติบอดีขิงผูรับ” ดังนั้นสําหรับคน
หมูเลือด AB ซึ่งมีทั้งแอนติเน A และแอนติเจน B จึงไมสามารถใหเลือดแกใครไดเลย เพราะแอนติเจนจาก
คนหมูเลือด AB จะจับกับแอนติบอดีของผูรับเลือดและทําใหเกิดการตกตะกอนขึ้น
2. เฉลย 4) 5′ CTC TGG TAT ACT GGA GTA 3′
เนื่องจากสาย mRNA ที่ไดคือ 5′ UAC UCC AGU AUA CCA GAG3′ ดังนั้นสาย DNA
ตนแบบที่ใชในการสังเคราะหตองมีลําดับนิวคลีโอไทดที่คูสมกัน คือ ATG AGG TCA TAT GGT CTC แต
เนื่องจากทิศทางในการสังเคราะหสาย mRNA และทิศทางของ DNA ตนแบบนั้นตองมีทิศทางที่ตรงขามกัน
ดังนั้นลําดับที่ถูกตองของสาย DNA ตนแบบจึงเปน 5′ CTC TGG TAT ACT GGA GTA 3′
3. เฉลย 2) เปลี่ยนชนิดของกรดอะมิโนจาก Ser เปน Tyr
จากโจทยเมื่อเกิดมิวเทชันที่ทําใหเบสลําดับที่ 5 ของ mRNA ที่มีลําดับนิวคลีโอไทดเปน
5′ AUGUCCGUA 3′ เปลี่ยนจาก C เปน A จะสงผลถึงชนิดของกรดอะมิโนในลําดับที่ 2 ของสายพอลิเพปไทด
ที่ถูกสรางขึ้นจาก mRNA เปลี่ยนไปจาก Ser เปน Tyr เพราะ codon ที่ไดเปลี่ยนไปจาก UCC เปน UAG
ซึ่งกําหนดเปนกดรอะมิโนไทโรซีน
4. เฉลย 3) ถาเปรียบโครงสรางของสายดีเอ็นเอเปนบันไดเวียน ราวบันไดเกิดจากไนโตรจีนัสเบสจับกับหมู
ฟอสเฟต
ถาเปรียบโครงสรางของสายดีเอ็นเอเปนบันไดเวียน ราวบันไดเกิดจากน้ําตาลดีออกซีไรโบสเกาะ
กับหมูฟอสเฟต สวนไนโตรจีนัสเบสจะยื่นออกมาคลายขั้นบันได
5. เฉลย 3) ในการผสมของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเดนแทกับลักษณะดอยแทจะใหลูกรุน F2 ที่มีลักษณะเดนตอ
ลักษณะดอยเปน 3 : 1
ในการผสมของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเดนแทกับลักษณะดอยแทจะใหลูกรุน F2 จะมีลักษณะเดนตอ
ลักษณะดอยเปน 3 : 1 สอดคลองกับกฏแหงการแยก (Law of segregation) ซึ่งกลาววา สิ่งมีชีวิตที่
สืบพันธุแบบอาศัยเพศจะมีสิ่งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมอยูเปนคูๆ แตละคูจะแยกออกจากกันเมื่อมีการ
สรางเซลลวืบพันธุ และเมื่อเวลลสืบพันธุผสมกันสิ่งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมนี้จะกลับมาเขาคูกันอีกครั้ง
6. เฉลย 4) 392 คน
เนื่องจากประชากรอยูในสมดุล ความถี่ของบุคคลที่เปนโรคเทากัน 4/10000 = 0.0004 ซึ่งจะ
เทากับ คา q2 ของสมการ p2 + 2pq + q2 = 1 ดังนั้น q2 = 0.0004 จึงได q = 0.02
ซึ่งก็จะไดความถี่ของ ยีน(A) = 0.98 เพราะความถี่ของ A และ a ตองรวมกันเทากับ 1
ดังนั้นคนที่เปนพาหะ จะเทากับ 2pq = 2 × 0.98 × 0.02 × 10000 = 392 คน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (225)


7. เฉลย 1) 1 Aaa : 1 aaa
ตนเพศเมียมีจีโนไทป aa เมื่อแบงเซลลสืบพันธุแบบไมโอซิสจะได 8 นิวเคลียส แตละนิวเคลียสมี
โครโมโซมครึ่งหนึ่ง คือ a ตนเพศผูมีจีโนไทป Aa ไดเซลลสืบพันธุ 2 ชนิด A และ a
การเกิดเอนโดสเปรมเกิดจากการปฏิสนธิระหวางโพลารนิวคลีไอ 2 นิวเคลียส (a, a) รวมกับ
สเปรม 2 ชนิด (A, a) จะไดจีโนไทป 2 แบบ คือ Aaa และ aaa ในอัตราสวน 1 : 1 เพราะเปนการผสม
ระหวางจีโนไทปที่เปนเฮเทอโรไซกัส (Aa) และฮอโมโลกัสรีเซสสีพ (aa)
Aa × aa
A, a a
Aa : aa
1 : 1
8. เฉลย 2) การถายทอดยีนที่ไมเกี่ยวเนื่องกับเพศ และลักษณะที่ผิดปกติเปนลักษณะเดน
จากพันธุประวัติของครอบครัวพบวามีทั้งผูหญิงและผูชายเปนโรค ดังนั้นการถายทอดจะไม
เกี่ยวกับเพศและเปนลักษณะเดน เนื่องจากมีการแตงงานกันระหวางหญิงชายที่เปนโรคทั้งคูจะพบวามี
ลักษณะที่ไมเปนโรคดวย แสดงวาลักษณะไมเปนโรคเปนลักษณะดอยแฝงอยู

เปนโรค ไมเปนโรค
9. เฉลย 1) 12
ปริมาณ Cytosine = Guanine = 38%
∴ มีปริมาณ Adenine = Thymine = 12%
10. เฉลย 1) ก. และ ข.
เอ็ม เอช เอฟ วิลคินส (M.H.F. Wilkins) และโรซาลินด แฟรงคลิน (Rosalind Franklin) ไดใช
เทคนิคเอกซเรยดิฟแฟรกชัน (x-ray diffraction) ผานผลึก DNA ทําใหเกิดภาพบนแผนฟลม แปลผลไดวา
โครงสรางของ DNA ของสิ่งมีชีวิตตางๆ มีลักษณะที่คลายกันมากคือประกอบดวยพอลินิวคลีโอไทดมากกวา
1 สาย มีลักษณะเปนเกลียว เกลียวแตละรอบมีระยะหางเทาๆ กัน
11. เฉลย 3) 4
รหัสพันธุกรรม (Genetic codon) ในสาย mRNA จะประกอบดวยนิวคลีโอไทดทั้ง 3 ชนิด และ
ตองครอบคลุมชนิดของกรดอะมิโนทั้ง 40 ชนิด ดังนั้นรหัสพันธุกรรมควรเปน 34 = 81 ชนิด จึงจะเพียงพอ
กับชนิดของกรดอะมิโน
12. เฉลย 1) การแทนที่คูเบส (Substitution) 5 ตําแหนง
การเกิดมิวเทชันแบบ Point mutation เปนการมิวเทชันที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในระดับเบส
ไดแก การแทนที่นิวคลีโอไทด (Substitution), การขาดหายไปของนิวคลีโอไทด (Deletion) และการเพิ่มขึ้น
ของนิวคลีโอไทด (Insertion)
จากโจทยจํานวนกรดอะมิโนเทาเดิมและลําดับกรดอะมิโน ลําดับตนสายและปลายสายไมเปลี่ยนแปลง
แตเกิดการเปลี่ยนแปลงตรงชวงกลาง นาจะเกิดจากการแทนที่คูเบส (Substitution) เพราะถาเปน Insertion
หรือ Deletion จะทําใหชนิดของกรดอะมิโนเปลี่ยนไปถึงปลายสาย

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (226) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา (Ecology) คือ เปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอมในดานตางๆ
ประชากร (Population) คือ สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่ อยูรวมกัน ณ สถานที่หนึ่ง เชนประชากรมนุษยในโลก
กลุมสิ่งมีชีวิต (Community)
กลุมสิ่งมีชีวิต หมายถึง สิ่งมีชีวิตหลายๆ ชนิดอยูรวมกัน (Complex species) เชน จอก แหน ผักตบชวา
บัว กระจับ ปลา ปู กบ กุง หอย อยูรวมกัน ถาสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวอยูรวมกัน เราเรียกวาประชากร

ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ คือ หนวยของความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต และสิ่งมีชีวิตเหลานั้นกับสภาพแวดลอมของ
แหลงที่อยู ความสัมพันธเหลานั้นทําใหเกิดการถายทอดพลังงานและวัฏจักรของสารขึ้น ซึ่งเปนหัวใจของระบบ
นิเวศทุกๆ ระบบ การถายทอดพลังงานและการหมุนเวียนของสสารนี้เองที่ชวยใหระบบนิเวศสามารถดํารงอยูได
และเปนตัวการขับเคลื่อนใหสิ่งมีชีวิตสรางการปฏิสัมพันธกันเอง และสิ่งแวดลอม
ตัวอยางระบบนิเวศ
- บนขอนไมผุ มีมด ปลวก ดวง หญา เห็ด รา เจริญอยูมากมาย
- ในแองน้ํารอยเทาสัตว มีลูกน้ํา ไรน้ํา สาหราย แบคทีเรีย อาศัยอยู
- หนองน้ํา มีจอก แหน ผักตบชวา กบ ปลา หอย กุง อาศัยอยูรวมกัน
- ปาชายเลน มีตนโกงกาง แสม ลําพู ปลาตีน ปูกามดาบ อาศัยอยูมากมาย
สรุป
ระบบนิเวศ (Ecosystem) = กลุมสิ่งมีชีวิต (Community) + ถิ่นที่อยู (Habitat)
ประเภทของระบบนิเวศ
1. ระบบนิเวศบนบก (Terrestrial Ecosystem)
การจําแนกประเภทใชลักษณะเดนของพืชเปนเกณฑ และขึ้นอยูกับปจจัย 2 ประการ คือ อุณหภูมิและ
ปริมาณน้ําฝน ทําใหพืชพันธุตางๆ ในแตละพื้นที่แตกตางกัน ระบบนิเวศบนบกแบงไดเปน
- ระบบนิเวศปาไม (Forest ecosystem) เปนระบบนิเวศที่พื้นที่สวนใหญปกคลุมดวยปาไม
- ระบบนิเวศทุงหญา (Grassland ecosystem) เปนระบบนิเวศที่มีพืชตระกูลหญาเปนพืชเดน
- ระบบนิเวศทะเลทราย (Desert ecosystem) เปนพื้นที่ที่มีฝนตกนอยกวาปริมาณการระเหยของน้ํา
แตบางพื้นที่ถามีฝนตกบางเล็กนอยจะมีหญาเขตแลวขึ้นงอกงาม
2. ระบบนิเวศในน้ํา (Aquatic Ecosystem)
เปนระบบนิเวศที่อยูในบริเวณแหลงน้ําตางๆบนโลก แบงเปน
- ระบบนิเวศน้ําจืด (Fresh water ecosystem)
- ระบบนิเวศน้ํากรอย (Estuarine ecosystem) เปนระบบนิเวศที่เกิดขึ้นบริเวณรอยตอระหวาง
น้ําเค็มกับน้ําจืด มักเปนบริเวณปากแมน้ําตางๆ จะมีตะกอนมาก เชน พวกปาชายเลน
- ระบบนิเวศน้ําเค็ม (Marine ecosystem)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (227)


องคประกอบของระบบนิเวศ
ระบบนิเวศประกอบไปดวยสองสวนคือ สิ่งมีชีวิต (Biotic component) และสิ่งไมมีชีวิต (Abiotic component)
องคประกอบที่มีชีวิต (Biotic component)
เราสามารถแยกประเภทของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตามแหลงของอาหารได 2 ประเภทใหญๆ คือ
1. Autotroph (Producer)
สิ่งมีชีวิตประเภทนี้เปนสิ่งมีชีวิตที่สรางอาหารเองได ซึ่งก็คือ พืช สาหราย ฯลฯ เปนสิ่งมีชีวิตที่เก็บเอา
พลังงานจากสิ่งแวดลอมมาสรางเปนอาหาร และเปนแหลงอาหารของสิ่งมีชีวิตอื่น
2. Heterotroph
สิ่งมีชีวิตที่อยูในประเภทนี้ไมสามารถสรางอาหารเองได ตองบริโภคสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เพื่อใหไดมาซึ่ง
พลังงานในการดํารงชีวิต แบงไดเปนสองประเภทยอย คือ
2.1 Consumer (ผูบริโภค) ไดแกสัตวตางๆ สามารถแบงเปน 4 ประเภท คือ
- Herbivore ผูบริโภค producer สัตวประเภทนี้จะกินพืช
- Carnivor ผูบริโภคสัตวดวยกันเอง
- Omnivore บริโภคทั้งสัตวและพืช เชน คน ไก นก ปะการัง
- Detretivore ผูบริโภคซาก เชน นกแรง กิ้งกือ ไสเดือน
2.2 Decomposer (ผูยอยอินทรียสาร) ไดแก แบคทีเรีย เห็ด รา ยีสต ซึ่งจะยอยซากสัตวกลับไป
เปนอนินทรียสาร และหมุนเวียนกลับไปสูสิ่งแวดลอม
การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตใหเขากับสิ่งแวดลอม
สภาวะแวดลอมมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา สิ่งมีชีวิตจึงมีความจําเปนที่จะตองปรับตัวใหเขากับ
สภาพแวดลอมที่มันอยูเพื่อการอยูรอด การปรับตัว (adaptation) หมายถึง กระบวนการที่สิ่งมีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง
หรือปรับลักษณะหรือพฤติกรรมบางประการใหเขากับสภาพแวดลอม ซึ่งจะเปนประโยชนตอการอยูรอด และการ
สืบพันธุของมัน การปรับตัวสามารถแบงไดเปนสองประเภทยอย คือ การปรับตัวแบบชั่วคราว และการปรับตัว
แบบถาวร
1. การปรับตัวแบบชั่วคราว เกิดในระยะสั้น สามารถเปลี่ยนแปลงกลับมาเหมือนเดิมได พบไดในทั้งพืช
และสัตว เชน ตนไมที่อยูบริเวณชายคาก็จะเลี้ยวเบนออกไปใหพนชายคาเพื่อหาแสง การที่จิ้งจกเปลี่ยนสีเพื่อพรางตัว
การจําศีลของหมี หรือสัตวเลื้อยคลานตางๆ ในฤดูหนาว การที่ปลามีปอดบางชนิดจําศีลอยูใตโคลนในหนาแลงเพื่อ
รอหนาฝนอีกครั้ง
2. การปรับตัวแบบถาวร เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในระดับยีน ถูกถายทอดมาจากบรรพบุรุษ
การปรับตัวแบบถาวรในพืช เชน
- กระบองเพชรเปลี่ยนใบเปนหนาม เพื่อลดอัตราคายน้ํา มีลําตนปอมเก็บสะสมน้ําไวขางในไดมาก
- ผักกระเฉด มีนวมสีขาวหุมลําตน เพื่อใหตนของมันลอยน้ําได
- ผักตบชวา มีลําตนเปนทุน ทําใหมันลอยน้ําได
- พืชที่อยูในที่แหงแลงจะมีรากที่หยั่งลงไปลึกใตดิน เพื่อดูดน้ําไดจากชั้นดินที่ลึกลงไป

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (228) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


การปรับตัวแบบถาวรในสัตว
การปรับตัวในสัตวเปนไปดวยหลายเหตุผลดวยกัน แตทั้งหมดก็ลวนเปนไปเพื่อความอยูรอด ไมวาจะเปน
การปรับตัวเพื่อซอนจากศัตรู ปรับตัวเพื่อการหาอาหาร หรือเพื่อสืบพันธุ การปรับตัวของสัตวนั้นแบงเปน 3 ลักษณะ
คือ
1. การปรับตัวดานสรีระ (Physiological Adaptation) การปรับหนาที่การทํางานของอวัยวะตางๆ
เชน
- นกทะเลมีตอมขับเกลือ (nasal gland) สําหรับขับเกลืออกนอกรางกาย สัตวเลือดอุนมีตอมเหงื่อ
สําหรับขับเหงื่อระบายความรอน
- ตั๊กแตนตําขาว มีลําตัวสีเขียว ขาคูหนามีขนาดใหญ และปลายขาจะมีอวัยวะสําหรับจับเหยื่อเมื่อ
เกาะอยูกับที่นิ่งๆ ปกจะซอนกันคลุมลําตัว มองดูคลายใบไม
- นกจะมีลักษณะจงอยปากตางกันตามอาหารที่มันกิน
- ผีเสื้อพัฒนาปากที่เหมาะกับการดูดน้ําหวาน
- เปดมีเทาเปนผังผืดเพื่อความสะดวกในการวายน้ํา
- กระตายมีขาหลังยาวเพื่อใหกระโดดไดไกล
2. การปรับตัวทางสัณฐาน (Morphological Adaptation) เปนการปรับเปลี่ยนลักษณะรูปรางและ
อวัยวะภายนอกของสิ่งมีชีวิต เชน
- ตนโกงกางที่อยูตามปาชายเลนมีรากค้ําจุนไมใหลมงาย
- ผักกระเฉดมีทุนเพื่อการลอยตัว
3. การปรับตัวทางดานพฤติกรรม (Behavior Adaptation) เปนการปรับรูปแบบการดํารงชีวิตใหเขา
กับสิ่งแวดลอมที่อาศัยอยู เชน
- การพันหลักของตําลึง
- การออกหากินกลางคืนของสัตวทะเลทราย
- การจําศีล

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (229)


ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ในเรื่องนี้ ขอใชสัญลักษณ เพื่อความงายแกความเขาใจมากขึ้น
+ คือการ ไดผลประโยชน
- เสียผลประโยชน
0 ไมไดไมเสีย ไมมีผลใดๆ
ภาวะปรสิต Parasitism (+/-)
ปรสิตนั้นจะคอยๆ เบียดเบียนผูถูกอาศัย (Host) โดยการแยงอาหาร ทําใหผูใหอาศัยออนแอลงเรื่อยๆ
ปรสิตสวนใหญจะไมทําใหโฮสตของมันตาย
การลาเหยื่อ Predation (+/-) ถาแยกกันอยู (-/+)
การลาเหยื่อนั้นมีหลายแบบ ทั้งแบบสัตวกินสัตว สัตวกินพืช และพืชกินสัตว เราอาจสงสัยวาวาพืชกินสัตว
ไดอยางไร พืชจะใชวิธีเปลี่ยนรูปรางของโครงสรางบางอยาง เชน ใบไวเพื่อจับสัตว และปลอยสารเคมีออกมายอย
สัตวที่มันจับได เชน กาบหอยแครงจับแมลงตัวเล็กๆ เปนอาหาร เหยื่อนั้นก็อาจเปนผูลาได และผูลาก็อาจเปน
เหยื่อได เชน นก กินแมลง แต นกกลับโดน งูกิน ทั้งผูลาและเหยื่อตางมีอิทธิพลตอกัน ซึ่งเปนกลไกกอใหเกิด
สมดุลทางธรรมชาติ เปนการควบคุมจํานวนประชากรของเหยื่อ
ภาวะอิงกันหรือภาวะเกื้อกูล Commensalism +/0 ถาแยกกัน -/0
เปนความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต 2 ฝาย ฝายหนึ่งไดรับผลประโยชน + เรียกตัวอาศัย และฝายที่ไมไดเสีย
และไมไดผลประโยชน เรียกตัวใหอาศัย ลักษณะทั่วไปของการดํารงชีวิตในภาวะอิงกัน ตัวใหอาศัย ไมเสียอะไร แต
ก็ไมไดอะไร ตัวถูกอาศัยจะไดประโยชนตางๆ เชน เปนแหลงหลบภัยที่อยูอาศัย อาจเปนผูใหอาหารอีกดวย เชน
- กลวยไม ชายผาสีดา กับตนไมใหญ
- เหาฉลามกับปลาฉลามหรือปลาวาฬ
- แบคทีเรียบนผิวหนังคน
- ลูกกุงลูกปูลูกปลา กับฟองน้ํา
ภาวะไดประโยชนรวมกัน Protocooperation +/+ หากแยกกัน 0/0
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตทั้ง 2 ฝาย โดยตางฝายตางไดประโยชนจาการอยูรวมกัน +/+ แตแยกกันได
ไมเกิดผลเสียใดๆทั้งสิ่น ไมเปนสถานการณผูกมัดประจํา ไมจําเปนตองอยูดวยกันตลอด หรือสัมผัสตัวกัน เชน
ดอกไม-แมลง ปูเสฉวน-ดอกไมทะเล
ภาวะที่ตองพึ่งพากัน Mutualism +/+ หากแยกกัน -/-
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตทั้งสองฝาย โดยทั้งสองฝายตางไดประโยชนรวมกัน แตแยกกันแลวจะเกิด
ผลเสีย เปนสถานการณที่ผูกมัด เชน โปรโตซัว-ลําไสปลวก รา mycorrhiza ที่โคนตนสน รากพืชตระกูลสนและ
กลวยไม

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (230) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


ภาวะการยอยสลาย Saprophytes
การดํารงชีวิตของผูยอยสลาย Decomposer บนซากสิ่งมีชีวิต โดยการหลั่งน้ํายอยออกมานอกรางกาย
โดยสารที่ไดจากการยอยสลายเหลานี้จะถูกดูดซึมไปใชประโยชน
ภาวะการยับยั้งการเจริญ Antibiosis -/0
การดํารงชีพโดยฝายยหนึ่งจะหลั่งสารเคมีออกมาไปมีผลยับยั้งการเจริญของอีกฝายหนึ่ง -/0 เชน ราสีเขียว
ทําใหแบคทีเรียไมเจริญ
ภาวะการแขงขัน -/-
การแขงขันโดยทั้งสองฝายตองการปจจัยเดียวกัน แตปจจัยนั้นมีจํากัดจึงตองแขงขันเพื่อใหไดปจจัยที่
ตองการจึงเปน -/- เชน จองแหน ในแหลงน้ํา บัวกับผักตบชวา ตนถั่ว ที่ปลูกมากๆ ในกระถางเล็กๆ
Amensalism ใชสัญลักษณ 0/-
การที่สิ่งมีชีวิตหนึ่ง ไมมีการหลั่งสารเคมีใดๆ ไปยับยั้งการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตอีกชีวิตหนึ่ง แตก็ยัง
สงผลกระทบแงลบไปยังอีกชนิดหนึ่ง เชน พืชตนใหญบังแสงตนเล็ก
ภาวะเปนกลาง Neutralism 0/0
การดํารงชีวิตโดยไมมีผลใดๆ ตอกันระหวางสิ่งมีชีวิตสองชนิด
รูปแบบการบริโภคของสิ่งมีชีวิต
การกินกันเปนทอดๆ มี 2 ลักษณะ คือ หวงโซอาหาร และสายใยอาหาร
โซอาหาร (Food chain)
เปนการกินกันเปนทอดๆ ในลักษณะเปนเสนตรง หวงโซอาหารแบงออกเปน 2 แบบ คือ
1. หวงโซอาหารแบบจับกิน (Grazing Food chain) เปนหวงโซอาหารที่เริ่มตนที่พืชผานไปยังสัตวกินพืช
และสัตวกินสัตว ตามลําดับ
พืชผัก → แมลงกินพืช → กบ → งู → เหยี่ยว
การเขียนหวงโซอาหารนั้นจะหันหัวลูกศรไปทางผูบริโภคเสมอ เราเรียกผูบริโภคที่กินผูผลิตเปนอาหาร
วา primary consumer และเรียกผูบริโภค primary consumer วา secondary consumer

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (231)


2. หวงโซอาหารแบบกินเศษอินทรีย (Detritus food chain) เปนหวงโซอาหารที่เริ่มจากซากของสิ่งมีชีวิต
ถูกยอยสลายดวยผูยอยสลาย และจะถูกกินโดยสัตวและตอไปยังผูลาอื่นๆ
สายใยอาหาร (Food web)

สายใยอาหาร (Food web) ประกอบดวย โซอาหารหลายสายที่เชื่อมโยงกันอันแสดงถึงความสัมพันธอัน


สลับซับซอนของสิ่งมีชีวิตในชุมชนของระบบนิเวศ ซึ่งยิ่งสายใยอาหารมีความสลับซบซอนมากเพียงใด ก็ไดแสดง
ใหเห็นถึงระบบนิเวศที่มีระบบความสมดุลสูงเทานั้น

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (232) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


การถายทอดพลังงานในหวงโซอาหาร การถายทอดพลังงานในโซอาหารอาจแสดงในในลักษณะของ
สามเหลี่ยมพีระมิดของสิ่งมีชีวิต (Ecological Pyramid) แบงได 3 ประเภท ตามหนวยที่ใชวัดปริมาณของลําดับ
ขั้นในการกิน
1. พีระมิดจํานวนของสิ่งมีชีวิต (Pyramid of Number) แสดงจํานวนสิ่งมีชีวิตเปนหนวยตัวตอพื้นที่
โดยทั่วไปพีระมิดจะมีฐานกวาง การวัดปริมาณพลังงานโดยวิธีนี้ อาจมีความคลาดเคลื่อนไดเนื่องจากสิ่งมีชีวิตไมวา
จะเปนเซลลเดียว หรือหลายเซลล ขนาดเล็กหรือขนาดใหญ เชน ไสเดือน จะนับเปนหนึ่งเหมือนกันหมด แตความ
เปนจริงนั้นในแงปริมาณพลังงานที่ไดรับหรืออาหารที่ผูบริโภคไดรับจะมากกวาหลายเทา

พีระมิดจํานวนของสิ่งมีชีวิต
2. พีระมิดมวลของสิ่งมีชีวิต (Pyramid of Mass) แสดงปริมาณของสิ่งมีชีวิตในแตละลําดับขั้นของ
การกินโดยใชมวลรวมของน้ําหนักแหง (dry weight) ของสิ่งมีชีวิตตอพื้นที่ ซึ่งมีความแมนยํามากกวาแบบที่ 1
แตในความเปนจริงจํานวน หรือมวลของสิ่งมีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงตามชวงเวลา เชน ตามฤดูกาล หรือตาม
อัตราการเจริญเติบโต ปจจัยเหลานี้จึงเปนตัวแปรที่สําคัญ

พีระมิดมวลของสิ่งมีชีวิต

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (233)


3. พีระมิดพลังงาน (Pyramid of Energy) แสดงปริมาณพลังงานของแตละลําดับชั้นของการกิน
ซึ่งจะมีคาลดลงตามลําดับขั้นของการโภค พีระมิดพลังงานจะเปนพีระมิดฐานกวางเสมอ การถายทอดพลังงาน
ไปยังผูบริโภคลําดับถัดไป พลังงานจะถูกถายทอดไปเพียง 10% เทานั้น 90% ที่เหลือถูกใชในการดํารงชีวิตของ
สิ่งมีชีวิต และบางสวนเปลี่ยนเปนพลังงานความรอน และพลังงานบางสวนนําไปเก็บไวในสวนที่บริโภคไมได เชน
เปลือก กระดูก ขน เล็บ

พีระมิดพลังงาน

ความสมดุลของระบบนิเวศ
ระบบนิเวศที่อยูในภาวะสมดุล หมายถึง สภาพสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูรวมกันอยางพอเหมาะ จํานวน
สิ่งมีชีวิตตางๆ ไมมีการเปลี่ยนแปลงมากนัก ทั้งผูผลิต ผูบริโภค และผูยอยสลาย โดยธรรมชาติระบบนิเวศตางๆ
มักไมอยูในภาวะสมดุล เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ แบงเปน 2 แบบ คือ
1. แบบคอยเปนคอยไป เปนการเปลี่ยนแปลงชาๆ ตามธรรมชาติ ตองใชเวลานานจึงจะเห็นความเปลี่ยนแปลง
ไดอยางชัดเจน เชน ที่ดินราง เมื่อเวลาผานไปจะกลายเปนทุงหญา มีไมพุม และไมยืนตนคอยๆ เจริญขึ้น
กลายเปนปาไปในที่สุด
2. แบบกะทันหัน เปนการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วสงผลตอสิ่งมีชีวิตและสภาพแวดลอมอยางมาก อาจทํา
ใหเกิดการเสียสมดุลได เชน ไฟไหมปา น้ําทวม แผนดินไหว ฯลฯ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ มี 2 แบบ คือ
1. การเกิดแทนที่ชั้นบุกเบิก Primary succession
การเกิดแทนที่จะเริ่มขึ้นในพื้นที่ที่ไมเคยมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยูมากอนเลย ซึ่งแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ
1.1 การเกิดแทนที่บนพื้นที่วางเปลาบนบก เชน
การเกิดแทนที่บนกอนหินที่วางเปลา ซึ่งจะเริ่มจาก
ขั้นแรก จะเกิดสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว เชน สาหรายสีเขียว หรือไลเคนบนกอนหินนั้น ตอมาหินนั้น
จะเริ่มสึกกรอนกลายเปนดิน และเริ่มมีพืชจําพวกมอสตามมา
ขั้นที่สอง พืชที่เกิดตอมาจึงเปนพวกหญา และพืชลมลุก มอสจะหายไป
ขั้นที่สาม เกิดไมพุมและตนไมเขามาแทนที่
ขั้นสุดทาย เปนชั้นชุมชนสมบูรณ (climax stage) เปนชุมชนของกลุมมีชีวิตที่ มีความสมดุล

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (234) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


1.2 การแทนที่ในแหลงน้ํา เชน ในบอน้ํา ทะเลทราย หนอง บึง ซึ่งจะเริ่มตนจาก
ขั้นแรก กนสระมีแตพื้นทราย สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นเบื้องตนก็คือ สิ่งมีชีวิตเล็กๆ ที่ลองลอยอยูในน้ํา
เชน แพลงกตอน สาหรายเซลลเดียว ตัวออนของแมลงบางชนิด
ขั้นที่สอง เกิดการสะสมสารอินทรียขึ้นที่บริเวณพื้นกนสระ ก็จะเริ่มเกิดพืชใตน้ําประเภทสาหราย
และสัตวเล็กๆ ที่อาศัยอยูบริเวณที่มีพืชใตน้ํา เชน พวกปลากินพืช หอยและตัวออนของแมลง
ขั้นที่สาม เริ่มมีพืชมีใบโผลพนน้ําเกิดขึ้น เชน กก พง ออ เตยน้ํา แลวจากนั้นก็จะเกิดมีสัตว
จําพวก หอยโขง กบเขียด กุง หนอน ไสเดือน
ขั้นที่สี่ ในชวงที่ตื้นเขินก็จะเกิดตนหญาขึ้น สัตวที่อาศัยอยูในสระจะเปนสัตวประเภทสะเทินน้ํา
สะเทินบก
ขั้นสุดทาย ซึ่งเปนขั้นชุมชนสมบูรณแบบสระน้ํานั้นจะตื้นเขินจนกลายสภาพเปน

2. การแทนที่ของสิ่งมีชีวิตในขั้นทดแทน Secondary succession


เปนการเกิดแทนที่ของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในพื้นที่เดิมที่ถูกเปลี่ยนแปลงไป เชน บริเวณพื้นที่ปาไมที่ถูก
โคนถาง ปรับเปนพื้นที่เพาะปลูกหรือพื้นที่ปาไมที่เกิดไฟปา ในขั้นตนของการแทนที่จะเกิดสิ่งมีชีวิตกลุมอื่นเกิดขึ้น
แทนที่ทั้งที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (235)


ขอควรรู
บรรยากาศของโลกประกอบดวย แกสไนโตรเจน 78% แกสออกซิเจน 21% แกสอารกอน 0.9% นอกนั้น
เปนไอน้ํา แกสคารบอนไดออกไซดจํานวนเล็กนอย
“ภาวะเรือนกระจก” (Greenhouse effect) โมเลกุลของกาซเรือนกระจกในบรรยากาศ จะทําหนาที่
ดูดกลืนรังสีอินฟราเรดที่โลกแผออกมา ไมใหพลังงานสูญหายไปในอวกาศจนหมดซึ่งชวยใหโลกมีอุณหภูมิอบอุนขึ้น
แกสเรือนกระจกที่ถูกควบคุมโดยพิธีสารเกียวโตมีเพียง 6 ชนิด โดยจะตองเปนกาซที่เกิดจากกิจกรรมของ
มนุษย (anthropogenic greenhouse gas emission) เทานั้น ไดแก
1. แกสคารบอนไดออกไซด (CO) 2. แกสมีเทน (CH)
3. แกสไนตรัสออกไซด (NO) 4. แกสไฮโดรฟลูออโรคารบอน (HFC)
5. แกสเพอรฟลูออโรคารบอน (PFC) 6. แกสซัลเฟอรเฮกซะฟลูออไรด (SF)

ตัวอยางแบบฝกหัดและเก็งขอสอบ
1. ขอใดถูกตองเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่จนเกิดสังคมสิ่งมีชีวิตขั้นสุดทายในพื้นที่ที่เคยทําไรแลวปลอยให
รกราง
1) การเปลี่ยนแปลงแทนที่ที่เกิดขึ้นเปนแบบปฐมภูมิ
2) สิ่งมีชีวิตที่เขามาอยูกอนมักจะเปนมอส และไลเคน
3) สังคมสิ่งมีชีวิตขั้นสุดทายที่เกิดขึ้นจะไมมีการเปลี่ยนแปลงอีก
4) จํานวนสปชีสของไมยืนตนในบริเวณนั้นจะเพิ่มขึ้นตามลําดับ
2. การอยูรวมกันของสิ่งมีชีวิตในขอใดที่ตางจากขออื่น
1) โพรโทซัวอาศัยอยูในลําไสปลวก 2) ผักตบชวาแขงขันกันแพรพันธุในสระน้ํา
3) กาฝากขึ้นอยูบนตนไมใหญ 4) นกพิราบและนกเขาแยงกันกินเมล็ดหญา
3. โซอาหารในขอใดจัดเปนโซอาหารแบบดีไทรทัส (Detritus food chain)
1) ตนชบา → หนอนบุง → นกกระจาบ 2) หญา → เพลี้ย → แมงมุม
3) สาหราย → หอยขม → เตา 4) ขอนไม → ปลวก → กิ้งกา
4. ถานักวิทยาศาสตรใชเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมสรางขาวโพดสปชีสใหมที่สามารถชักนําใหแบคทีเรียกลุมไรโซเบียม
มาอาศัยอยูในรากได ประโยชนที่เห็นไดชัดเจนของขาวโพดพันธุใหมนี้คือขอใด
1) ลดการใชปุยไนโตรเจนในการเพาะปลูก 2) ไมตองใสปูนมารลในดินกอนทําการเพาะปลูก
3) ไมตองไถพรวนดินกอนทําการเพาะปลูก 4) ลดการใชสารกําจัดศัตรูพืชในการเพาะปลูก
5. ลักษณะใดตอไปนี้พบในไลเคน
ก. มีไคทิน ข. มีคลอโรฟลล
ค. มีวัฏจักรชีวิตแบบสลับ ง. ประกอบดวยสิ่งมีชีวิตจาก 2 อาณาจักร
1) ก. และ ค. 2) ข. และ ง. 3) ก., ข. และ ง. 4) ข., ค. และ ง.

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (236) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


6. พีระมิดโครงสรางอายุประชากรมนุษยใหขอมูลเกี่ยวกับประชากรในขอใดบาง
ก. แนวโนมของขนาดประชากรในอนาคต
ข. อัตราการเกิดของประชากร
ค. สัดสวนระหวางประชากรกลุมวัยกอนเจริญพันธุ วัยเจริญพันธุและวัยหลังเจริญพันธุ
ง. สัดสวนระหวางเพศชายและเพศหญิง
1) ก. และ ข. 2) ค. และ ง. 3) ก. ค. และ ง. 4) ก., ข., ค. และ ง.
7. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
1) พลังงานแสงที่โลกไดรับสวนใหญจะเขาสูผูผลิต
2) พลังงานที่ถายทอดในโซอาหารอยูในรูปพลังงานแสงและความรอน
3) ระบบนิเวศรับพลังงานแสงไดโดยไมผานผูผลิต
4) ผูผลิตจะนําพลังงานแสงที่ไดรับไปใชไดเพียง 10% เทานั้น
8. ขอใดเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหสัตวบางชนิดอาศัยอยูในถิ่นอาศัยไดหลายแบบ
1) สามารถทนตอปจจัยตางๆ ในสิ่งแวดลอมไดในชวงกวาง
2) มีลูกครั้งละจํานวนมาก
3) มีการสืบพันธุทั้งแบบอาศัยเพศและไมอาศัยเพศ
4) เปนผูบริโภคลําดับสุดทาย
9. ขอใดถูกตอง
ก. การเพิ่มของประชากรแบบลอจิสติก จะไดกราฟแบบซิกมอยด
ข. ระยะที่มีการเพิ่มของประชากรอยางรวดเร็วในการเพิ่มแบบลอจิสติกและเอ็กโพเนนเชียล จะมีอัตรา
การเพิ่มเทากันเสมอ
ค. การเพิ่มของประชากรแบบลอจิสติก มีผลเนื่องมาจากมีปจจัยจํากัดทางสิ่งแวดลอม
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ก. และ ค. 4) ก., ข. และ ค.
10. ขอใดคือทรัพยากรธรรมชาติที่ใชแลวเกิดทดแทนได
ก. ดิน ข. น้ํา ค. สัตวปา ง. แร
1) ค. 2) ก. และ ค. 3) ข. และ ง. 4) ก., ข. และ ง.
11. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับชนิดพันธุตางถิ่น
ก. อาจเปนสาเหตุใหความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศลดลง
ข. อาจเปนสาเหตุใหประชากรชนิดพันธุพื้นเมืองเดิมบางชนิดลดลง
ค. หลายชนิดมีคุณคาทางเศรษฐกิจ
1) ก. และ ข. 2) ก. และ ค. 3) ข. และ ค. 4) ก., ข. และ ค.

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (237)


12. กระบวนการใดไมมีบทบาทโดยตรงตอการสรางสารประกอบตางๆ ภายในพืช
1) การตรึงไนโตรเจน
2) การเปลี่ยนไนเตรตกลับเปนแกสไนโตรเจน
3) การเปลี่ยนสารประกอบไนโตรเจนเปนแอมโมเนีย
4) การเปลี่ยนเกลือแอมโมเนียเปนไนไตรทและไนเตรต
13. ปรากฏการณในขอใดเกิดจากความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในรูปแบบที่แตกตางจากขออื่น
1) ผักตบชวาทําใหผักตบไทยในแหลงน้ําธรรมชาติลดจํานวนลง
2) หอยเชอรี่ทําใหหอยโขงในแหลงน้ําธรรมชาติหรือนาขาวลดจํานวนลง
3) ไมยราบยักษทําใหตนกระถินและพืชดั้งเดิมหลายชนิดบริเวณสองฝงแมน้ําลําคลองลดจํานวนลง
4) นกปากหางที่อพยพมาจากถิ่นอื่นทําใหหอยเชอรี่ในนาขาวลดจํานวนลง

เฉลยตัวอยางแบบฝกหัดและเก็งขอสอบ
1. เฉลย 4) จํานวนสปชีสของไมยืนตนในบริเวณนั้นจะเพิ่มขึ้นตามลําดับ
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ (Succession) ในพื้นที่ที่เคยมีสิ่งมีชีวิตกอน และจะมีการเปลี่ยนแปลง
แทนที่จนกระทั่งไดตนไมยืนตนเปนปา (Climax community)
2. เฉลย 1) โพรโทซัว อาศัยอยูในลําไสปลวก
โพรโทซัวในลําไสปลวก เปนความสัมพันธแบบ Mutualism ใชเครื่องหมาย +/+ คือ โพรโทซัว
ชวยยอยเซลลูโลสที่ปลวกกิน
2) ผักตบชวาในสระน้ํา เปนความสัมพันธแบบ Competition ใชเครื่องหมาย +/- ผักตบชวาแตละตน
แกงแยงปจจัยในการดํารงชีวิต ทําใหเจริญไมเต็มที่
3) กาฝากบนตนไมใหญ เปนความสัมพันธแบบ Parasitism ใชเครื่องหมาย +/- กาฝากจะงอกสวนที่
สามารถดูดน้ําและอาหารเขาไปในตนไมใหญ
4) นกพิราบ นกเขา เปนความสัมพันธแบบ Competition ใชเครื่องหมาย +/- นกทั้งสองแกงแยง
ปจจัยในการดํารงชีวิต ทําใหไดปจจัยไมเต็มที่
3. เฉลย 4) ขอนไม → ปลวก → กิ้งกา
1), 2) และ 3) เปนโซอาหารแบบผูผลิต
4. เฉลย 1) ลดการใชปุยไนโตรเจนในการเพาะปลูก
Rhizobium สามารถตรึง Nitrogen จากอากาศได
5. เฉลย 3) ก., ข. และ ง.
ไลเคน (Lichens) เปนการอยูรวมกันแบบพึ่งพาระหวางสิ่งมีชีวิตที่สังเคราะหดวยแสงพวกไซยา-
โนแบคทีเรียหรือสาหรายชนิดตางๆ กับฟงไจ ซึ่งเปนการอยูรวมกันระหวางสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนรา
หรือโปรทิสตากับฟงไจ
ไคทิน สามารถพบไดในฟงไจ และสิ่งมีชีวิตที่สังเคราะหดวยแสงตองมีคลอโรฟลล

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (238) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010


6. เฉลย 4) ก., ข., ค. และ ง.
พีระมิดโครงสรางอายุของประชากรแบงเปน 3 ชวงอายุ
1. วัยกอนเจริญพันธุ (Pre-reproductive) อายุตั้งแตแรกเกิด-14 ป
2. วัยเจริญพันธุ (Reproductive) อายุตั้งแต 15-44 ป
3. วัยหลังเจริญพันธุ (Post-reproductive) ชวงอายุตั้งแต 45 ปขึ้นไป
จากพีระมิดจะทําใหทราบอัตราการเกิดของประชากร แนวโนมของขนาดประชากรในอนาคต
สัดสวนของประชากรทั้ง 3 วัย และสัดสวนระหวางประชากรหญิงและชาย
7. เฉลย 1) พลังงานแสงที่โลกไดรับสวนใหญจะเขาสูผูผลิต
ในระบบนิเวศ ผูผลิตเปนผูรับพลังงานแสงเพื่อนํามาเปลี่ยนเปนพลังงานเคมี และมีการถายทอด
พลังงานเคมีไปในหวงโซอาหาร
พืชสามารถดูดกลืนพลังงานจากแสงไดรอยละ 40 แตนําไปใชในกระบวนการเมแทบอลิซึม
รอยละ 19, นําไปใชในการสังเคราะหดวยแสงรอยละ 5, สูญเสียความรอนรอยละ 8, แสงสะทอนและสองผาน
รอยละ 8
8. เฉลย 1) สามารถทนตอปจจัยตางๆ ในสิ่งแวดลอมไดในชวงกวาง
การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตตอสิ่งแวดลอมไดดี ทําใหสิ่งมีชีวิตสามารถอยูรอดได
9. เฉลย 3) ก. และ ค.
การเพิ่มของประชากรแบบลอจิสติก (Logistic growth) เปนการเพิ่มจํานวนประชากรที่ขึ้นกับ
สภาพแวดลอม เชน อาหาร ของเสียจากสิ่งมีชีวิตขับออกมา การแกงแยงแขงขัน การลาเหยื่อ เปนตน
การเขียนกราฟแสดงการเพิ่มจํานวนของประชากรแบบลอจิสติกจึงสามารถเขียนเปนรูปตัวเอส (Sigmoid curve)
ซึ่งแบงเปน 4 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 ประชากรเพิ่มอยางชาๆ เนื่องจากประชากรเริ่มตนมีจํานวนนอย
ระยะที่ 2 ประชากรเพิ่มอยางรวดเร็ว เนื่องจากประชากรเริ่มตนมีจํานวนมาก
ระยะที่ 3 การเพิ่มของประชากรชาลง เนื่องจากสภาพแวดลอมเขามามีบทบาทมากขึ้น
ระยะที่ 4 การเพิ่มของประชากรคงที่ เนื่องจากสิ่งมีชีวิตสามารถปรับตัวตอสิ่งแวดลอม ทําให
อัตราการเกิดเทากับอัตราการตาย
III IV
จํานวนประชากร

II

เวลา

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________ วิทยาศาสตร ชีววิทยา (239)


10. เฉลย 2) ก. และ ค.
ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติมี 3 ประเภท
1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใชไมหมดสิ้น (Non-exhausting natural resources) เปนทรัพยากรที่
มีมากและมีความจําเปนตอสิ่งมีชีวิต เชน น้ํา อากาศ แสงอาทิตย
2. ทรัพยากรที่ใชแลวเกิดทดแทนได (Renewable natural resources) เปนทรัพยากรที่ใชแลว
และสามารถเกิดขึ้นทดแทนในธรรมชาติได เชน พืช สัตว ปาไม ดิน
3. ทรัพยากรที่ใชแลวหมดไป (Exhausting natural resources) เชน น้ํามันปโตรเลียม
แกสธรรมชาติ ถานหิน แร
11. เฉลย 4) ก., ข. และ ค.
ชนิดพันธุตางถิ่น (Alien species) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นในที่ที่แตกตางจากพื้นที่การ
กระจายตามธรรมชาติ แบงเปน 2 ประเภท
1. ชนิดพันธุตางถิ่นที่ไมรุกราน (Non-invasive alien species หรือ NIAS) พันธุตางถิ่น
ปรับตัวเขากับพันธุที่มีอยูเดิม
2. ชนิดพันธุตางถิ่นที่รุกราน (Invasive alien species หรือ IAS) พันธุตางถิ่นแพรพันธุไดเร็ว
และสามารถแขงขันกับพันธุพื้นเมือง ทําใหพันธุพื้นเมืองลดลง ทําใหความหลากหลายทางชีวภาพลดลง
12. เฉลย 2) การเปลี่ยนไนเตรตกลับเปนแกสไนโตรเจน
การเปลี่ยนสารประกอบไนเตรตไปเปนแกสไนโตรเจน ทําใหดินสูญเสียธาตุไนโตรเจนไปจากดิน
การตรึงไนโตรเจนโดยแบคทีเรียในดิน ทําใหแกสไนโตรเจนกลับมาอยูในพืชในรูปของสารประกอบ
ไนเตรต และการเปลี่ยนสารประกอบไนโตรเจน → แอมโมเนีย → ไนไตรทและไนเตรต และสารประกอบ
เหลานี้พืชสามารถดูดซึมได ทําใหเกิดการสรางสารประกอบภายในพืช
13. เฉลย 4) นกปากหางที่อพยพมาจากถิ่นอื่นทําใหหอยเชอรี่ในนาขาวลดจํานวนลง
นกปากหางและหอย เปนสิ่งมีชีวิตที่เปนสัตวมีกระดูกสันหลังและไมมีกระดูกสันหลัง ซึ่งตางจาก
ขออื่นๆ ที่เปนสิ่งมีชีวิตอยูในชนิดเดียวกันแตตางสายพันธุ

————————————————————

วิทยาศาสตร ชีววิทยา (240) ______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010

You might also like