You are on page 1of 5

เพลงฉ่อย

นางสาว สุภวรรณ จิ๋วประดิษฐกุล 5961079


นางสาว ณิชา วุฒิสารเจริญ 5961152
นางสาว ศศิ อุนปโยดม 5961052
นางสาว ธนารีย อรุณนําโชค 5961179
นางสาว แอนนา วิภาดา เดวีส 5961089
เพลงฉ่อย ● ไมทราบถิ่นกําเนิด แตมีคนรองเลนกันอยางกวางขวาง
เปนที่นิยม
● ไมมีเครื่องดนตรีประกอบการรองนั้น มีแตการปรบมือ
เปนการใหประกอบจังหวะอยางเดียว แตสวนภายหลัง
เขาเอา "กรับ" มาตีดวย
● การแตงตัวนั้น ชายหญิงนุงผาโจงกระเบน ใสเสื้อคอ
ไทย คอกลมกระดุม 3 เม็ด มีผาขาวมาเคียนพุง สวน
หญิงใสเสื้อสบาย ๆ แตมีสไบเฉียง ทุกครั้งและขาด
มิได เวลาเขียนคิ้วใชผงถานกากมะพราว
● เนื้อหาที่รองสวนใหญมีทั้งเรื่อง ทางโลก ทางธรรม
ชิงชู
ประวัติ ● เพลงฉอยมีกลาวถึงครั้งแรกในเรื่อง “เรื่องขับรอง” พระนิพนธของกรมหมื่น
สถิตยธํารงสวัสดิ์ ลงในหนังสือ วชิรญาณวิเศษ ปที่ ๔ พ.ศ. ๒๔๓๒ สมัย
รัชกาลที่ ๕ ซึ่งนับเปนหลักฐานเกาแกที่สุด
● เพลงฉอย มีชื่อเรียกอีกชื่อวา เพลงไอเป เนื่องจากพอเพลงฉอย ยุคแรกชื่อ ตาเป มี
ยายมา เปนภรรยา เริ่มแรกเพลงฉอย หรือ เพลงเป เปนที่นิยมในแถบ จังหวัด
ฉะเชิงเทรา และ จังหวัดใกลเคียง ประมาณกอนยุค พ.ศ. 2437 เปนตนมา
● เพลงฉอย นี้ปรับปรุงและดัดแปลงมาจาก เพลงโคราช - เพลงเรือ และเพลงปรบไก
เปนตน ก็สาเหตุเนื่องจาก เวลาปรบมือเปนจังหวะเพลงปรบไก รองบทไหวครูและเกริ่น
อยางเพลงโคราช ใชกลอนก็ใชคลายกับเพลงเรือ
● นอกจากนี้แลวเพลงฉอย ยังมีชื่ออื่นอีก "ฝายเหนือ" อาจหมายถึงจังหวัดทางลางเชน
จังหวัดอุทัยธานี จังหวัดนครสวรรค จังหวัดอางทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เปนตน
ลักษณะ คุณค่า
● มีการสอดแทรกวิถีชีวิตชาวบาน นับแตความเชื่อเรื่อง
ประเพณี คานิยม และภาษาถิ่น มีอยูเปนอยางมากใน
● มีการแสดงทาทาง และการรองคลายกับลําตัด เพลงพื้นเมือง
● มีผูแสดงประกอบดวย ฝายชายและฝายหญิง ● ใหความบันเทิง เพลงพื้นบานมีคุณคาใหความบันเทิงใจ
ฝายละประมาณ 2-3 คน แกคนในสังคมตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน โดยเฉพาะใน
สมัยที่ยังไมมีเครื่องบันเทิงใจมากมายเชนปจจุบันนี้
● ในขณะที่พอเพลงแมเพลงรองโตตอบกันผูเลนคน เพลงพื้นบานเปนสิ่งบันเทิงชนิดหนึ่งซึ่งใหความสุขและ
อื่นๆ จะทําหนาที่เปนลูกคู ความรื่นรมยแกคนในสังคม
● ใหการศึกษา เพลงพื้นบานเปนงานสรางสรรคที่
● มักจะมีถอยคํา ที่มีความหมายสองแงสองงาม
ถายทอดความรูสึกนึกคิดของกลุมชน จึงเปนเสมือนสิ่ง
● ไมมีเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ แตจะใชการ ที่บันทึกประสบการณของบรรพบุรุษที่สงทอดตอมาให
ตบมือแทน แกลูกหลาน

● สิ่งที่เปนเอกลักษณของเพลงฉอยคือ ลูกคูจะรอง
รับดวยคําวา “เอ ชา เอชา ชา ชาชาชา
หนอยแม”
ตัวอย่างเพลงฉ่อย

You might also like