You are on page 1of 9

แบบประเมินตนเองของอุตสาหกรรมไทยเพื่อเตรียมพร้อมสู่ Industry 4.

แบบประเมินนีม้ ี 3 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 แบบประเมินตนเอง (ทั่วไป) และส่วนที่ 3 แบบประเมินตนเอง (เพิ่มเติมสาหรับอุตสาหกรรมการผลิต) กรุณาเติมข้อมูลในช่องว่าง และทา
เครื่องหมาย  ในกล่องสี่เหลี่ยม ()
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. กรณีที่ 1 : ไม่ประสงค์ที่จะระบุขอ้ มูลบริษัทของท่านแต่ต้องการทราบ (เมื่อระบุแล้วข้ามไปข้อ 2)
 ผลการประเมินของท่านเท่านัน้
 ผลการประเมินของท่านและผลการประเมินรวมทั้งหมดหลังจากการศึกษาเสร็จสิ้น
ชื่อบุคคลที่ติดต่อได้ โทร. แฟกซ์ อีเมล
กรณีที่ 2 : ประสงค์ที่จะระบุข้อมูลบริษัทของท่านและต้องการทราบ
 ผลการประเมินของท่านเท่านัน้
 ผลการประเมินของท่านและผลการประเมินรวมทั้งหมดหลังจากการศึกษาเสร็จสิ้น
ชื่อบริษัท/โรงงาน ชื่อบุคคลที่ติดต่อได้ (หรือแนบนามบัตรแทน)
ที่อยู่
โทร. แฟกซ์ อีเมล
บริษัทของท่านอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมหรือไม่ (โปรดระบุ)

2. ประเภทอุตสาหกรรม
 อุตสาหกรรมยานยนต์  อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และดิจิตอล  อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลและเครื่องจักรกลการเกษตร
 อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารและเครื่องดืม่  อุตสาหกรรมผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า  ธุรกิจบริการอุตสาหกรรม
 อุตสาหกรรมชีวภาพและเคมีชีวภาพ  อุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนต่างๆ  อุตสาหกรรมเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์
 อื่นๆ (โปรดระบุ)

3. แรงม้าเครื่องจักรรวม
 น้อยกว่า 50 แรงม้า  50-200 แรงม้า  ตั้งแต่ 200 แรงม้าขึ้นไป

4. จานวนคนงาน
 น้อยกว่า 50 คน  50-200 คน  ตั้งแต่ 200 คนขึ้นไป
ส่วนที่ 2 แบบประเมินตนเอง (ทั่วไป)
คาชี้แจง :
1. แบบประเมินแบ่งออกเป็น 4 หัวข้อหลัก และแต่ละหัวข้อหลักจะประกอบด้วยหัวข้อย่อย
2. กรุณาเติมคะแนนที่ตรงกับสถานะปัจจุบันของท่านตามความเป็นจริงทุกข้อ โดยใช้เกณฑ์การประเมินที่กาหนดในแต่ละหัวข้อย่อย และเติมในคอลัมน์ “คะแนน”
ข้อมูลที่ท่านประเมินจะถูกเก็บเป็นความลับ ไม่มีการเปิดเผยข้อมูลเป็นรายบุคคล ข้อมูลใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

2.1 Vertical Networking

เกณฑ์การให้คะแนน
หัวข้อย่อย คะแนน
1 2 3 4
1) ระดับเทคโนโลยีการผลิต ล้าสมัย หรือกาลังการผลิตต่า ทันสมัยปรับแต่งได้เร็วกาลังการผลิตสูง
ใช้เครื่องมือ และ/หรืออุปกรณ์ที่ใช้ เครื่องจักรและอุปกรณ์เพื่อการผลิต ใช้ เครื่องจักรที่ใช้ระบบอัตโนมัติ เครื่องจักรในระบบการผลิตเป็นระบบ
แรงงานคนหรือสัตว์ช่วยในการทางาน ไฟฟ้าเป็นต้นกาลัง ต้องใช้คนควบคุม (Automation) มีการควบคุมการ อัตโนมัติ (Automation) ที่มีการ
และทางานร่วมกับเครื่องเพื่อการผลิต ทางานด้วย PLC (Programmable เชื่อมโยงข้อมูลและสื่อสารกัน มีการ
Logic Controller) หรือเป็น ควบคุมด้วย Computer และ
เครื่องจักรควบคุมด้วย CNC Software รวมไปถึงผลิตภัณฑ์ไหลไป
(Computer Numerical Control) พร้อมข้อมูลด้วย
หรือมีการใช้ Robot

2) การสื่อสารถ่ายโอนข้อมูลใน ช้า (รองานเสร็จ) อัพเดตข้อมูลตลอดเวลา


การผลิต เป็นข้อมูลที่สามารถ
เข้าถึงได้ระหว่างการผลิต สื่อสารข้อมูลการผลิตโดยการสอบถาม มีการเก็บข้อมูลรายวัน โดยคนเก็บ มีการส่งข้อมูลผลผลิตเป็นลาดับ มีการส่งข้อมูลเป็นเครือข่ายเพื่อดู
สื่อสารโดยโทรศัพท์ หรือ โทรสาร ข้อมูลจานวนจากเครื่องนับจานวนที่ ขั้นตอนในการทางานแบบอิสระ ในแต่ ขั้นตอนงานรวมของโรงงาน มีการ
หรือเป็นการส่งข้อมูลเฉพาะภายใน ติดตั้งตามเครื่อง และทาตารางข้อมูล ละเครื่อง ต้องใช้เจ้าหน้าที่รวบรวม อัพเดตข้อมูลทั้งโรงงานและทุกขั้นตอน
โรงงาน ไม่สามารถให้ข้อมูลลูกค้าได้ ส่งทาง E-mail ข้อมูลของแต่ละเครื่อง แล้วนามา เพื่อรวมข้อมูลสู่ส่วนกลาง และ
วิเคราะห์ กระจายข้อมูลสูผ่ ู้เกีย่ วข้องและลูกค้า
เกณฑ์การให้คะแนน
หัวข้อย่อย คะแนน
1 2 3 4
3) ความไวในการคานวณและ ใช้คนวิเคราะห์ (ช้า) โปรแกรม แต่ใช้คนประเมินร่วม อัตโนมัติ และแชร์ข้อมูล
ปรับแต่งกระบวนการ กาลังคน
วัสดุ พลังงาน และการซ่อมบารุง ใช้วิศวกร หรือหัวหน้าส่วนงาน ใช้ผู้จัดการโรงงาน หรือผู้จดั การฝ่าย ใช้โปรแกรมสาเร็จรูปช่วยในประมวลผล ใช้โปรแกรมวิเคราะห์ ปรับแต่ง
พิจารณาในการสั่งงานแต่ละฝ่ายงาน ผลิต วางแผนปรับกระบวนการผลิต การปรับปรุงกระบวนการผลิต และใช้ กระบวนการ อัตโนมัติ เต็มรูปแบบ
และซ่อมบารุงรักษาเมื่อเกิดเหตุ การใช้ทรัพยากร แล้วเรียกประชุมสั่ง การซ่อมบารุงเชิงป้องกัน ร่วมกับการ แบบ Real time และใช้การซ่อม
ขัดข้อง (Breakdown Maintenance) การ และวางแผนการซ่อมบารุงเชิง ติด Sensor วัดประสิทธิภาพ บารุงรักษาเชิงพยากรณ์ (Predictive
ป้องกัน (Preventive Maintenance) เครื่องจักร แต่ให้ผู้เชี่ยวชาญตัดสินใจ Maintenance) โดยการนาข้อมูลจาก
สั่งการในการกระจายงานด้วย การติด sensors ที่เครื่องจักร
เชื่อมต่อเข้า Big Data และทา Data
โปรแกรมการจัดการ
Analytics เพื่อให้ได้ OEE (Overall
Equipment Effectiveness) ใน
ระดับสูง

2.2 Horizontal Networking

เกณฑ์การให้คะแนน
หัวข้อย่อย คะแนน
1 2 3 4
1) การวางแผนการผลิต ใช้ประสบการณ์ตดั สินใจ พยากรณ์โดยใช้ข้อมูลในอดีต พยากรณ์ร่วมกับบริษัทคู่ค้า
การคาคะเนแนวโน้ม ด้านการตลาด ใช้ Spread Sheet และ MRP ใช้ Software ERP (Enterprise เป็นระบบที่ยดื หยุ่นตอบสนองความ
และการพยากรณ์ความต้องการสินค้า (Material Resource Planning) ช่วย Resource Planning) ช่วยในการวาง ต้องการของลูกค้าได้อย่าง
ของบริษัทคู่ค้า หรือลูกค้าขึ้นอยู่กับ ในการวางแผนการผลิต อาศัยการ แผนการผลิตและประเมินสถานการณ์ เฉพาะเจาะจง มีกลไกการเชื่อมโยง
ประสบการณ์ และการตั ด สิ น ใจ ของ ประชุมส่วนงานที่เกี่ยวข้องในการสั่ง รวมถึงรายงานผลการผลิต ระบบการผลิตผ่านระบบดิจิตอลใน
ฝ่ายขายเท่านั้น และ ใช้กระดาษ หรือ การ กระจายงาน และติดตามผลงาน การสั่งการเครื่องจักรและหน่วยงานที่
กระดาน ในการกาหนดแผนงาน สั่ ง เกี่ยวข้อง แบบ Real time และ
การและกระจายงานต้ อ งมี ผู้ ติ ด ตาม Active
ผลงาน
เกณฑ์การให้คะแนน
หัวข้อย่อย คะแนน
1 2 3 4
2) การจัดการวัสดุคงคลัง และ ไม่ตดิ ตามสถานะสินค้า ติดตามสถานะสินค้าได้เพียงบางส่วน ติดตามสถานะสินค้าได้ทั้งโซ่อปุ ทาน
การหมุนเวียนคงคลัง และ/หรือ ไม่มีการวัดการหมุนเวียน และ/หรือ มีการวัดการหมุนเวียนสินค้า และ/หรือมีการวัดการหมุนเวียนสินค้า
สินค้าคงคลัง คงคลังแต่ไม่ละเอียด คงคลังอย่างละเอียด
ไม่มีการติดตามหรือตรวจสอบ สถานะ มีการติดตามสถานะของสินค้าคงคลัง ระดับที่ 2 แต่ตดิ ตามกิจกรรมการ มีระบบจัดการและติดตามระดับสินค้า
สินค้าและวัสดุคงคลังแต่ละประเภท เกือบทุกประเภทเป็นรายวัน และการ จัดซื้อ/จัดหาภายในองค์กรได้ทั้งหมด คงคลัง และกิจกรรมการจัดซื้อ/จัดหา
รวมทั้งไม่มีการวัดการหมุนเวียนสินค้า จัดหาได้เป็นไปตามความต้องการของ เป็นรายวัน มีการวัดการหมุนเวียน ตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทาน มีการ
คงคลังด้วย หรือมีการใช้บัตรประจา สินค้า/วัสดุเป็นรายเดือน และ/หรือ มี สินค้าคงคลังทุกวัน มีการตั้งรหัสสินค้า แลกเปลีย่ นข้อมูลดังกล่าวร่วมกัน และ/
สินค้า (BIN card) ในคลังสินค้า การวัดการหมุนเวียนสินค้าคงคลังแต่ เพื่อใช้กาหนดหมวดหมู่และจัดกลุม่ หรือ มีการวัดการหมุนเวียนสินค้าคง
ละองค์กร แต่ยังไม่เชื่อมโยงกับงบ ประเภทสินค้าและวัตถุดิบ และมี คลัง แบบ Real time และกระทบ
กระแสเงินสดของบริษัท มีการใช้ Software ในการบริหารจัดการ ยอดกับงานบัญชีและการตลอดเวลา มี
Stock Card ร่วมกับระบบ MRP คลังสินค้า หรือมี Software ที่ทางาน การใช้ Barcode หรือ RFID
ร่วมกับ MRP

3) การจัดการการขนถ่ายวัสดุและ ยังไม่มีแผนการจัดการที่ชัดเจน ตระหนักถึงความสาคัญ มีกลยุทธ์จัดการชัดเจนและมีความ


การขนส่งสินค้า และมีเวลานาในการสั่งซื้อนาน องค์กรสามารถลดเวลานาในการส่งสินค้าได้ ร่วมมือกันสามารถควบคุมเวลานาได้
มีการใช้อุปกรณ์ขนถ่ายวัสดุในการ มีการใช้อุปกรณ์ขนถ่ายวัสดุ สินค้า มีการใช้ Software เพื่อทบทวนวิธีการ มีการใช้ Software ในการประมวลผล
เคลื่อนย้ายไปแต่ละสถานีงานหรือ เช่น สายพาน หรือระบบการผลิตที่มี ขนส่ง,การจัดสรรสินค้าคงคลัง,การใช้ แบบ Real time ในการจัดการ
เครื่องจักรภายในโรงงาน และไม่มกี ล ความต่อเนื่อง ช่วยในการลดเวลา ลด ประโยชน์ศูนย์กระจายสินค้าและศูนย์ เส้นทางการส่งสินค้า ติดตาม
ยุทธ์การพัฒนา/ปรับปรุงที่เกี่ยวข้องใน การเคลื่อนที่ และแรงงาน ภายใน การขนถ่ายสินค้า และใช้ประโยชน์ ยานพาหนะด้วย GPS หรือ GPS
การจัดส่งสินค้าให้ลูกค้า ส่งผลให้มี โรงงาน และมีการวางแผนการจัดส่ง จากทรัพยากรสูงสุด และ/หรือ องค์กร Tracking ทาให้สามารถทราบถึง
ช่วงเวลานาในการสั่งซื้อค่อนข้างนาน สินค้าให้กับลูกค้า โดยคานวณเส้นทาง ทราบช่วงเวลานาในการส่งสินค้าให้ สถานะในระหว่างทางได้ ปรับเส้นทาง
ลูกค้าหรือสินค้าแต่ละชนิด และใช้วาง
องค์กรได้รับคาร้องเรียนจากลูกค้า การเดินรถที่เหมาะสม ให้มีความเหมาะสม โดยคานึงถึง
แผนการบรรทุกขนส่งสินค้าด้วย
บ่อยครั้ง ต้นทุนและระยะเวลา
2.3 Through-Engineering

เกณฑ์การให้คะแนน
หัวข้อย่อย คะแนน
1 2 3 4
1) วิธีการจัดเก็บข้อมูล
จัดเก็บแบบ Manual จัดเก็บใช้ระบบฐานข้อมูลและผูเ้ กี่ยวข้องเข้าถึงได้ จัดเก็บในระบบ Cloud
มี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล ในกระดาษ ซึ่ ง จะ มีการเก็บข้อมูล และใช้คอมพิวเตอร์ มีการเก็บข้อมูลโดยใช้เป็นระบบ มีการเก็บข้อมูลในระบบ Cloud ที่
ปฏิ บั ติ ต าม การจั ด ท า เอกสารวิ ธี ส่วนบุคคลในการจัดเก็บ ฐานข้อมูล (Database) และเป็นระบบ ทางานในรูปแบบบริการได้ (SOA:
ปฏิบัติงาน (Engineering Specifications, เครือข่าย (Network) ที่สามารถเข้าถึง Service Oriented Architecture)
Work Instruction, Work Flow) ข้อมูลได้พร้อมกันทั้งในระยะใกล้และ
ไกล
2) การจัดการสารสนเทศระหว่าง ไม่ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์มาตรฐานเกือบทุกกิจกรรม
องค์กร
มีการใช้กระดาษ โทรศัพท์ หรือ องค์กรมีการใช้ระบบจดหมาย องค์กรมีการใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ มีการเชื่อมโยงข้อมูลการผลิตตั้งแต่ต้น
โทรสารในการแลกเปลีย่ นข้อมูลกับ อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) เพื่อ เพื่อแลกเปลีย่ นข้อมูลกับลูกค้า ที่มี น้าจนถึงปลายน้า และเชื่อมโยงกับ
ลูกค้า หรือผู้ส่งมอบ แลกเปลีย่ นข้อมูลกับลูกค้า ในกรณีที่ มาตรฐานอันเป็นที่ยอมรับร่วมกัน ระบบข้อมูลทั้งหมดในองค์กร (Public
ลูกค้าหรือผู้ส่งมอบต้องการเท่านั้น (Private EDI) ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล EDI) และกาลังดาเนินการใช้ระบบ ที่
หรือเอกสารธุรกิจ เช่น ใบสั่งซื้อสินค้า เป็นมาตรฐานสากล (Open
บัญชีราคาสินค้า ใบส่งของ รายงาน standard)
ฯลฯ ภายใต้ขอบเขตที่กาหนดไว้
มากกว่า 50%

3) ความสามารถในการ ไม่มรี ะบบการวิเคราะห์ข้อมูล มีระบบการวิเคราะห์ข้อมูลที่รวดเร็วและแม่นยา


วิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการ
ผลิต ไม่มรี ะบบการวิเคราะห์ข้อมูลการ มีการวิเคราะห์ข้อมูลการทางาน โดย สามารถประมวลผลและแสดงผลได้ เหมือนระดับ 3 และสามารถเผยแพร่
ทางานเพื่อใช้ในการตัดสินใจ การใช้โปรแกรมอย่างง่าย เช่น Excel อย่างรวดเร็วและเข้าใจง่าย เช่น ใช้ ข้อมูลที่จาเป็นได้ในแบบ Real-time
Word เป็นต้น แสดงผลในรูปแบบ ระบบรายงานอัจฉริยะ (BI: Business
กราฟต่างๆ Intelligent) แสดงผลในรูป
Dashboard ที่นาไปสู่การตัดสินใจได้
*** หมายเหตุ : คาจากัดความ Electronic Data Interchange (EDI) คือ การแลกเปลี่ยนเอกสารทางธุรกิจระหว่างหน่วยงานในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์มาแทน เอกสารที่เป็นกระดาษ โดยอิเล็กทรอนิกส์
เหล่านีต้ ้องอยู่ในรูปแบบมาตรฐานสากลซึ่งทุกธุรกิจสามารถแลกเปลีย่ นเอกสารกันได้ทั่วโลก
2.4 Exponential Technologies

เกณฑ์การให้คะแนน
หัวข้อย่อย คะแนน
1 2 3 4
1) กิจกรรมการวิจยั และพัฒนา ไม่มี ทันสมัย
(R&D หรือ Research and
มีแต่กระบวนการผลิตตามคาสั่ง มีการเพิ่มวิศวกรเพื่อปรับปรุง ใช้งานวิจัยและพัฒนา (R&D) มา ใช้งานวิจัยเป็นพื้นฐานเพื่อก้าวสู่ความ
Development)
(Production Process) ประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต ปรับปรุงประสิทธิภาพหรือผลิตผลหรือ เป็นนวัตกรรม (Innovation)
สินค้า

2) เทคโนโลยีในการหาคาตอบ ผลงานวิจัยครอบคลุมในวงแคบ อัพเดตข้อมูลตลอดเวลาและครอบคลุมจานวนข้อมูลขนาดใหญ่


เพื่อใช้ปรับ/เตรียมการผลิต
ไม่มีการทดลอง วิจัย หรือวิเคราะห์ มีผลทางสถิติเป็นตัวรับรอง ใช้จานวน มีการใช้ Software Computer การใช้ปัญญาประดิษฐ์ หรือArtificial
กระบวนการผลิตที่เหมาะสม ผลิตตาม ของระดับความผันแปร หรือความ Aided Engineering (CAE) ในการหา Intelligence (AI) ในการประมวลผล
คาสั่งเท่านั้น เชือ่ มั่นเป็นการประกันคุณภาพ คาตอบขั้นสูง ข้อมูล ร่วมกับการวิจัยพัฒนา และ
เครื่องมือขั้นสูง เช่น Computer
Aided Design (CAD) และ
Computer Aided Manufacturing
(CAM) เป็นต้น

-ขอขอบพระคุณที่สละเวลาในการประเมิน-
หากอุตสาหกรรมของท่านเป็นอุตสาหกรรมการผลิต กรุณาประเมินในส่วนที่ 3 ด้วย

โปรดส่งแบบประเมินมาที่:
สถาบันวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
เลขที่ 60 ศูนย์สิริกิตฯิ์ โซนซี ชั้น 3 ถ.รัชดาภิเษกตัดใหม่ แขวง/เชต คลองเตย กทม. 10110
โทรศัพท์ 02-345-1236-41
โทรสาร 02-345-1237 / 02-345-1279
อีเมล rdi.fti@gmail.com, talent.fti@gmail.com
ส่วนที่ 3 แบบประเมินตนเอง (เพิม่ เติมการประเมินสาหรับอุตสาหกรรมการผลิตโดยอ้างอิงข้อมูลจากส่วนที่ 2)

เกณฑ์การให้คะแนน
หัวข้อย่อย คะแนน
1 2 3 4
1) การออกแบบการสร้างอุปกรณ์
ล้าสมัย หรือกาลังการผลิตต่า ทันสมัยปรับแต่งได้เร็วกาลังการผลิตสูง
ช่วยในการดาเนินงาน เช่น Jig
Fixture (ให้ใช้ข้อมูลจากส่วน ใช้เครื่องมือ และ/หรืออุปกรณ์ที่ใช้ เครื่องจักรและอุปกรณ์เพื่อการผลิต ใช้ เครื่องจักรที่ใช้ระบบอัตโนมัติ เครื่องจักรในระบบการผลิตเป็นระบบ
แรก) แรงงานคนหรือสัตว์ช่วยในการทางาน ไฟฟ้าเป็นต้นกาลัง ต้องใช้คนควบคุม (Automation) มีการควบคุมการ อัตโนมัติ (Automation) ที่มีการ
และทางานร่วมกับเครื่องเพื่อการผลิต ทางานด้วย PLC (Programmable เชื่อมโยงข้อมูลและสื่อสารกัน มีการ
Logic Controller) หรือเป็น ควบคุมด้วย Computer และ
เครื่องจักรควบคุมด้วย CNC Software รวมไปถึงผลิตภัณฑ์ไหลไป
(Computer Numeric Control) พร้อมข้อมูลด้วย
หรือมีการใช้ Robot

2) การออกแบบผังโรงงานเพื่อ ความยืดหยุ่นสูง ผลผลิตต่า ความยืดหยุ่นต่า ผลผลิตสูง ความยืดหยุ่นสูง ผลผลิตปานกลาง


เพิ่มศักยภาพในการผลิต
Flexibility and Productivity แบ่งสถานีงานและเครื่องจักรที่ชัดเจน ออกแบบเป็น Manufacturing cell ที่ กระบวนการผลิตมีความต่อเนื่อง ไม่ใช้ มีหลักการ Flexible Manufacturing
มีการใช้ Automation บางส่วน คนในการขนย้ายสินค้า System หรือการจัดสรรงานให้เกิด
การทางานที่มีความสูญเปล่าต่า

3) Sensor และการรวบรวม ใช้เครื่องมือวัดพื้นฐาน ใช้เครื่องมือวัดที่ไวและปรับแต่งกระบวนการได้


ข้อมูล (Data Acquisition)
ใช้คนในการตรวจสอบคุณภาพและ ใช้ Sensor ในการตรวจสอบคุณภาพ ความสามารถการวัดเทียบเท่าระดับ 2 วิเคราะห์ข้อมูลจริง (Data Analysis)
ความสามารถการวัดขึ้นกับคน พื้นฐาน แต่ต้องใช้คนตัดสินใจด้วย แต่เครื่องจักรสามารถตัดสินใจเองได้ ในงานวิจัยทดลองวิทยาศาสตร์และ
ทดสอบงานทางด้านวิศวกรรมเชิง
คุณภาพและประมวลผลผ่าน
คอมพิวเตอร์ แบบ Real time
เกณฑ์การให้คะแนน
หัวข้อย่อย คะแนน
1 2 3 4
4) การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ เพื่อ ไม่รองรับการใช้ระบบอัตโนมัติ รองรับการใช้ระบบอัตโนมัตเิ ต็มรูปแบบ
รองรับการใช้ระบบอัตโนมัติ
การออกแบบผลิตภัณฑ์ไม่รองรับการ การประกอบผลิตภัณฑ์ความเร็วต่า การออกแบบผลิตภัณฑ์ให้สามารถ การออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อ
สาหรับการประกอบ
ใช้การประกอบด้วยระบบอัตโนมัติ ด้วยเครื่องจักรกึ่งอัตโนมัติ ประกอบด้วยความเร็วสูงด้วยการใช้ ประกอบด้วยความเร็วสูงด้วยหุ่นยนต์
(Manual assembly) เครื่องจักรแบบเซลล์ทั้งหมด (Cell อุตสาหกรรม (Industrial robot) และ
automation) คือ จัดวางกลุ่ม หุ่นยนต์สามารถทางานได้เป็น
เครื่องจักรให้การไหลของระบบการ ศูนย์กลางในการทางาน
ผลิตเป็นไปอย่างต่อเนื่องและลีน (Multipurpose)
5) ระดับความสามารถของ ไม่มีบุคลากรเฉพาะทาง มีบุคลากรพร้อมรองรับระบบอัตโนมัตไิ ด้
บุคลากรทีร่ องรับการพัฒนาระบบ
ไม่มีช่างเทคนิคพื้นฐาน ใช้ช่างเทคนิคพื้นฐานในการซ่อมแซม ใช้ช่าง หรือวิศวกรทีมีประสบการณ์สูง มีบุคลากรที่เทียบเท่า Mechatronic
อัตโนมัติ
เครื่องจักร เช่น เครื่องกล หรือไฟฟ้า Engineering

การลงทุนด้านเทคโนโลยี :
คาชี้แจง : ข้อมูลนี้ใช้เพื่อการศึกษาแนวโน้มของอุตสาหกรรมไทยเพื่อเตรียมพร้อมสู่ Industry 4.0 เท่านั้น ทั้งนี้ หากท่านไม่สะดวกในการให้ข้อมูล รบกวนแจ้งข้อมูลผู้ทตี่ ิดต่อที่สามารถให้ข้อมูลในแบบ
ประเมินนีไ้ ด้ (หมายเหตุ : ข้อมูลของท่านจะถูกเก็บเป็นความลับ)
ชื่อ : โทรศัพท์ : อีเมล :

มูลค่าสินทรัพย์ถาวร (ไม่รวมที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง) บาท


แนวโน้มสถานภาพทางการค้าและเศรษฐกิจโดยรวมของกลุ่มอุตสาหกรรม (ตามที่ท่านตอบในข้อ 2 ประเภทอุตสาหกรรม)  แนวโน้มสูงขึ้น  แนวโน้มลดลง

การลงทุนด้านเทคโนโลยี ปี 2556 เทียบกับ ปี 2555 (±%) ปี 2557 เทียบกับ ปี 2556 (±%) ปี 2558 เทียบกับ ปี 2557 (±%)
อัตราส่วนค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรเพื่อการผลิตทั้งปี
อัตราส่วนค่าใช้จ่ายด้านแรงงานรวมเฉพาะฝ่ายผลิตทั้งปี
อัตราส่วนค่าใช้จ่ายในการลงทุนด้าน Software และ ด้าน IT ทั้งปี
ค่าเสือ่ มราคาเฉพาะเครือ่ งจักรเพือ่ การผลิตต่อปี
ตัวชี้วัดสัดส่วนการใช้ระบบอัตโนมัติในการผลิต = (หมายเหตุ : ไม่ต้องแปลงเป็น %)
ค่าแรงรวมเฉพาะฝ่ายผลิตทัง้ หมดต่อปี

(โปรดกรอกเฉพาะตัวเลขสัดส่วน)
ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558

-ขอขอบพระคุณที่สละเวลาในการประเมิน-

โปรดส่งแบบประเมินมาที:่
สถาบันวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
เลขที่ 60 ศูนย์สิริกิตฯิ์ โซนซี ชั้น 3 ถ.รัชดาภิเษกตัดใหม่ แขวง/เขต คลองเตย กทม. 10110
โทรศัพท์ 02-345-1236-41
โทรสาร 02-345-1237 / 02-345-1279
อีเมล rdi.fti@gmail.com, talent.fti@gmail.com

You might also like