You are on page 1of 40

แผนการจัดประสบการณ์

หน่วย เด็กดีมีมารยาท
ชั้น อนุบาลปีที่ 2
โรงเรียน วัดไตรรัตนาราม (ชื่นชูใจราษฎร์อุทิศ)

ใช้สอนวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.2561 ถึงวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2561

ชื่อ นางสาววรัญญา ศรีดาวฤกษ์ นักศึกษาฝึกสอน


ชื่อ นางสาวศิริพร ขมิ้นแก้ว นักศึกษาฝึกสอน
ชื่อ นางสาวศิริลักษณ์ เวียงอินทร์ ครูพี่เลี้ยง
ชื่อ นางสาวกมลวรรณ อังศรีสุรพร อาจารย์นิเทศก์วิชาเอก

สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
วัตถุประสงค์
หลังจากจัดประสบการณ์หน่วยเรื่อง เด็กดีมีมารยาท เด็กเกิดการเรียนรู้ ดังนี้
1. ปฏิบัติตนที่ดีต่อบุคคลในบ้านและนอกบ้านได้
2. ส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
3. มีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่
4. เชื่อฟังคาสั่งสอนของผู้ใหญ่
1) สาระที่ควรเรียนรู้

เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
2) เนื้อหา

เด็กดีมีมารยาทงาม คือ เด็กที่รู้จักกาลเทศะ รู้เวลา รู้ว่าสิ่งใดควรปฏิบัติกับบุคคลรอบตัว


3) แนวคิด

1. เด็กดีมีมารยาทงาม คือ เด็กที่เคารพและเชื่อฟังคาสั่งสอนของผู้ใหญ่


2. รู้จักมารยาททางสังคม
3. ปฏิบัติตนได้ถูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะ
4) ประสบการณ์สาคัญ

ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา


การทรงตัวและการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ ดนตรี การเรียนรู้ทางสังคม การคิด
ใหญ่ - การแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี - การเล่นและการทางานร่วมกับผู้อื่น - การรู้จักสิ่งต่าง ๆ ด้วยการมอง ฟัง สัมผัส
- การเคลื่อนไหวอยู่กับที่และการเคลื่อนไหว - การร้องเพลง - การวางแผน ตัดสินใจเลือก และลงมือ ชิมรส และดมกลิ่น
เคลื่อนที่ ปฏิบัติ - การเชื่อมโยงภาพ ภาพถ่าย และรูปแบบ
- การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์ สุนทรียภาพ - การมีโอกาสได้รับรู้ความรูส้ ึก ความสนใจ ต่างๆ กับสิ่งของหรือสถานที่จริง
- การเล่นเครื่องเล่นสนาม - การชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม และความต้องการของตนเองและผู้อื่น - การรับรู้ และแสดงความรู้สึกผ่านสื่อ
- การแสดงออกอย่างสนุกสนานกับเรื่อง - การมีประสบการณ์ในการแลกเปลีย่ น วัสดุ ของเล่น และผลงาน
การประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนือ้ เล็ก ตลก ขาขัน และเรื่องราว/ เหตุการณ์ที่ ความคิดเห็นและเคารพความคิดเห็นของ - การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านสื่อ
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัส สนุกสนานต่างๆ ผู้อื่น วัสดุต่างๆ
- การเขียนภาพและการเล่นกับสี - การแก้ปัญหาในการเล่น การใช้ภาษา
การเล่น - การแสดงความรูส้ ึกด้วยคาพูด
- การเล่นอิสระ - การพูดกับผู้อื่นเกีย่ วกับประสบการณ์ของ
- การเล่นรายบุคคล กลุม่ ย่อย กลุ่มใหญ่ ตนเอง หรือเล่าเรื่องราวทีเ่ กี่ยวกับตนเอง
- การเล่นในห้องเรียนและนอกห้องเรียน - การอธิบายเกี่ยวกับสิ่งของ เหตุการณ์
และความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
- การฟังเรื่องราว นิทาน คาคล้องจอง
คากลอน
- การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านสื่อ
วัสดุต่างๆ
- การเขียนในหลายรูปแบบผ่าน
ประสบการณ์ที่สื่อความหมายต่อเด็ก
เขียนภาพ เขียนขีดเขี่ย เขียนคล้าย
ตัวอักษร เขียนชื่อตนเอง
การสังเกต การจาแนก และการเปรียบเทียบ
- การสารวจและอธิบายความเหมือน
ความต่างของสิ่งต่างๆ
- การจับคู่ การจาแนก และการจัดกลุ่ม
- การเปรียบเทียบ เช่น ยาว/สั้น ขรุขระ/
เรียบ ฯลฯ
- การเรียงลาดับสิ่งต่างๆ
- การคาดคะเนสิ่งต่างๆ
- การตั้งสมมติฐาน
- การใช้หรืออธิบายสิ่งต่างๆ ด้วยวิธีการที่
หลากหลาย
จานวน
- การนับสิ่งต่าง ๆ

มิติสัมพันธ์ (พื้นที่/ระยะ)
- การต่อเข้าด้วยกัน การแยกออก การ
บรรจุและการเทออก
- การสังเกตสิ่งต่างๆ และสถานที่จาก
มุมมองที่ต่างๆ กัน
- การมีประสบการณ์และการอธิบายใน
เรื่องตาแหน่งของสิ่งต่างๆ ที่สัมพันธ์กัน
- การสื่อความหมายของมิตสิ ัมพันธ์ด้วย
ภาพวาด ภาพถ่าย และรูปภาพ
เวลา
- การเริม่ ต้นและการหยุดการกระทาโดย
สัญญาณ
ด้านสติปัญญา ด้านร่างกาย
- การรูจ้ ักสิ่งต่างๆ ด้วยการมอง ฟัง - การเคลื่อนไหวอยู่กับที่และการเคลื่อนไหว
สัมผัส ชิมรส และดมกลิ่น เคลื่อนที่
- การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์
- การรับรู้ และแสดงความรูส้ ึกผ่านสื่อ
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัส
วัสดุ ของเล่น และผลงาน
- การเขียนภาพและการเล่นกับสี
- การจับคู่ การจาแนก และการจัดกลุ่ม

กรอบพัฒนาการ
และกิจกรรม

ด้านสังคม ด้านอารมณ์-จิตใจ
- การเล่นและการทางานร่วมกับผู้อื่น - การแสดงปฏิกิรยิ าโต้ตอบเสียงดนตรี
- การมีโอกาสได้รับรู้ความรูส้ ึก ความสนใจ - การเล่นอิสระ
และความต้องการของตนเองและผู้อื่น - การชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม
- การมีประสบการณ์ในการแลกเปลี่ยนความ
- การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่
คิดเห็นและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
คณิตศาสตร์
Web (บูรณาการทักษะรายวิชา)
- จานวนและการดาเนินการ
- การวัด
- เรขาคณิต
วิทยาศาสตร์
- พีชคณิต - สิ่งมีชวี ีตกับกระบวนการดารงชีวตี
- การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น - ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
- ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ - สารและสมบัติของสาร
ภาษา - แรงและการเคลื่อนที่
- การฟัง
- พลังงาน
- การพูด
- กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
- การอ่าน
- ดาราศาสตร์และอวกาศ
- การเขียน
- ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

หน่วยเรื่อง
เด็กดีมีมารยาท
ศิลปะสร้างสรรค์ สังคมศึกษา
(กิจกรรมพิเศษ) - การเล่นและการทางานร่วมกับผู้อื่น
- ประดิษฐ์กรอบรูปจากไม้ไอติม - การมีโอกาสได้รับรู้ความรูส้ ึก ความสนใจและ
- กิจกรรมบิดลูกโป่ง ความต้องการของตนเองและผู้อื่น
- กิจกรรมปั้นดินกระดาษ - การมีประสบการณ์ในการแลกเปลี่ยนความ
พลศึกษา/สุขศึกษา คิดเห็นและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
- การรักษาสุขภาพอนามัย
- การรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
กิจกรรมเกมการศึกษา
6) แผนที่เครือข่ายใยแมงมุม (web กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม)
จ. ภาพตัดต่อ
อ. โดมิโน
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
พ. จับคู่ภาพและเงา
จ. เคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์
กิจกรรมกลางแจ้ง
พฤ. จับคู่ภาพเหมือน อ. เคลื่อนไหวตามคาบรรยาย
จ. วิ่งเปรี้ยว
ศ. โดมิโน พ. เคลื่อนไหวตามข้อตกลง
อ. โยนรับลูกบอล
พฤ. เคลื่อนไหวผู้นาผู้ตาม
พ. เกมประคองบอล
ศ. เคลื่อนไหวประกอบเพลง
พฤ. กาฟักไข่ กิจกรรมหลัก
ศ. รอดฮูลาฮุ๊บ 6 กิจกรรม

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จ. ระดับการไหว้บุคคลต่างๆ
กิจกรรมเสรี อ. การเดิน,การยืน,การนั่ง
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
- เล่นตามมุประสบการณ์ พ. มารยาทในการพูดจา
จ. มงกุฎจากจานกระดาษ
อ. กระเป๋าจากจานกระดาษ พฤ. มารยาทบนโต๊ะอาหาร
ศ. การรับและการส่งของ
พ. ปั้นดินกระดาษ
พฤ. กรอบรูปจากไม้ไอติม
ศ. บิดลูกโป่ง
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ (วันจันทร์)
วัตถุประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการ การวัดและประเมินผล การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ เรียนรู้
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วน กิจกรรมพื้นฐาน ด้านร่างกาย กิจกรรมพื้นฐาน 1. เครื่ อ งเคาะ สังเกตจาก ภาษา
ต่ า งๆ ของร่ า งกาย 1. เด็กฟังและปฏิบัติ 1. การเคลื่ อ นไหว 1. เด็กๆ หาพื้นที่ ของตัวเองด้วยการกางแขนและ จังหวะ 1. การเคลื่ อ นไหวส่ ว น คณิตศาสตร์
ประกอบอุปกรณ์ได้ ตามข้อตกลงได้ อ ยู่ กั บ ที่ แ ล ะ ก า ร หมุนตัวไปรอบๆ (แทมโบรีน) ต่ า ง ๆ ข อ ง ร่ า ง ก า ย วิทยาศาสตร์
2. เด็ ก ฟั ง และปฏิ บั ติ กิ จ ก รรมสั ม พั น ธ์ เคลื่อนไหวเคลื่อนที่ 2. ครูและเด็กสร้างข้อตกลงร่วมกัน คือ เคลื่อนไหว 2. ผ้าขนาดใหญ่ ประกอบอุปกรณ์
ตามสัญญาณได้ เนื้อหา ด้านอารมณ์-จิตใจ ร่างกายไปรอบๆ อย่างอิสระตามจังหวะสัญญาณ 3. ลูกบอล 2. การฟั ง และปฏิ บั ติ
2. เด็ ก เคลื่ อ นไหว 2 . แ ส ด ง กิ ริ ย า การเคาะ ดังนี้ ตามสัญญาณ
ประกอบอุปกรณ์ได้ โต้ ต อบเสี ย งดนตรี - ถ้าครูเคาะจังหวะช้าๆ เด็กๆ สไลด์ไปอย่างช้าๆ
ทาท่าทางตาม - ถ้าครูเคาะจังหวะรัวๆ เด็กๆ สไลด์ไปอย่างเร็วๆ
จั ง ห ว ะ แ ล ะ เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณ “หยุด” เคาะ 2 ครั้ง ติดกัน
แสดงออก ให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านั้นทันที
อย่างสนุกสนาน กิจกรรมสัมพันธ์เนื้อหา
ด้านสังคม 3. ครูและเด็กร่วมกันเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์
3. การเล่นและการ คือ ผ้าขนาดใหญ่ให้เด็กๆ ทุกคนช่วยกันจับผ้าและ
ทางานร่วมกับผู้อื่น นาลูกบอลไว้ตรงกลางถ้าได้ยินสัญญาณจากครูให้
ด้านสติปัญญา เด็กๆ สะบัดผ้าให้ลูกบอลเคลื่อนที่ไปเรื่อยๆ
4. การเริ่ ม ต้ น และ กิจกรรมพักคลายกล้ามเนื้อ
หยุดการกระทาโดย 4. เด็ กๆ นอนราบไปกับ พื้น กางแขน และกางขา
สัญญาณ ผ่อนคลาย

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ (วันอังคาร)
วัตถุประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการ การวัดและประเมินผล การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ เรียนรู้
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วน กิจกรรมพื้นฐาน ด้านร่างกาย กิจกรรมพื้นฐาน 1. เครื่ อ งเคาะ สังเกตจาก สังคมศึกษา
ต่ า งๆ ของร่ า งกาย 1. การฟังและปฏิบัติ 1. การเคลื่ อ นไหว 1. เด็กๆ หาพื้นที่ ของตัวเองด้วยการกางแขนและ จังหวะ 1. การเคลื่ อ นไหวส่ ว น คณิตศาสตร์
ตามคาบรรยายได้ ตามสัญญาณได้ อ ยู่ กั บ ที่ แ ล ะ ก า ร หมุนตัวไปรอบๆ (แทมโบรีน) ต่า งๆ ของร่า งกายตาม วิทยาศาสตร์
2. เด็ ก ฟั ง และปฏิ บั ติ กิ จ ก รรมสั ม พั น ธ์ เคลื่อนไหวเคลื่อนที่ 2. ครูและเด็ก สร้างข้อตกลงร่วมกัน คือ เคลื่อนไหว คาบรรยาย
ตามสัญญาณได้ เนื้อหา ด้านอารมณ์-จิตใจ ร่างกายไปรอบๆ อย่างอิสระตามจังหวะสัญญาณ 2. การฟั ง และปฏิ บั ติ
2. การเคลื่ อ นไหว 2 . แ ส ด ง กิ ริ ย า การเคาะ ดังนี้ ตามสัญญาณ
ตามคาบรรยายได้ โต้ ต อบเสี ย งดนตรี - เคาะ 1 ครั้ง สไลด์ไปด้านข้าง 1 ครั้ง
3. การปฏิ บัติต นกั บ ทาท่าทางตาม - เคาะ 2 ครั้ง สไลด์ไปด้านข้าง 2 ครั้ง
ผู้ ใ หญ่ ต้ อ งมี ค วาม จั ง ห ว ะ แ ล ะ เคาะรัวๆ ให้สไลด์เร็วๆ ไปรอบๆ บริเวณ
อ่ อ นน้ อ ม ถ่ อ มต น แสดงออก เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณ “หยุด” เคาะ 2 ครั้ง ติดกัน
และเคารพผู้ใหญ่อยู่ อย่างสนุกสนาน ให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านั้นทันที
เสมอ ด้านสังคม กิจกรรมสัมพันธ์เนื้อหา
3. การเล่นและการ 3. เด็กเคลื่อ นไหวตามค าบรรยายของครูในหัวข้ อ
ทางานร่วมกับผู้อื่น “การปฏิบัติตนกับผู้ใหญ่”
ด้านสติปัญญา กิจกรรมพักคลายกล้ามเนื้อ
4. การเริ่ ม ต้ น และ 4. เด็กๆ นั่งเป็นแถว พักคลายกล้ามเนื้อด้วยการ บีบ
หยุดการกระทาโดย นวด และทุบ
สัญญาณ

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ (วันพุธ)
วัตถุประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการ การวัดและประเมินผล การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ เรียนรู้
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วน กิจกรรมพื้นฐาน ด้านร่างกาย กิจกรรมพื้นฐาน 1. เครื่ อ งเคาะ สังเกตจาก ภาษา
ต่างๆ ของร่างกายได้ 1. เด็กฟังและปฏิบัติ 1. การเคลื่ อ นไหว 1. เด็กๆ หาพื้นที่ของตัวเองด้วยการกางแขนและ จังหวะ 1. การเคลื่ อ นไหวส่ ว น คณิตศาสตร์
2. เด็กเคลื่อนไหวตาม ตามสัญญาณได้ อ ยู่ กั บ ที่ แ ล ะ ก า ร หมุนตัวไปรอบๆ (แทมโบรีน) ต่างๆ ของร่างกาย
ข้อตกลงได้ กิ จ ก รรมสั ม พั น ธ์ เคลื่อนไหวเคลื่อนที่ 2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลง คือ เคลื่อนไหว 2. รูปภาพ 2. การเคลื่ อ นไหวตาม
เนื้อหา ด้านอารมณ์-จิตใจ ร่างกายไปรอบๆ อย่างอิสระตามจังหวะสัญญาณ - การไหว้ ข้อตกลง
2. เด็ ก เคลื่ อ นไหว 2 . แ ส ด ง กิ ริ ย า การเคาะ คือ เคาะช้าๆ ให้เดินช้าๆ เคาะรัวให้เดิน - การเดิน
ตามข้อตกลงได้ โต้ ต อบเสี ย งดนตรี เร็วๆ เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณ “หยุด” เคาะ 2 ครั้ง - การนั่ง
3. การแสดงออกกับ ทาท่าทางตาม ติดกันให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านั้นทันที - การยืน
ผู้ใหญ่ จั ง ห ว ะ แ ล ะ กิจกรรมสัมพันธ์เนื้อหา
- การไหว้ แสดงออก 3. ครูและเด็กกาหนดมุมร่วมกัน ดังนี้
- การเดิน อย่างสนุกสนาน - ถ้าครูพูดว่า การไหว้ ให้เด็กๆ เดินไปที่รูปภาพ
- การนั่ง ด้านสังคม เด็กไหว้ และทาท่าทางตามภาพ
- การยืน 3. การเล่นและการ - ถ้าครูพูดว่า การเดิน ให้เด็กๆ เดินไปที่รูปภาพ
ทางานร่วมกับผู้อื่น เด็กเดิน และทาท่าทางตามภาพ
ด้านสติปัญญา - ถ้าครูพูดว่า การนั่ง ให้เด็กๆ เดินไปที่รูปภาพ
4. การเริ่ ม ต้ น และ เด็กนั่ง และทาท่าทางตามภาพ
หยุดการกระทาโดย - ถ้าครูพูดว่า การยืน ให้เด็กๆ เดินไปที่รูปภาพ
สัญญาณ เด็กยืน และทาท่าทางตามภาพ
กิจกรรมพักคลายกล้ามเนื้อ
4. เด็กร่วมกันพักคลายกล้ามเนื้อด้วยการบีบ นวด
การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ (วันพฤหัสบดี)
วัตถุประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการ การวัดและประเมินผล การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ เรียนรู้
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วน กิจกรรมพื้นฐาน ด้านร่างกาย กิจกรรมพื้นฐาน 1. เครื่ อ งเคาะ สังเกตจาก คณิตศาสตร์
ต่างๆ ของร่างกายได้ 1. เด็กฟังและปฏิบัติ 1. การเคลื่ อ นไหว 1. เด็กๆ หาพื้นที่ ของตัวเองด้วยการกางแขนและ จังหวะ 1. การเคลื่ อ นไหวส่ ว น ภาษา
2. เด็ ก ฟั ง และปฏิ บั ติ ตามสัญญาณได้ อ ยู่ กั บ ที่ แ ล ะ ก า ร หมุนตัวไปรอบๆ (แทมโบรีน) ต่างๆ ของร่างกาย
ตามสัญญาณได้ กิ จ ก รรมสั ม พั น ธ์ เคลื่อนไหวเคลื่อนที่ 2. ครูและเด็กสร้างข้อตกลงร่วมกัน คือ เคลื่อนไหว 2. การฟั ง และปฏิ บั ติ
3. เด็กปฏิบัติเป็นผู้นา เนื้อหา ด้านอารมณ์-จิตใจ ร่างกายไปรอบๆอย่างอิสระตามจังหวะสัญญาณการ ตามสัญญาณ
และผู้ตามได้ 2. เด็ กป ฏิ บั ติ เ ป็ น 2 . แ ส ด ง กิ ริ ย า เคาะ ดังนี้ 3. การปฏิ บั ติ เ ป็ น ผู้ น า
ผู้นาและผู้ตามได้ โต้ ต อบเสี ย งดนตรี เคาะ 1 ครั้ง เดินด้วยข้างเท้า 1 ครั้ง และผู้ตาม
ทาท่าทางตาม เคาะ 2 ครั้ง เดินด้วยข้างเท้า 2 ครั้ง
จั ง ห ว ะ แ ล ะ เคาะช้าๆ ให้เดินช้าๆ เคาะรัวให้เดินเร็วๆ
แสดงออก เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณ “หยุด” เคาะ 2 ครั้ง ติดกัน
อย่างสนุกสนาน ให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านั้นทันที
ด้านสังคม กิจกรรมสัมพันธ์เนื้อหา
3. การเล่นและการ 3. ครูและเด็กยืนเป็นวงกลม แล้วร่วมกันปฏิบัติเป็น
ทางานร่วมกับผู้อื่น ผู้นาและผู้ตาม
ด้านสติปัญญา กิจกรรมพักคลายกล้ามเนื้อ
4. การเริ่ ม ต้ น และ 4. ครูและเด็กนั่งเป็นวงกลม บีบนวดร่างกาย
หยุดการกระทาโดย
สัญญาณ

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ (วันศุกร์)
วัตถุประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการ การวัดและประเมินผล การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ เรียนรู้
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วน กิจกรรมพื้นฐาน ด้านร่างกาย กิจกรรมพื้นฐาน 1. เครื่องเคาะ สังเกตจาก ภาษา
ต่างๆ ของร่างกายได้ 1. เด็กฟังและปฏิบัติ 1. การเคลื่ อ นไหว 1.เด็กๆหาพื้นที่ของตัวเองด้วยการกางแขนและหมุน จังหวะ 1. การเคลื่ อ นไหวส่ ว น คณิตศาสตร์
2. เด็ ก ฟั ง และปฏิ บั ติ ตามสัญญาณได้ อ ยู่ กั บ ที่ แ ล ะ ก า ร ตัวไปรอบๆ (แทมโบรีน) ต่างๆ ของร่างกาย
ตามสัญญาณได้ กิ จ ก รรมสั ม พั น ธ์ เคลื่อนไหวเคลื่อนที่ 2.ครูและเด็กสร้างข้อตกลงร่วมกัน คือ เคลื่อนไหว 2. เพลง 2. การฟั ง และปฏิ บั ติ
3. เ ด็ ก เ ค ลื่ อ น ไ ห ว เนื้อหา ด้านอารมณ์-จิตใจ ร่างกายไปรอบๆ อย่างอิสระตามจังหวะสัญญาณ “มารยาท ตามสัญญาณ
ประกอบเพลงได้ 2. เด็ ก เคลื่ อ นไหว 2 . แ ส ด ง กิ ริ ย า การเคาะ ดังนี้ เด็กไทย” 3. ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว
ประกอบเพลงได้ โต้ ต อบเสี ย งดนตรี เคาะ 1 ครั้ง กระโดดขาเดียว 1 ครั้ง ประกอบเพลง
3. ม า ร ย า ท ไ ท ย ที่ ทาท่าทางตาม เคาะ 2 ครั้ง กระโดดขาเดียว 2 ครั้ง
เด็กไทยควรปฏิบัติ จั ง ห ว ะ แ ล ะ เคาะช้าๆ ให้กระโดดช้าๆ เคาะรัวให้กระโดดเร็วๆ
แสดงออก เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณ “หยุด” เคาะ 2 ครั้ง ติดกัน
อย่างสนุกสนาน ให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านั้นทันที
ด้านสังคม กิจกรรมสัมพันธ์เนื้อหา
3. การเล่นและการ 3. เด็กๆ เคลื่อนไหวประกอบเพลง “มารยาท
ทางานร่วมกับผู้อื่น เด็กไทย”
ด้านสติปัญญา กิจกรรมพักคลายกล้ามเนื้อ
4. การเริ่ ม ต้ น และ 4. ครูและเด็กนั่งเป็นแถว นั่งสมาธิกาหนดลมหายใจ
หยุดการกระทาโดย เข้า-ออก จากนั้นลืมตาและบีบนวดร่างกาย
สัญญาณ

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เสริมประสบการณ์ (วันจันทร์)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
1. เด็กร่วมกันตอบ การไหว้มี 3 ระดับ ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. จิ๊กซอว์ภาพ การไหว้ จากการสังเกต คณิตศาสตร์
คาถามได้ ประกอบไปด้วย การ 1.การต่อของ บรรจุ เท 1. เด็กๆ หลับตา จากนั้นครูแจกจิก๊ ซอว์ภาพ เด็กไหว้ 2. ตารางบันทึกผล 1. การร่วมกันตอบ ภาษา
2. เด็กบอกระดับ ไหว้พระ การไหว้ผู้มี และแยกชิ้นส่วน เด็กที่ได้จิ๊กซอว์ออกมาต่อเป็นภาพ 3. รูปภาพ คาถาม เทคโนโลยี
การไหว้บุคคลต่างๆ ด้านอารมณ์-จิตใจ 2. ครูและเด็กๆ สนทนาร่วมกันเกี่ยวกับการไหว้ - การไหว้พระ 2. การบอกระดับ
พระคุณหรือผู้อาวุโส
ได้ 2. การเล่นรายบุคคล ขั้นสอน - การไหว้ผู้อาวุโส การไหว้บุคคลต่างๆ
และการไหว้บุคคลทั่วไป
และการเล่นรายกลุ่ม 3. ครูและเด็กร่วมกันสาธิตการไหว้ในระดับต่างๆ และ - การไหว้บุคคลทัว่ ไป
ด้านสังคม ขอตัวแทนออกมาทาการไหว้แต่ละระดับ
3. การเล่นและการ 4. ครูและเด็กร่วมกันบันทึกการไหว้บุคคลในระดับต่างๆ
ทางานร่วมกับผู้อื่น การไหว้ ภาพ
ด้านสติปัญญา พระ
4. การรู้จักสิ่งต่างๆด้วย ผู้สาวุโส
บุคคลทั่วไป
การมอง ฟัง สัมผัส ชิมรส
และดมกลิ่น ขั้นสรุป
5. ครูและเด็กร่วมกันสรุปตารางการไหว้บุคคลในระดับ
ต่างๆ

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เสริมประสบการณ์ (วันอังคาร)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
1. เด็กบอกมารยาท มารยาทที่ ดี ใ นการเดิ น ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. นิทาน เรื่อง “เด็กดีมี จากการสังเกต ภาษา
การเดิน การยืน การยืน และการนั่ง 1.การต่อของ บรรจุ เท 1. ครูเล่านิทาน เรื่อง “เด็กดีมมี ารยาท” มารยาท” 1. การบอกมารยาท สังคมศึกษา
และการนั่งได้ - การเดินผ่านผู้ใหญ่ ให้ และแยกชิ้นส่วน 2. ครูและเด็กๆ ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับนิทาน การเดิน การยืน
2. เด็กแสดงความ เดิ น ในลั ก ษณะส ารวม ด้านอารมณ์-จิตใจ ขั้นสอน และการนั่ง
คิดเห็นร่วมกันได้ ปล่ อ ยมื อ ไว้ ข้ า งล าตั ว 2. การเล่นรายบุคคล 3. ครูและเด็กร่วมกันแสดงบทบาทสมมติมารยาทในการ 2. การแสดงความ
แล้ ว ค้ อ มตั ว เมื่ อ ใกล้ ถึ ง และการเล่นรายกลุ่ม เดิน การยืน การนั่งที่ดี และแสดงบทบาทสมมติมารยาท คิดเห็นร่วมกัน
ผู้ใหญ่ ด้านสังคม ในการเดิน การยืน การนั่งที่ไม่เหมาะสม
- การยืนต่อหน้าผู้ใหญ่ 3. การเล่นและการ 4. ครูและเด็กร่วมกันแสดงความคิดเห็นการแสดง
ให้ ยื น ตรง ขาชิ ด มื อ ทั้ ง ทางานร่วมกับผู้อื่น บทบาทสมมติทั้งสองแบบว่าเป็นอย่างไร
สองข้ า งแนบล าตั ว หรื ด้านสติปัญญา ขั้นสรุป
ประสานกั น ไว้ ข้ า งหน้ า 4. การเชื่อมโยงภาพ 5. ครูและเด็กๆ ร่วมกันสรุปมารยาทที่ควรปฏิบัติในการ
ด้วยความสารวม ภาพถ่าย และรูปแบบ เดิน การยืน และการนั่ง
- การนั่งต่อหน้าผู้ใหญ่ ต่างๆ กับสิ่งของหรือ
ค ว ร นั่ ง น้ อ ม ตั ว ล ง สถานที่จริง
เ ล็ ก น้ อ ย มื อ ว า ง
ประสานไว้บนหน้าขา

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เสริมประสบการณ์ (วันพุธ)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
1. เด็กบอกมารยาท การพูดเป็นการสื่อสารที่ ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. นิทาน เรื่อง “เด็กดี จากการสังเกต คณิตศาสตร์
ในการพูดได้ มีความสาคัญมาก ดังนั้น 1.การต่อของ บรรจุ เท 1. ครูเล่านิทาน เรื่อง “เด็กดีต้องพูดดี” ต้องพูดดี” 1. การบอกมารยาท ภาษา
2. เด็กแสดงความ มารยาทในการพูดจึง และแยกชิ้นส่วน 2. ครูและเด็กๆ ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับนิทาน 2. ตารางบันทึก ในการพูด
คิดเห็นร่วมกันได้ เป็นเรื่องที่สาคัญที่เด็ก ด้านอารมณ์-จิตใจ ขั้นสอน 2. การแสดงความ
ควรจะมี คือ การกล่าว 2. การเล่นรายบุคคล 3. ครูและเด็กร่วมกันแสดงบทบาทสมมติมารยาทในการ คิดเห็นร่วมกัน
คาทักทาย การเป็นผู้ฟัง และการเล่นรายกลุ่ม พูดที่เหมาะสม และการพูดที่ไม่เหมาะสม
ที่ดี การควบคุมน้าเสียง ด้านสังคม 4. ครูขอตัวแทนเด็กออกมายกตัวอย่างการคาพูดที่ควร
ในการพูด และการใช้ 3. การเล่นและการ ใช้/ไม่ควรใช้ แล้วบันทึกลงตาราง
คาพูดที่สุภาพ ไพเราะ ทางานร่วมกับผู้อื่น ควร ( / ) ไม่ควร ( X )
ด้านสติปัญญา
4. การเชื่อมโยงภาพ
ภาพถ่าย และรูปแบบ ขั้นสรุป
ต่างๆ กับสิ่งของหรือ 5. ครูและเด็กๆร่วมกันสรุปมารยาทในการพูด
สถานที่จริง

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เสริมประสบการณ์ (วันพฤหัสบดี)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
1. เด็กบอกมารยาท มารยาทบนโต๊ะอาหารที่ ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. จิ๊กซอว์ ภาพเด็ก จากการสังเกต คณิตศาสตร์
บนโต๊ะอาหารได้ เหมาะสม ได้แก่ การไม่ 1.การต่อของ บรรจุ เท 1. เด็กๆ หลับตา จากนั้นครูแจกจิก๊ ซอว์ภาพ เด็กกาลัง กาลังรับประทานอาหาร 1. การบอกมารยาท วิทยาศาสตร์
2. เด็กแสดงความ ส่งเสียงดังขณะ และแยกชิ้นส่วน รับประทานอาหาร เด็กที่ได้จิ๊กซอว์ออกมาต่อเป็นภาพ 2. อุปกรณ์รับประทาน บนโต๊ะอาหาร
คิดเห็นร่วมกันได้ รับประทาน ไม่ควรรีบ ด้านอารมณ์-จิตใจ 2. ครูและเด็กๆ ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับมารยาทในการ อาหาร 2. การแสดงความ
3. เด็กเก็บอุปกรณ์ รับประทาน ควรตัก 2. การเล่นรายบุคคล รับประทานอาหาร - ช้อน คิดเห็นร่วมกัน
การรับประทาน อาหารแบบพอดีคา และ และการเล่นรายกลุ่ม ขั้นสอน - ส้อม 3. การเก็บอุปกรณ์
อาหารได้ เมื่อรับประทานแล้วต้อง ด้านสังคม 3. ครูและเด็กๆ ร่วมกันรับประทานอาหารอย่างมี - อาหาร การรับประทาน
เก็บให้เป็นที่ 3. การเล่นและการ มารยาทที่ดี อาหาร
ทางานร่วมกับผู้อื่น 4. ครูและเด็กร่วมกันเก็บอุปกรณ์ในการรับประทาน
ด้านสติปัญญา อาหาร และทาความสะอาด
4. การรู้จักสิ่งต่างๆด้วย ขั้นสรุป
การมอง ฟัง สัมผัส ชิมรส 6. ครูและเด็กๆ ร่วมกันสรุปมารยาทบนโต๊ะอาหาร
และดมกลิ่น

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เสริมประสบการณ์ (วันศุกร์)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
1. เด็กบอกวิธีการ การรับ และการส่งของ ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. เพลง เด็กเอ๋ยเด็กดี จากการสังเกต ภาษา
รับ และการส่งของ ให้ผู้ใหญ่ คือ ถือของเดิน 1.การต่อของ บรรจุ เท 1. ครูและเด็กร่วมกันร้องเพลง “เด็กเอ๋ยเด็กดี” 1. การบอกวิธีการ
ให้ผู้ใหญ่ได้ เข้ า ไปห่ า งจากผู้ ใ หญ่ และแยกชิ้นส่วน 2. ครูและเด็กๆ ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเพลง รับและการส่งของ
2. เด็กปฏิบัติการรับ พอสมควร หยุดยื นตรง ด้านอารมณ์-จิตใจ ขั้นสอน ให้กับผู้ใหญ่
และการส่งของให้ ก้าวเท้ าขวาไปข้ างหน้ า 2. การเล่นรายบุคคล 3. ครูและเด็กร่วมกันสาธิตวิธกี ารรับและการส่งของ 2. การปฏิบัติการรับ
ผู้ใหญ่ได้ พ ร้ อ ม กั บ ค้ อ ม ตั ว และการเล่นรายกลุ่ม ให้กับผู้ใหญ่ และการส่งของให้
เ ล็ ก น้ อ ย ส่ ง ข อ ง ใ ห้ ด้านสังคม 4. ครูขอตัวแทนเด็กออกมาปฏิบตั กิ ารรับและการส่งของ ผู้ใหญ่
ผู้ใหญ่แล้วชักเท้ากลับใน 3. การเล่นและการ ให้ผู้ใหญ่ในลักษณะต่างๆ
ท่ายืนตรง พร้อมกับค้อม ทางานร่วมกับผู้อื่น ขั้นสรุป
ตัวไหว้ ด้านสติปัญญา 5. ครูและเด็กๆ ร่วมกันสรุปการรับและการส่งของให้
4. การรู้จักสิ่งต่างๆด้วย ผู้ใหญ่
การมอง ฟัง สัมผัส ชิมรส
และดมกลิ่น

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม ศิลปะสร้างสรรค์ (วันจันทร์)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
1. เด็ ก ๆ ประดิ ษ ฐ์ การประดิษ ฐ์มงกุ ฎจาก ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. สีเทียน จากการสังเกต คณิตศาสตร์
ม ง กุ ฎ จ า ก จ า น จานกระดาษ 1. การเขี ย นภาพและ 1. ครูแนะนาอุปกรณ์ ดังนี้ สีเทียน จานกระดาษ และ 2. จานกระดาษ 1. ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ภาษา
กระดาษได้ การเล่นกับสี กระดาษสี 3. กระดาษสี ม ง กุ ฎ จ า ก จ า น
2. เด็กๆ เก็บของเข้า ด้านอารมณ์-จิตใจ 2. ครูใช้คาถามเพื่อกระตุ้นความคิดเด็กว่า “เด็กๆ คิดว่า 4. กรรไกร กระดาษ
ที่เมื่อใช้แล้วได้ 2. การชื่นชมและสร้าง อุปกรณ์เหล่านี้ สามารถนาไปทาอะไรได้บ้าง” 2. การเก็บของเข้าที่
สรรค์สิ่งสวยงาม ขั้นสอน เมื่อใช้แล้ว
ด้านสังคม 3. ครูแจกอุปกรณ์ให้เด็กๆ
3. ก า ร เ ล่ น แ ล ะ ก า ร 4. ครูและเด็กร่วมกันสาธิตขั้นตอนการทา ดังนี้
ทางานร่วมกับผู้อื่น - ออกแบบมงกุฎของตนเอง
ด้านสติปัญญา - ใช้กรรไกรตัดจานกระดาษให้เป็นรูปร่างที่ต้องการ
4. การแสดงความคิ ด - ใช้สีเทียนและกระดาษสีตกแต่งผลงานให้สวยงาม
สร้ า งสรรค์ ผ่ า นสื่ อ วั ส ดุ 5. ครูและเด็กร่วมกันสร้างผลงานของตนเอง
ต่างๆ ขั้นสรุป
6. ครูและเด็กร่วมกันนาเสนอผลงานของตนเอง

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม ศิลปะสร้างสรรค์ (วันอังคาร)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
1. เด็กๆ ประดิษฐ์ ประดิ ษ ฐ์ ก ระเป๋ า จาก ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. จานกระดาษ จากการสังเกต คณิตศาสตร์
กระเป๋าจากจาน จานกระดาษ 1. การเขียนภาพและ 1. ครูแนะนาอุปกรณ์ ดังนี้ จานกระดาษ เชือก สีเทียน - 1 ใบเต็ม 1. การประดิษฐ์ ภาษา
กระดาษได้ การเล่นกับสี เครื่องเจาะรู และกาว - ครึ่งใบ กระเป๋าจากจาน
2. เด็กเล่าเรื่องราว ด้านอารมณ์-จิตใจ 2. ครูใช้คาถามเพื่อกระตุ้นความคิดเด็กว่า “เด็กๆ คิดว่า 2. เชือก กระดาษ
จากผลงานของ 2. การชื่นชมและสร้าง อุปกรณ์เหล่านี้ สามารถนาไปทาอะไรได้บ้าง” 3. สีเทียน 2. การเล่าเรื่องราว
ตนเองได้ สรรค์สิ่งสวยงาม ขั้นสอน 4. เครื่องเจาะรู จากผลงานของ
ด้านสังคม 3. ครูแจกอุปกรณ์ให้เด็กๆ 5. กาว ตนเอง
3. การเล่นและการ 4. ครูและเด็กร่วมกันสาธิตขั้นตอนการทา ดังนี้
ทางานร่วมกับผู้อื่น - ให้เด็กๆ นาจานกระดาษทั้งสองใบมาทากาวติดกัน
ด้านสติปัญญา - นาไปเจาะรูและร้อยเชือกกระเป๋า
4. การแสดงความคิด - ตกแต่งผลงานให้สวยงาม
สร้างสรรค์ผ่านสื่อวัสดุ 5. เด็กๆ ลงมือปฏิบัติ
ต่างๆ ขั้นสรุป
6. เด็กๆ นาเสนอผลงานของตนเองด้วยการเล่าเรื่องราว

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม ศิลปะสร้างสรรค์ (วันพุธ)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
1. เ ด็ ก ๆ ปั้ น ดิ น การปั้นดินกระดาษ ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. ดินกระดาษ จากการสังเกต คณิตศาสตร์
กระดาษตาม 1. การปั้นและประดิษฐ์ 1. ครูแนะนาอุปกรณ์ คือ ดินกระดาษ แผ่นรองปั้น 2. แผ่นรองปั้น 1. ก า ร ปั้ น ดิ น วิทยาศาสตร์
จินตนาการได้ สิ่งต่างๆ ขั้นสอน กระดาษตาม ภาษา
2. เ ด็ ก ๆ เ ล่ า ด้านอารมณ์-จิตใจ 2. ครูและเด็กร่วมกันสาธิตขั้นตอนการทา ดังนี้ จินตนาการ
เรื่องราวจากผลงาน 2. การชื่นชมและสร้าง - หยิบดิน 1 กามือ 2. การเล่ า เรื่ อ งราว
ของตนเองได้ สรรค์สิ่งสวยงาม - ปั้นเป็นรูปต่างๆ ตามจินตนาการ จากผลงานของ
ด้านสังคม 3. ครูแจกอุปกรณ์ให้กับเด็กๆ ตนเอง
3. ก า ร เ ล่ น แ ล ะ ก า ร 4. ครูและเด็กร่วมกันสร้างผลงาน
ทางานร่วมกับผู้อื่น ขั้นสรุป
ด้านสติปัญญา 5. เด็กๆ เล่าเรื่องราวจากผลงานของตนเอง
4. การแสดงความคิ ด
สร้ า งสรรค์ ผ่ า นสื่ อ วั ส ดุ
ต่างๆ

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม ศิลปะสร้างสรรค์ (วันพฤหัสบดี)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
1. เ ด็ ก ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ประดิษฐ์กรอบรูปจากไม้ ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. ไม้ไอติม 5 ไม้ จากการสังเกต คณิตศาสตร์
กรอบรู ป จากไม้ ไ อ ไอติม 1. การเขี ย นภาพและ 1. ครูแนะนาอุปกรณ์ ดังนี้ ไม้ไอติม 5 ไม้ รูปภาพเด็ก 2. รูปภาพเด็ก 1. ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ วิทยาศาสตร์
ติมได้ การเล่นกับสี กาว สีเทียน กระดาษสี 3. กาว กรอบรู ป จากไม้ ไ อ ภาษา
2. เด็กๆ เก็บของให้ ด้านอารมณ์-จิตใจ ขั้นสอน 4. สีเทียน ติม
เข้ า ที่ เ มื่ อ ใช้ เ สร็ จ 2. การชื่นชมและสร้าง 2. ครูใช้คาถามเพื่อกระตุ้นความคิดเด็กว่า “เด็กๆ คิดว่า 5. กระดาษสี 2. การเก็ บ ของให้
แล้วได้ สรรค์สิ่งสวยงาม อุปกรณ์เหล่านี้ สามารถนาไปทาอะไรได้บ้าง” เข้ า ที่ เ มื่ อ ใช้ เ สร็ จ
ด้านสังคม 3. ครูและเด็กร่วมกันสาธิตขั้นตอนการทา ดังนี้ แล้ว
3. ก า ร เ ล่ น แ ล ะ ก า ร - ระบายสีไม้ไอติมให้สวยงามตามอิสระ
ทางานร่วมกับผู้อื่น - ใช้กาวติดไม้ไอติมให้เป็นรูปสี่เหลี่ยม และใช้อีก 1 ไม้
ด้านสติปัญญา ติดด้านหลังเพื่อเป็นตัวตั้งกรอบรูป
4. การแสดงความคิ ด - นารูปภาพมาติดในกรอบสี่เหลี่ยม
สร้ า งสรรค์ ผ่ า นสื่ อ วั ส ดุ - ตกแต่งให้สวยงาม
ต่างๆ 4. ครูแจกอุปกรณ์ให้กับเด็กๆ
5. ครูและเด็กร่วมกันปฏิบัติ
ขั้นสรุป
6. เด็กๆ ออกมานาเสนอผลงานของตนเอง

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม ศิลปะสร้างสรรค์ (วันศุกร์)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
1. เด็กบิดลูกโป่งจาก บิ ด ลู ก โป่ ง จากการฟั ง ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. ลูกโป่ง จากการสังเกต คณิตศาสตร์
การฟังนิทาน เล่าไป นิทาน 1. การเขี ย นภาพและ 1. ครูแนะนาอุปกรณ์ ดังนี้ ลูกโป่ง และสีเมจิก 2. สีเมจิก 1. กา ร บิ ด ลู ก โ ป่ ง วิทยาศาสตร์
บิดไปได้ การเล่นกับสี ขั้นสอน จากการฟั ง นิ ท าน ภาษา
2. เด็ ก ตอบค าถาม ด้านอารมณ์-จิตใจ 2. ครูใช้คาถามเพื่อกระตุ้นความคิดเด็กว่า “เด็กๆ คิดว่า เล่าไปบิดไป
จากนิทานได้ 2. การชื่นชมและสร้าง อุปกรณ์เหล่านี้ สามารถนาไปทาอะไรได้บ้าง” 2. การตอบค าถาม
สรรค์สิ่งสวยงาม 3. ครูแจกอุปกรณ์ให้เด็กๆ จากนิทาน
ด้านสังคม 4. ครูและเด็กร่วมกันเล่านิทานเล่าไปบิดไป
3. ก า ร เ ล่ น แ ล ะ ก า ร 5. เด็กๆ ตกแต่งผลงานของตนเอง
ทางานร่วมกับผู้อื่น ขั้นสรุป
ด้านสติปัญญา 6. ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับนิทาน และผลงาน
4. การแสดงความคิ ด ของตนเอง
สร้ า งสรรค์ ผ่ า นสื่ อ วั ส ดุ
ต่างๆ
5. ก า ร ฟั ง เ รื่ อ ง ร า ว
นิทาน คาคล้องจอง คา
กลอน

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม กลางแจ้ง (วันจันทร์)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
1. เด็ ก เคลื่ อ นไหว วิ่งเปรี้ยว ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. กรวย จากการสังเกต คณิตศาสตร์
อย่างคล่องแคล่วได้ 1. การเคลื่อนไหวอยู่กับ 1. ครูและเด็กร่วมกันอบอุ่นร่างกาย 2. ผ้า 1. การเคลื่ อ นไหว วิทยาศาสตร์
2.เด็ ก เล่ น ร่ ว มกั บ ที่ แ ละการเคลื่ อ นไหว ขั้นสอน อย่างคล่องแคล่วได้
เพื่ อ นได้ ด้ ว ยความ เคลื่อนที่ 2. ครูและเด็กร่วมกันสาธิตกติกาการเล่น ดังนี้ 2. การเล่ น ร่ ว มกั บ
สนุกสนาน ด้านอารมณ์-จิตใจ - แบ่งเด็กออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กันต่อแถว เพื่ อ นได้ ด้ ว ยความ
3. เด็ ก ปฏิ บั ติ ต าม 2. การเล่นในห้องเรีย น เป็นแนวยาว 2 ฝั่ง สนุกสนาน
กฎกติกาการเล่นได้ และนอกห้องเรียน - เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณให้ผู้เล่นคนที่ 1 ของทั้งสอง 3. การปฏิ บั ติ ต าม
ด้านสังคม ฝ่ายเริ่มวิ่งจากจุดเริ่มต้น วิ่งอ้อมกรวยของอีกฝ่าย แล้ว กฎกติกาการเล่นได้
3. ก า ร เ ล่ น แ ล ะ ก า ร วิ่งกลับมาฝั่งตนเองเพื่อจะสั่งผ้าให้ผู้เล่นคนถัดไป
ทางานร่วมกับผู้อื่น - เมื่ อ มี ผู้ เ ล่ น ฝ่ า ยใดฝ่ า ยหนึ่ งวิ่ งทั น ผู้ เ ล่ น อี ก อี ก ฝ่ า ย
ด้านสติปัญญา และใช้ผ้าตีผู้เล่นที่โดนตี ถือว่าเป็นฝ่ายแพ้
4. การเริ่ มต้ นและหยุ ด 3. เด็กๆ ร่วมกันทากิจกรรม
การกระทาโดยสัญญาณ ขั้นสรุป
4. ครูและเด็กร่วมกันผ่อนคลายกล้ามเนื้อและล้างมือให้
สะอาด

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม กลางแจ้ง (วันอังคาร)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
1. เด็ ก เคลื่ อ นไหว โยนรับลูกบอล ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. ลูกบอล จากการสังเกต คณิตศาสตร์
อย่างคล่องแคล่วได้ 1. การเคลื่อนไหวอยู่กับ 1. ครูและเด็กร่วมกันอบอุ่นร่างกาย 2. กรวย 1. การเคลื่ อ นไหว วิทยาศาสตร์
2.เด็ ก เล่ น ร่ ว มกั บ ที่ แ ละการเคลื่ อ นไหว ขั้นสอน อย่างคล่องแคล่ว พลศึกษา
เพื่ อ นได้ ด้ ว ยความ เคลื่อนที่ 2. ครูแนะนากติกาการเล่น โยนรับลูกบอล และร่วมกัน 2. การเล่ น ร่ ว มกั บ
สนุกสนาน ด้านอารมณ์-จิตใจ สาธิตการเล่น ดังนี้ เพื่ อ นได้ ด้ ว ยความ
3. เด็ ก ปฏิ บั ติ ต าม 2. การเล่นในห้องเรีย น - แบ่งผู้เล่นเป็น 2 ฝ่ายเท่าๆ กันยืนเข้าแถวตอนลึก สนุกสนาน
กฎกติกาการเล่นได้ และนอกห้องเรียน แล้วยืนตรงข้ามกัน 3. การปฏิ บั ติ ต าม
ด้านสังคม - ให้ผู้เล่นคนแรกของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ถือลูกบอล กฎกติกาการเล่น
3. ก า ร เ ล่ น แ ล ะ ก า ร แล้วโยนให้ผู้เล่นฝั่งตรงข้ ามรับ ผู้ที่โยนวิ่งไปอยู่หลังสุด
ทางานร่วมกับผู้อื่น ของแถวตนเอง
ด้านสติปัญญา - สลับกันโยนจนครบทุกคนโดยพยายามไม่ให้ลูกบอล
4. การเริ่ มต้ นและหยุ ด ตกลงพื้น
การกระทาโดยสัญญาณ ขั้นสรุป
3. ครูและเด็กร่วมกันพูดคุยเกี่ยวกับกิจกรรม
4. เด็กๆ ล้างมือ ล้างหน้า ชาระร่างกาย

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม กลางแจ้ง (วันพุธ)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
1. เด็กเคลื่อนไหว เกมประคองบอล ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. ลูกบอล จากการสังเกต คณิตศาสตร์
ร่างกายอย่าง 1. การเคลื่อนไหวอยู่กับ 1. ครูและเด็กร่วมกันอบอุ่นร่างกาย 2. กรวย 1. การเคลื่ อ นไหว วิทยาศาสตร์
คล่องแคล่วได้ ที่และการเคลื่อนไหว ขั้นสอน ร่ า ง ก า ย อ ย่ า ง พลศึกษา
2.เด็กเล่นร่วมกับ เคลื่อนที่ 2. ครูแนะนากติกาการเล่นเกมประคอง และร่วมกัน คล่องแคล่ว
เพื่อนได้ด้วยความ ด้านอารมณ์-จิตใจ สาธิตการเล่น ดังนี้ 2. การเล่ น ร่ ว มกั บ
สนุกสนาน 2. การเล่นในห้องเรียน - แบ่งเด็กออกเป็น 2 กลุ่ม เท่าๆ กัน เข้าแถวตอนลึก เพื่ อ นได้ ด้ ว ยความ
3. เด็กปฏิบัตติ าม และนอกห้องเรียน กลุ่มละ 2 แถวหันหน้าเข้าหากันในกลุ่ม สนุกสนาน
กฎกติกาการเล่นได้ ด้านสังคม - ใช้ตัวของผู้เล่นประคองบอลโดยไม่ใช้มือไปยังเส้นชัย 3. การปฏิ บั ติ ต าม
3. การเล่นและการ - แข่งกันทีละคู่ กฎกติกาการเล่น
ทางานร่วมกับผู้อื่น ขั้นสรุป
ด้านสติปัญญา 3. ครูพูดคุยเกี่ยวกับกิจกรรม
4. การเริ่มต้นและหยุด 4. เด็กๆ ล้างมือ ล้างหน้า ชาระร่างกาย
การกระทาโดยสัญญาณ

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม กลางแจ้ง (วันพฤหัสบดี)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
1. เด็ ก เคลื่ อ นไหว กาฟักไข่ ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. ใบไม้ จากการสังเกต คณิตศาสตร์
ร่ า ง ก า ย อ ย่ า ง 1. การเคลื่อนไหวอยู่กับ 1. ครูและเด็กร่วมกันอบอุ่นร่างกาย 2. วงกลม 1. การเคลื่ อ นไหว
คล่องแคล่วได้ ที่ แ ละการเคลื่ อ นไหว ขั้นสอน ร่ า ง ก า ย อ ย่ า ง
2. เด็ ก เล่ น ร่ ว มกั บ เคลื่อนที่ 2. ครูแนะนากติกาการเล่น กาฟักไข่ และร่วมกันสาธิต คล่องแคล่ว
เพื่ อ นได้ ด้ ว ยความ ด้านอารมณ์-จิตใจ การเล่น ดังนี้ 2. การเล่ น ร่ ว มกั บ
สนุกสนาน 2. การเล่นในห้องเรีย น - ครูขอตัวแทนเด็ก 1 คน ออกมาเป็นกาโดยผู้เล่นที่ เพื่ อ นได้ ด้ ว ยความ
3. เด็ ก ปฏิ บั ติ ต าม และนอกห้องเรียน เป็นกาจะอยู่ในวงกลมและเฝ้าไข่ไว้ โดยการนั่งยองๆ สนุกสนาน
กฎกติกาการเล่นได้ ด้านสังคม - เด็กๆ ที่ไม่ได้เป็นกาต้องแย่งไข่จากแม่กาโดยห้ามถูก 3. การปฏิ บั ติ ต าม
3. ก า ร เ ล่ น แ ล ะ ก า ร ตัวแม่กา ใครถูกตัวแม่กาถือว่าออกจากการเล่น กฎกติกาการเล่น
ทางานร่วมกับผู้อื่น - เด็กๆ ปฏิบัติตามที่ครูแนะนากติกา
ด้านสติปัญญา ขั้นสรุป
4. การเริ่ มต้ นและหยุ ด 3. ครูพูดคุยเกี่ยวกับกิจกรรม
การกระทาโดยสัญญาณ 4. เด็กๆ ล้างมือ ล้างหน้า ชาระร่างกาย

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม กลางแจ้ง (วันศุกร์)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
1. เด็ ก เคลื่ อ นไหว เกมรอดฮูลาฮุ๊บ ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. ฮูลาฮู๊บ จากการสังเกต คณิตศาสตร์
ร่ า ง ก า ย อ ย่ า ง 1. การเคลื่อนไหวอยู่กับ 1. ครูและเด็กร่วมกันอบอุ่นร่างกาย 1. การเคลื่ อ นไหว วิทยาศาสตร์
คล่องแคล่วได้ ที่ แ ละการเคลื่ อ นไหว ขั้นสอน ร่ า ง ก า ย อ ย่ า ง พลศึกษา
2.เด็ ก เล่ น ร่ ว มกั บ เคลื่อนที่ 2. ครูแนะนากติกาการเล่นเกมรอดฮูลาฮู๊บ และร่วมกัน คล่องแคล่ว
เพื่ อ นได้ ด้ ว ยความ ด้านอารมณ์-จิตใจ สาธิตการเล่น ดังนี้ 2. การเล่ น ร่ ว มกั บ
สนุกสนาน 2. การเล่นในห้องเรีย น - แบ่งเด็กเป็น 2 แถว ยืนเรียงหน้ากระดานจับมือกัน เพื่ อ นได้ ด้ ว ยความ
3. เด็ ก ปฏิ บั ติ ต าม และนอกห้องเรียน จากนั้นครูจะส่งฮูลาฮุ๊บให้คนแรกของแถวแต่ละแถว ให้ สนุกสนาน
กฎกติกาการเล่นได้ ด้านสังคม เด็กทาอย่างไรก็ได้ให้ส่งฮูลาฮุ๊บไปเรื่อยๆ จนถึงท้ายแถว 3. การปฏิ บั ติ ต าม
3. ก า ร เ ล่ น แ ล ะ ก า ร โดยไม่ให้มือหลุดจากกัน แถวไหนส่งถึงคนสุดท้ายก่อน กฎกติกาการเล่น
ทางานร่วมกับผู้อื่น เป็นฝ่ายชนะ
ด้านสติปัญญา ขั้นสรุป
4. การเริ่ มต้ นและหยุ ด 3. ครูพูดคุยเกี่ยวกับกิจกรรม
การกระทาโดยสัญญาณ 4. เด็กๆ ล้างมือ ล้างหน้า ชาระร่างกาย

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เกมการศึกษา (วันจันทร์)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
1. เด็ ก ปฏิ บั ติ ต าม เกมภาพตัดต่อ ด้านร่างกาย ขั้นนา ภาพตัดต่อ จากการสังเกต คณิตศาสตร์
ข้ อ ตกลงในการท า 1.การต่อของ บรรจุ เท 1. ครูและเด็กๆ สร้างข้อตกลงร่วมกันในการทากิจกรรม 1. การปฏิ บั ติ ต าม
กิจกรรมได้ และแยกชิ้นส่วน ขั้นสอน ข้ อ ตกลงในการท า
2. เด็ ก เล่ น ภาพตั ด ด้านอารมณ์-จิตใจ 2. ครูและเด็กร่วมกันอธิบายการเล่นเกมการศึกษาภาพ กิจกรรม
ต่อได้ 2. การเล่ น รายบุ ค คล ตัดต่อพร้อมสาธิตวิธีการเล่นเกม 2. การเล่ น ภาพตั ด
3. เด็ ก ท ากิ จ กรรม และการเล่นรายกลุ่ม 3. ครูและเด็กร่วมกันเล่นเกมภาพตัดต่อ ต่อ
ร่วมกับผู้อื่นได้ ด้านสังคม ขั้นสรุป 3. การท ากิ จ กรรม
3. การแก้ ปัญ หาในการ 4. ครูและเด็กร่วมกันเก็บของให้เข้าที่ ร่วมกับผู้อื่น
เล่น
ด้านสติปัญญา
4. การรู้ จั ก สิ่ งต่ า งๆด้ ว ย
การมอง ฟัง สัมผัส ชิมรส
และดมกลิ่น

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เกมการศึกษา (วันอังคาร)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
เรียนรู้
1. เด็ ก ปฏิ บั ติ ต าม เกมโดมิโน ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. เกมโดมิโน จากการสังเกต คณิตศาสตร์
ข้ อ ตกลงในการท า 1.การต่อของ บรรจุ เท 1. ครู แ ละเด็ ก ๆ สร้ า งข้ อ ตกลงร่ ว มกั น ในการท า 1. การปฏิ บั ติ ต าม
กิจกรรมได้ และแยกชิ้นส่วน กิจกรรม ข้ อ ตกลงในการท า
2. เ ด็ ก เ ล่ น เ ก ม ด้านอารมณ์-จิตใจ ขั้นสอน กิจกรรม
โดมิโนได้ 2. การเล่ น รายบุ ค คล 2. ครูและเด็กร่วมกันอธิบายการเล่นเกมการศึกษา 2. ก า ร เ ล่ น เ ก ม
3. เด็ ก ท ากิ จ กรรม และการเล่นรายกลุ่ม โดมิโนพร้อมสาธิตวิธีการเล่นเกม โดมิโน
ร่วมกับผู้อื่นได้ ด้านสังคม 3. เด็ ก เล่ น เกมโดมิ โ นโดยครู ค อยดู แ ลและให้ 3. การท ากิ จ กรรม
3. การแก้ปัญหาในการ คาแนะนา ร่วมกับผู้อื่นได้
เล่น ขั้นสรุป
ด้านสติปญ ั ญา 4. เด็กเก็บเกมโดมิโนเข้าที่ให้เรียบร้อย
4. การรู้จักสิ่งต่างๆ ด้วย
การมอง ฟัง สัมผัส ชิมรส
และดมกลิ่น

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เกมการศึกษา (วันพุธ)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการ การบูรณา
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
เรียนรู้ การ
1. เด็กจับคู่ภาพ เกมจับคู่ภาพและเงา ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. จับคู่ภาพและเงา จากการสังเกต คณิตศาสตร์
และเงาได้ 1.การต่อของ บรรจุ เท 1. ครูและเด็กๆ สร้างข้อตกลงร่วมกันในการทา 1. การจับคู่ภาพและ
2. เด็กเล่นร่วมกับ และแยกชิ้นส่วน กิจกรรม เงา
ผู้อื่นได้ ด้านอารมณ์-จิตใจ ขั้นสอน 2. การเล่นร่วมกับ
2. การเล่นรายบุคคล 2. ครูแนะนาเกมการศึกษาจับคูภ่ าพและเงา ผู้อื่นได้
และการเล่นรายกลุ่ม โดยให้เด็กๆ จับคู่ภาพและเงา
ด้านสังคม 3. เด็กเล่นเกมการศึกษาจับคู่ภาพและเงาโดยครูคอย
3. การแก้ปัญหาในการ ดูแลและให้คาแนะนา
เล่น ขั้นสรุป
ด้านสติปัญญา 4. เด็กเก็บเกมการศึกษาจับคูภ่ าพและเงา เข้าที่ให้
4. การรู้จักสิ่งต่างๆด้วย เรียบร้อย
การมอง ฟัง สัมผัส ชิมรส
และดมกลิ่น

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เกมการศึกษา (วันพฤหัสบดี)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการ การบูรณา
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
เรียนรู้ การ
1. เด็กจับคู่ เกมจับคู่ภาพเหมือน ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. จับคู่ภาพเหมือน จากการสังเกต คณิตศาสตร์
ภาพเหมือนได้ 1.การต่อของ บรรจุ เท 1. ครูและเด็กๆ สร้างข้อตกลงร่วมกันในการทา 1. การจับคู่
2. เด็กเล่นร่วมกับ และแยกชิ้นส่วน กิจกรรม ภาพเหมือน
ผู้อื่นได้ ด้านอารมณ์-จิตใจ ขั้นสอน 2. การเล่นร่วมกับ
2. การเล่นรายบุคคล 2. ครูแนะนาเกมการศึกษาจับคูภ่ าพเหมือน ผู้อื่น
และการเล่นรายกลุ่ม 3. เด็กเล่นเกมการศึกษาจับคู่ภาพเหมือนโดยครูคอย
ด้านสังคม ดูแลและให้คาแนะนา
3. การแก้ปัญหาในการ ขั้นสรุป
เล่น 4. เด็กเก็บเกมการศึกษาจับคูภ่ าพเหมือน เข้าที่ให้
ด้านสติปัญญา เรียบร้อย
4. การรู้จักสิ่งต่างๆด้วย
การมอง ฟัง สัมผัส ชิมรส
และดมกลิ่น

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เกมการศึกษา (วันศุกร์)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการ การบูรณาการ
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
เรียนรู้
1. เด็ ก ปฏิ บั ติ ต าม เกมโดมิโน ด้านร่างกาย ขั้นนา 1. เกมโดมิโนภาพสี จากการสังเกต คณิตศาสตร์
ข้ อ ตกลงในการท า 1.การต่อของ บรรจุ เท 1. ครู แ ละเด็ ก ๆ สร้ า งข้ อ ตกลงร่ ว มกั น ในการท า 1. การปฏิ บั ติ ต าม
กิจกรรมได้ และแยกชิ้นส่วน กิจกรรม ข้ อ ตกลงในการท า
2. เ ด็ ก เ ล่ น เ ก ม ด้านอารมณ์-จิตใจ ขั้นสอน กิจกรรม
โดมิโนได้ 2. การเล่ น รายบุ ค คล 2. ครูและเด็กร่วมกันอธิบายการเล่นเกมการศึกษา 2. ก า ร เ ล่ น เ ก ม
3. เด็ ก ท ากิ จ กรรม และการเล่นรายกลุ่ม โดมิโนพร้อมสาธิตวิธีการเล่นเกม โดมิโน
ร่วมกับผู้อื่นได้ ด้านสังคม 3. เด็ ก เล่ น เกมโดมิ โ นโดยครู ค อยดู แ ลและให้ 3. การท ากิ จ กรรม
3. การแก้ปัญหาในการ คาแนะนา ร่วมกับผู้อื่นได้
เล่น ขั้นสรุป
ด้านสติปัญญา 4. เด็กเก็บเกมโดมิโนเข้าที่ให้เรียบร้อย
4. การรู้จักสิ่งต่างๆ ด้วย
การมอง ฟัง สัมผัส ชิมรส
และดมกลิ่น

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เสรี (วันจันทร์)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการ การบูรณา
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
เรียนรู้ การ
1. เด็กเลือกเล่นตาม ก า ร เ ล่ น ต า ม มุ ม ด้านร่างกาย ขั้นนา มุมประสบการณ์ จากการสังเกต คณิตศาสตร์
มุ ม ต่ า งๆ ได้ ด้ ว ย ประสบการณ์ 1.การต่อของ บรรจุ เท 1. เด็กและครู ร่วมกันตกลงในการเล่นตามมุมต่างๆ 1. เด็ ก สามารถเลื อ ก สังคมศึกษา
ตนเอง และแยกชิ้นส่วน ในห้องเรียน เล่ น ตามมุ ม ต่ า งๆ ได้
2. เด็กร่วมกิจกรรม ด้านอารมณ์-จิตใจ ขั้นสอน ด้วยตนเอง
กับผู้อื่นได้ 2. การเล่นอิสระ 2. ครูแนะนาวิธีการเล่นที่ถูกต้องและปลอดภัย เด็ก 2. เด็ ก สามารถร่ ว ม
3. เด็กเก็บ ของเล่ น ด้านสังคม เลือกเล่นตามมุมต่างๆ ตามความสนใจของตนเอง กิจกรรมกับผู้อื่นได้
เข้าที่ได้ 3. การมี โ อกาสได้ รั บ รู้ 3. ครูคอยดูแลและแนะนาเด็ก ขณะที่เด็กเล่นตามมุม 3. เด็ ก สามารถเก็ บ
ความรู้ สึ ก ความสนใจ ต่ า งๆ อย่ า งมี ร ะเบี ย บ ครู ก ระตุ้ น ให้ เ ด็ ก คิ ด แก้ ไ ข ของเล่นเข้าที่ได้
และความต้อ งการของ ปัญหาเมื่อเกิดปัญหาในการเล่น
ตนเองและผู้อื่น 4. ครูให้สัญญาณหมดเวลาในการเล่น เด็กช่วยกันเก็บ
ด้านสติปัญญา ของเล่นที่ให้เรียบร้อย
4. การรู้ จัก สิ่งต่ างๆด้ว ย ขั้นสรุป
การมอง ฟัง สัมผัส ชิมรส 5. เด็ ก และครู ส รุ ป การเล่ น ตามมุ ม ต่ า งๆ และการ
และดมกลิ่น ปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่น

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เสรี (วันอังคาร)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการ การบูรณา
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
เรียนรู้ การ
1. เด็กปฏิบัตติ าม การเล่นตามมุม ด้านร่างกาย ขั้นนา มุมประสบการณ์ จากการสังเกต คณิตศาสตร์
ข้อตกลงได้ ประสบการณ์ 1.การต่อของ บรรจุ เท 1. เด็กและครูร่วมกันตกลงในการเล่นตามมุมต่างๆ 1. เด็กสามารถปฏิบตั ิ สังคมศึกษา
2. เด็กร่วมกิจกรรม และแยกชิ้นส่วน ในห้องเรียน ตามข้อตกลงได้
กับผู้อื่นได้ ด้านอารมณ์-จิตใจ ขั้นสอน 2. เด็กสามารถร่วม
3. เด็กเก็บของเล่น 2. การเล่นอิสระ 2. ครูแนะนาวิธีการเล่นที่ถูกต้องและปลอดภัย เด็ก กิจกรรมกับผู้อื่นได้
เข้าที่ได้ ด้านสังคม เลือกเล่นตามมุมต่างๆ ตามความสนใจของตนเอง 3. เด็กสามารถเก็บ
3. การมีโอกาสได้รับรู้ 3. ครูคอยดูแลและแนะนาเด็ก ขณะที่เด็กเล่นตามมุม ของเล่นเข้าที่ได้
ความรูส้ ึก ความสนใจ ต่าง ๆ อย่างมีระเบียบ ครูกระตุ้นให้เด็กคิด แก้ไข
และความต้องการของ ปัญหาเมื่อเกิดปัญหาในการเล่น
ตนเองและผู้อื่น 4. ครูให้สัญญาณหมดเวลาในการเล่น เด็กช่วยกันเก็บ
ด้านสติปัญญา ของเล่นที่ให้เรียบร้อย
4. การรู้จักสิ่งต่างๆด้วย ขั้นสรุป
การมอง ฟัง สัมผัส ชิมรส 5. เด็กและครูสรุปการเล่นตามมุมต่างๆ และการ
และดมกลิ่น ปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่น

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เสรี (วันพุธ)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการ การบูรณา
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
เรียนรู้ การ
1. เด็กเลือกเล่นตาม การเล่นตามมุม ด้านร่างกาย ขั้นนา มุมประสบการณ์ จากการสังเกต คณิตศาสตร์
มุมต่างๆ ได้ด้วย ประสบการณ์ 1.การต่อของ บรรจุ เท 1. เด็กและครูร่วมกันตกลงในการเล่นตามมุมต่างๆ 1. เด็กสามารถเลือก สังคมศึกษา
ตนเอง และแยกชิ้นส่วน ในห้องเรียน เล่นตามมุมต่างๆ ได้
2. เด็กร่วมกิจกรรม ด้านอารมณ์-จิตใจ ขั้นสอน ด้วยตนเอง
กับผู้อื่นได้ 2. การเล่นอิสระ 2. ครูแนะนาวิธีการเล่นที่ถูกต้องและปลอดภัย เด็ก 2. เด็กสามารถร่วม
3. เด็กเก็บของเล่น ด้านสังคม เลือกเล่นตามมุมต่างๆ ตามความสนใจของตนเอง กิจกรรมกับผู้อื่นได้
เข้าที่ได้ 3. การมีโอกาสได้รับรู้ 3. ครูคอยดูแลและแนะนาเด็ก ขณะที่เด็กเล่นตามมุม 3. เด็กสามารถเก็บ
ความรูส้ ึก ความสนใจ ต่าง ๆ อย่างมีระเบียบ ครูกระตุ้นให้เด็กคิด แก้ไข ของเล่นเข้าที่ได้
และความต้องการของ ปัญหาเมื่อเกิดปัญหาในการเล่น
ตนเองและผู้อื่น 4. ครูให้สัญญาณหมดเวลาในการเล่น เด็กช่วยกันเก็บ
ด้านสติปัญญา ของเล่นที่ให้เรียบร้อย
4. การรู้จักสิ่งต่างๆด้วย ขั้นสรุป
การมอง ฟัง สัมผัส ชิมรส 5. เด็กและครูสรุปการเล่นตามมุมต่างๆ และการ
และดมกลิ่น ปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่น

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เสรี (วันพฤหัสบดี)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการ การบูรณา
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
เรียนรู้ การ
1. เด็กปฏิบัตติ าม การเล่นตามมุม ด้านร่างกาย ขั้นนา มุมประสบการณ์ จากการสังเกต คณิตศาสตร์
ข้อตกลงได้ ประสบการณ์ 1.การต่อของ บรรจุ เท 1. เด็กและครูร่วมกันตกลงในการเล่นตามมุมต่างๆ 1. เด็กสามารถปฏิบตั ิ สังคมศึกษา
2. เด็กร่วมกิจกรรม และแยกชิ้นส่วน ในห้องเรียน ตามข้อตกลงได้
กับผู้อื่นได้ ด้านอารมณ์-จิตใจ ขั้นสอน 2. เด็กสามารถร่วม
3. เด็กเก็บของเล่น 2. การเล่นอิสระ 2. ครูแนะนาวิธีการเล่นที่ถูกต้องและปลอดภัย เด็ก กิจกรรมกับผู้อื่นได้
เข้าทีไ่ ด้ ด้านสังคม เลือกเล่นตามมุมต่างๆ ตามความสนใจของตนเอง 3. เด็กสามารถเก็บ
3. การมีโอกาสได้รับรู้ 3. ครูคอยดูแลและแนะนาเด็ก ขณะที่เด็กเล่นตามมุม ของเล่นเข้าที่ได้
ความรูส้ ึก ความสนใจ ต่าง ๆ อย่างมีระเบียบ ครูกระตุ้นให้เด็กคิด แก้ไข
และความต้องการของ ปัญหาเมื่อเกิดปัญหาในการเล่น
ตนเองและผู้อื่น 4. ครูให้สัญญาณหมดเวลาในการเล่น เด็กช่วยกันเก็บ
ด้านสติปัญญา ของเล่นที่ให้เรียบร้อย
4. การรู้จักสิ่งต่างๆด้วย ขั้นสรุป
การมอง ฟัง สัมผัส ชิมรส 5. เด็กและครูสรุปการเล่นตามมุมต่างๆ และการ
และดมกลิ่น ปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่น

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2 กิจกรรม เสรี (วันศุกร์)

สาระการเรียนรู้ การวัดและ
วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการ การบูรณา
สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ การประเมินผล
เรียนรู้ การ
1. เด็กเลือกเล่นตาม การเล่นตามมุม ด้านร่างกาย ขั้นนา มุมประสบการณ์ จากการสังเกต คณิตศาสตร์
มุมต่างๆ ได้ด้วย ประสบการณ์ 1.การต่อของ บรรจุ เท 1. เด็กและครูร่วมกันตกลงในการเล่นตามมุมต่างๆ 1. เด็กสามารถเลือก สังคมศึกษา
ตนเอง และแยกชิ้นส่วน ในห้องเรียน เล่นตามมุมต่างๆ ได้
2. เด็กร่วมกิจกรรม ด้านอารมณ์-จิตใจ ขั้นสอน ด้วยตนเอง
กับผู้อื่นได้ 2. การเล่นอิสระ 2. ครูแนะนาวิธีการเล่นที่ถูกต้องและปลอดภัย เด็ก 2. เด็กสามารถร่วม
3. เด็กเก็บของเล่น ด้านสังคม เลือกเล่นตามมุมต่างๆ ตามความสนใจของตนเอง กิจกรรมกับผู้อื่นได้
เข้าที่ได้ 3. การมีโอกาสได้รับรู้ 3. ครูคอยดูแลและแนะนาเด็ก ขณะที่เด็กเล่นตามมุม 3. เด็กสามารถเก็บ
ความรูส้ ึก ความสนใจ ต่าง ๆ อย่างมีระเบียบ ครูกระตุ้นให้เด็กคิด แก้ไข ของเล่นเข้าที่ได้
และความต้องการของ ปัญหาเมื่อเกิดปัญหาในการเล่น
ตนเองและผู้อื่น 4. ครูให้สัญญาณหมดเวลาในการเล่น เด็กช่วยกันเก็บ
ด้านสติปัญญา ของเล่นที่ให้เรียบร้อย
4. การรู้จักสิ่งต่างๆด้วย ขั้นสรุป
การมอง ฟัง สัมผัส ชิมรส 5. เด็กและครูสรุปการเล่นตามมุมต่างๆ และการ
และดมกลิ่น ปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่น

การสะท้อนตนเองหลังการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7) เทคนิคการจัดกิจกรรม

เทคนิคการจัดกิจกรรม คาถามปลายเปิด (อย่างน้อย 3 – 5 คาถาม)

 นิทาน - เวลาอยู่กับผู้ใหญ่เราควรปฏิบัติตนอย่างไร
 เพลง - เราควรปฏิบัติตนกับผู้ที่มีอายุมากกว่าเราอย่างไร
 คาคล้องจอง - เมื่อเราเจอผู้ใหญ่เราควรทาอย่างไร
 ปริศนาคาทาย
 สนทนา
 ศึกษานอกสถานที่
 ลงมือปฏิบัติ
 ทดลอง
 สาธิต
 ทาแผนภูมิ
 เกม (ไม่เป็นการแข่งขัน)
 ประกอบอาหาร
 ศิลปะแบบร่วมมือ
 กิจกรรมสะท้อนภาษาธรรมชาติ
 ระดมความคิด
 การเรียนแบบร่วมมือ
 กิจกรรมกลุ่ม
ประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนเตรียมการจัดประสบการณ์หน่วย เรื่อง .................................................................................................................................................

ทาเครื่องหมาย ลงในช่องที่ต้องการ

ลาดับที่ รายการ ดีมาก (5) ดี (4) ปานกลาง (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
1 บรรลุวัตถุประสงค์
2 มีการดาเนินกิจกรรมตามแผนที่กาหนดไว้
3 ระยะเวลาเหมาะสมกับกิจกรรม
4 กิจกรรมเหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการการคิด
5 สื่อมีความหลากหลาย
6 สื่อมีประสิทธิภาพ
7 การประเมินผลสอดคล้องกับพัฒนาการเด็ก
ร้อยละของเด็กที่ประเมินผ่านวัตถุประสงค์ ระหว่าง ระหว่าง ระหว่าง ระหว่าง ต่ากว่า
80-100% 70-79% 60-69% 50-59% 49%

ประเมินหลังการสอน
ปัญหา ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………........ …………………………………………………………………………………………………………........
……………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………..
บทสะท้อนหน่วย เรื่อง……………………………………………................................................

เด็ก ครู ผู้ปกครอง

You might also like