You are on page 1of 4

-๒๖-

ใบความรู้ ลำดับที่ ๘

สาระการเรียนรู้
เรื่อง ภาษาพูด ภาษาเขียน

ภาษาพูด และ ภำษำเขียน เป็ นคำที่ใช้เรี ยกระดับของภำษำ มิได้มีควำมหมำยตรงตำมตัวอักษรว่ำ ภำที่ใช้สำหรับพูด


และภำษำที่ใช้สำหรับเขียน
ภำษำพูด หมำยถึง ภำษำระดับลำลองหรื อภำษำระดับไม่เป็ นทำงกำร
ภำษำเขียน หมำยถึง ภำษำระดับแบบแผนหรื อภำษำระดับทำงกำร ทั้งภำษำพูดและภำษำเขียนสำมำรถใช้สื่อสำรโดย
วิธีพดู หรื อโดยวิธีเขียนก็ได้ กล่ำวคือ เรำอำจพูดเป็ นภำษำเขียน หรื เขียนเป็ นภำษำพูดก็ได้ เช่น
ข้อควำมว่ำ แต่ ละบ้ านควรทาบัญชี ให้ ร้ ู ว่าเดือนนึงๆ มีรายรั บและรายจ่ ายเท่ าไหร่ เป็ นภำษำพูด
ข้อควำมเดียวกันนี้ ถ้ำเป็ นภำษำเขียนจะใช้วำ่ แต่ละครอบครัวควรทำบัญชีให้รู้วำ่ แต่ละเดือนมีรำยรับและรำยจ่ำย
เท่ำไร ข้อควำมนี้อำจใช้พดู หรื อใช้เขียนก็ได้
ตำมปรกติ เมื่อคนเรำพูด มักใช้ภำษำที่เป็ นทำงกำรน้อยกว่ำเมื่อเรำเขียนภำษำพูดแม้จะไม่เป็ นทำงกำรนักแต่กส็ ร้ำง
ควำมรู ้สึกเป็ นกันเองแก่ผอู ้ ่ำนหรื อผูฟ้ ัง ส่ วนภำษำเขียนมีลกั ษณะเป็ นทำงกำร จริ งจัง และสร้ำงควำมรู ้สึกเหินห่ำงแก่ผอู ้ ่ำน
หรื อผูฟ้ ัง ดังนั้น กำรจะเลือกใช้ภำษำพูดหรื อภำษำเขียน ผูใ้ ช้ภำษำต้องพิจำรณำสถำนกำรณ์ ควำมประสงค์ของผูใ้ ช้ภำษำ
สถำนภำพและระดับควำมสัมพันธ์กบั ผูอ้ ่ำนหรื อผูฟ้ ังเป็ นสำคัญ เมื่อพูดกับเพื่อน พูดกับพ่อแม่เขียนบันทึกไดอำรี่ เขียน
ข้อควำมสั้นๆ ฝำกให้พี่ ควรใช้ภำษำพูด แต่ถำ้ พูดรำยงำนหน้ำชั้นเรี ยน พูดในที่ประชุม กล่ำวสุนทรพจน์ พูดสัมภำษณ์เมื่อ
สมัครงำนหรื อเรี ยนต่อ เขียนจดหมำยถึงผูใ้ หญ่ เขียนข้อควำมสั้นๆ ถึงครู ควรใช้ภำษำเขียน
ในนิยำย เรื่ องสั้น หรื อนวนิยำย เมื่อตัวละครพูดคุยกัน ผูแ้ ต่งมักใช้ภำษำพูด และอำจเขียนเลียนตำมเสี ยงที่พดู เช่น
เขียนว่ำ รู ้ง้ ี ชั้นไปหำเค้ำที่บำ้ นซะดีกว่ำ แทนที่จะเขียนว่ำ รู ้อย่ำงนี้ฉนั ไปหำเขำที่บำ้ นเสี ยดีกว่ำ
เรื่ อง เพือ่ นกัน เป็ นเรื่ องสั้น ผูแ้ ต่ใช้ภำษำพูดอยูต่ ลอดเรื่ อง ภำษำพูดมีขอ้ ควรสังเกตดังนี้
๑. เป็ นภำษำที่ไม่ได้ตกแต่งเรี ยบเรี ยงขึ้นเป็ นพิเศษ เช่น
- ผมว่ำตอนนี้ปู่ชักจะพูดมำกไปสักหน่อย ภำษำที่ตกแต่งเรี ยบเรี ยงแล้ว อำจใช้วำ่ ผมคิดว่ำตอนนี้ปู่
ค่อนข้ำงจะพูดมำกเกินไป
- ไม่วำ่ ผมจะทำอะไร จะไปไหนมำไหน ภำษำที่ตกแต่งเรี ยบเรี ยงแล้ว อำจใช้วำ่ ไม่วำ่ ผมจะทำอะไร หรื อจะไปที่ไหน
- ปู่ หันขวับมำทำงผมทันทีแล้วส่ งเสี ยงดังใส่ ผม ภำษำที่ตกแต่งเรี ยบเรี ยงแล้ว อำจใช้วำ่ ปู่ หันมำทำงผม
ทันทีแล้วพูดกับผมด้วยเสี ยงอันดัง
-๒๗-
- นี่แหละครับ เป็ นตอนที่ผมไม่ชอบ ภำษำที่ตกแต่งเรี ยบเรี ยงแล้ว อำจะใช้คำว่ำ คำพูดอย่ำงนี้ ผมไม่ชอบ
ครับ
- ผมละหมัน่ ไส้ไอ้แจ้ของปู่ จริ งๆ ภำษำที่ตกแต่งเรี ยบเรี ยงแล้วอำจใช้วำ่ ผมรู ้สึกขวำงหูขวำงตำเจ้ำแจ้ของ
ปู่ มำก หรื อ ผมไม่ชอบเจ้ำแจ้ของปู่ เลย
- ผมเป็ นคนปั่นจักรยำนนะครับ มีปอุู่ ม้ ไอ้แจ้นงั่ ซ้อนท้ำย ภำษำที่ตกแต่งเรี ยบเรี ยงแล้ว อำจใช้วำ่ ผมเป็ น
คนขี่จกั รยำนให้ปอุู่ ม้ เจ้ำแจ้นงั่ ซ้อนท้ำย
๒. สำนวนที่ใช้ในภำษำพูดบำงสำนวน หรื อบำงส่ วนของสำนวน อำจตัดทิง้ ได้หำกเป็ นภำษำเขียน เช่น คำหรื อ
ข้อควำมที่พิมพ์ดว้ ยตัวเอนต่อไปนี้
- ไม่วำ่ ผมจะทำอะไร จะไปไหนมาไหน ปู่ เป็ นต้องถำมอยู่นนั่ แล้วว่ำผมจะไปไหน
- ผมออกจะรำคำญๆ อยู่
-ห้ำมเอำเปลือกอะไรต่ อมิอะไร ทิ้งในถังขยะ
- คนอย่ำงผมน่ ะหรื อจะเอำตัวไปเทียบกับไก่ ไปอิจฉำไก่ ไม่ มีทางหรอกพ่ อ
๓. คำและสำนวนที่ใช้ใจภำษำพูดมักมีคำลงท้ำย ซึ่งแสดงควำมรู ้สึกเจตนำหรื อทัศนะบำงประกำร เช่น นะ น่ะ สิ ละ
คำลงท้ำยเหล่ำนี้จะไม่ปรำกฏในภำษำเขียนโดยเฉพำะอย่ำงยิง่ ในภำษำเขียนที่เป็ นคำอธิบำย หรื อคำบรรยำยทำงวิชำกำร
นอกจำกนี้ ในภำษำไทยยังมีคำลงท้ำยอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งแสดงควำมสุ ภำพในภำษำพูด เช่น
ครับ ขำ คะ ค่ะ จ๊ะ จ้ะ ฮะ และคำลงท้ำยอีกกลุ่มหนึ่งจัดเป็ นคำไม่สุภำพ เช่น ยะ ย่ะ วะ ว่ะ โว้ย คำลงท้ำยทั้ง ๒ กลุ่มนี้ก็
ไม่ปรำกฏในภำษำเขียนเช่นเดียวกัน
๔. ในภำษำพูด มีคำจำนวนหนึ่งมักออกเสี ยงไม่ตรงกับรู ปเขียน ได้แก่ คำที่มีควำมหมำยเป็ นคำถำม เช่น
หรื อ ออกเสี ยงว่ำ รึ , เหรอ, เรอะ
อย่ำงไร ออกเสี ยงว่ำ ยังไง, ไง
เท่ำไร ออกเสี ยงว่ำ เท่ำไหร่
เมื่อไร ออกเสี ยงว่ำ เมื่อไหร่
ไหม ออกเสี ยงว่ำ มั้ย, มะ
๕. คำสรรพนำมบำงคำ ก็มกั ออกเสี ยงไม่ตรงกับรู ปเขียน เช่น
ฉัน ออกเสี ยงว่ำ ชั้น
ผม ออกเสี ยงว่ำ พ้ม
เขำ ออกเสี ยงว่ำ เค้ำ
ดิฉนั ออกเสี ยงว่ำ ดิช้ นั , ดัน๊ , เดี๊ยน
-๒๘-
๖. นอกจำกนี้ยงั มีคำบำงคำที่มกั ออกเสี ยงไม่ตรงกับรู ปเขียน เช่น
อย่ำงนี้ ออกเสี ยงว่ำ ยังงี้, งี้
อย่ำงนั้น ออกเสี ยงว่ำ ยังงั้น, งั้น
สัก ออกเสี ยงว่ำ ซัก, ซะ
หนึ่ง ออกเสี ยงว่ำ นึง
คำเหล่ำนี้เป็ นคำที่ตอ้ งอ่ำนหรื อออกเสี ยงอย่ำงภำษำพูด แต่ในกำรเขียนต้องเขียนตำมรู ปเขียนที่กำหนดไว้ใน
พจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. ๒๕๔๒
ความแตกต่างระหว่ างภาษาพูดกับภาษาเขียน
เป็ นกำรยำกที่จะตัดสิ นว่ำ คำใดเป็ นภำษำพูด คำใดเป็ นภำษำเขียน ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั กำลเทศะในกำรใช้คำนั้นๆ บำง
คำก็ใช้เป็ นภำษำเขียนอย่ำงเดียว บำงคำก็ใช้พดู อย่ำงเดียว และบำงคำอยูต่ รงกลำงคืออำจเป็ นทั้งภำษำพูดและภำษำเขียนก็
ได้ ควำมแตกต่ำงระหว่ำงภำษำพูดกับภำษำเขียนพออธิบำยได้ดงั นี้
๑. ภำษำเขียนไม่ใช้ถอ้ ยคำหลำยคำที่เรำใช้ในภำษำพูดเท่ำนั้น เช่น เยอะแยะ โอ้โฮ จมไปเลยแย่ ฯลฯ
๒. ภำษำเขียนไม่มีสำนวนเปรี ยบเทียบหรื อคำสแลงที่ยงั ไม่เป็ นที่ยอมรับในภำษำเช่น ชักดำบ พลิกล็อค โดดร่ ม
๓. ภำษำเขียนมีกำรเรี ยบเรี ยงถ้อยคำที่สละสลวยชัดเจน ไม่ซ้ ำคำหรื อซ้ ำควำมโดยไม่จำเป็ น ในภำษำพูดอำจจะใช้ซ้ ำ
คำหรื อซ้ ำควำมได้ เช่น กำรพูดกลับไปกลับมำ เป็ นกำรย้ำคำหรื อเน้นข้อควำมนั้นๆ
๔. ภำษำเขียน เมื่อเขียนเสร็จเรี ยบร้อยแล้ว ผูเ้ ขียนไม่มีโอกำสแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ แต่ถำ้ เป็ นภำษำพูด ผูพ้ ดู มี
โอกำสชี้แจงแก้ไขในตอนท้ำยได้ นอกจำกนี้ยงั มีขอ้ แตกต่ำงระหว่ำงภำษำพูดและภำษำเขียนอีกหลำยประกำร คือ
๑) ภำษำเขียนใช้คำภำษำมำตรฐำน หรื อภำษำแบบแผน ซึ่งนิยมใช้เฉพำะในวงรำชกำรหรื อในข้อเขียนที่เป็ น
วิชำกำรทั้งหลำยมำกกว่ำภำษำพูด เช่น
ภำษำเขียน – ภำษำพูด ภำษำเขียน – ภำษำพูด ภำษำเขียน - ภำษำพูด
สุ นขั หมำ สุ กร หมู กระบือ ควำย
แพทย์ หมอ เครื่ องบิน เรื อบิน เพลิงไหม้ ไฟไหม้
ภำพยนตร์ หนัง รับประทำน ทำน,กิน ถึงแก่กรรม ตำย,เสี ย
ปวดศีรษะ ปวดหัว เงิน ตัง(สตำงค์) อย่ำงไร ยังไง
ขอบ้ำง ขอมัง่ กิโลกรัม,เมตร โล,กิโล ฯลฯ
๒) ภำษำพูดมักจะออกเสี ยงไม่ตรงกับภำษำเขียน คือ เขียนอย่ำงหนึ่งเวลำออกเสี ยงจะเพี้ยนเสี ยงไปเล็กน้อย
ส่ วนมำกจะเป็ นเสี ยงสระ เช่น
ภำษำเขียน – ภำษำพูด ภำษำเขียน – ภำษำพูด ภำษำเขียน - ภำษำพูด
ฉัน ชั้น เขำ เค้ำ ไหม ไม้(มั้ย)
เท่ำไร เท่ำไหร่ หรื อ หรอ,เร้อะ แมลงวัน แมงวัน
สะอำด ซำอำด มะละกอ มำลำกอ นี่ เนี่ยะ
-๒๙-

๓) ภำษำพูดสำมำรถแสดงอำรมณ์ของผูพ้ ดู ได้ดีกว่ำภำษำเขียน คือ มีกำรเน้นระดับเสี ยงของคำให้สูง-ต่ำ-สั้น-ยำว ได้


ตำมต้องกำร เช่น
ภำษำเขียน – ภำษำพูด ภำษำเขียน – ภำษำพูด ภำษำเขียน – ภำษำพูด
ตำย ต๊ำย บ้ำ บ๊ำ ใช่ ช่ำย
เปล่ำ ปล่ำว ไป ไป๊ หรื อ รึ (เร้อะ)
ลุง ลุง้ หรอก หร้อก มำ ม่ะ
๔) ภำษำพูดนิยมใช้คำช่วยพูดหรื อคำลงท้ำย เพื่อช่วยให้กำรพูดนั้นฟังสุ ภำพและไพเรำะยิง่ ขึ้น เช่น ไป
ไหนคะ ไปตลำดค่ ะ รี บไปเลอะ ไม่เป็ นไรหรอก นัง่ นิ่งๆ ซิจ๊ะ
๕) ภำษำพูดนิยมใช้คำซ้ ำ และคำซ้อนบำงชนิด เพื่อเน้นควำมหมำยของคำให้ชดั เจนยิง่ ขึ้น เช่น
คาซ้า ดี๊ดี เก๊ำเก่ำ ไปเปย อ่ำนเอิ่น ผ้ำห่มผ้ำเหิ่ ม กระจกกระเจิก อำหงอำหำร
คาซ้ อน มือไม้ ขำวจั้ะ ดำมิดหมี แข็งเป็ ก เดินเหิ น ทองหยอง
ระดับของภาษา
ภาษาพูด มีระดับต่ำง ๆ ดังนี้
๑. ระดับกันเอง คือ ภำษำพูดที่ไม่เคร่ งครัดในระเบียบของภำษำใช้สนทนำในชีวติ ประจำวันระหว่ำงคนใกล้ชิด
สนิทสนมกัน
๒. ระดับสนทนำ คือ ภำษำพูดที่ใช้สนทนำกับผูท้ ี่ไม่คนุ ้ เคย ต้องติดต่อกันตำมมำรยำททำงสังคม
๓. ระดับทำงกำร คือ ภำษำพูดที่ใช้สื่อสำรกับมวลชนหรื อสนทนำในกลุ่มใหญ่
๔. ระดับพิธีกำร คือ ภำษำพูดที่ใช้สื่อสำรในงำนพิธีกำร ใช้ภำษำระเบียบแบบแผน
ภาษาเขียน
๑. ภำษำเขียนอย่ำงไม่เป็ นทำงกำร คือ ภำษำที่ใช้ถ่ำยทอดอำรมณ์ของผูส้ ื่ อสำรเหมือนเสี ยงพูดของมนุษย์ที่
พูดสื่ อสำรกันในชีวติ จริ ง
๒. ภำษำเขียนอย่ำงเป็ นทำงกำร คือ ภำษำเขียนที่เป็ นกำรเขียนอย่ำงมีแบบแผน มีหลักในกำรเขียนใช้ภำษำสละสลวย
ลักษณะประโยคที่ใช้ ในภาษาพูดภาษาเขียน
ภาษาพูด ใช้ประโยคควำมเดียวหรื อประโยคควำมรวม ประโยคมักไม่สมบูรณ์
ภาษาเขียน เขียนตำมภำษำพูดที่พดู ในชีวติ ประจำวัน และเขียนโดยใช้ภำษำที่กลัน่ กรองอย่ำงละเมียดละไม

You might also like