You are on page 1of 9

DOI: 10.14456/mj-math.201x.

วารสารคณิตศาสตร์ MJ-MATh 63(694) Jan–Apr, 2018


โดย สมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
http://MathThai.Org MathThaiOrg@gmail.com

การประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์ในการหาความสูงของระดับ
ของเหลวในถังทรงกระบอกที่วางตัวในแนวนอน
Application of Mathematics for Determining the
Height of Water Level of Horizontal Cylinder Tank

วิศรุต คล้ายแจ้ง
Witsarut Kraychang

Faculty of Science, Chandrakasem Rajabhat University


Rachada Rd., Bangkok, 10900

Email: witsarut_popmath@hotmail.com

บทคัดย่อ
ในบทความนี้แสดงการหารูปแบบทัวไปของการหาระดั
่ บของเหลวในถังทรงกระบอก
ทีว่ างตัวในแนวนอนที่เหลือหลังจากถ่ายเทของเหลวไปยังถังแรงดัน เมื่อทราบปริมาตรของ
ของเหลวที่ถ่ายเท โดยใช้กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ แสดงผลเฉลยซึ่งมีค วามสัมพัน ธ์
ระหว่ า งปริม าตรและระดับ ความสู ง ของของเหลวที่เหลือ ในถัง ของเหลว ในการถ่ า ยเท
ของเหลวแต่ละครัง้ พบว่ามีความสัมพันธ์แบบเชิงเส้น
คาสาคัญ: ถังของเหลวทรงกระบอกทีว่ างตัวในแนวนอน ความสัมพันธ์แบบเชิงเส้น
ABSTRACT
This article shows the general form of water level of a horizontal cylinder tank

remaining after conveying water to pressure tank by using a mathematical processes. The

solution shows the linear relationship between the volume and the height of water in the water

tank.

Keywords: Horizontal Cylinder Tank, linear relationship

วารสารคณิตศาสตร์ MJ-MATh 63(694) Jan-Apr, 2018


7
1. บทนา แต่ในสถานการณ์ จริงในกรณี ไม่สามารถวาง
คณิ ตศาสตร์ ม ี ค วามส าคั ญ ส าหรับ การ ถั ง ของเห ลวใน แน วตั ้ง ได้ จึ ง ต้ อ งวางใน
แก้ปั ญ หาในงานเชิงวิศวกรรม หนึ่ งในปั ญ หา แนวนอนแสดงดัง รู ป ที่ 2 ท าให้ ก ารถ่ า ยเท
งานวิศวกรรมที่สาคัญต่อการนาไปประยุกต์กบั ของเหลวจากถังของเหลวไปยังถังแรงดัน ไม่
ปั ญ หาจริง คือ ปั ญ หาความสัม พัน ธ์ ร ะหว่ า ง สามารถคานวณระดับความสูงของของเหลวที่
ปริมาตรและระดับความสูงของของเหลว อยู่สูงจากพื้นได้โดยการคานวนพื้นฐาน จึงใช้
ปั ญ หาโดยทัว่ ไป ในการถ่ ายเทของเหลว แคลคูลสั มาช่วยในการแก้ปัญหาดังกล่าว
จากถังทรงกระบอกที่วางตัวในแนวตัง้ ไปยังถัง ถัง
ถัง
แรงดัน เป็ นขัน้ ตอนหนึ่ งในกระบวนการผลิต 2R V
ของงานทางด้ า นวิศ วกรรมที่ ต้ อ งการให้ ไ ด้
คุ ณ ภาพตามที่ ก าหนดไว้ หากของเหลวที่
ถัง
ถ่ายเทไปยังถังแรงดันไม่ได้ตรงตามที่กาหนด ของเ ถัง
จะท าให้ คุ ณ ภาพงานไม่ ไ ด้ ม าตรฐาน เมื่ อ H
3V
4 V
4
เริ่ม ต้น มีข องเหลวเต็ม ถัง ดัง รูป ที่ 1 ต้อ งการ
ถ่ า ยเทของเหลว V / 4 ไปยัง ถัง แรงดัน จะ รูป ที่ 2 การถ่ า ยเทของเหลวจากถัง ทรงกระบอกที่
เหลือของเหลวในถัง 3V / 4 สิง่ ที่ยืนยันได้ว่า วางตัวในแนวนอนไปยังถังแรงดันด้วยปริมาตร V / 4
ของเหลวที่ ถู ก ถ่ า ยเทไปยัง ถั ง แรงดั น ด้ ว ย
ปริม าตรของของเหลว V / 4 พิ จ ารณาจาก 2. ทฤษฎีบทพืน้ ฐาน
ระดับของเหลวของถังจะอยูท่ ร่ี ะดับ 3h / 4 ในการอธิ บ ายการหาพื้ น ที่ ห น้ า ตั ด และ
ปริมาตรของถัง เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่าง
ถัง ปริมาตรและระดับความสูงของของเหลวจะใช้
ถัง ทฤษฎีพ้ืน ฐานของแคลคูลสั ในการอธิบ ายซึ่ง
h
เกี่ย วข้อ งกับ การหาปริพ ัน ธ์ ข องฟั งก์ ช ัน บน
V

ขอบเขตทีใ่ ช้สาหรับหาพืน้ ทีห่ น้าตัด


ถัง
ทฤษฎี บท 1 ถ้า  คือ พื้น ที่แสดงดังรูปที่ 3
ถัง
3h
4
3V
4 ซึ่งถู ก ปิ ด ล้อ มด้วยขอบเขตล่ างที่ก าหนดโดย
V
4 ฟั งก์ชนั y  g1 ( x) และขอบเขตบนกาหนดโดย
ฟั งก์ชนั y  g ( x) เมื่อ a  x  b แล้วพื้นที่ม ี
2
รูป ที่ 1 การถ่ า ยเทของเหลวจากถัง ทรงกระบอกที่ ค่าเท่ากับ
วางตัวในแนวตัง้ ไปยังถังแรงดันด้วยปริมาตร V / 4 b g2 ( x )

1dA  


a g1 ( x )
1dydx

การประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์ในการหาความสูงของระดับของเหลวในถังทรงกระบอกที่
8
วางตัวในแนวนอน
DOI: 10.14456/mj-math.201x.x

ถัง
y  g 2 ( x)
ขอ ถังแรงดัน

H V  V1
V1
y  g1 ( x)
x
a b

รูป ที่ 3 พื้น ที่  ที่ถู ก ปิ ด ล้อ มด้ว ยกราฟ y  g1 ( x)


รูปที่ 5 การถ่ายเทของเหลวจากถังทีว่ างตัวในแนวนอน
V1 ลู ก บาศก์ ห น่ ว ย เริ่ม ต้ น มีป ริม าตร V ลู ก บาศก์
และ y  g ( x) เมือ่ a  x  b
2
หน่ วย ไปยังถังแรงดัน ทาให้ระดับของเหลวทีเ่ หลืออยู่
สูงจากพืน้ H หน่วย
3. ความสู ง ของระดั บ ของเหลวของถั ง
ทรงกระบอกที่วางตัวในแนวนอน
สม ม ติ ใ ห้ ถ ั ง ท รงก ระบ อก ที่ ว างตั ว ใน จากปั ญ หาข้ า งต้ น ต้ อ งการทราบว่ า
แ น ว น อ น มี ข อ ง เห ล ว บ ร ร จุ เต็ ม ถั ง V ของเหลวในถัง มีระดับของเหลวจะอยู่สูงจาก
ลูกบาศก์หน่วย ดังรูปที่ 4 ถังมีพน้ื ทีห่ น้าตัด A พื้นราบที่วางถังเท่าใด (หมายถึงระยะเท่ากับ
H ) เมื่อพิจารณาพื้น ที่ห น้ าตัดรูปวงกลมของ
ตารางหน่ ว ย เป็ นรูป วงกลมรัศ มี R หน่ ว ย
และความยาวของถัง h หน่วย ถังของเหลวทรงกระบอกทีว่ างตัวในแนวนอน

A 2R 2R
V
H

h รูป ที่ 6 พื้น ที่ห น้ าตัด ของถังของเหลวทรงกระบอกที่


วางตั ว ในแนวนอนที่ ม ี ร ัศ มี R ห น่ วยและระดั บ
รูปที่ 4 ถังของเหลวทรงกระบอกที่วางตัวในแนวนอน ของเหลวทีส่ งู จากพืน้ H หน่วย
ย าว h ห น่ วย มี ป ริ ม าต ร V ลู ก บ าศ ก์ ห น่ วย
พืน้ ทีห่ น้าตัดเป็ นรูปวงกลม A ตารางหน่ วย รัศมี R
เนื่องจากปริมาตรของของเหลวในถัง
หน่วย
V  V1    h  A
จะได้พน้ื ทีห่ น้าตัด
ต้องการถ่ายเทของเหลวจากถังไปยังถัง
V  V1
แรงดันเพื่อเข้าสู่กระบวนการทางวิศวกรรมใน A
h
การผลิตของผลิตภัณฑ์ เท่ากับ V ลูกบาศก์ 1

หน่ ว ย โดยที่ V  V ดัง รู ป ที่ 5 ปริม าตรที่


1

หายไป V ลูกบาศก์หน่ วย จะทาให้ของเหลว


1

ในถังคงเหลือ V  V ลูกบาศก์หน่วย 1

วารสารคณิตศาสตร์ MJ-MATh 63(694) Jan-Apr, 2018


9
y y  R  R sin   ,
dy
 R cos   ,
d
dy  R cos   d
2R
แทนในสมการ (1) จะได้
H

H A  2  R 2  R 2 sin 2    R cos    d
0
H
 2   R cos     R cos    d
0

x H

H
 2   R 2 cos 2    d
R 0
H

รูป ที่ 7 โดเมนในการหาปริพ นั ธ์ของรูป วงกลมที่เป็ น  2 R 2  cos 2   d


0
พืน้ ทีห่ น้าตัด มีสมการ H
cos  2   1
 2R2  d
0
2
x  R  R 2   y  R  , R  x  2R
2 H
R   cos  2   1 d
2

และ x  R  R2   y  R  ,0  x  R 2 0
yH
 sin  2  
 R2   
 2  y 0
พื้น ที่ ห น้ า ตัด สามารถหาได้ จ ากการหา
 R 2   sin   cos   
yH
(2)
ปริพนั ธ์ของ A   1dA y 0

เนื่ อ งจากสมการวงกลมแสดงดัง รูป ที่ 7 มีจุ ด


เนื่องจาก   arcsin  y  R  จะได้
ศูนย์กลาง ( R, R) รัศมี R หน่วย  R 

 x  R    y  R   R2 R2   y  R 
2 2 2
คือ sin   
yR
, cos   
R R
จัดรูปสมการวงกลมให้อยูใ่ นรูป x ในเทอมของ
แทนค่าในสมการ (2) จะได้
ตัวแปร y yH
  y  R 
จะได้ x  R  R2   y  R 
2
A  R 2 arcsin  
  R  y 0
H R  R  y  R 
2 2
yH
 
นันคื
่ อ A   1dA     y  R  R   y  R
2 2
1dxdy
 R 
2 

 
0 R  R2  y  R 2  R  R 
  y 0
x  R  R2  y  R 
2

H R R
H 2
 x dy  R 2 arcsin   
0 x  R  R2  y  R 
2
 R  2

 H  R  R   H  R
H
(1)
2
  2 R 2   y  R  dy
2 2

R  2

 R 
0
R
ใช้เทคนิคการหาปริพนั ธ์โดยการเปลีย่ นตัวแปร V  V1
เป็ นฟั งก์ชนั ตรีโกณมิติ โดยให้ จาก A  จะได้
h

การประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์ในการหาความสูงของระดับของเหลวในถังทรงกระบอกที่
10
วางตัวในแนวนอน
DOI: 10.14456/mj-math.201x.x

V  V1 H R R
 R 2 arcsin 
2
ลูกบาศก์เมตร ของเหลวควรจะอยู่สูงจากพื้น

h  R  2 เท่าใด
 H  R  R   H  R ถ่ายเทของเหลวรอบแรก 1.5 ลูกบาศก์เมตร
2 2

R 
2
 (3)
 R  R ของเหลวในถังของเหลวจะเหลือ
จากสมการ (3) สามารถหาความสูง H ที่อยู่ 8.8355  1.5  7.3355 ลูกบาศก์เมตร
ในรูปแบบความสัมพันธ์ของ V , H โดยที่
1 แทนค่าลงในสมการ (3) เพื่อหาความสูงของ
V คือ ปริมาตรของถังของเหลว ระดับของเหลว จะได้
V คือ ปริมาตรของของเหลวที่ถ่ายเทจากถัง
1 8.8355  1.5   H  0.75  
 (0.75) 2   arcsin  
ของเหลวไปยังถังแรงดัน 5  2  0.75  
R คือ รัศ มีข องวงกลมที่เป็ นหน้ า ตัด ของถัง  H  0.75  0.75   H  0.75 
2 2

(0.75)2  
ของเหลว  0.75  0.75
h คือ ความยาวของถังทีอ่ ยูใ่ นแนวนอน ดังนัน้ ความสูงของระดับของของเหลวอยู่
H คื อ ความสู ง ของระดับ ของเหลวที่ เ หลื อ สูงจากพืน้ H  1.1606 เมตร
หลังจากถ่ายเทไปยังถังแรงดัน ถ่ายเทของเหลวรอบสอง 1.5 ลูกบาศก์เมตร
ของเหลวในถังของเหลวจะเหลือ
4. ตัวอย่างของปัญหา 8.8355  3.0  5.8355 ลูกบาศก์เมตร
ถั ง ของเหลวทรงกระบอกที่ ว างตั ว ใน แทนค่าลงในสมการ (3) เพือ่ หาความสูงของ
แนวนอนมีค วามยาวของถัง h เป็ น 5 เมตร ระดับของเหลว จะได้
และ รัศมีของพื้นที่หน้าตัดที่เป็ นรูปวงกลม R 8.8355  3.0   H  0.75  
 (0.75) 2   arcsin  
5 2  0.75  
เป็ น 0.75 เมตร จะได้ พ้ื น ที่ ห น้ า ตัด ของถั ง
 H  0.75  0.75   H  0.75 
2 2
ของเหลว (0.75) 
2

 0.75  0.75
A   R2    0.75  1.7671
2
ตารางเมตร ดังนัน้ ความสูงของระดับของของเหลวอยูส่ งู
และจะได้ ป ริม าตรของถัง ของเหลวที่ บ รรจุ จากพืน้ H  0.9411 เมตร
ของเหลวเต็มถังเมือ่ เริม่ ต้น ถ่ายเทของเหลวรอบสาม 1.5 ลูกบาศก์เมตร
V  Ah  1.7671 5
ของเหลวในถังของเหลวจะเหลือ
 8.8355 เมตรลูกบาศก์ 8.8355  4.5  4.3355 ลูกบาศก์เมตร
ในทางวิศวกรรม จะถ่ายเทของเหลวจากถัง แทนค่าลงในสมการ (3) เพื่อหาความสูงของ
ของเหลวไปยังถังแรงดันแล้วเข้าสูก่ ระบวนการ ระดับของเหลว จะได้
ผลิต เพื่อ ให้ ไ ด้ ผ ลผลิต ที่ม ีคุ ณ ภาพตามที่ถู ก 8.8355  4.5   H  0.75  
 (0.75) 2   arcsin  
กาหนด จาเป็ นต้องตรวจสอบได้ว่าของเหลวที่ 5  2  0.75  
เข้าสูถ่ งั แรงดันถูกต้องตามทีก่ าหนด สามารถดู  H  0.75  0.75   H  0.75
2 2

(0.75)2  
ได้จากขีดระดับความสูงของของเหลวในถังที่  0.75  0.75
วางตัวในแนวนอน ว่าปริม าตรของเหลว 1.5

วารสารคณิตศาสตร์ MJ-MATh 63(694) Jan-Apr, 2018


11
ดังนั น้ ความสูงของระดับ ของของเหลวอยู่สูง
จากพืน้ H  0.7390 เมตร 1.1606 m.

ถ่ า ยเทของเหลวรอบสี ่ 1.5 ลู ก บาศก์ เ มตร 0.9411 m.


0.7390 m.
ข อ ง เ ห ล ว ใ น ถั ง ข อ ง เ ห ล ว จ ะ เ ห ลื อ 0.5361 m.

8.8355  6.0  2.8355 ลูกบาศก์เมตร แทนค่า 0.3128 m.

ลงในสมการ (3) เพื่ อ หาความสู ง ของระดับ


ของเหลว จะได้ รูปที่ 8 สเกลของระดับของเหลวในถังที่เหลือจากการ
8.8355  6.0   H  0.75   ถ่ า ยเทของเหลวไปยัง ถัง แรงดัน ทุ ก ๆ 1.5 ลู ก บาศก์
 (0.75) 2   arcsin  
5 2  0.75   เมตร
 H  0.75  0.75   H  0.75
2 2

(0.75) 
2

 0.75  0.75 ตารางที่ 1 แสดงความสัม พัน ธ์ระหว่า งปริม าตรของ
ดังนัน้ ความสูงของระดับของของเหลวอยูส่ งู ของเหลวที่ถู ก ถ่ า ยเทไปยัง ถัง แรงดัน กับ ระดับ ของ
จากพืน้ H  0.5361 เมตร ของเหลวทีเ่ หลือในถัง
ถ่ า ยเทของเหลวรอบห้ า 1.5 ลู ก บาศก์ เมตร ปริมาตรทีถ่ กู ถ่ายเท ระดับ ของเหลวที่ สู ง จาก
ของเหลวในถังของเหลวจะเหลือ (ลูกบาศก์เมตร) พื้ น ข อ งถั ง ข อ งเห ล ว ที่
วางตัวในแนวนอน (เมตร)
8.8355  7.5  1.3355 ลูกบาศก์เมตร แทนค่า
ลงในสมการ (3) เพื่ อ หาความสู ง ของระดับ 0.5 1.3411

ของเหลว จะได้ 1.0 1.2442

1.5 1.1606
8.8355  7.5   H  0.75  
 (0.75) 2   arcsin  
5  2  0.75   2.0 1.0837

 H  0.75  0.75   H  0.75 


2 2 2.5 1.0111
(0.75)2   3.0 0.9411
 0.75  0.75
ดังนั น้ ความสูงของระดับ ของของเหลวอยู่สูง 3.5 0.8729

จากพืน้ H  0.3128 เมตร 4.0 0.8057

4.5 0.7390
หลัง จากการถ่ า ยเทของเหลว 5 รอบ จะ
5.0 0.6722
เห ลื อ ข อ งเห ล ว ใน ถั ง ข อ งเห ล ว 1.3355
5.5 0.6048
ลูกบาศก์เมตร ซึ่งไม่สามารถถ่ายเทของเหลว
6.0 0.5361
ไปยังถังแรงดันได้อกี เนื่องจากต้องการถ่ายเท
6.5 0.4654
ของเหลวครัง้ ละ 1.5 ลูกบาศก์เมตร สามารถ 7.0 0.3915
สร้างสเกลทีบ่ อกระดับของเหลวทีเ่ หลือในถังใน 7.5 0.3128
การถ่ายเทของเหลวไปยังถังแรงดันรอบละ 1.5
ลูกบาศก์เมตร ดังรูปที่ 8

การประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์ในการหาความสูงของระดับของเหลวในถังทรงกระบอกที่
12
วางตัวในแนวนอน
DOI: 10.14456/mj-math.201x.x

5. ผลเฉลยในรูปของความสัมพันธ์เชิ งเส้น หาค่าคงที่ a0 , a1 จากความสัมพันธ์


ในหัวข้อนี้จะเสนอการประมาณผลเฉลยที่ 15

y i  a0 N  a1  xi
15
(4)
อยู่ ในรูป ความสัม พัน ธ์ร ะหว่ า งปริม าตรและ i 1
15
i 1
15 15

ความสูงของระดับของเหลวในถังทรงกระบอก และ  yi xi  a0  xi  a1  xi2 (5)


i 1 i 1 i 1
ที่ ว างตั ว ใน แ น ว น อ น ให้ อ ยู่ ใน รู ป แ บ บ 15 15
จะได้  xi  60 ,  yi  12.1822 ,
H  H (V ) จากข้อ มูล การถ่ า ยเทของเหลวใน i 1 i 1

แต่ ล ะรอบ พิจ ารณาความสัม พัน ธ์พ บว่า เมื่อ


15 15

y x i i  38.7932 และ  xi2  310


นามาเขียนกราฟจะได้ค วามสัม พัน ธ์แบบเชิง i 1 i 1

ดังนัน้ 12.1822  a0 (15)  a1 (60)


เส้น ซึ่งสามารถหาสมการที่แทนคู่อนั ดับนี้โดย
(6)
ระเบียบวิธกี ารประมาณค่าความสัมพันธ์แบบ
และ 38.7932  a (60)  a (310) (7)
สมการถดถอยด้วยวิธกี าลังสองน้อยทีส่ ดุ [3] 0 1

จะได้ a  1.3799 และ a  0.1419


สมมติให้ x แทนปริมาตรที่ถ่ายเทและ y 0 1

เพราะฉะนัน้ สมการความสัมพันธ์เชิงเส้นคือ
แทนระดับความสูงของของเหลวในถัง สามารถ y  1.3799  0.1419x (8)
เขียนในรูปสมการเชิงเส้นได้ดงั นี้
y  a0  a1 x เมือ่ a , a เป็ นค่าคงที่ 0 1

1.6

1.4
ระดับความสูงของของเหลวในถัง (เมตร)

1.2

0.8

0.6

0.4

0.2

0
0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 4.5 5 5.5 6 6.5 7 7.5
ปริมาตรที่ถกู ถ่ายเท (ลูกบาศก์เมตร)

รูปที่ 9 กราฟเส้นคู่อนั ดับของความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและระดับความสูงของของเหลวในถัง

วารสารคณิตศาสตร์ MJ-MATh 63(694) Jan-Apr, 2018


13
ตารางที่ 2 ตารางแสดงค่า xi , yi , xi yi และ xi2
xi yi xi yi xi2

0.5000 1.3411 0.6706 0.25000

1.0000 1.2442 1.2442 1.0000

1.5000 1.1606 1.7409 2.2500

2.0000 1.0837 2.1674 4.0000

2.5000 1.0111 2.5278 6.2500

3.0000 0.9411 2.8233 9.0000

3.5000 0.8729 3.0552 12.2500

4.0000 0.8057 3.2228 16.0000

4.5000 0.7390 3.3255 20.2500

5.0000 0.6722 3.3610 25.0000

5.5000 0.6048 3.3264 30.2500

6.0000 0.5361 3.2166 36.0000

6.5000 0.4654 3.0251 42.2500

7.0000 0.3915 2.7405 49.0000

7.5000 0.3128 2.3460 56.2500

เป็ นผลเฉลยทีอ่ ยูใ่ นรูปแบบทีเ่ ป็ นความสัมพันธ์ 15


Sr    yi  a0  a1 xi 
2

เชิงเส้นระหว่างปริมาตรที่ถูกถ่ายเทและระดับ i 1

ความสูงของของเหลวในถัง ทาการวิเคราะห์ และ จะได้สมั ประสิทธิ ์สหสัมพันธ์


1.4122  0.0020
เพือ่ ตรวจสอบคุณภาพของเส้นสมการ [3] r  0.9993
1.4122
15

y i
12.1822
เนื่ องจากค่ า สัม ประสิท ธิส์ หสัม พัน ธ์ม ีค่ า
y i 1
  0.8121 เข้าใกล้ 1 แสดงว่าความสัมพันธ์เชิงเส้น
N 15
15
y  1.3799  0.1419x เป็ นสมการแทนคู่
จะได้  y  y   1.4122
2
i
i 1 อันดับทีเ่ กิดจากความสัมพันธ์ของปริมาตรและ
15
และ  y  a  a1 xi   0.0020 ระดับความสูงของของเหลวในถัง นันคื ่ อ
2
i 0
i 1
H  1.3799  0.1419V
ในการดูประสิทธิภาพของสมการ จะใช้
และ จะได้สมั ประสิทธิ ์สหสัมพันธ์
สัมประสิทธิ ์สหสัมพันธ์ ในการพิจารณา
1.4122  0.0020
St  S r r  0.9993
สัมประสิทธิ ์สหสัมพันธ์ r 1.4122
St
เนื่องจากค่า สัมประสิทธิ ์สหสัมพันธ์มคี า่
15
เมือ่ St    yi  y  และ เข้าใกล้ 1 แสดงว่าความสัมพันธ์เชิงเส้น
2

i 1

การประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์ในการหาความสูงของระดับของเหลวในถังทรงกระบอกที่
14
วางตัวในแนวนอน
DOI: 10.14456/mj-math.201x.x

ตารางที่ 3 ตารางแสดงค่า x , y ,  y  y  และ


i i i
2
 yi  a0  a1 xi 
2

 yi  y   yi  a0  a1 xi 
2 2
xi yi

0.5000 1.3411 0.2798 0.00103

1.0000 1.2442 0.1867 0.00004

1.5000 1.1606 0.1214 0.00004

2.0000 1.0837 0.0738 0.00015

2.5000 1.0111 0.0396 0.00019

3.0000 0.9411 0.0166 0.00017

3.5000 0.8729 0.0037 0.00011

4.0000 0.8057 0.0004 0.00004

4.5000 0.7390 0.0053 0.00000

5.0000 0.6722 0.0196 0.00000

5.5000 0.6048 0.0430 0.00003

6.0000 0.5361 0.0762 0.00006

6.5000 0.4654 0.1202 0.00006

7.0000 0.3915 0.1769 0.00002

7.5000 0.3128 0.2493 0.00001

y  1.3799  0.1419x เป็ นสมการแทนคู่ ถังทรงกระบอกที่วางตัวในแนวนอน ในรูปของ


อันดับทีเ่ กิดจากความสัมพันธ์ของปริมาตรและ ความสัมพันธ์เชิงเส้น
ระดับความสูงของของเหลวในถัง นันคื่ อ
H  1.3799  0.1419V เอกสารอ้างอิ ง
[1] Lay, Schneider, Asmar Goldstein,
6. บทสรุป Calculus and Its Applications, 13th ed,
ก า ร ห า ส่ ว น สู ง ข อ ง ข อ ง เห ล ว ใ น 2007.
ทรงกระบอกที่ ว างในแนวนอนเมื่ อ ทราบ [2] ศรีบุ ต ร แววเจริญ และ ชนศัก ดิ ์ บ่ า ย
ปริม าตร เป็ นการประยุ ก ต์ ใ นงานทางด้ า น เที่ยง, คณิตศาสตร์สาหรับวิศวกรรมและ
วิศวกรรม ทีม่ ขี อ้ จากัดของการวางถังของเหลว วิทยาศาสตร์ เล่ม 3, พิมพ์ครัง้ ที่ 1, 2541.
ทรงกระบอกที่ไม่สามารถวางตัวในแนวตัง้ ได้ [3] กาญจนา ค านึ ง กิ จ , การวิเ คราะห์ เ ชิ ง
จึ ง ไม่ สาม ารถ ห าได้ โ ด ย วิ ธี พ้ื น ฐาน ท าง ตั ว เลข , คณ ะวิ ท ยาศาสตร์ สถาบั น
คณิ ตศาสต ร์ ใน บ ท ความ นี้ ได้ เ สน อการ เทคโนโลยีพ ระจอมเกล้า เจ้า คุ ณ ทหาร
แก้ปั ญ หาดังกล่าวนี้โดยอธิบายความสัม พันธ์ ลาดกระบัง, กรุงเทพมหานคร, พิมพ์ครัง้
ของปริมาตรและความสูงของระดับของเหลวใน ที่ 2, 2554.

วารสารคณิตศาสตร์ MJ-MATh 63(694) Jan-Apr, 2018


15

You might also like