You are on page 1of 6

ปรับปรุงขอมูลครั้งสุดทายเมื่อ 27/8/2544

รหัส คพ. ที่: คพ/-


1. การชี้บงเคมีภัณฑ (Chemical Identification)
ชื่อเคมี IUPAC : Sodium hypochlorite
ชื่อเคมีทั่วไป : -
Clorox; Bleach; Liquid bleach; Sodium oxychloride; Javex; Antiformin; Showchlon; Chlorox; B-K; Carrel-dakin
ชื่อพองอื่นๆ : solution; Chloros; Dakin's solution; Hychlorite; Javelle water; Mera industries 2MOM3B; Milton; Modified dakin's
solution; Piochlor; Sodium hypochlorite, 13% active chlorine;

สูตรโมเลกุล : สูตรโครงสราง :

รหัส UN/ID NO. : 1791 รหัส EC NO. : 017-011-01-9


รหัส IMO :
รหัส CAS NO. : 7681-52-9 รหัส RTECS : NH 3486300

รหัส EUEINECS/ELINCS : 231-668-3 ชื่อวงศ : -

2. ชื่อผูผลิต/จําหนาย (Manufacturer and Distributor)


ชื่อผูผลิต/นําเขา : 1675 No. Main Street, Orange, California 92867
แหลงขอมูลอื่นๆ : -

3. การใชประโยชน (Uses)
ใชเปนสารทําความสะอาด

4. คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity)


3
LD (มก./กก.) :
50
8910 ( หนู) LC (มก./ม ) : -
50
/- ชั่วโมง ( -)
IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : -
PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : -
TLV-TWA(ppm) : - TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : -
พรบ. สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : -
พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3
พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย :
พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : สํานักงานอาหารและยา

5. คุณสมบัติทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties)


สถานะ : ของเหลว สี : เขียว-เหลือง กลิ่น : ฉุน คลายคลอรีน นน.โมเลกุล : 74.4
1.20-
0 0
จุดเดือด( ซ.) : 48-76 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง( ซ.) : - ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.26
ความหนืด(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : <17.5 ที่ - 0ซ. ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 2.5

ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 100 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 12 ที่ - 0ซ.

3 3 0ซ.
แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 3.05 มก./ม หรือ 1 มก./ม = 0.32 ppm ที่ 25
ขอมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

6. อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect)


สัมผัสทางหายใจ : - การหายเขาไปจะทําใหเกิดการระคายเคืองตอเยื่อเมือกของทางเดินหายใจ
สัมผัสทางผิวหนัง : - การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการระคายเคืองปานกลาง และเกิดผื่นแดงบนผิวหนัง
กินหรือกลืนเขาไป : - การกินหรือกลืนเขาไปจะทําใหเกิดระคายเคืองตอเยื่อบุที่ปากและลําคอ เกิดอาการปวดทอง และแผล
เปอย
สัมผัสถูกตา : - การสัมผัสถูกตาจะทําใหระคายเคืองอยางรุนแรง
การกอมะเร็ง : - ไมมีรายงานวาสารนี้กอมะเร็ง
ความผิดปกติ,อื่น ๆ : - สารนี้มีผลทําลายปอด ทรวงอก ระบบหายใจ ผิวหนัง

7. ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction)


- ความคงตัวทางเคมี : สารนี้ไมเสถียร
- สารที่เขากันไมได : กรดเขมขน, สารออกซไดสอยางแรง, โลหะหนัก, สารรีดิวซ, แอมโมเนีย, อีเธอร, สารอินทรีย และสารอนินทรีย
เชน สี, เคอรโรซีน, ทินเนอร, แลคเกอร
- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความเสถียรของสารจะลดลงเมื่อความเขมขนเพิ่มขึ้น, สัมผัสกับความรอน, แสง, คาpHลดลง, ผสมกับโลหะ
หนัก เชน นิกเกิล, โคบอลต, ทองแดง และเหล็ก
- อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : ไมเกิดขึ้น

8. การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion)

0 0
จุดวาบไฟ( ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง( ซ.) : ไมติดไฟ NFPA Code :
คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : -
- สารนี้ไมไวไฟ
- สารดับเพลิงในกรณีเกิดเพลิงไหมใหใช ผงเคมีแหง
- การสัมผัสกับสารอื่นอาจกอใหเกิดการติดไฟ
- ความรอนและการผสม/ปนเปอนกับกรด จะทําใหเกิดฟูม/กาซที่เปนพิษและมีฤทธิ์ระคายเคือง ซึ่งการสลายตัวที่เกิดขึ้นจะทําใหเกิด
กาซคลอรีนออกมา

9. การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคลื่อนยาย/ขนสง (Storage and Handling)


- เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด
- เก็บในที่แหง เย็น และมีการระบายอากาศที่ดี
- เก็บใหหางจากแสง และสารเคมีอื่น
- อยาผสมสารนี้หรือทําใหสารนี้ปนเปอนกับแอมโมเนีย, ไฮโดรคารืบอน, กรด, แอลกอฮอล และอีเธอร
- ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้
- ทําการเคลื่อนยายในที่โลง
- ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลังทําการเคลื่อนยาย

10. การกําจัดกรณีรั่วไหล (Leak and Spill)


- วิธีปฏิบัติกรณีเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ใหระบายอากาศในพื้นที่ที่มีสารหกรั่วไหล
- ใหกันแยกพื้นที่ที่สารหกรั่วไหล และกันคนที่ไมมีอุปกรณปองกันออกไป
- ใหเก็บสวนที่หกรั่วไหล เก็บใสในภาชนะบรรจุและทําใหเปนกลางดวยโซเดียมซัลไฟด, ไบดซัลไฟด, ไทโอซัลไฟด
- ใหดูดซับสวนที่หกรั่วไหลดวยวัสดุดูดซับ เชน ดินเหนียว ทราย หรือวัสดุดูดซับ แลวเก็บใสในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไป
กําจัด
- ใหฉีดลางบริเวณที่หกรั่วไหลดวยน้ํา

11. อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

หนากากปองกันการ
ถุงมือ แวนตานิรภัย
หายใจ
ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) :

12. การปฐมพยาบาล (First Aid)


หายใจเขาไป : - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ นําสงไปพบแพทย

กินหรือกลืนเขาไป : - ถากลืนหรือกินเขาไป หามไมใหสิ่งใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ หากผูปวยยังมีสติอยูใหดื่มสารละลายโปรตีน


หรือ ถาไมสามารถหาไดก็ใหดื่มน้ําปริมาณมากๆ อยาใหผูปวยดื่มน้ําสม,เบคกิงโซดา,ยาที่มีฤทธิ์เปนกรด นํา
สงไปพบแพทย

สัมผัสถูกผิวหนัง : - ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังดวยน้ําปริมาณมากๆ


สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตาถี่ๆขณะทําการ
ลาง นําสงไปพบแพทย
อื่น ๆ:

13. ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts)


- หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสีย หรือดิน

14. การเก็บตัวอยางและวิเคราะห (Sampling and Analytical)


NMAM NO. : - OSHA NO. : -
วิธีการเก็บตัวอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตัวอยาง อิมพิ้นเจอร
วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น
ขอมูลอื่น ๆ :

15. การปฎิบัติกรณีฉุกเฉิน (Emergency Response)


AVERS Guide : 39 DOT Guide : 154

- กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลข


โทรศัพท 1650

- ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447 ,0 2298


2457

16. เอกสารอางอิง (Reference)


1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 807"
2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา -"
3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา -"
4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา -"
5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2971"
6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดัชนีวัดทางชีวภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา -"
7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. ,-"
8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 742"
9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and
Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา -"
10. Source of Ignition หนา-"
11. "อื่น ๆ"http://chemtrack.trf.or.th"

พัฒนาโปรแกรมและรวบรวมขอมูลโดย คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

หากมีขอสงสัยหรือขอเสนอแนะโปรดติดตอ
กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ
โทรศัพท : 0 2298 2447, 0 2298 2457
โทรสาร : 0 2298 2451
E-Mail : dbase_c@pcd.go.th

You might also like