You are on page 1of 2

ส่วนทีใ่ ช้ : เถา

สรรพคุณ :
ตารายาพื้นบ้าน: ขับปัสสาวะ แก้บด ิ แก้หวัด
ใช้เถาคั่วไฟให้หอมชงน้ากินแก้ปวดเมือ่ ย แก้เส้นเอ็นพิการ แก้เมือ่ ยขบในร่างกาย
แก้กระษัยเหน็ บชา ต้มรับประทานถ่ายเส้น ถ่ายกระษัย แก้เส้นเอ็นขอด ถ่ายเสมหะ
ไม่ถา่ ยอุจจาระ เหมาะทีจ่ ะใช้ในโรคบิด ไอ หวัด ใช้ในเด็กได้ดี แก้ปวด แก้ไข้
ทาให้เส้นเอ็นอ่อนลง ขับปัสสาวะ แก้ปสั สาวะพิการ
บางตารากล่าวว่าทาให้มก ี าลังดีแข็งแรงสูไ้ ม่ถอย
มีการนามาใช้ในสูตรยาอบสมุนไพรเพือ ่ สุขภาพ
โดยใช้เป็ นส่วนประกอบเพิม ่ เติมจากสูตรยาอบสมุนไพรหลัก
เมือ่ ต้องการอบเพือ่ รักษาอาการปวดเมือ่ ย ปวดหลัง ปวดเอว เป็ นต้น
บัญชียาจากสมุนไพร: ตามองค์ความรูด ้ ง้ ั เดิม
ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ในบัญชียาหลักแห่งชาติ
ระบุการใช้เถาวัลย์เปรียงในตารับ “ยาผสมเถาวัลย์เปรียง”
มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดเมือ่ ยตามร่างกาย

การใช้ประโยชน์ ทางยา
รูปแบบและขนาดวิธีใช้ยา:
บัญชียาจากสมุนไพร: ตามองค์ความรูด ้ ง้ ั เดิม
ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ในบัญชียาหลักแห่งชาติ
เถาวัลย์เปรียงจัดอยูใ่ นกลุม ่ ยารักษาอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก
ระบุรูปแบบและขนาดวิธีใช้ยาดังนี้
1. บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ ลดการอักเสบของกล้ามเนื้อ
ผงจากเถาของเถาวัลย์เปรียง รับประทานครัง้ ละ 500 มิลลิกรัม ถึง 1 กรัม วันละ 3 ครัง้
หลังอาหารทันที
2. บรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่าง และอาการปวดจากข้อเข้าเสือ่ ม
สารสกัดจากเถาด้วย 50%เอทานอล รับประทานครัง้ ละ 400 มิลลิกรัม วันละ 2 ครัง้
หลังอาหารทันที
ข้อห้ามใช้ :
ห้ามใช้ในหญิงตัง้ ครรภ์
คาเตือน :
ควรระวังการใช้ในผูป ้ ่ วยแผลเพปติก
เนื่องจากเถาวัลย์เปรียงออกฤทธิค ์ ล้ายยาต้านการอักเสบทีไ่ ม่ใช่สเตียรอยด์
จึงอาจทาให้เกิดการระคายเคืองระบบทางเดินอาหารได้
อาการไม่พงึ ประสงค์ :
ปวดท้อง ท้องผูก ปัสสาวะบ่อย คอแห้ง ใจสั่น เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ อุจจาระเหลว

แหล่งทีม
่ า
http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=viewpage&pid=63
[5] เถาวัลย์เปรียง [cited 2019 Apr ]. Available from:
http://www.research-
system.siam.edu/images/thesismhd/Massively_Multiplayer_
Online_Role-Playing_Game/7_-
_%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97_3_method.pdf.
ชือ
่ เวบ็ไซต์[อินเทอร์เน็ต].ชือ ่ื
่ เมืองหรือประเทศเจา้้ ของเวบ็ไซต:้์ ชอองคก์ รหรือบริษทัเจา้้
ของเวบ็ไซต;้์ ปีทีจ่ ด
ทะเบียนหรือปี ทีเ่ ริม
่ เผยแพร่เวบ็ไซต์[วนัทป
ี่ รับปรุงวนัเดือนปี พ.ศ.(;)วนัทอ
ี่ า้้งถึงวนัเดือนปี
พ.ศ.]. ทีม
่ า:URL

เถาวัลย์เปรียง [อินเทอร์เน็ ต]. อุบลราชธานี: ฐานข้อมูลเครือ


่ งยาสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ; 2010 [วันทีอ่ า้ งถึง 20 เมษายน 2562]. ทีม ่ า:
http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=viewpage&pid=63

You might also like