You are on page 1of 63

ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย

(Case study)| 1

ตอนที่ 1 ประวัติส่วนตัว

ชื่อผู้ป่วย นางสาววารี แสวงดี เพศ หญิง อายุ 30 ปี 2 เดือน


สถานภาพ คู่ ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาปี ที่ 6 อาชีพ
แม่บ้าน
เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
ที่อยู่ปัจจุบัน 104 ม. 8 ต.หนองบัวรี อ.พิบูลมังสาหาร จ.อุบลราชธานี
อยู่มาแล้ว 22 ปี หมายเลขโทรศัพท์ 062-9067569
ภูมิลำเนาเดิม 104 ม. 8 ต.หนองบัวรี อ.พิบล
ู มังสาหาร จ.อุบลราชธานี
วัน – เดือน – ปี เกิดสากล 31 มกราคม 2532

7 กพ 62 10.00 น

ตอนที่ ๒ ประวัติการเจ็บป่ วย

อาการสำคัญ

ถ่ายเหลว เป็ นมา 2 วัน

ประวัติการเจ็บป่ วยในปั จจุบัน


ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

2 วันก่อนมาพบแพทย์แผนไทย เวลา 10.00 น. ผู้ป่วยมีอาการถ่าย


เหลว มีอาการผะอืดผะอม เนื่องจากชอบรับประทานอาหารยำปลากระ
ป๋องและอาหารอื่นๆตอน 22.00 น. จากนัน
้ 06.00 อุจจารมีลักษณะ
เหลว รู้สึกถ่ายอุจจาระไม่เสร็จ ปวดบิด อุจจาระไม่สุด มีกลิ่นคล้ายกุ้ง
เน่า สีออกน้ำตาลมีมูกเลือดปนออกมาเล็กน้อย ถ่ายเหลวประมาณ 4
ครัง้ ต่อวัน พะอืดพะอม อาเจียนลมเปล่าและอื่นเพลีย ก่อนมารับการ
รักษาดื่มเกลือแร่ 3 ซองยังไม่ได้รับประทานยาหรือไปพบแพทย์ อาการไม่
ดีขน
ึ ้ วันนีจ
้ ึงมาพบแพทย์แผนไทยและมีอาการครั่นเนื้อครั่นตัวร่วมด้วย
เพื่อทำการรักษา

สีน้ำตาลเข้ม กลิ่นกุ้งเน่า

ประวัติการเจ็บป่ วยในอดีต
เคยผ่าตัดคลอดบุตรเมื่อ ปี พ.ศ. 2557 ที่โรงพยาบาลพิบล
ู มังสาหาร
ปฏิเสธการมีโรคประจำตัว
ปฏิเสธการแพ้ยาและแพ้อาหาร
ปฏิเสธการได้รับอุบัติเหตุที่ร้ายแรง

ประวัติครอบครัว
บิดา อายุ 51 ปี มีโรคประจำตัวคือ โรคความดันโลหิตสูง มารดา
อายุ 48 ปี สุขภาพร่างกายแข็งแรงดี ผู้ป่วยมีพี่น้องทัง้ หมด 3 คน เป็ นเพศ
หญิง 2 คน เพศชาย 1 คน ผู้ป่วยเป็ นบุตรคนที่ 2 แต่งงานแล้ว มีบุตร 1
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

คน เพศชายสุขภาพสมบูรณ์ ร่างกายแข็งแรงดี ปั จจุบันผู้ป่วยอาศัยอยู่กับ


สามีและบุตร 1 คน

ประวัติส่วนตัว
นอนหลับพักผ่อนวันละ 6-7 ชั่วโมง หลับสนิท รับประทานอาหาร
วันละ 3 มื้อ ตรงเวลา ชอบรับประทานอาหารรสเปรีย
้ ว กินเนื้อหมูและ
เนื้อไก่เป็ นประจำ กินเนื้อวัวนานๆครัง้ ไม่ชอบทานผักและผลไม้ กินข้าว
เหนียวเป็ นประจำ ดื่มน้ำวันละ 5-6 แก้ว ปั สสาวะวันละ 4-5 ครัง้ มี
ลักษณะสีเหลืองใส ไม่แสบขัด อุจจาระ 2-3 วัน/ครัง้ มีอาการท้องผูกต้อง
ออกแรงเบ่งถ่าย มีลักษณะก้อนแข็ง แห้ง เหมือนขีแ
้ พะ ดื่มกาแฟวันละ 1
แก้ว ในช่วงเช้า ดื่มแอลกอฮอล์นานๆครัง้ ผู้ป่วยมีภาวะเครียด เนื่องจาก
ขับถ่ายไม่สะดวก ผะอืดผะอม ปฏิเสธการสูบบุหรี่ ปฏิเสธการออกกำลัง
กาย

ประวัติประจำเดือน
ประจำเดือนมาครัง้ แรกตอนอายุ 15 ปี มีลักษณะสีแดงสด ไม่มีลิ่ม
เลือด มีอาการปวดท้องน้อย ปวดบัน
้ เอวในขณะที่มีประจำเดือน มาครัง้
ละ 3-4 วัน ปั จจุบันไม่มีประจำเดือน เนื่องจากผู้ป่วยฉีดยาคุมกำเนิด

แผนไทย
สีผิว
กำเดา
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ลม ในท้อง นอกท้อง
ดูอุจจาระ

แผนปั จจุบัน
ท้อง ดู ฟั ง เคาะ คลำ
ชีพจร ความดัน ความยืดหยุ่ยของผิว เยือบุปาก เปลือกตา
ตรวจอุจจาระ พบ RBC E .co NA K+ Cl HCO BUN

ตอนที่ 3 การตรวจร่างกาย

การตรวจสัญญาณชีพ
อุณหภูมิ 37.8 องศาเซลเซียส อัตราการเต้นของชีพจร
92 ครัง้ /นาที
อัตราการหายใจ 22 ครัง้ /นาที ความดันโลหิต 116/70
มิลลิเมตรปรอท
น้ำหนัก 58 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร
BMI 22.66 แปรผล BMI น้ำหนักปกติ

การตรวจร่างกายตามระบบ
อาการทั่วไป
การรู้สึกตัว ดี รูปร่างสูงปานกลาง สีหน้าซีด ลักษณะการเดินปกติ
ลักษณะตอบสนองดี
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ศีรษะ
เส้นผมดกดำ เหยียดตรงไม่พบสิ่งผิดปกติอ่ น
ื ๆ ไม่มีรังแค ไม่มีแผล
ศีรษะมีลักษณะสมมาตร ไม่มีรอยบุ๋มหรือรอยแผลเป็ น
ผิวหนัง
สีผิวขาวเหลือง ผิวไม่แห้ง ไม่มีตุ่มหรือผื่น ไม่มีแผล ไม่มีอาการบวม
น้ำ
หน้า
มีลก
ั ษณะสมมาตร สีหน้าซีดเล็กน้อย ไม่มีตุ่มหรือผื่น ไม่มีแผล ไม่
บวม
ตา
ตาทัง้ 2 ข้างมีสีน้ำตาล มองเห็นได้ชัดเจน ตาไม่เหล่ ตาไม่บอดสี
เปลือกตาบน-ล่างปกติไม่บวม ไม่พบสิ่งผิดปกติจากภายนอกที่เป็ น
ต้อ หรือก้อนเนื้อแก้วตาใส กรอกไปมาสะดวกรูม่านตาตอบสนอง
กับแสงได้ปกติ
หู
หูทงั ้ 2 ข้างสามารถรับฟั งเสียงได้ตามปกติ ไม่เป็ นหูน้ำหนวก หูไม่
อื้อ ไม่มีน้ำหนองเยื่อแก้วหูปกติ
จมูก
แกนกลางจมูกสมมาตร จับ กด บีบไม่มีอาการเจ็บ รับกลิ่นได้ไม่
สะดวก ไม่มีน้ำมูก ไม่มีสิ่งอุดตันเยื่อจมูกปกติไม่มีการอักเสบของ
จมูก ปี กจมูกไม่บิดเบีย
้ ว
ปาก
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ริมฝี ปากไม่แห้ง สีอมชมพู ไม่มีแผล ไม่มีขรุย ฟั นไม่ผุ เหงือก


สีชมพู ลิน
้ ไม่มีแผล ไม่มีจุดแดงที่กระพุ้งแก้ม เพดานปากและลิน
้ ไก่
ต่อมน้ำเหลืองปกติ
คอ
กระดูกต้นคอไม่คดงอ ต่อมทอลซิลปกติ หลอดลมอยู่ตรงกลางไม่มี
เสียงหรือก้อน ต่อมธัยรอยด์ปกติกล่องเสียงไม่บวม ลำคอภายในไม่
บวมโต
หัวใจ
ทำงานปกติ อัตราการเต้นของชีพจรสม่ำเสมอ 80 ครัง้ /นาที
ปอด
ฟั งไม่มีเสียงหวี๊ด ฟื้ ด ไม่เป็ นก้อนแข็ง กดไม่เจ็บ ทรวงอกขยายตัว
เท่ากันทัง้ สองข้างขณะหายใจ อัตราการหายใจสม่ำเสมอ 20
ครัง้ /นาทีเสียงเคาะปกติ
ท้อง
คลำพบก้อนแข็งข้างซ้ายช่วงเอว เคาะท้องพบเสียงทึบ และเสียง
โปร่งบริเวณใต้ลน
ิ ้ ปี่
ดูลก
ั ษณะ ไม่บวม ไม่แข็ง รอยแผลเป็ นบริเวณหน้าท้องเนื่องจาก
ผ่าตัดคลอดบุตร ฟั งเสียงปกติ คลำตับผิวเรียบไม่ขรุขระ ม้ามคลำ
ไม่ได้ คลำไตปกติ ไม่เป็ นก้อนแข็ง ไม่เจ็บขัดท้องน้อยเวลาปั สสาวะ
และท้องน้อยไม่มีลักษณะแข็งตึง
แขน - ขา
แขนทัง้ 2 ข้างรูปร่างไม่โค้งงอ กำลังแขนสามารถออกแรงต้านทาน
ได้ดี มีกำลังข้อนิว้ ดี หมุนข้อมือได้ตามปกติ ไม่มีอาการเจ็บปวดใช้
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

งานได้ตามปกติ ขาทัง้ 2 ข้าง รูปร่างปกติ ไม่งอ กดไม่บุ๋ม กำลังขา


สามารถออกแรงถีบได้ดี กระดกปลายเท้าได้ หมุนข้อเท้า องศาการ
เคลื่อนที่ของขาปกติ ไม่มแ
ี ผล ใช้งานได้ตามปกติ กล้ามเนื้อแขน-ขา
แข็งแรง

การตรวจทางรังสีวิทยา
-

การตรวจอื่นๆ
โดยวิธีการดูท้อง : พบรอยแผลเป็ นผ่าตัดคลอดบุตร ไม่พบหน้าท้องลาย
เส้นเลือดดำไม่โป่ งพอง
วิธีการเคาะท้อง : เคาะท้องพบเสียงทึบบริเวณ Left lumbar region
และเคาะพบเสียงโปร่งบริเวณใต้ลน
ิ ้ ปี่
วิธีการคลำท้อง : พบก้อนไม่แข็งมาก ข้างซ้ายช่วงเอว

Body chart
- ตำแหน่งของการเจ็บป่ วย หรือจุดเจ็บ ให้ทำเครื่องหมาย () บนภาพ
- อาการปวดร้าว ให้ทำเครื่องหมาย ( / ) และอธิบายเพิ่มเติมตามสภาพ
จริงใต้ภาพ
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

จาการซักประวัติ ตรวจร่างกาย พบว่า ผู้ป่วยมีอาการขับถ่ายลำบาก


ต้องเบ่งขณะขับถ่าย มีลักษณะก้อนแข็ง แห้งลักษณะเหมือนขีแ
้ พะ ถ่าย
อุจจาระ 2-3 ครัง้ /สัปดาห์

สรุปอาการและสิ่งที่ตรวจพบ
1. ขับถ่ายลำบาก ลักษณะเป็ นก้อนแข็ง
2. ผะอืดผะอม
3. ถ่ายอุจจาระ 2-3 ครัง้ /สัปดาห์

ตอนที่ 4 การวิเคราะห์สมุฏฐานการเกิดโรค
ธาตุสมุฏฐาน
1. การวิเคราะห์ธาตุกำเนิด
วัน–เดือน–ปี เกิด (สากล) 31 มกราคม 2535
วันปฏิสนธิ (สากล) 27 เมษายน 2534
วันปฏิสนธิ (ไทย) วันเสาร์ ขึน
้ 14 ค่ำ เดือน 6
ธาตุเจ้าเรือนหลัก กำเดา
อธิบาย เปลวความร้อน ความร้อนภายในร่างกาย ภาวะที่ทำให้เกิด
อาการไข้และตัวร้อน และสีแดงเป็ นสีที่ใช้แทนธาตุไฟ ซึ่งตรงกับฤดู
ร้อน
ธาตุเจ้าเรือนรอง กำเดา
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

อธิบาย เปลวความร้อน ความร้อนภายในร่างกาย ภาวะที่ทำให้เกิด


อาการไข้และตัวร้อน และสีแดงเป็ นสีที่ใช้แทนธาตุไฟ ซึ่งตรงกับฤดู
ร้อน

ลักษณะธาตุดิน ลักษณะธาตุน้ำ ลักษณะธาตุลม ลักษณะธาตุไฟ


ร ูป ร ่า ง ร ูป ร ่า ง อ ้ว น ร ูป ร ่า ง โ ป ร ่ง ร ูป ร ่า ง ป า น

สมบูรณ์ ท้วน ร่างเล็ก กลาง


กล้ามเนื้อ ข้อ โครงสร้าง เดินไม่มั่นคง กล้ามเนื้อและ
ก ร ะ ด ูก แ ข ็ง 
ร่างกาย ข้อกระดูกสั่น ข ้อ ก ร ะ ด ูก
แรง สมส่วน เวลาเดิน หลวม
ผิวพรรณ ผิว พรรณแห้ง
ผ ิว ค ่อ น ข ้า ง ผิวพรรณ

หยาบ ไม่ เหี่ยวย่น และ
คล้ำ สดใส อิ่มเอิบ
สดใส ตกกระ
ผมดกดำ หนา ผม ขน หนวด
ผม ขน หนวด

ผมดกดำหนา เ ง า ง า ม ม ัน อ ่อ น น ิ่ม
หยาบ ผมน้อย
สวย หงอกเร็ว
เ ห ง่อ
ื มาก มี
เ ห ง ่อ
ื ปาน
เหงื่อมาก เหงื่อน้อย กลิ่นปาก และ
กลาง
กลิ่นตัว
ม ือ น ุ่ม น ว ล มือ หยาบแตก มือ แห้ง หยาบ
มือหนา หนัก 

อ่อน แห้ง ปานกลาง


เ ส ีย ง ด ัง ฟั ง เ ส ีย ง ป า น

เสียงโปร่งใส เสียงแหบพร่า
ชัด กลาง
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

พ ูด จ า ห น ัก ช ่า ง พ ูด พ ูด พูด จาดีม ีห ลัก


พูดช้า 

แน่น เร็ว การ


ท น ร ้อ น ไ ด ้ ท น ร ้อ น แ ล ะ

ทนหนาวไม่ได้ ทนร้อนไม่ได้
ปานกลาง หนาวได้
ก ิน อ า ห า ร ก ิน ไ ม่จ ุ ทาน ท น ห ิว ไ ม ่ไ ด ้
ทนหิวได้ดี
ปานกลาง น้อย กินเก่ง
ความจำปานก
ความจำดี 
ความจำดีมาก จำเร็ว ลืมเร็ว
ลาง
ความคิด ริเ ริ่ม
เ ฉ ่อ
ื ย ขาด ใ จ ร ้อ น
ความคิดริเ ริ่ม ด ีม า ก

ค ว า ม 
กระตือ รือ ร้น
ปานกลาง กระตือรือร้นดี
กระตือรือร้น ปานกลาง
มาก
อารมณ ์ห นัก สงบ ความ ห ว ั่น ไ ห ว ข ี ้ จ ร ิง จ ัง อ ่อ น
แน่น รู้สึกช้า กลัว ไหว ขีอ
้ ิจฉา
ความรู้สึกทาง ความรู้สึก ทาง ความรู้สึก ทาง ความรู้สึกทาง

เพศดี เพศดีมาก เพศไม่ดี เพศปานกลาง


รวม 4 รวม 6 รวม 1 รวม 1

2. การวิเคราะห์ธาตุเจ้าเรือนปั จจุบัน จากบุคลิกลักษณะ


กำลังธาตุ ปถวี 4 อาโป 6 วาโย 1 เตโช 1
แปลผล ธาตุเจ้าเรือนปั จจุบัน อาโปธาตุ
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

3. การวิเคราะห์ธาตุปัจจุบัน จากสมุฏฐานอาการเจ็บป่ วยในปั จจุบัน (ม


หาภูตรูป 42 กำเริบ หย่อน
พิการ)

ปถวี : อันตคุนังหย่อน (ลำใส้เล็ก)


: บีบตัวช้า ทำให้ท้องอืด
อันตังหย่อน (ลำใส่ใหญ่)
: ทำงานเชื่องช้า ทำให้ท้องผูก
กรีสังหย่อน (อาหารเก่า)
: อาหารขาดเส้นใยทำให้ท้องผูก

วาโย : กุจฉิสยาวาตากำเริบ (ลมพัดในท้องแต่นอกลำไส้)


: ลมในกระเพาะมากขึน
้ ทำให้ผะอืดผะอม
โกฏฐาสยาวาตากำเริบ (ลมพัดในท้องและลำไส้)
: แก๊สในลำไส้มาก เคาะมีเสียงทึบ

อาโป : ปิ ตตัง (พัทธปิ ตตะหย่อน): น้ำดีตกในลำไส้น้อย ทำให้ย่อยได้


น้อย
คูถเสมหะหย่อน : น้ำในลำไส้น้อย ทำให้อุจจาระแข็ง แห้ง ถ่าย
อุจจาระลำบาก

เตโช : ปริณามัคคีกำเริบ (ไฟย่อยอาหาร)


: ต้องออกแรงเบ่งถ่ายทำให้ไฟที่เผาผลาญเพิ่มมากขึน

ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ปถวีธาตุ

อันตคุนัง(ลำไส้เล็ก)
หน้าที่ปกติ คือ เป็ นที่ย่อยอาหารถึงขัน
้ ดูดซึมได้ มีน้ำย่อยจาก
ตับที่ช่วยในการย่อยและดูดซึมไขมัน
อันตคุนงั กำเริบ คือ ทำให้ปวดท้อง และมีอาการวิงเวียน
อันตคุนงั หย่อน คือ บีบตัวช้า ทำให้ท้องอืด
อันตคุนงั พิการ คือ ให้เรอ ให้หาว ให้อุจจาระเป็ นโลหิต ให้มืด
หน้าตามัว ให้เมื่อยบัน
้ เอว

อันตัง(ลำไส้ใหญ่)
หน้าที่ปกติ คือ เป็ นที่กักเก็บกากอาหารที่เหลือและมี
แบคทีเรียประจำถิ่นย่อยกากอาหาร
อันตังกำเริบ คือ ลำไส้ใหญ่เกิดการติดเชื้อ บีบตัวเร็วและแรง
มาก ทำให้ท้องเดิน
อันตังหย่อน คือ ทำงานเชื่องช้า ทำให้ท้องผูก
อันตังพิการ คือ ให้ลงท้องเป็ นกำลัง ให้แน่นในท้อง ให้ลำไส้ตีบ
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

กรีสัง(อาหารเก่า)
หน้าที่ปกติ คือ กากอาหารที่อยู่ในลำไส้น้อย มาอยู่ใน
ลำไส้ใหญ่ตอนล่างและตกไปทวารหนัก
กรีสงั กำเริบ คือ อาหารที่เป็ นพิษ แบคทีเรียที่อยู่ในลำไส้ใหญ่
ไม่สามารถดูดซึมเข้า
กระแสเลือดได้
กรีสงั หย่อน คือ อาหารขาดเส้นใยทำให้ท้องผูก
กรีสงั พิการ คือ ถ้าหมักหมมอยู่ ไม่ขับถ่ายออกไป สารพิษที่
เกิดขึน
้ อาจทำให้ปวดและมีอาการมึนศีรษะ ไม่สบาย

 อาโปธาตุ
ปิ ตตัง(พันธปิ ตตะ) ทำหน้าที่ช่วยปรับธาตุสมดุลของร่างกาย ช่วย
ปรับเปลี่ยนอาหารเข้าไปย่อยอาหาร
ปิ ตตังกำเริบ คือ แสบร้อนในท้อง ผะอืดผะอมเกิดอาการท้อง
ผูก
ปิ ตตังหย่อน คือ ย่อยอาหารได้น้อย
ปิ ตตังพิการคือ นิ่วในถุงน้ำดี ให้มีอาการคลุ้มคลั่งเป็ นบ้า

คูถเสมหะ ทำหน้าที่ช่วยในการขับถ่ายง่ายขึน

คูถเสมหะกำเริบ คือ อุจจาระเป็ นมูกเลือด ปวดท้อง ริดสีดวง
คูถเสมหะหย่อน คือ ให้ถ่ายอุจจาระลำบาก เป็ นเถาพรรดึก
คูถเสมหะพิการ คือ ถ่ายอุจจาระเป็ นเลือด
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

 เตโชธาตุ
ปริณามัคคี หน้าที่ปกติ คือ ย่อยอาหาร
ปริณามัคคีกำเริบ คือ อาหารย่อยทำงานมากขึน
้ เนื่องจากต้อง
เผาผลาญอาหารที่กินเข้าไป
ปริณามัคคีหย่อน คือ อาหารไม่ย่อย
ปริณามัคคีพก
ิ าร คือ ลมดันขึน
้ ทำให้แน่นหน้าอก ร่างกายขาด
อาหารอยู่นาน อาจทำให้เป็ นโรคเหน็บชา

 วาโยธาตุ
กุจฉิสยาวาตา หน้าที่ปกติ คือ เคลื่อนไหวกระเพาะลำไส้
บีบรูดอาหารลงสู่ทวารหนัก
กุจฉิสยาวาตากำเริบ คือ ลำในกระเพาะมากขึน

กุจฉิสยาวาตาหย่อน คือ ท้องอืด ท้องผูก ถ่ายปั สสาวะไม่ไหมด
กุจฉิสยาวาตาพิการ คือ ไม่ถ่ายอุจจาระ ให้อาเจียน เจ็บหน้าอก

โกฏฐาสยาวาตา หน้าที่ปกติ คือ เป็ นลมที่อยู่ในทางเดิน


อาหาร ทำให้ถ่ายอุจจาระ
โกฏฐาสยาวาตากำเริบ คือ ลมทำงานมากขึน
้ ทำให้ ผะอืดผะ
อมและท้องผูกตามมา
โกฏฐาสยาวาตาหย่อน คือ เกิดอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ ผายลมมี
กลิ่น
โกฏฐาสยาวาตาพิการ คือ ลมในกระเพาะอาหารทำงานไม่เป็ นปกติ
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

อุตุสมุฏฐาน
1. การวิเคราะห์ฤดูกำเนิดที่เป็ นจุดอ่อนทางสุขภาพ
คิมหันตฤดู (ฤดูร้อน)สมุฏฐานปิ ตตะ

2. การวิเคราะห์ฤดูปัจจุบันที่เจ็บป่ วย
คิมหันตฤดู (ฤดูร้อน)สมุฏฐานปิ ตตะ
อายุสมุฏฐาน
1. การวิเคราะห์อายุกำเนิดที่เป็ นจุดอ่อนทางสุขภาพ
ปฐมวัย แรกเกิด-16 ปี สมุฏฐานเสมหะ

2. การวิเคราะห์อายุปัจจุบันที่เจ็บป่ วย
มัชฉิมวัย อายุ 16- 32 ปี สมุฏฐานปิ ตตะ

กาลสมุฏฐาน
1. การวิเคราะห์กาลกำเนิดที่เป็ นจุดอ่อนทางสุขภาพ
10.00 – 14.00 น. สมุฏฐานปิ ตตะ
2. การวิเคราะห์กาลปั จจุบันที่เจ็บป่ วย
10.00 น. (06.00 – 10.00 น. ) สมุฏฐานเสมหะ

ประเทศสมุฏฐาน
1. การวิเคราะห์ลก
ั ษณะภูมิประเทศกำเนิดที่เป็ นจุดอ่อนทางสุขภาพ
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ประเทศที่สงู ชาวเขา (ร้อน) สมุฏฐานเตโช

2. การวิเคราะห์ลก
ั ษณะภูมิประเทศที่อยู่ปัจจุบัน
ประเทศน้ำกรวดทราย (อุ่น) สมุฏฐานอาโป

มูลเหตุของการเกิดโรค

มูลเหตุ 8 ประการ พ ไม่ หมายเหตุ


บ พบ
1. อาหาร  บริโภคอาหารจำพวกเนื้อหมู เนื้อไก่
มาก ไม่ทานผักและผลไม้
2. อิริยาบถ  นั่งเย็บผ้าเป็ นเวลานาน
3. ความร้อนและเย็น 

4. อดนอน อดข้าว  ดื่มน้ำน้อย


อดน้ำ
5. กลัน
้ อุจจาระ กลัน
้ 

ปั สสาวะ
6. ทำงานเกินกำลัง 

7. ความเศร้าโศก  ผู้ป่วยมีภาวะเครียดเนื่องจากขับถ่าย
เสียใจ อุจจาระไม่ปกติ
8. โทสะมาก 

ตารางสรุปความสัมพันธ์สมุฏฐานการเกิดโรค
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสมุฏฐานเจ้าเรือนและการเจ็บ
ป่ วยในปั จจุบัน

เตโช วาโย เสมหะ ปถวี


ธาตุ เจ็บ ธาตุ เจ็บ ธาตุ เจ็บ ธาตุ เจ็บ
สมุฏฐาน
เจ้า ป่ วย เจ้า ป่ วย เจ้า ป่ วย เจ้า ป่ วย
เรือ ปั จจุ เรือ ปั จจุ เรือ ปั จจุ เรือ ปั จจุ
น บัน น บัน น บัน น บัน
ธาตุสมุฏฐาน X 

อุตุสมุฏฐาน X 

อายุสมุฏฐาน X 

กาลสมุฏฐาน  X
ประเทศสมุฏฐาน X 

อธิบายการวิเคราะห์ความสัมพันธ์สมุฏฐานต่างๆ กับการเจ็บป่ วยใน


ปั จจุบัน
ธาตุสมุฏฐาน
จากธาตุกำเนิดผู้ป่วยมี เตโชธาตุ เป็ นธาตุเจ้าเรือนหลัก เตโชธาตุ
เป็ นธาตุเจ้าเรือนรอง
ปั จจุบันผู้ป่วยมาพบแพทย์ด้วยอาการทางสมุฏฐาน เตโชธาตุ
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ดังนัน
้ ในการเจ็บป่ วยครัง้ นี ้ ธาตุเจ้าเรือนหลัก จึง
 ส่งผล  ไม่ส่งผล ในการเจ็บป่ วย
ครัง้ นี ้
ธาตุเจ้าเรือนรอง จึง
 ส่งผล  ไม่ส่งผล ในการเจ็บป่ วยครัง้ นี ้

อุตุสมุฏฐาน
จากธาตุกำเนิดผู้ป่วยจะเจ็บป่ วยได้ง่ายในช่วง คิมหันตฤดู สมุฏฐาน
ปิ ตตะ
ปั จจุบันผู้ป่วยมาพบแพทย์ในช่วง คิมหันตฤดู สมุฏฐาน ปิ ตตะ
ดังนัน
้ ในการเจ็บป่ วยครัง้ นี ้ อุตส
ุ มุฏฐาน จึง
 ส่งผล  ไม่ส่งผล ในการเจ็บป่ วยครัง้ นี ้
อายุสมุฏฐาน
จากธาตุกำเนิดผู้ป่วย จะเจ็บป่ วยได้ง่ายในช่วงอายุ ปฐมวัย
สมุฏฐาน เสมหะ
ปั จจุบันผู้ป่วยมีอาการเจ็บป่ วยกำเริบในช่วงอายุ มัชฉิมวัย
สมุฏฐาน ปิ ตตะ
ดังนัน
้ ในการเจ็บป่ วยในครัง้ นีอ
้ ายุสมุฏฐานจึง

 ส่งผล  ไม่ส่งผล ในการเจ็บป่ วยครัง้ นี ้

กาลสมุฏฐาน
จากธาตุกำเนิดผู้ป่วย จะเจ็บป่ วยได้ง่ายในช่วงเวลา 10-00 – 14.00
น. สมุฏฐาน ปิ ตตะ
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ปั จจุบันผู้ป่วยมีอาการเจ็บป่ วยกำเริบในช่วงเวลา 06.00 – 10.00


น. สมุฏฐาน เสมหะ
ดังนัน
้ ในการเจ็บป่ วยในครัง้ นีก
้ าลสมุฏฐานจึง

 ส่งผล  ไม่ส่งผล ในการเจ็บป่ วยครัง้ นี ้

ประเทศสมุฏฐาน
จากธาตุกำเนิดผู้ป่วย จะเจ็บป่ วยได้ง่ายในภูมิประเทศที่สูงเขา
(ร้อน) สมุฏฐาน เตโช
ปั จจุบันผู้ป่วยอยู่อาศัยในจังหวัด อุบลราชธานี สมุฏฐาน อาโป
ดังนัน
้ ในการเจ็บป่ วยในครัง้ นีป
้ ระเทศสมุฏฐานจึง

 ส่งผล  ไม่ส่งผล ในการเจ็บป่ วยครัง้ นี ้

สรุปความสัมพันธ์ของธาตุกำเนิดและความเจ็บป่ วยปั จจุบันในครัง้ นี ้


มี ธาตุเจ้าเรือน ส่งเสริมให้เกิดการเจ็บป่ วยในครัง้ นี ้

ตอนที่ 5 การวิเคราะห์กลไกการเกิดโรค
สรุปลำดับปั ญหาที่พบ
1)ผู้ป่วยรับประทานอาหาร จำพวกเนื้อหมู เนื้อไก่มากเกินไป ไม่ทาน
ผัก
2 ถ่ายลำบาก มีลักษณะก้อนแข็ง ถ่ายอุจจาระ 2-3 ครัง้ /สัปดาห์
3)มีอาการท้องอืด ผะอืดผะอม
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

กลไกการเกิดโรคตามทฤษฎีการแพทย์แผนปั จจุบัน

การขับถ่ายอุจจาระ(Defecation]
กายวิภาคของการขับถ่ายอุจจาระประกอบด้วย ช่องทวาร
หนัก(rectum) กล้ามเนื้อเรียบ รอบช่องทวารหนัก
ซึง่ ประกอบเป็ นหูรูดทวารหนักด้านใน(internal anal sphincter) และ
หูรูดทวารหนักด้านนอก
(external anal sphincter) และ เส้นประสาทที่ควบคุม กลไกการขับ
ถ่ายอุจจาระ เริ่มต้นจากกากอาหาร
ถูกส่งลงมาพักอยู่บริเวณ rectosigmoid area แล้วเกิดความรู้สึกปวด
อุจจาระ อยากถ่าย เมื่อมีความรู้สึก
อยากถ่ายอุจจาระ จะมีการคลายตัวของหูรูดทวารหนักด้านใน (internal
anal sphincter) เมื่อเราพร้อม
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ที่จะถ่าย การอัดลมลงท้อง(vulsalva maneuver) จะทำให้อุจจาระถูก


ดันเคลื่อนลง พร้อมๆกับ การเปิ ด
ของหูรูดทวารหนักด้านนอก
กลไกการขับถ่ายอุจจาระ
โดยปกติหลังจากทานอาหารแล้ว 24 ชั่วโมง กากอาหารก็จะเคลื่อน
เข้าสู่ ไส้ตรง (rectum) เต็มที่จะทำให้ความดันภายในไส้ตรงเพิ่มขึน
้ 30-
40 มิลลิเมตรปรอท
การยืดตัวของไส้ตรงทำให้มีการ ส่งคลื่นประสาทรับความรู้สึกเข้าสู่
ไขสันหลังส่วน sacrum และส่งสัญญาณ กิริยาสนองฉับพลัน (reflex)
กลับมาตาม ใยพาราซิมพาเตติกส์ (parasympathetics) ที่ไปเลีย
้ งไส้ตรง
ทำให้เกิดการหดตัวแบบเพอริสตัลซิส (peristalsis) ร่วมกับการคลายตัว
ของกล้ามเนื้อหูรูดของทวารหนัก กากอาหารซึ่งเป็ นอุจจาระก็จะถูกขับ
ถ่ายออกไป

กลไกการเกิดท้องผูก
อาการท้องผูกเกิดจากลำไส้ใหญ่มีการ เคลื่อนไหวน้อยมาก จึงทำให้
มีการดูดน้ำจาก กากอาหารกลับเข้าสู่ร่างกายเพิ่มขึน
้ เป็ นสาเหตุให้
อุจจาระแข็งเกิดอาการท้องผูก หรืออาจจะเกิดจาก การกลัน
้ ถ่ายอุจจาระ
บ่อยๆ ถ่าย
ไม่เป็ นเวลา ความรีบร้อนทำให้ถ่ายอุจจาระปกติออก ไม่หมด อุจจาระที่
คั่งค้างเกิดการแข็งตัวถ่ายออก ยากและใช้เวลานาน สิ่งเหล่านีจ
้ ะก่อให้
เกิดอาการ ท้องผูก ทัง้ สิน
้ ดังนัน
้ อาการท้องผูกจึงไม่ใช่โรคแต่เป็ น อาการ
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

การเทียบเคียงทฤษฎีโรคทางแพทย์แผนปั จจุบันกับทฤษฎีโรคทาง
แพทย์แผนไทย

เทียบ ทฤษฎีโรคทางแพทย์แผน ทฤษฎีโรคทางแพทย์แผน


เคียง ปั จจุบัน ไทย

ชื่อโรค อาการท้องผูก Constipation คัมภีร์ธาตุบรรจบ(โรคระบบ


ทางเดินอาหาร)
อสุรินทัญญาณธาตุ (อุจจาระ
ธาตุพิการ หรืออุจจาระธาตุ
วิปริตว่าด้วยปถวีธาตุ)
สาเหตุ/ 1. การได้รับอาหารไม่เพียงพอ ปถวีธาตุ มีลักษณะ
ปั จจัย หรือได้รับอาหารไม่ได้ส่วน โดย อาการกระทำให้เสมหะเน่า ให้
ของโรค เฉพาะการรับประทานอาหารที่ เจ็บท้อง ท้องขึน
้ ให้เสียดท้อง
มีกากน้อย และเป็ นอัมพฤกษ์ เป็ นกระษัย
2. ขาดการออกกำลังกายหรือ เป็ นบ้าง เป็ นช้ำ เนื้อเล็บมือ
การเคลื่อนไหวร่างกาย จน เล็บเท้าเหี่ยว ให้โลหิตตกทวาร
ทำให้ลำไส้มีการเคลื่อนไหวลด หนัก ทวารเบา กินอาหารไม่
ลง ได้ (อุจจาระออกมาเป็ นสีดำ)
3. ความเครียด และวิตกกังวล
จนมีการหลั่งฮอร์โมนกระตุ้น
การทำงานของระบบประสาท
ซิมพาเทติก ทำให้ยับยัง้ การหด
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

รัดตัวของลำไส้ใหญ่
4. การได้รับยาบางชนิด เช่น
ยาที่มีส่วนผสมของเหล็ก
อะลูมิเนียม แคลเซียม เป็ นต้น
5. การดื่มน้ำน้อย เช่น ผู้สูงอายุ
ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ถูกจำกัด
ปริมาณน้ำดื่ม
6. โรคบริเวณทวารหนัก เช่น
แผลบริเวณทวารหนัก ริดสีดวง
ทวารหนัก ทำให้มีการกลัน

อุจจาระ เพราะมีอาการเจ็บ
ปวดหรือมีเลือดออก
7. สภาวะแวดล้อมอื่นๆ เช่น
ห้องน้ำไม่สะอาด ห้องน้ำมีกลิ่น
เหม็น ไม่มีที่นั่งหรือนั่งขับถ่าย
ลำบาก ไม่มีน้ำชำระ เดินทาง
อย่างต่อเนื่อง และการทำงาน
อย่างต่อเนื่อง เป็ นต้น
 

เทียบ ทฤษฎีโรคทางแพทย์แผน ทฤษฎีโรคทางแพทย์แผน


เคียง ปั จจุบัน ไทย

ชื่อโรค อาการท้องผูก Constipation คัมภีร์ธาตุบรรจบ(โรคระบบ


ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ทางเดินอาหาร)
อสุรินทัญญาณธาตุ (อุจจาระ
ธาตุพิการ หรืออุจจาระธาตุ
วิปริตว่าด้วยปถวีธาตุ)
อาการ ท้องผูก หมายถึง อาการของ รับประทานอาหาร
การไม่ถ่ายอุจจาระติดต่อกัน ที่แปลก หรือ รับประทานมาก
อย่างน้อย 3 วัน ขึน
้ ไป หรือมี
เกินกำลังธาตุ  เป็ นต้นว่า 
จำนวนครัง้ การถ่ายอุจจาระ
เนื้อสัตว์ดิบหรือเนื้อสัตว์ที่มี
น้อยกว่า 3 ครัง้ /สัปดาห์ ขึน
้ ไป
คาวมากและไขมันต่าง ๆ และ
หรือการถ่ายอุจจาระมีลักษณะ
อุจจาระเป็ นก้อนเล็ก แข็ง และ ของที่หมักดองบูดเน่า  ธาตุ
แห้ง ขณะถ่ายอุจจาระจะมี นัน
้ วิปริตแปรปรวนหาเสมอ
อาการเบ่งอุจจาระนานผิดปกติ เป็ นปกติไม่  กระทำให้ท้องขึน

รู้สึกเจ็บขณะถ่าย และรู้สึกว่า เฟ้ อ  เรอเหม็นบูดเปรีย
้ ว  จุก
ถ่ายอุจจาระไม่หมด
เสียดแทง  อุจจาระก็วิปริตไป
ต่างๆ จึงกลายเป็ นโรค
อุจจาระธาตุ
สิ่งที่ตรวจ ถ่ายลำบาก ถ่ายอุจจาระ 2-3 1) ถ่ายลำบาก ลักษณะเป็ น
พบ ครัง้ /สัปดาห์ ลักษณะเป็ นก้อน ก้อนแข็ง
แข็ง ไม่มีเลือดปน 2) ท้องอืด ผะอืดผะอม
ท้องอืด ผะอืดผะอม 3) ถ่ายอุจจาระ 2-3
ครัง้ /สัปดาห์
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

การรักษา
รักษาโดยการจ่ายยาสมุนไพร
ได้แก่ ชาชงมะขามแขก ขนาด
รับประทาน ครัง้ ละ 1.5 มล.
วันละ 1 ครัง้ ก่อนนอน
ยาธาตุอบเชย ขนาดรับ
ประทาน ครัง้ ละ 3-5 ช้อนโต๊ะ
วันละ 3 ครัง้ หลังอาหาร

กลไกการเกิดโรคตามทฤษฎีทางการแพทย์แผนไทย (มหาภูต
รูป 42)

จากการวิเคราะห์สมุฏฐานโรค กับ สมุฏฐานเจ้าเรือน พบว่า

มูลเหตุการณ์เกิด
โรค
- อาหาร
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ส่งเสริม
ส่งผล ส่งผลอาโป ปถวีธาตุ
เตโชธา วาโย
ส่งผล

ปริณามัคคี กุจฉิสยาวาตา -(ปิ ตตัง) พัทธะ - อันตคุนัง หย่อน


กำเริบ กำเริบ ปิ ตตะหย่อน - อันตัง หย่อน
- กรีสัง หย่อน
ไฟธาตุย่อย โกฏฐาสยาวาตา -คูถเสมหะ
อาหารที่กินลงไปถูก
อาหารทำงาน กำเริบ หย่อน
หมักหมมอยู่ภายใน
มากขึน

เมื่อไฟย่อย น้ำดีมีหน้าที่ช่วย ลำไส้ใหญ่เป็ นเวลา
เนื่องจากการ
อาหารนัน
้ ทำงาน นานทำให้ลำไส้ใหญ่
กินอาหาร อิ
มากขึน
้ ส่งผลให้ลม ดูดน้ำกลับ อุจจาระ
ริยบถ
พัดแรงขึน
้ เกิดแก๊ส จึงแห้ง เกิดอาการ

ในลำไส้มากขึน
้ มี ท้องผูก ผะอืดผะอม

อาการผะอืดผะอม
สังเกตได้จากการ
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

แผนภาพแสดงกลไกการเกิดโรคทางแผนไทย

คำอธิบายแผนภาพ

จากมูล เหตุก ารณ์เ กิด โรค 8 ประการส่ง ผลให้ธ าตุทงั ้ 4 แปรปรวน


ทำให้ผู้ป่วยรายนีช
้ อบการรับประทานอาหาร จำพวกเนื้อหมู เนื้อไก่ ไม่
ทานผัก ผลไม้ ดื่มน้ำน้อย มีอิริยบถในการนั่งนานและมีความเครียด จึงส่ง
ผลต่อเตโชธาตุ (ปริณามัคคีกำเริบ) ผู้ป่วยกระทำตามมูลเหตุ การเกิดโรค
แล้ว ทำให้ร่างกายมีไฟในการย่อยอาหารทำงานเพิ่มขึน
้ เพราะความร้อน
จะไปเผาผลาญการย่อย แต่สืบเนื่องจากมูลเหตุเหตุการณ์เกิดโรค จึงส่ง
ผลให้ร่างกายไม่ได้ถก
ู ขับออกมา ส่งผลต่อวาโยธาตุ (กุจฉิสยาวาตากำเริบ
โกฏฐาสยาวาตากำเริบ ) เมื่อไฟย่อยอาหารนัน
้ ทำงานมากขึน
้ ส่งผลให้ลม
พัดแรงขึน
้ เกิดแก๊สในลำไส้มากขึน
้ มีอาการผะอืดผะอม สังเกตได้จากการ
เคาะบริเวณใต้ลน
ิ ้ ปี่ พบเสียงโปร่ง ซึ่งมีลมในลมที่ทำ ให้กระเพาะอาหาร
เคลื่อนไหว ทำให้ลำไส้บีบรูดอาหารลงสู่ทวารทำงานช้าลง และลมที่อยู่ใน
ทางเดิน อาหารทำงานมากขึน
้ จึง ส่ง ผลให้ม ีอ าการท้อ งอืด ผะอืด อะอม
และอาการท้องผูกตามมา แล้วอาโปธาตุ (ปิ ตตังหรือพัทธะปิ ตตะหย่อน ,

คูถเสมหะหย่อน) เมื่อความร้อนและลมมากขึน
้ ทำให้น้ำดีมีหน้าที่ช่วยใน
การย่อยและดูดซึมไขมันลดน้อยลง ทำให้อุจาระแข็งและแห้ง เกิดการขับ
ถ่ายไม่สะดวก เมื่อเตโชธาตุ วาโยธาตุ และอาโปธาตุแปรปวน จึงส่งผลให้
ปถวีธาตุ ( อันตคุนงั หย่อน , อันตังหย่อน ,กรีสังหย่อน)ในส่วนของอาหาร
ที่กินลงไปถูกหมักหมมอยู่ภายในลำไส้ใหญ่เป็ นเวลานานทำให้ลำ ไส้ใหญ่
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ดูดน้ำกลับ อุจจาระจึงแห้ง เกิดอาการท้องผูก ผะอืดผะอม ในที่สุดอาหาร


ไม่สามารถขับของเสียออกจากลำไส้ได้น้อยลงจึงทำให้ท้องผูก

ตอนที่ 6 การวินิจฉัยโรค

การวินิจฉัยโรคทางเวชกรรมแผนไทย
ตามเบญจอินทรีย์
กายโรโค (อันตโรโค)

ตามหมอสมมุติ
คัมภีร์ธาตุบรรจบ (อสุรินทัญญาณธาตุ)

ตามมหาภูตรูป 42
ปถวี : กรีสังหย่อน อันตคุณังหย่อน อันตังหย่อน
อาโป : ปิ ตตังหย่อน
วาโย : กุจฉิสยาวาตากำเริบ, โกฏฐาสยาวาตากำเริบ
เตโช : ปริณามัคคีกำเริบ

การวินิจฉัยโรคทางเวชกรรมแผนปั จจุบัน
ท้องผูก Constipation
พระคัมภีร์ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

คัมภีร์เวชศึกษา , คัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัย , บัญชียาหลักแห่งชาติ ,


คัมภีร์ธาตุบรรจบ

ตอนที่ 7 การวางแผนการรักษาทางการแพทย์แผนไทย
1)สังเกตลักษณะทั่วไป
2)ซักประวัติอาการทั่วไป
3)ตรวจร่างกายตามระบบ
4)วินิจฉัยโรค
5)ให้รักษาโดยการจ่ายยาสมุนไพรและดูแลให้หัตถการโดยการนวดพื้น
ฐานท้อง นวดท่าโกยท้อง
6)ให้คำแนะนำ
7)ติดตามอาการ

แนวทางการรักษาที่เหมาะสม
 รักษาทางหัตถเวช  หัตถการทางผดุงครรภ์ไทย 
อื่นๆ จ่ายยาสมุนไพร

รายละเอียดของการรักษาโดยละเอียด
1)สังเกตลักษณะทั่วไป
2) ซักประวัติ พบว่า ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระ 2-3 ครัง้ /สัปดาห์
3)ตรวจร่างกาย พบว่า คลำพบก้อนแข็งข้างซ้ายช่วงเอว เคาะท้องพบ
เสียงทึบ และเสียงโปร่งบริเวณใต้ลน
ิ ้ ปี่
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

4)วินิจฉัย ทางแผนไทย อุจจาระธาตุ แผนปั จจุบัน ท้องผูก


Constipation
5)รักษาโดยการจ่ายยาสมุนไพร ได้แก่ ชาชงมะขามแขก และ ยาธาตุ
อบเชย
6)ให้คำแนะนำ
7)ติดตามอาการ

 การจ่ายยาสมุนไพร

จ่ายยาขนานที่ 1. คือ ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ/ตามตำรับ/ยาเดี่ยว


คือ ชาชงมะขามแขก (สมมุติจ่าย) จำนวนวันทานยา 3 วัน
ขนาดรับประทาน ครัง้ ละ 1.5 มล.
วันละ 1 ครัง้ ก่อนอาหาร o เช้า o กลางวัน o เย็น
หลังอาหาร o เช้า o กลางวัน o เย็น
เหตุผลที่จ่ายยาชาชงมะขามแขก เพราะ มะขามแขกเป็ นยาระบาย
แก้ท้องผูก
ข้อควรระวัง –สตรีมีครรภ์ หรือมีประจำเดือน ห้ามรับประทาน –
อาจมีอาการไซ้ท้อง –ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 10 ปี –ไม่ควรใช้ติดต่อกัน
เกิน 2 สัปดาห์

จ่ายยาขนานที่ 2. คือ ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ/ตามตำรับ/ยาเดี่ยว


คือ ยาธาตุอบเชย (จ่ายจริง) จำนวนวันทานยา 3 วัน
ขนาดรับประทาน ครัง้ ละ 3-5 ช้อนโต๊ะ o น้ำกระสายยา น้ำต้มสุก
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

วันละ 3 ครัง้ ก่อนอาหาร o เช้า o กลางวัน o เย็น


หลังอาหาร o เช้า o กลางวัน o เย็น
เหตุผลที่จ่ายยาธาตุอบเชย เพราะ ยาธาตุอบเชย ขับลม บรรเทา
อาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ ซึง่ ผู้ป่วยมีอาการท้องอืด ผะอืดผะอมร่วมด้วย

ข้อควรระวัง
ระวังการใช้ยาต่อเนื่อง โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ
ไต เนื่องจากเกิดอาการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้

การให้คำแนะนำ
1)แนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำอุ่น งดดื่มน้ำเย็น หรือดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อย
8-10 แก้ว
2)รับประทานอาหารที่มีกากใยมากๆเช่นผักผลไม้ งดอาหารประเภท
ย่อยยากเช่น เนื้อ
3)ออกกำลังกายสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 15-30 นาที เพื่อให้
ร่างกายเคลื่อนไหวและทำให้ขับถ่ายดีขน
ึ้
4)ฝึ กการขับถ่ายให้เป็ นเวลา
5)ผ่อนคลายอารมณ์ ลดความเครียด ลดความกังวล
6) รับประทายยาตามแพทย์สั่ง
นัดหมายเพื่อติดตามผลการรักษาครัง้ ที่ 1 วันที่ 9 มีนาคม 2560
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

การติดตามผลการรักษาครัง้ ที่ 1

วันที่ 9 มีนาคม 2560 HN


10736

ตอนที่ 1 ประวัติการเจ็บป่ วย

อาการสำคัญ
ขับถ่ายลำบาก เป็ นมา 3 วัน

อาการดำเนินโรค
จากการซักประวัติพบว่า ผู้ป่วยมีอาการขับถ่ายลำบาก อุจจาระก้อน
แข็ง แห้ง ลักษณะเหมือนขีแ
้ พะและมีอาการผะอืดผะอมร่วมด้วย

ตอนที่ 2 การตรวจร่างกาย และการตรวจสัญญาณชีพ


ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

การตรวจสัญญาณชีพ
อุณหภูมิ 36.7 องศาเซลเซียส อัตราการเต้นของชีพจร
76 ครัง้ /นาที
อัตราการหายใจ 20 ครัง้ /นาที ความดันโลหิต 100/72
มิลลิเมตรปรอท
น้ำหนัก 58 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร
BMI 22.66 แปรผล BMI น้ำหนักปกติ

การตรวจร่างกายเฉพาะที่
เคาะท้องพบเสียงทึบ และเสียงโปร่งบริเวณใต้ลน
ิ ้ ปี่

สรุปปั ญหาที่พบ สิ่งตรวจพบและอื่นๆ


1)ขับถ่ายลำบาก
2)ท้องอืด ผะอืดผะอม

ตอนที่ 3 การวางแผนการรักษาทางการแพทย์แผนไทย
1)สังเกตลักษณะทั่วไป
2)ซักประวัติ
3)ตรวจร่างกาย
4)ให้การรักษาโดยการจ่ายยาสมุนไพรและการดูแลให้หัตถการโดยการ
นวดพื้นฐานท้อง นวดท่าโกยท้อง
5)ให้คำแนะนำ
6)ติดตามอาการ
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

แนวทางการรักษาที่เหมาะสม

 การจ่ายยาสมุนไพร  รักษาทางหัตถเวช
 หัตถการทางผดุงครรภ์ไทย  อื่นๆจ่ายยาสมุนไพร

รายละเอียดของการรักษาโดยละเอียด
1)สังเกตลักษณะทั่วไป
2)ซักประวัติ พบว่า ผู้ป่วยมีอาการขับถ่ายลำบาก มีอาการท้องอืดเล็ก
น้อย
3)ตรวจร่างกาย พบว่า ไม่มีไข้ คลำพบก้อนแข็งข้างซ้ายช่วงเอว เคาะ
ท้องพบเสียงทึบ และเสียงโปร่งบริเวณใต้ลน
ิ ้ ปี่
4)รักษาโดยการดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานชาชงมะขามแขก ยาธาตุ
อบเชยและนวดพื้นฐานท้อง นวดท่าโกยท้อง
5)ให้คำแนะนำ
6)ติดตามอาการ

การให้คำแนะนำ
1)รับประทานอาหารย่อยง่าย มีกากใย เช่นผักผลไม้
2) ดื่มน้ำให้มากๆ 8-10 แก้ว งดน้ำอัดลม
3)พักผ่อนให้เพียงพอ ผ่อนคลายอารมณ์
4)ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

นัดหมายเพื่อติดตามผลการรักษาครัง้ ที่ 2 วันที่ 10 มีนาคม 2560

การติดตามผลการรักษาครัง้ ที่ 2 (โทรศัพท์สอบถามอาการ)

วันที่ วันที่ 10 มีนาคม 2560 HN


10736

ตอนที่ 1 ประวัติการเจ็บป่ วย

อาการสำคัญ
ขับถ่ายลำบาก เป็ นมา 3 วัน

อาการดำเนินโรค
จากการซักประวัติพบว่า ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระ 1 ครัง้ อุจจาระไม่แข็ง
มาก
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ตอนที่ 2 การตรวจร่างกาย และการตรวจสัญญาณชีพ

การตรวจสัญญาณชีพ
อุณหภูมิ - องศาเซลเซียส อัตราการเต้นของชีพจร -
ครัง้ /นาที
อัตราการหายใจ - ครัง้ /นาที ความดันโลหิต - มิลลิเมตร
ปรอท
น้ำหนัก 58 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร
BMI 22.66 แปรผล BMI น้ำหนักปกติ

การตรวจร่างกายเฉพาะที่
-

สรุปปั ญหาที่พบ สิ่งตรวจพบและอื่นๆ


- ขับถ่ายอุจจาระก้อนไม่แข็งมาก และยังมีอาการท้องอืดเล็กน้อย
มีการผายลม

ตอนที่ 3 การวางแผนการรักษาทางการแพทย์แผนไทย
1)ซักประวัติ สอบถามโดยการติดต่อทางโทรศัพท์
2)ให้คำแนะนำ
3)ติดตามอาการ

รายละเอียดของการรักษาโดยละเอียด
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

1) ซักประวัติ พบว่า การขับถ่ายดีขน


ึ ้ อุจจาระไม่แข็งมาก
2) ให้คำแนะนำ
3)ติดตามอาการ

การให้คำแนะนำ
1) รับประทานอาหารย่อยง่าย มีกากใย เช่นผักผลไม้
2) ดื่มน้ำให้มากๆ อย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
3) พักผ่อนให้เพียงพอ ผ่อนคลายอารมณ์
4) ออกกำลังกายสม่ำเสมอ

นัดหมายเพื่อติดตามผลการรักษาครัง้ ที่ 3 11 มีนาคม 2560


ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

การติดตามผลการรักษาครัง้ ที่ 3

วันที่ 11 มีนาคม 2560


HN 10736

ตอนที่ 1 ประวัติการเจ็บป่ วย

อาการสำคัญ
ท้องอืด

อาการดำเนินโรค
ผู้ป่วยขับถ่ายปกติแล้ว มีการผายลมร่วมด้วย

ตอนที่ 2 การตรวจร่างกาย และการตรวจสัญญาณชีพ

การตรวจสัญญาณชีพ
อุณหภูมิ 36.7 องศาเซลเซียส อัตราการเต้นของชีพจร
70 ครัง้ /นาที
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

อัตราการหายใจ 20 ครัง้ /นาที ความดันโลหิต 100/74


มิลลิเมตรปรอท
น้ำหนัก 58 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร
BMI 22.66 แปรผล BMI น้ำหนักปกติ

การตรวจร่างกายเฉพาะที่
คลำท้องไม่พบก้อน เคาะบริเวณใต้ลน
ิ ้ ปี่ มีเสียงโปร่ง

สรุปปั ญหาที่พบ สิ่งตรวจพบและอื่นๆ


1)ท้องอืด

ตอนที่ ๓ การวางแผนการรักษาทางการแพทย์แผนไทย
1)สังเกตลักษณะทั่วไป
2)ซักประวัติ
3)ตรวจร่างกาย
4)ให้การรักษาโดยนวดพื้นฐานท้องและนวดท่าโกยท้อง
5)ให้คำแนะนำ
6)ติดตามอาการ

แนวทางการรักษาที่เหมาะสม
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

 การจ่ายยาสมุนไพร  รักษาทางหัตถเวช
 หัตถการทางผดุงครรภ์ไทย  อื่นๆจ่ายยาสมุนไพร

รายละเอียดของการรักษาโดยละเอียด
1)สังเกตลักษณะทั่วไป
2)ซักประวัติ พบว่า ผู้ป่วยมีอาการท้องอืด
3)ตรวจร่างกาย พบว่า ไม่มีไข้ คลำท้องไม่พบก้อน
4)รักษาโดยการดูแลให้หัตถบำบัด โดยการนวดพื้นฐานท้อง และนวด
ท่าโกยท้อง
5)ให้คำแนะนำ
6)ติดตามอาการ

การให้คำแนะนำ
1)รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ รับประทานอาหารให้ครบ 3 มื้อ
ตรงเวลา และควรรับประทานอาหารที่ย่อยง่าย
2) หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
3)ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
4)ควรพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง

นัดหมายเพื่อติดตามผลการรักษาครัง้ ที่ 4 วันที่ 12 มีนาคม 2560


ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

การติดตามผลการรักษาครัง้ ที่ 4 โทรศัพท์สอบถามอาการ

วันที่ 12 มีนาคม 2560


HN 10736
ตอนที่ 1 ประวัติการเจ็บป่ วย

อาการสำคัญ
ท้องอืด

อาการดำเนินโรค
ผู้ป่วยผู้ป่วยขับถ่ายปกติแล้ว แต่ยังมีการผายลมร่วมด้วย

ตอนที่ 2 การตรวจร่างกาย และการตรวจสัญญาณชีพ

การตรวจสัญญาณชีพ
อุณหภูมิ - องศาเซลเซียส อัตราการเต้นของชีพจร -
ครัง้ /นาที
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

อัตราการหายใจ - ครัง้ /นาที ความดันโลหิต - มิลลิเมตร


ปรอท
น้ำหนัก 58 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร
BMI 22.66 แปรผล BMI น้ำหนักปกติ

การตรวจร่างกายเฉพาะที่
-

สรุปปั ญหาที่พบ สิ่งตรวจพบและอื่นๆ


1) ท้องอืด
ตอนที่ ๓ การวางแผนการรักษาทางการแพทย์แผนไทย
1)ซักประวัติ
2)ให้คำแนะนำ
3)ติดตามอาการ

รายละเอียดของการรักษาโดยละเอียด
1) ซักประวัติ พบว่า ผู้ป่วยมีอาการท้องอืด
2)ให้คำแนะนำ
3)ติดตามอาการ
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

การให้คำแนะนำ
1) รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ตรงเวลา รับประทานอาหารที่
ย่อยง่าย
2) หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
3) ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
4) พักผ่อนให้เพียงพอ อย่างน้อยวันละ 6-8 ชั่วโมง
5) ดื่มน้ำให้มากๆ อย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
6) รับประทานยาตามแพทย์สั่ง

นัดหมายเพื่อติดตามผลการรักษาครัง้ ที่ 5 วันที่ 13 มีนาคม 2560


ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

การติดตามผลการรักษาครัง้ ที่ 5

วันที่ 13 มีนาคม 2560


HN 10736

ตอนที่ 1 ประวัติการเจ็บป่ วย

อาการสำคัญ
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ผู้ป่วยขับถ่ายปกติ

อาการดำเนินโรค
ผู้ป่วยขับถ่ายปกติดี ขับถ่ายในช่วงเช้า ลักษณะสีเหลืองนุ่มฟู

ตอนที่ 2 การตรวจร่างกาย และการตรวจสัญญาณชีพ

การตรวจสัญญาณชีพ
อุณหภูมิ 36.7 องศาเซลเซียส อัตราการเต้นของชีพจร
70 ครัง้ /นาที
อัตราการหายใจ 20 ครัง้ /นาที ความดันโลหิต 105/80
มิลลิเมตรปรอท
น้ำหนัก 58 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร
BMI 22.66 แปรผล BMI น้ำหนักปกติ

การตรวจร่างกายเฉพาะที่
คลำท้องไม่พบก้อน

สรุปปั ญหาที่พบ สิ่งตรวจพบและอื่นๆ


เคาะท้องไม่พบเสียงผิดปกติ
ตอนที่ 3 การวางแผนการรักษาทางการแพทย์แผนไทย
1)สังเกตลักษณะทั่วไป
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

2)ซักประวัติ
3)ตรวจร่างกาย
4)ให้การรักษา
5)ให้คำแนะนำ
6)ติดตามอาการ

แนวทางการรักษาที่เหมาะสม

 การจ่ายยาสมุนไพร  รักษาทางหัตถเวช
 หัตถการทางผดุงครรภ์ไทย  อื่นๆ......................

รายละเอียดของการรักษาโดยละเอียด
1)สังเกตลักษณะทั่วไป
2)ซักประวัติ พบว่า ผู้ป่วยขับถ่ายวันละ 1 ครัง้
3)ตรวจร่างกาย พบว่า ไม่มีไข้ คลำท้องไม่พบก้อน
4)รักษาโดยการดูแลให้หัตถการโดยการนวดพื้นฐานท้อง และนวดท่า
โกยท้อง
5)ให้คำแนะนำ
6)ติดตามอาการ

การให้คำแนะนำ
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

1) รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ รับประทานให้ครบ 3 มื้อ ตรง


เวลา และควรรับประทานอาหารที่ย่อยง่าย
2) ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
3) พักผ่อนให้เพียงพอ อย่างน้อยวันละ 6-8 ชั่วโมง
4) ดื่มน้ำให้มากๆ อย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว

สรุปผลการรักษา
จากการที่ได้ทำการรักษาและติดตามการรักษาผู้ป่วยรายนีท
้ งั ้ หมด 5
ครัง้ โดยการสมมติจ่ายยาและจ่ายยาจริง ประกอบกับวิธีการรักษาทาง
หัตถเวชและทำการดู ฟั ง เคาะ คลำ ก่อนทำการรักษา
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ผู้ป่วยมีอาการขับถ่ายลำบาก มีอาการผะอืดผะอม อุจจาระมีลักษณะแข็ง


แห้ง เป็ นก้อนเล็กๆเหมือนขีแ
้ พะ รู้สึกถ่ายอุจจาระไม่เสร็จ หลังทำการ
รักษา พบว่า ผูป
้ ่ วยมีอาการดีขน
ึ ้ ตามลำดับ ครัง้ แรก ขับถ่ายลำบาก
อุจจาระแห้งแข็ง มีผะอืดผะอม ครัง้ ที่2 ผู้ป่วยอุจจาระ 1 ครัง้ อุจจาระไม่
แข็งมาก ครัง้ ที่3 ขับถ่ายเริ่มดีขน
ึ ้ มีการผายลมร่วมด้วย ครัง้ ที่ 4 ขับถ่ายดี
ขึน
้ มีผายลมร่วมด้วย ครัง้ ที่ 5 ขับถ่ายปกติ ในช่วงเช้า มีลักษณะสีเหลือง
ฟู นุ่ม สามารถสรุปได้ดังนี ้
ครัง้ วัน เดือน ปี อาการ การรักษา
ที่
นัด 8 มีนาคม ขับถ่ายลำบาก เป็ น 3 สมมตจ่ายชาชงมะขาม
ซัก 2560 วัน แขก
ประ จ่ายยาธาตุอบเชย
วัติ ให้หัตถการโดยการ
และ นวดพื้นฐานท้องและ
รักษ นวดท่าโกยท้อง

1 9 มีนาคม ผู้ป่วยมีอาการขับถ่าย สมมตจ่ายชาชงมะขาม
2560 ลำบาก อุจจาระก้อน แขก
แข็ง แห้ง ลักษณะ จ่ายยาธาตุอบเชย
เหมือนขีแ
้ พะและมี ให้หัตถการโดยการ
อาการผะอืดผะอมร่วม นวดพื้นฐานท้องและ
ด้วย นวดท่าโกยท้อง
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

2 10 มีนาคม ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระ 1 แนะนำการให้คำ


2560 ครัง้ อุจจาระไม่แข็ง แนะนำ (ติดตามทาง
มาก โทรศัพท์)

3 11 มีนาคม ผู้ป่วยขับถ่ายเริ่มปกติ การให้หัตถการโดย


2560 แล้ว มีการผายลมร่วม การนวดพื้นฐานท้อง
ด้วย และนวดท่าโกยท้อง
4 12 มีนาคม ผู้ป่วยขับถ่ายเริ่มปกติ แนะนำการให้คำ
2560 แล้ว มีการผายลมร่วม แนะนำ (ติดตามทาง
ด้วย โทรศัพท์)
5 13 มีนาคม ผู้ป่วยขับถ่ายปกติดี ขับ การให้หัตถการโดย
2560 ถ่ายในช่วงเช้า ลักษณะ การนวดพื้นฐานท้อง
สีเหลืองนุ่มฟู

ผลการรักษา

ครัง้ ที่ 2 ระดับ 3


ครัง้ ที่ 1 ระดับ 1
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ครัง้ ที่ 4 ระดับ 4


ครัง้ ที่ 3 ระดับ 4

ครัง้ ที่ 5 ระดับ 6

อภิปรายผลการรักษา
จากการรักษาและติดตามผลการรักษา 5 ครัง้ พบว่า ผู้ป่วยมีอาการ
ดีขน
ึ ้ ตามลำดับ จากที่ขับถ่ายลำบาก ได้จ่ายยาธาตุอบเชยและให้หัตถการ
โดยการนวดพื้นฐานท้อง ผูป
้ ่ วยขับถ่ายดีขน
ึ ้ เรื่อย จนขับถ่ายปกติดี
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ภาคผนวก
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ชาชงมะขามแขก

ชื่อสมุนไพร : ชา ชงมะขามแขก

ชื่อสามัญ (ชื่อภาษาอังกฤษ) : Alexandria senna, Alexandrian


senna Indian senna ม senna, Tinnevelly senna

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Senna alexandrina P. Miller


ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

ชื่อวงศ์ : Fabaceae (Leguminosae-Caesalpinioideae)

ส่วนที่ใช้ : ใบแห้ง และฝั กแห้ง ช่วงอายุ 1 เดือนครึ่ง (หรือก่อน


ออกดอก)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

ต้นมะขามแขก จัดเป็ นไม้พุ่ม มีความสูงของต้นประมาณ 0.5-1.5


เมตร ต้นมะขามแขกเป็ นพืชทนแร้ง ไม่ชอบที่น้ำท่วมขัง เพราะจะทำให้
รากเน่า สามารถเจริญเติบโตได้ดีในดินที่ลักษณะร่อนมีความอุดมสมบูรณ์
ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ดและการใช้ต้นกล้า

ใบมะขามแขก ใบเป็ นใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อยเป็ น


รูปวงรีและรูปใบหอก ใบแห้งมีสีเขียวอมน้ำตาล ขอบใบเรียบ ปลายและ
โคนใบแหลม โคนใบทัง้ สองมีขนาดไม่สมมาตรกัน และมีขนนุ่มปกคุลมอยู่
ใบมีขนาดกว้างประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 2.5-5
เซนติเมตร ใบมีกลิ่นเหม็นเขียว มีรสเปรีย
้ ว หวานชุ่ม

ดอกมะขามแขก ออกดอกเป็ นช่อตามซอกใบตอนปลายกิ่ง กลีบดอก


มีสเี หลือง

ผลมะขามแขก หรือ ฝั กมะขามแขก ลักษณะของผลเป็ นฝั กแบน รูป


ขอบขนาน ฝั กอ่อนมีสีเขียว

สรรพคุณมะขามแขกในตำรายาไทย :
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

มะขามแขกเป็ นยาระบายท้อง แก้ท้องผูก ขับลมในลำไส้ ทำให้


อาเจียน ถ่ายพิษอุจจาระเป็ นมูก ถ่ายน้ำเหลือง ถ่ายพิษไข้ ถ่ายโรคบุรุษ
ถ่ายพยาธิ แก้ริดสีดวงทวาร ใบทำให้ไซ้ท้องมากกว่าฝั ก ควรใช้ร่วมกับตัว
ยาขับลม เช่นกระวาน หรือกานพลู เป็ นต้น เหมาะกับคนที่กำลังน้อย
หรือเด็ก และคนที่เป็ นริดสีดวงทวาร

์ างเภสัชวิทยาของมะขามแขก
ฤทธิท
์ างเภสัชวิทยาของมะขามแขก ช่วยในการขับถ่ายอุจจาระ ในผู้
ฤทธิท
์ ่อต้านการก่อกลายพันธุ์ และต้านเชื้อแบคทีเรีย
ป่ วยท้องผูกได้ มีฤทธิต

องค์ประกอบทางเคมีของมะขามแขก
ในใบ และฝั ก ของมะขามแขก มีสารกลุ่มไฮดรอกซีแอนทราซีน, แอ
นทราควิโนน (สารออกฤทธิก์ ระตุ้นให้มีการบีบตัวของลำไส้ใหญ่ทำให้เกิด
การอยากถ่าย), เซนโนไซด์เอ, บี, ซี และ ดี (Sennosides a, b, c and
d), อีโมดิน (emodin) และเรอิน (rhein) เป็ นต้น

ที่มา : ฐานข้อมูลเครื่องยาสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย


อุบลราชธานี
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

2. ยา ตำรับ ชื่อ
ยาธาตุอบเชย (ยาน้ำ)
ส่วนประกอบ
เปลือกอบเชย เปลือกสมุลแว้ง ลูกกระวาน ดอกกานพลู รากชะเอม
เทศ หนักสิง่ ละ 800 mg
เกล็ดสะระแหน่ การบูร หนักสิ่งละ 50 mg
วิธีใช้
รับประทานยาครัง้ ละ 3-5 ช้อนโต๊ะ วันละ 3 ครัง้ หลังอาหาร เช้า –
กลางวัน – เย็น
สรรพคุณ
ขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ จุกเสียดแน่นท้อง
ข้อควรระวัง
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

อย่าใช้ยาต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของ
ตับ ไต เนื่องจากจากอาจเกิดการสะสมของการบูร อาจทำให้เกิดพิษได้

การวิจย
ั ทางคลินิกของยาธาตุอบเชย
การวิจัยประเมินประสิทธิผลและความปลอดภัยของยาธาตุอบเชย
ต่อภาวะ functional dyspepsia ซึ่งหมายถึง ภาวะผิดปกติในทางเดิน
อาหารส่วนต้น แสดงออกด้วย อาการจุกแน่นหลังมื้ออาหาร อิ่มเร็วกว่า
ปกติ ปวด หรือแสบร้อนบริเวณลิน
้ ปี่ เป็ นๆ หายๆ เกิดอาการอย่างน้อย 2
ครัง้ ต่อสัปดาห์ นานอย่างน้อย 3 เดือน อาจพบร่วมกับโรคกรดไหลย้อน
หรือลำไส้แปรปรวน การวิจัยนี ้ เปรียบเทียบกับยา ธาตุอบเชย กับยา
simethicone โดยใช้รูปแบบ Randomized controlled study โดยผู้
ป่ วย functional dyspepsia แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม โดยทัง้ 2 กลุ่ม ใช้ยา
ติดต่อกันนาน 14 วัน ประเมินผลการรักษาภายหลังการรักษาหลัง 7 วัน
และ 14 วัน พบว่าลักษณะทั่วไปของผู้ป่วยทัง้ 2 กลุ่มไม่แตกต่างกันอย่าง
มีนัยสำคัญ อาการของผู้ป่วยและความรุนแรงเฉลี่ยอาการของผูป
้ ่ วยภาย
หลังการรักษาด้วยยาทัง้ สองชนิดไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ จำนวนผู้
ป่ วยที่อาการดีขน
ึ ้ มากหรืออาการหายไปภายหลังการรักษาเพิ่มขึน
้ จาก
ก่อนการรักษาอย่างมีนัยสำคัญ ผลการรักษาของยาทัง้ สองชนิดไม่แตกต่าง
กันอย่างมีนัยสำคัญ มีผลข้างเคียงของการรักษาร้อยละ 9.3 ในกลุ่ม
simethicone และร้อยละ 9.5 ในกลุ่มยาธาตุอบเชย ผู้ป่วยส่วนมากพึง
พอใจต่อการรักษาไม่แตกต่างกัน ค่าใช้จ่ายของยาธาตุอบเชยถูกกว่ายา
simethicone สรุปได้ว่า การรับประทานยาธาตุอบเชยติดต่อกัน 14 วัน
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

มีประสิทธิผลและความปลอดภัยในการรักษาผู้ป่วย functional
dyspepsia ไม่แตกต่างจากการรักษาด้วย simethicone
การติดตามครัง้ ที่ 1 วันที่ 9 มีนาคม 2560

1. ซักประวัติผู้ป่วย

2. การตรวจร่างกายเฉพาะที่
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

3. การนวดพื้นฐานท้อง , โกยท้องและประคบสมุนไพร
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

4. การจ่ายยาสมุนไพรและให้คำแนะนำ

การติดตามครัง้ ที่ 2 วันที่ 10 มีนาคม 2560


ติดตามการรักษาของผู้ป่วย โดยการสอบถามทางโทรศัพท์ เนื่อง
ด้วยผู้ป่วยติดธุระ จึงไม่สามารถมาได้

การติดตามครัง้ ที่ 3 วันที่ 11 มีนาคม 2560


ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

1. ซักประวัติ วัดสัญญาณชีพ

2. การตรวจร่างกาย เฉพาะที่
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

3. การนวดพื้นฐานท้อง , โกยท้องและประคบสมุนไพร

การติดตามครัง้ ที่ 4 วันที่ 12 มีนาคม 2560 ติดตามการรักษาของผู้ป่วย


โดยการสอบถามทางโทรศัพท์ เนื่องด้วยผู้ป่วยติดธุระ จึงไม่สามารถมาได้

การติดตามครัง้ ที่ 5 วันที่ 13 มีนาคม 2560


1. การซักประวัติ วัดสัญญาณชีพ
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

2. การตรวจร่างกายเฉพาะที่
ก า ร ฝึ ก เ ว ช ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก ร ณ ี ศ ึ ก ษ า ผ ู ้ ป่ ว ย แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย
(Case study)| 1

3. การนวดพื้นฐานท้อง , โกยท้องและประคบสมุนไพร

You might also like