You are on page 1of 94

117 แสงและทัศนอุปกรณ์

แสงและทัศนอุปกรณ์
Step ความรู้ที่ 1 : การเคลือ่ นทีข่ องแสงและการเกิดเงา

1.1 ) การเกิดเงา
เนื่องจากแสงเดินทางเป็นเส้นตรง ดังนั้น ถ้ามีวัตถุมาบังทางเดินแสงจะเกิด เงา ที่ด้านหลังวัตถุนั้น
1. แหล่งกาเนิดแสงเป็นจุด 2. แหล่งกาเนิดแสงมีขนาดเล็กกว่าวัตถุ 3. แหล่งกาเนิดแสงมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุ

การคานวณเกีย่ วกับเกีย่ วกับเงา


Step 1. วาดรูปการเกิดเงา
Step 2. ใช้สามเหลี่ยมคล้ายคานวน

1.2) ปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน้ ตามธรรมชาติเกีย่ วกับเรือ่ งเงา


สุริยปุ ราคา จันทรุปราคา

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 118

EXAM : 1 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


Step 1 Step 2. วาดรูป
Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(....)ค้างไว้

Ex1. โป๊ะไฟกระจกฝ้าทรงกลมมีรัศมี 10 เซนติเมตร และลูกเทนนิสขนาดรัศมี 2 เซนติเมตร วาง ณ


ตาแหน่งจุดศูนย์กลางทั้งสองห่างกัน 1 เมตร เกิดเงามืดและเงามัวบนฉากที่วางอยู่ใกล้ลูกเทนนิส
พอสมควร จงหาตาแหน่งใกล้ลูกเทนนิสในแนวที่ไม่มีเงามืดเลย
1. 0.20 เมตร
2. 0.25 เมตร
3. 0.30 เมตร
4. 0.35 เมตร

Ex2. วัตถุกลมแบนทึบแสง B มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2a


วางอยู่จุดกึ่งกลางระหว่างต้นกาเนิดแสง A และ
ฉาก C ปรากฏเงามืดของ B บนฉากโดยไม่มีเงา
มัว ถ้ามีต้นกาเนิดแสงอีกอันหนึ่ง F เหมือน A
ทุกประการ มาวางโดยที่แนว AF ขนานกับฉาก
C AF จะมีค่าเท่าไร เงาของ B อันเกิดจาก A
จะต่อกับเงาของ B อันเกิดจาก F พอดี
1. a 2. 2a 3. 3a 4. 4a

Ex3. ชายคนหนึ่งสูง 2 เมตร ยืนห่างจากเสาไฟ 15 เมตร ตามแนวราบ ถ้าบนยอดเสาไฟซึ่งสูง


6 เมตร มีหลอดไฟติดอยู่ จงหาความยาวเงาของชายคนนั้นบนพื้นดิน
1. 5 เมตร
2. 6 เมตร
3. 7.5 เมตร
4. 9 เมตร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


119 แสงและทัศนอุปกรณ์

Step ความรู้ที่ 2 : สมบัตกิ ารสะท้อนของแสง


กฏการสะท้อน
1. รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน และเส้นตั้งฉากต้องอยู่ใน
ระนาบเดียวกัน
2. มุมตกกระทบ ( ) = มุมสะท้อน ( )
เส้นแนวฉาก คือ เส้นตั้งฉากกับผิวสะท้อน
มุมตกกระทบ คือ มุมที่รังสีตกกระทบทากับเส้นแนวฉาก
มุมสะท้อน คือ มุมที่รังสีสะท้อนทากับเส้นแนสฉาก

ผิวสะท้อนโค้งเว้า ผิวสะท้อนโค้งนูน

1. สาหรับผิวโค้ง เส้นตรงทีล่ ากผ่านจุดตกกระทบกับจุดศูนย์กลางความโค้งคือเส้นแนวฉาก


2. ถ้ารังสีตกกระทบตกตั้งฉากกับผิวสะท้อน รังสีสะท้อนจะพุ่งย้อนกลับไปในเส้นทางเดิม

NOTE.

ผิวขรุขระการสะท้อนจะไม่เป็นระเบียบ แต่ มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน เสมอ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 120

Step ความรู้ที่ 3 : การเกิดภาพ (Image )


1. ภาพจริง (Real Image) 2. ภาพเสมือน (Virtual Image)
ภาพจริงเกิดจากการตัดกันของรังสีจริง ภาพชนิดนี้ ภาพเสมือนเกิดจากการตัดกันของรังสีเสมือน ภาพชนิด
มีลักษณะเป็น ภาพหัวกลับ และใช้ฉากรับได้ เช่น นี้มีลักษณะเป็น ภาพหัวตั้ง นาฉากมารับไม่ได้ ใช้ตามองได้
ภาพจริงที่เกิดจากเลนล์นูนภายในกล้องถ่ายรูป ภาพ โดยตรง เช่น ภาพเสมือนจากกระจกราบที่น้องใช้แต่งตัว,
จริงที่เกิดจากกล้องฉายภาพยนต์ เป็นต้น กระจกเว้าที่หมอฟันใช้ หรือกระจกนูน ที่ติดไว้ตามร้าน
สะดวกซื้อ เป็นต้น
3.1)การหาตาแหน่งภาพ
พารัลแลกซ์ ( Parallax ) คือ การเปลี่ยนตาแหน่งของวัตถุเมื่อเปลี่ยนทิศการมอง
ประโยชน์ : 1. ใช้ตรวจว่า วัตถุ 2 อัน อยู่ที่ตาแหน่งเดียวกัน หรือไม่
2. ใช้หาตาแหน่งของภาพ

 สิ่งสองสิง่ อยู่คนละตาแหน่งกัน:
จะเกิดการเปลี่ยนแปลงตาแหน่ง
เมื่อเปลี่ยนทิศการมอง
หรือ เรียกว่า “เกิดพารัลแลกซ์ ”

 สิ่งสองสิง่ อยูท่ ี่ตาแหน่งเดียวกัน : จะไม่เกิดการ


เปลี่ยนตาแหน่งเมื่อเปลี่ยนทิศการมอง
หรือ เรียกว่า “ ไม่เกิดพารัลแลกซ์ ”

ถ้าน้องแจอคาว่าไม่เกิดพารัลแลกซ์เมือ่ ไรนัน่ แสดงว่าไอ้สิ่งสองสิง่ นัน้ มันซ้อนกันอยู่ทตี่ าแหน่งเดียวกัน

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


121 แสงและทัศนอุปกรณ์

3.2) ผลทีเ่ กิดขึ้นจากการหมุนกระจกราบไปจากแนวเดิมเป็นมุม 𝜽

ถ้าน้องฉายลาแสงตกกระทบผิวกระจกเงาแน่นอนว่ามันต้องสะท้อน โดยการสะท้อนก็จะเป็นไปตามกฎ
การสะท้อนคือมุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน ในที่นี้สมมติว่ามุมตกกระทบกับมุมสะท้อนมีค่าเป็น x
จากนั้นให้น้องบิดกระจกเป็นมุม ดังรูป แน่นอนว่าแนวของรังสีสะท้อนต้องเปลี่ยนไป คาถามคือแล้วรังสี
สะท้อนใหม่มันบิดไปจากแนวสะท้อนเดิมเท่าไรล่ะ?
วิเคราะห์จากรูปเมื่อน้องบิดกระจกไปเป็นมุม แน่นอนว่าเส้นปกติต้องบิดไปจากเดิมเป็นมุม 𝜽 ด้วย(ผิว
กระจกจะตั้งฉากกับเส้นปกติเสมอ) ถ้ามุมตกกระทบเดิมเป็น x มุมตกกระทบใหม่จะเป็น x+𝜽 จากรูปน้อง

จะหามุมระหว่าง 𝐶 กับ 𝐶 ได้
มุมระหว่ าง 𝑪 กับ 𝑪′ =

มุมระหว่ าง 𝑪 กับ 𝑪′ = 2𝜽

ถ้ากระจกเบนจากเดิม รังสีสะท้อนใหม่จะเบนจากเดิม 2

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 122

3.3) การเกิดภาพในกระจกเงาราบ

1. เป็นภาพเสมือนหัวตั้ง
2. ระยะภาพ = ระยะวัตถุ
3. ขนาดภาพ = ขนาดวัตถุ
4. ภาพจะกลับซ้ายเป็นขวา กลับขวาเป็นซ้าย ซึ่งเรียกว่า “ปรัศวภาควิโลม ”

3.4) การเขียนภาพทีเ่ กิดจากกระจกราบ


1. จากปลายวัตถุลากรังสีตกกระทบกระจก 2 เส้น
คือ รังสีตกตั้งฉากกับรังสีที่ทามุมใดๆ กับกระจก
2. เขียนรังสีสะท้อน แล้วต่อแนวรังสีสะท้อนไปตัดกัน
ตาแหน่งที่แนวรังสีสะท้อนตัดกัน คือ “ตาแหน่งภาพ

การคานวณเกีย่ วกับการเห็นภาพในกระจกราบ
Step 1. วาดรูปภาพที่เกิดขึ้นที่ด้านหลังกระจกเลย โดยจัด
แนวการวางกระจก ให้ ระยะภาพต้องเท่ากับระยะวัตถุ
และขนาดของภาพต้องเท่ากับขนาดของวัตถุ
Step 2.ลากเส้นจากตาไปยังภาพ (เป็นรูปสามเหลี่ยม)
Step 3.ใช้สามเหลี่ยมคล้ายคานวณสิ่งที่โจทย์ตอ้ งการ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


123 แสงและทัศนอุปกรณ์

3.6) การคานวณหาภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาราบ 2 บานวางทามุม 𝜽 ต่อกัน

สูตรการหาจานวนภาพทีเ่ กิดขึน้ 𝜃 แทนมุมที่กระจกสองบานวางทามุมกัน


𝑛 แทน จานวนภาพที่เกิดขึ้น

 ถ้า n เป็นจุดทศนิยมให้ปัดขึ้น เช่น n = 4.1 ให้ปัดขึ้น


เป็น 5 ( ต้องปัดขึน้ เสมอ!! )

EXAM : 2 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


การสะท้อนของแสงบน Step 2. วาดรูป
Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(.....)ค้างไว้
กระจกเงาราบ

Ex1. วางกระจกเงาราบ 2 บานจรดกันทามุม 60๐ หันหน้าเข้าหากัน ถ้าส่งลาแสงให้ขนานกับกระจก


บานแรกไปกระทบบานที่สอง แสงสะท้อนครั้งที่สองจากกระจกชุดนี้จะทามุมกับกระจก M1
เท่าไร

M2

60°

M1

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 124

Ex2. กระจกเงาสองแผ่นวางทามุมกัน 30 องศา รังสี AB ตกกระทบกระจกบานแรกที่จุด B ด้วยมุมตก


กระทบ 20 องศา รังสี CD ที่สะท้อนจากกระจกบานที่สองที่จุด C มีมุมสะท้อน เป็นกี่องศา

Ex3.แสงจากจุด S สะท้อนจากผิวกระจกที่จุด A ไปตามแนว AR ถ้าเบนกระจกไปจากแนวเดิมเป็น


มุม  แนวแสงสะท้อนใหม่จะเบนจากเดิมเป็นมุมเท่าไร
1. 
S
N 2. 
R
3. 2 
4. 2 

A θ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


125 แสงและทัศนอุปกรณ์

Ex4. กระจกเงาระนาบวางขนานกับตัวตึกห่างออกไป 50 เมตร ชายคนหนึ่งอยู่ที่ชั้นล่าง สุดของ


ตึก ส่องแสงตกตั้งฉากพอดี ถ้าหมุนกระจกเงยขึ้น 30๐ ปรากฏว่าแสงสะท้อนจะตกกระทบยอด
ตึกพอดี จงหาความสูงตึก
1. 50 3 เมตร
2. 50 เมตร
3. 100 3 เมตร
4. 100 เมตร
3

30๐

Ex5. รังสีขนาน ตกระทบกระจกเงาราบสองแผ่น ซึ่งทามุม 


ถ้ารังสีสะท้อนทามุม 30 และ 40 กับแนวรังสีเดิม
ดังรูป มุม  เป็นเท่าใด
1. 20
2. 25
3. 30
4. 35

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 126

Ex6. รังสี ๆ หนึ่งตกกระทบกระจกนูน โดยแนวรังสีขนานกับแกนมุขสาคัญ และอยู่ห่าง จากแกนมุขสาคัญ


เท่ากับ b ถ้ารังสีสะท้อนจากกระจกทามุม 120 กับแนวรังสีเดิมดังรูป รัศมีความโค้งของกระจกเป็น
เท่าใด
1. 3b
2. 2b
3. 2 2b
4. 2 3b

Ex7. ชายคนหนึ่งยืนอยู่หน้ากระจกเงาราบ5 เมตร ถ้าชายคนนี้เดินเข้าหากระจก 1 เมตร ภาพจะเคลื่อนไป


จากเดิมกี่เมตร

Ex8. ชายคนหนึ่งยืนอยู่หน้ากระจกเงาราบ 5 เมตร ถ้าเคลื่อนกระจกเข้าหาชายคนนี้ 1 เมตร ภาพจะเคลื่อนไป


จาก เดิมกี่เมตร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


127 แสงและทัศนอุปกรณ์

Ex9. เลื่อนกระจกเงาระนาบเข้าหาชายคนหนึ่งด้วยอัตราเร็ว 2 เมตร/วินาที อยากทราบว่าภาพของชาย


คนนี้จะเลื่อนด้วยอัตราเร็วเท่าใด (ตอบ 4 m/s)

Ex10. นายส้มโอสูง 1.80 เมตร ต้องการกระจกเงาที่จะใช้ส่องมองเห็นได้ตลอดตัว กระจกเงาจะมีความยาวอย่าง


น้อยที่สุดกี่ cm และ จะต้องติดตั้งไว้สูงจากพื้นเท่าไร
(ตอบ 90 cm, 85 cm)

สรุป :

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 128

Ex11. ชายคนหนึ่งสูง 170 เซนติเมตร และตาของเขาอยู่ห่างจากส่วนที่สูงที่สุดในร่างกายเป็นระยะ10


เซนติเมตร มีกระจกราบตั้งอยู่บนพื้นในแนวดิ่งขอบบนของกระจกต้องอยู่สูงจากพื้นเท่าใดจึงจะทาให้เขา
มองเห็นเอวซึ่งอยู่สูงจากพื้น 100 เซนติเมตร
1. 100 cm 2. 130 cm 3. 160 cm 4. 170 cm

Ex12. เด็กคนหนึ่งกาลังตัดผมอยู่ เขาได้พยายามมองภาพต่างๆ ที่ติดบนผนังด้านหลังโดยมองผ่านกระจกเงา


ราบที่อยู่ข้างหน้า จงหาว่าส่วนของผนังที่เด็กเห็นในกระจกกว้างเท่าใด ถ้ากระจกมีความกว้าง 1 เมตร
ผนังด้านหลังขนานกับระนาบกระจกและห่างจากกระจกเงาเป็นระยะ 5 เมตร ตาแหน่งตรงที่นั่งห่าง
จากกระจกเป็นระยะ 2 เมตร และเขามองเห็นตัวเขาอยู่กลางกระจกพอดี(ให้คาตอบในหน่วยเมตร)
(ตอบ 3.5 เมตร)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


129 แสงและทัศนอุปกรณ์

Ex13. จงคานวณหาจานวนภาพที่เกิดขึ้นจากกระจกเงาราบ 2 บานวางทามุมกัน

1.1 60๐ 1.2 90๐ 1.3 0๐

การบ้านชุดที่ 2

1. กระจกเงาราบยาว 10 เซนติเมตร ห่างจากตา 20 เซนติเมตร ตามองเห็นภาพต้นไม้ในกระจกได้ตลอดทั้งต้น


พอดี ถ้าต้นไม้ห่างจากกระจก 6 เมตร จงหาความสูงของต้นไม้นี้
2. คุณป้าคนหนึ่งนั่งอยู่บนเก้าอี้ ซึ่งทาให้ตาของเขาอยู่สูงจากพื้น 1.2 เมตร ถ้าให้เขานั่งห่างจากผนัง
ห้อง 6 เมตร สามารถมองเห็นหลอดไฟฟ้าที่ติดอยู่กับผนังห้องสูงจากพื้น 2.4 เมตร ในกระจก
เงาเล็กๆ ที่วางไว้ที่พื้นห้องพอดี จงหาว่ากระจกวางห่างจากที่เขานั่งกี่เมตร

2.4m

3. ผู้กากับการแสดงเลื่อนกระจกเข้าหานักแสดงด้วยอัตราเร็ว 2 เมตร/วินาที ภาพนักแสดงจะเคลื่อนที่ด้วย


อัตราเร็วกี่เมตร/วินาที
1. 2
2. 4
3. 10
4. 12
พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
คลายปม ฟิสกิ ส์ 130
ทบทวน

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


131 แสงและทัศนอุปกรณ์

Step ความรู้ที่ 4 : การเกิดภาพบนกระจกโค้งทรงกลม


1.กระจกเว้า

ระยะโฟกัสของกระจกเว้า

2.กระจกนูน

ระยะโฟกัสของกระจกนูน
การเขียนทางเดินแสงเพือ่ หาตาแหน่งและลักษณะการเกิดภาพ
1 . หลักการเกิดภาพจากกระจก
ภาพจากกระจกโค้งเกิดจากการตัดกันของรังสีสะท้อนอย่างน้อย 2 เส้น (โดยทั่วไปใช้ 2 เส้น)
1. รังสีสะท้อนผ่านจุด f (รังสีสามารถสะท้อนผ่านจุด f ได้ต้องเป็นลาแสงที่ขนานกับแกนมุขสาคัญ )
2. รังสีที่สะท้อนผ่านจุด C(รังสีตกกระทบที่ผ่านจุด C จะเกิดการสะท้อนกลับในทิศทางเดิม )
2. วิธกี ารเขียนภาพ
1. จากจุดปลายวัตถุ (หัววัตถุ) ลากรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสาคัญ แล้วสะท้อนจากกระจกผ่านจุด f
2. จากจุดปลายวัตถุ (ที่หัววัตถุเหมือนเดิม) ลากรังสีตกกระทบผ่านจุด C ไปกระทบผิวกระจกแล้วสะท้อน
กลับทางเดิม (โดยทั่วไปจะเขียนเป็นเส้นตรงตัดผ่านจุด C เท่านั้น เพราะทราบดีอยู่แล้วว่าอย่างไรก็ต้อง
สะท้อนกลับทางเดิม)………วิธีนี้เป็นวิธีที่ใช้เรียนใช้สอนกันในม.ปลาย อีกวิธีหนึ่งให้ดูจากการสอนของพี่นะ
3. จุดที่รังสีตัดกันจะได้ภาพดังรูป (จุดตัดคือหัวของภาพ )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 132

4.1 การวาดภาพจากกระจกเว้า
(S = )

2f f

1. (2f <S< )

2f f

2. (S = 2f )

2f f

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


133 แสงและทัศนอุปกรณ์

3. (f < S < 2f )

2f f

5. (S = f )

2f f

6. (0<S<f )

2f f

#ถ้าหมอฟันใช้กระจกเว้าความยาวโฟกัส 10 cm หมอฟันควรจัดระยะของกระจกกับระยะของฟันให้ห่างกันอย่างไร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 134

4.2 การวาดภาพจากกระจกนูน
1.(S =

2.(0<S<

f 2f

4.3 เปรียบเทียบภาพทีเ่ กิดจากกระจกเว้าและกระจกนูน (ตรงนีส้ าคัญนะ)


กระจกเว้า
สังเกตว่ากระจกเว้าให้ภาพได้ทกุ ชนิด ขึ้นกับว่าเราเอาวัตถุ
ไปวางไว้ที่ไหน
-ถ้าเราวางไว้ไกลกว่า จุด C จะเกิดภาพจริงขนาดเล็ก
-ถ้าเราวางที่ จุด C ,2F จะได้ภาพจริงขนาดเท่ากับวัตถุ
-ถ้าวางระหว่างจุด C กับ F จะได้ภาพจริงขนาดใหญ่
2f f -ถ้าวางวัตถุทรี่ ะยะ F จะเกิดภาพทีร่ ะยะอนันต์
-ถ้าวางวัตถุนอ้ ยกว่าระยะ F จะได้ภาพเสมือนขนาดใหญ่
(หมอฟันใช้กระจกเว้าส่องฟันคนไข้โดยวางกระจกห่างจาก
กระจกนูน ฟันน้อยกว่าระยะ F)

กระจกนูนให้ภาพเสมือนหัวตัง้ ขนาดเล็กกว่าวัตถุเท่านัน้
เนื่องจากกระจกนูนให้ภาพขนาดเล็กมุมมองกว้าง จึงถูก
นาเอาไปใช้ติดตามมุมถนน ทาเป็นกระจกมองข้างของ
รถยนต์ ติดไว้ในร้านค้าเพื่อป้องกันการลักขโมยสินค้า

หมายเหตุ: หน้ากระจก คือด้านเดียวของวัตถุ หลังกระจกคือด้านตรงข้ามกับวัตถุ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


135 แสงและทัศนอุปกรณ์

4.4 สมการการคานวณเกีย่ วกับกระจกโค้ง


1. ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งภาพตาแหน่งวัตถุ และระยะโฟกัส

2. กาลังขยายของภาพ

คาอธิบายตัวแปร มีเครือ่ งหมายเป็นบวก ( + ) มีเครือ่ งหมายเป็นลบ ( - )


S แทน ระยะวัตถุ วัตถุอยู่หน้ากระจก วัตถุอยู่หลัง วัตถุอยู่หลังกระจก
(วัตถุที่อยู่หลังกระจกมันไม่ใช่เป็นก้อนวัตถุจริงๆนะครับ เหตุการณ์นี้
เกิดในกรณีกระจกซ้อนกัน หรือกระจกซ้อนเลนส์ ภาพจากกระจกหรือ
เลนส์ตัวแรกมันไปตกด้านหลังกระจกตัวที่สอง ภาพที่เกิดจากกระจกตัว
แรกจะทาหน้าที่เป็นวัตถุเสมือนของกระจกตัวที่สอง ถ้ามันอยู่หลัง
กระจกตัวที่สองเราให้ค่ามันเป็นลบ )
แทน ระยะภาพ ภาพอยู่หน้ากระจก ภาพอยู่หลัง หลังกระจก
แทน ขนาดวัตถุ ภาพอยู่หน้ากระจก ภาพอยู่หลัง หลังกระจก
’ แทน ขนาดภาพ วัตถุอยู่หน้ากระจก วัตถุอยู่หลัง หลังกระจก
แทน ระยะโฟกัส กระจกเว้า กระจกนูน กระจกนูน
แทน ภาพจริง (ภาพหัวกลับ) ภาพเสมือน (ภาพหัวตั้ง)
กาลังขยาย
ข้อสังเกต 1. หน้ากระจก คือ ด้านเดียวกับ วัตถุ จะให้ค่าเป็นบวก(+) เสมอ
2. ถ้าเจอคาว่า เป็นภาพหัวกลับ เกิดภาพบนฉาก ให้รู้เลยว่านี่คือ ภาพจริง
แต่ถ้าเจอคาว่า เป็นภาพหัวตัง้ มองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า เป็นภาพขนาดขยายที่
เกิดจากกระจกเว้า(กระจกทีห่ มอฟันใช้) แสดงว่าเป็น ภาพเสมือน

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 136

การหาสูตรลัด ความสัมพันธ์ของ s, s, f กับ m


1. พิสูจน์ว่า m  f 2. พิสูจน์ว่า s ' f
m
s f f
1 1 1 1 1 1
   
f s s' f s s'
1 1 1 1 1 1
   
s f s' s' f s
1 s' - f 1 s -f
 '

s fs ' s fs
s ' s' - f f s'
 
s f s f s
s' - f f
m m
f s f

1 1 1
หมายเหตุ : ถ้าน้องจาสูตรลัดด้านบนไม่ได้ก็ไม่ต้องกังวลนะใช้สูตร = +
f s s
y s
และ m  = แก้โจทย์ได้เลย
y s

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


137 แสงและทัศนอุปกรณ์

ประโยชน์ของกระจกแต่ละชนิด
กราบ

ให้ส่องดูเพื่อช่วย
แต่งตัว ใช้ติดรถยนต์
เพื่อดูรถที่อยู่ด้านหลัง
เป็นต้น

กระจกเว้า
ใช้ประกอบกับกล้อง
จุลทรรศน์ เพื่อรวม
แสงไปตกที่สไลด์ ใช้
ส่องดูฟัน เป็นต้น

กระจกนูน
ใช้ติดรถยนต์
รถจักรยานยนต์เพื่อดู
รถด้านหลังเหมือน
กระจกราบ ติด
บริเวณทางเลี้ยว
ร้านค้า

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 138

EXAM : 3 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


Step 2. วาดรูป
การสะท้อนของแสงบน
วัตถุผิวโค้งเว้าทรงกลม Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(.....)ค้างไว้

Ex1. ถ้ากาหนดให้ R คือรัศมีความโค้งของกระจกเว้า ถ้าต้องการให้เกิดลาแสงขนานส่องออกไปจาก


กระจกเว้านี้ควรจะวางหลอดไฟไว้ที่ตาแหน่งใดบนเส้นแกนมุขสาคัญของกระจกนี้
1. 2R
2. R
3. R/2
4. R/4 2f f

Ex2. แสงจากจุดวัตถุ O และ P บนแกนมุขที่สาคัญของกระจกเว้าที่จุดศูนย์กลางความโค้งอยู่ที่


C เมื่อตกกระทบกระจกเว้าที่จุด T ดังรูป จะสะท้อนโดยแนวของแสงสะท้อนตัดแกนประมาณที่จุดใด
ตามลาดับ

1. ก., ข. 2. ค., ง. 3. ข., ก. 4. ง., ค.

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


139 แสงและทัศนอุปกรณ์

Ex3. วางวัตถุสูง 2 cm ไว้ห่างจากกระจกเว้าบานหนึ่งซึ่งมีรัศมีความโค้งเท่ากับ 20 cm โดย


วางห่างจากขั้วกระจกเท่ากับ 15 เซนติเมตร จงหา
3.1. ระยะภาพ 3.2 ขนาดภาพ 3.3. กาลังขยาย

Ex4. กระจกนูนบานหนึ่งมีรัศมีความโค้ง 20 เซนติเมตร จงหาชนิด ตาแหน่งและกาลังขยายของภาพ


เมื่อวางวัตถุไว้ ณ ตาแหน่งที่ห่างจากกระจก

4.1. ไกลมากๆ 4.2. 20 ซ.ม.

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 140

Ex6. ทันตแพทย์ถือกระจกเว้ามีรัศมีความโค้ง 4.0 เซนติเมตร ห่างจากฟันที่ต้องการอุดเป็นระยะ 1.0


เซนติเมตร ทันตแพทย์จะเห็นฟันในกระจกขยายเป็นก็เท่า
1. 2 เท่า
2. 3 เท่า
3. 4 เท่า
4. 5 เท่า

Ex7. วางวัตถุอันหนึ่งหน้ากระจกโค้ง ซึ่งมีรัศมีความโค้ง 20 เซนติเมตร ปรากฏว่าได้ภาพเสมือนโดยมี


กาลังขยาย 0.2 อยากทราบว่าจะต้องวางวัตถุไว้ที่ตาแหน่งใด และกระจกโค้งที่ใช้เป็นกระจกชนิด
ใด (ตอบ 40 cm)

Ex8. นาวัตถุมาวางด้านหน้ากระจกเว้าที่มีความโค้ง 35.0 เซนติเมตร โดยวางห่างจากกระจกเป็น


ระยะที่ทาให้เกิดภาพจริงขนาดใหญ่เป็น 2.5 เท่าของวัตถุ อยากทราบว่าวัตถุห่างจากกระจกเป็นระยะ
เท่าไร
1. 10.5 cm
2. 12.25 cm
3. 21.0 cm
4. 24.5 cm

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


141 แสงและทัศนอุปกรณ์

Ex9. วางวัตถุหน้ากระจกโค้งบานหนึ่งเป็นระยะ 10 และ 30 เซนติเมตร ตามลาดับ ปรากฏว่าได้ภาพ


ขนาดเท่ากัน จงหาความยาวโฟกัสของกระจกโค้งนี้ว่าเป็นกี่เซนติเมตร
1. 10
2. 20
3. 30
4. 40
2f f

Ex10. ดินสอยาว 30 เซนติเมตร วางไว้ตามแนวแกนหน้ากระจกเว้า ซึ่งมีรัศมีความโค้ง 60 เซนติเมตร


โดยให้ปลายใกล้อยู่ที่จุดศูนย์กลางความโค้งของกระจก ภาพที่เกิดขึ้นจะมีความยาวเป็นกี่เซนติเมตร
1. 15 2. 30 3. 45 4. 60

2f f

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 142

Ex11. วัตถุสูง 5 เซนติเมตร วางห่างจากกระจกนูน 15 เซนติเมตร กระจกนูนมีรัศมีความโค้ง 20 เซนติเมตร


กระจกราบบานหนึ่งวางหันหน้าเข้าหากระจกนูน ห่างจากกระจกนูน 20 เซนติเมตร จงหาตาแหน่งของ
ภาพและขนาดของภาพซึ่งเกิดจากรังสีของแสง ซึ่งสะท้อนกระจกนูนก่อน

15cm

20cm

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


143 แสงและทัศนอุปกรณ์

การบ้านชุดที่ 3

1. กระจกโค้งทรงกลมอันหนึ่ง เมื่อวางวัตถุไว้ห่างจากกระจก 60 เซนติเมตร ปรากฏว่าภาพที่


เกิดขึ้นเป็นภาพหัวตั้งขนาดโต 1.5 เท่าของวัตถุ ข้อใดกล่าวถึงกระจกอันได้ถูกต้อง
1. เป็นกระจกเว้า ความยาวโฟกัส 36 เซนติเมตร
2. เป็นกระจกนูน ความยาวโฟกัส 72 เซนติเมตร
3. เป็นกระจกนูน ความยาวโฟกัส 90 เซนติเมตร
4. เป็นกระจกเว้า ความยาวโฟกัส 180 เซนติเมตร

2. เมื่อเอาวัตถุมาวางไว้ที่หน้ากระจกโค้งอันหนึ่ง ที่ระยะห่าง 10 เซนติเมตร พบว่าจะเกิดภาพ


ซึ่งเอาฉากรับได้ที่ระยะ 10 เซนติเมตร ข้อความต่อไปนี้ข้อความใดถูกต้องที่สุด
1. กระจกเป็นกระจกนูนมีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร
2. กระจกเป็นกระจกเว้ามีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร
3. กระจกเป็นกระจกนูนมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร
4. กระจกเป็นกระจกเว้ามีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร

3. นักเรียนกลุ่มหนึ่งทาการทดลองหาความยาวโฟกัสของกระจกเว้าอันหนึ่งพบว่า เมื่อวางวัตถุห่างกระจกเป็น
ระยะ 20 เซนติเมตร จะได้ภาพจริงมีความสูงเป็นสามเท่าของวัตถุ อยากทราบว่าถ้าวางวัตถุห่างจาก
กระจก 10 เซนติเมตร ภาพที่ได้จะเป็นเช่นไร
1. ภาพจริง สูงเท่าวัตถุ
2. ภาพเสมือน สูงเท่าวัตถุ
3. ภาพจริง สูงเป็นสามเท่าของวัตถุ
4. ภาพเสมือน สูงเป็นสามเท่าของวัตถุ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 144

4. วางวัตถุไว้ข้างหน้ากระจกโค้ง ซึ่งมีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร ปรากฏว่าได้ภาพเสมือนโดยมีกาลังขยาย


0.1 จงหาระยะวัตถุ
1. +220 cm
2. +180 cm
3. -220 cm
4. -180 cm

5. เสากลมต้นมีแผ่นสแตนเลสหุ้มอยู่
แผ่นสเตนเลสมีผิวเรียบมากและ สะท้อน
แสงได้ดีเหมือนกระจกนูน ถ้าเรายืนห่าง
จากเสาต้นนี้มากกว่าระยะสองเท่าของ
ความยาวโฟกัสของกระจกนูนนี้ เราจะ
เห็นภาพของตนเองในกระจกเป็นอย่างไร
1. ผอมลงและยืนหัวตั้ง
2. อ้วนขึ้นและยืนหัวตั้ง
3. ผอมลงและยืนหัวกลับ
4. อ้วนขึ้นและยืนกลับหัว

6. กระจกเว้า 2 บาน มีรัศมีความโค้งบานละ 20 เซนติเมตร วางหันหน้าเข้าหากันห่างกัน 30 เซนติเมตร


นาวัตถุสูง 10 เซนติเมตร วางห่างกระจกบานแรกเป็นระยะ 5 เซนติเมตร จงหาตาแหน่งชนิดและขนาดของ
ภาพที่เกิดจากการ สะท้อนของแสงระหว่างกระจก 2 บาน ให้สะท้อนบานใกล้วัตถุก่อน

5cm

30cm

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


145 แสงและทัศนอุปกรณ์

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 146

Step ความรู้ที่ 5 : สมบัตกิ ารหักเห (Refraction)


การหักเห คือ การที่แสงเปลี่ยน และ  เมื่อแสงเปลี่ยนตัวกลางการเคลื่อนที่ โดยที่ f คงที่

มุมตกกระทบ  1 เมื่อมุมหักเห  2 ต้องทากับเส้นแนวฉากเท่านัน ้


หมายเหตุ : แสงจะเคลื่อนที่ได้เร็วหรือช้าขึ้นกับความหนาแน่นของตัวกลางแต่ละชนิด เช่น
เคลื่อนที่ในน้าย่อมช้ากว่าในอากาศ หรือ ถ้าแสงเคลื่อนที่ในแก้วก็จะช้ากว่าในน้า เป็นต้น
5.1) ดัชนีการหักเหของตัวกลาง
ดัชนีการหักเหของตัวกลาง คืออัตราส่วนความเร็วของแสงในสุญญากาศต่อความเร็วของแสงในตัวกลาง
นั้น
แทน ดัชนีหักเหของวัตถุ (ไม่มีหน่วย)
แทน ความเร็วในสูญญากาศ (m/s)
แทน ความเร็วแสงในตัวกลางที่เราสนใจ (m/s)

4 3
หมายเหตุ : ค่า ทีค่ วรจา คือ น้า = , แก้ว = , อากาศ =1
3 2

สังเกตว่าความเร็วในตัวกลาง ( 𝑣 ) มันเป็นไปไม่ได้ที่จะมีค่ามากกว่าความเร็วใน
สุญญากาศ(𝑐) ดังนั้นค่าดัชนีหักเห(𝑛 ก็ไม่มีทางที่จะน้อยกว่า 1 ดังนั้นถ้าน้องคานวณ
แล้วได้ค่า 𝑛 น้อยกว่า 1 คือผิดแน่นอน น้องต้องรีบตรวจสอบใหม่โดยด่วน…

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


147 แสงและทัศนอุปกรณ์

ข้อสังเกต เพือ่ ใช้เป็น TRICK !! ในการแก้โจทย์


ตัวกลางทีม่ คี วาม ตัวกลางทีม่ คี วามหนาแน่น
หนาแน่นมาก น้อย
n มาก n น้อย
v,  , น้อย v,  , มาก
ควรจา ! ความถีใ่ นทัง้ สองตัวกลางมีคา่ เท่ากัน
เสมอ

1. รังสีตกกระทบ รังสีหักเห และเส้นแนว


ฉากจะอยู่บนระนาบเดียวกันเสมอ
2. สาหรับตัวกลางคู่หนึ่งๆ อัตราส่วนของ
ค่าไซน์ของมุมตกกระทบกับค่าไซน์ของมุมหักเห
จะมีค่าคงที่ เรียกว่า“กฏของสเนลล์”
สังเกตว่า n ตัวห้อยจะสลับกับคนอื่น อย่าพลาดนะ

แทน ดัชนีหักเหของตัวกลางที่ 1 แทน ความยาวคลื่นในตัวกลางที่ 1


แทน ดัชนีหักเหของตัวกลางที่ 2 แทนความยาวคลื่นในตัวกลางที่ 1
แทน ความเร็วแสงในตัวกลางที่ 1 แทน มุมในตัวกลางที่ 1
แทน ความเร็วแสงในตัวกลางที่ 2 แทน มุมในตัวกลางที่ 2

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 148

5.3) มุมวิกฤต (Critical Angle )

มุมวิกฤต(  c )คือ มุมตกกระทบทีท่ าให้เกิดมุมหักเห 90๐


เกิดเมือ่ : แสงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีความหนาแน่นมาก
(n มาก) ไปยังตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อย (nน้อย ) เท่านั้น!!!
การคานวณก็ใช้สูตรการหักเหนั่นแหละครับ โดยถ้าโจทย์พูดถึงมุมวิกฤติน้อง
ต้องทราบเองเลยว่าจะต้องแทนค่ามุมหักเหด้วยมุม 90 องศา เสมอ!

5.4) การสะท้อนกลับหมด (Total reflection )

ถ้ามุมตกกระทบโตกว่ามุมวิกฤต จะไม่มีการหักเหของแสงอีกต่อไป มันจะมี


เฉพาะการสะท้อนเพียงอย่างเดียว เขาจึงเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า“การ
สะท้อนกลับหมด ”
ประโยชน์ : ใช้ทา ใยแก้วนาแสง(optical fiber) เพื่อใช้ประโยชน์ใน
ด้าน
การสื่อสาร และการแพทย์ เป็นต้น
หลักการสร้าง : สารที่มื มากต้องอยู่ด้านในส่วนสารที่ม น้อยเอาไว้
ด้านนอก
ขัน้ ตอนการแก้โจทย์การคานวณการสะท้อนกลับ
หมด
Step 1. คานวณหามุมวิกฤตให้ได้ก่อน
Step 2. มุมที่ทาให้เกิดการสะท้อนกลับหมดก็คือมุมทุกมุมที่โตกว่ามุมวิกฤติ
เช่น ถ้าน้องคานวณค่ามุมวิกฤติได้ 40 องศา แสดงว่ามุมที่จะทาให้เกิดการ
สะท้อนกลับหมดได้จะต้องมีค่ามากกว่า 40 องศา(อาจเป็นมุม 40 1๐ 50๐ 70๐ ...ก็ได้ทั้งนั้น)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


149 แสงและทัศนอุปกรณ์

5.5) การหาลึกจริง , ลึกปรากฏ


มองปลาในน้า มองนกในอากาศ

 ถ้าน้องมองปลาในตู้ปลาจากด้านบนของตูน้ อ้ งจะเห็นปลาอยูต่ นื้  เมื่อน้องดาลงไปในน้าแล้วแหงนหน้ามองวัตถุในอากาศสิ่งที่


กว่าความเป็นจริง หรือถ้าน้องเอาแท่งแก้วทับตัวหนังสือน้องก็ น้องจะเห็นคือ ภาพทีเ่ ห็นจะอยูไ่ กลออกไปมากกว่าความเป็น
จะเห็นตัวหนังสือลอยตื้นขึ้นมา เหตุการณ์เหล่านี้เกิดจากการ จริง ทัง้ นี้ก็เพราะว่าผลจากการหักเหของแสงอีกนั่นเอง
หักเหของแสง
ตัวกลางที่มีความหนาแน่นมาก ( n มาก )  น้อย
ข้อสังเกต ตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อย ( n น้อย )  มาก

สมการหาลึกจริงลึกปรากฎ (ใช้ได้กบั มุมเล็กๆ)


มองเอียงทามุมกับเส้นแนวฉาก มองตรง มองผ่านวัตถุหลายชนิด

𝑛ตา แทน ดัชนีหักเหในตัวกลางที่ตาอยู่ เช่น ตาอยู่ในอากาศ 𝑛ตา = 𝑛อากาศ ถ้าตาอยู่ในน้า 𝑛ตา = 𝑛น้า
𝑛วัตถุ แทน ดัชนีหักเหในตัวกลางที่วัตถุอยู่ เช่น วัตถุอยู่ในอากาศ 𝑛วัตถุ = 𝑛อากาศ ถ้าวัตถุอยู่ในน้า 𝑛วัตถุ = 𝑛น้า
𝜃ตา แทน มุมที่เกิดในตัวกลางที่ตาอยู่ 𝜃วัตถุ แทน มุมที่เกิดในตัวกลางที่วัตถุอยู่

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 150

พิสจู น์สมการ

กรณีมองเอียงทามุมกับเส้นแนวฉาก กรณีมองผ่านตัวกลางหลายชนิดซ้อนกัน
จากรูป tan 1 = x
s
และ tan 2 = x
s'
จาก = ตา
หรื อ = ตา
วัตถุ วัตถุ
x
นามาหารกัน
tan 1  
= s  s
 ความลึกปรากฏในตัวกลางที่1 : = ตา

tan  2 x s
 s   ความลึกปรากฏในตัวกลางที่2 : = ตา

s' tan 1 sin 1 cos  2


= = 
= ตา
s tan  2 cos 1 sin  2 ความลึกปรากฏในตัวกลางที่2 :
s'  sin 1   cos  2 
จัดรูป  =    ……..1)
s  sin  2   cos 1  ความลึกปรากฏรวม
sin 1 n2
จากกฎการหักเห = นาไปแทนใน 1) =
ตา ตา ตา
sin 2 n1
เราก็จะได้สูตรออกมา =
เป็น
=[ ] ตา

ตา ตา
=
วัตถุ วัตถุ
=
ตา
 กรณีมองตรงๆ ในแนวตัง้ ฉากกับรอยต่อ
ทิศทางของแสงจะไม่เปลี่ยน วัตถุ = ตา =0๐
ซึ่ง cos 0๐ = 1
ดังนั้น มองตรงๆ = ตา
วัตถุ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


151 แสงและทัศนอุปกรณ์

EXAM : 4 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


Step 2. วาดรูป
การหักเหของแสง
Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(....)ค้างไว้
และมุมวิกฤต

Ex1. เมื่อลาแสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางหนึ่งเข้าอีกตัวกลางหนึ่ง ปริมาณใดทีไ่ ม่เปลี่ยนแปลง


1. ความถี่ 2. ความยาวคลื่น 3. ความเร็ว 4. ความเข้ม

Ex2. ขณะเมื่อแสงสีขาวผ่านเข้าไปในเลนส์ สิ่งใดต่อไปนี้มีการเปลี่ยนแปลง


1. ความเร็วและความถี่ 2. ความเร็วและคาบ
3. ความเร็วและความยาวคลื่น 4. ความถี่และความยาวคลื่น

Ex3. แสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางด้วยอัตราเร็ว 1.5x108 เมตร/วินาที อยากทราบว่าตัวกลางนี้มีค่าดัชนีหัก


เหเท่าใด (ตอบ 2)

Ex4. ในการวัดความยาวของเส้นใยนาแสง ( optical fiber ) ด้วยวิธีทางแสง โดยเปิดแสงให้เข้าไปใน


เส้นใยนาแสงเป็นเวลาชั่วครู่แลวเปิดแสงวัดระยะเวลาตั้งแต่เริ่มเปิดแสงจนกระทั่งรับแสงสะท้อนได้ที่ตาแหน่งต้นทาง
เป็นเวลา 15X10-6 วินาที จงหาว่าเส้นใยนาแสงนี้ยาวเท่าใด
(กาหนดให้ค่าดัชนีหักเหของเส้นใยนาแสงเป็น 1.5 และอัตราเร็วของแสงในสูญญากาศ)
คือ 3X 108 เมตรต่อวินาที
1. 1,500 เมตร
2. 3,000 เมตร
3. 3,375 เมตร
4. 6,750 เมตร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 152

Ex5.พัลล์แสงถูกส่งผ่านตัวกลางที่แบ่งเป็นชั้นๆ โดยแต่ละตัวกลางทีความหนา L และมีค่าดรรชนีหักเหตามที่ระบุ


ในรูปพัลส์ใดใช้เวลาเดินทางผ่านตัวกลางมากที่สุด
1. พัลส์ 2. พัลส์ 2 3. พัลส์ 3 4. พัลส์ 4

Ex6. จากการทดลองเรื่องการหักเหของแสงพบว่า ถ้าใช้มุมตกกระทบในอากาศเท่ากับ 60 องศา จะเกิด


มุมหักเหในของเหลวชนิดหนึ่ง 30 องศา ถ้าเปลี่ยนของเหลวเป็นชนิดที่สอง และใช้มุมตกกระทบในอากาศ
เท่าเดิม พบว่ามุมหักเหใหม่มีค่า 45 องศา ค่าดัชนีหักเหของของเหลวชนิดหนึ่งเป็นกี่เท่าของดัชนีของ
ของเหลวชนิดที่สอง
1. 0.7
2. 1.4 60° 60°

3. 1.5
4. 1.7
45°
°
30

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


153 แสงและทัศนอุปกรณ์

Ex7. แสงในตัวกลาง A ซึ่งมีค่าดรรชนีหักเห 1.50 ความยาวคลื่นเป็น 500 นาโนเมตร เมื่อเดินทาง


ในตัวกลาง B มีความยาวคลื่นเป็น 450 นาโนเมตร จงหาค่าดรรชนีหักเหของตัวกลาง B
1. 1.35
2. 1.45
3. 1.54
4. 1.67

Ex8. แสงมีความยาวคลื่นในอากาศ 525 นาโนเมตร เมื่อคลื่นที่ผ่านเข้าไปในแก้วมีค่าดรรชนีหักเห


1.50 ความยาวของคลื่นแสงในแก้วจะเป็นกี่นาโนเมตร
(ตอบ 350 nm )

Ex9. ฉายแสงสีเขียวความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ให้ตกกระทบตั้งฉากกับด้านของปริซึมสามเหลี่ยม


มุมฉากซึ่งวางอยู่ในอากาศ ดังรูป ถ้าลาแสงที่ออกจากปริซึมเบนออกจากแนวเดิม 30๐ จงหา
ดัชนีหักเหของปริซึมนี้
1. 1.3 2. 1.5 3. 1.7 4. 1.9

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 154

โจทย์มมุ วิกฤตและการสะท้อนกลับหมด
Ex10. มุมวิกฤตของตัวกลางชนิดหนึ่งเป็น 30 องศา จงหาอัตราเร็วของแสงในตัวกลางนั้น
1. 1.0 X 108 m/s
2. 1.5 X 108 m/s
3. 2.0 X 108 m/s
4. 3.0 X 108 m/s 30°

Ex11. มุมวิกฤตของแสงในของเหลวชนิดหนึ่งมีค่าเท่ากับ 60 องศา ความยาวคลื่นของแสงนั้นในของ


เหลวจะเป็นกี่เท่าของความยาวคลื่นในอากาศ
2
1.
3
3
2. 60°
2
3. 2
1
4.
2

Ex12. แสงตกตั้งฉากกับด้าน AC ของปริซึม ดังรูป ถ้าด้าน AB ของปริซึมสัมผัสอยู่กับของเหลว ซึ่งมีดัชนี


หักเห 3 จงหาความเร็วของแสงปริซึม เพื่อทาให้เริ่มเกิดการสะท้อนกลับหมดบนด้าน AB
(ตอบ 1.5x108 m/s)
A

60°
ของเหลว

B
C

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


155 แสงและทัศนอุปกรณ์

Ex13. แก้วรูปครึ่งทรงกลม วางให้ด้านระนาบหงายขึ้น เทของเหลวค่าดัชนี 1.02 ลงไปเล็กน้อย ดังรูปเมื่อให้


แสงตกกระทบเป็นมุม  ซึ่งน้อยกว่า 48๐ จะไม่เห็นแสงผ่านขึ้นมา จะเริ่มเห็นแสงเมื่อมุม 
เท่ากับ 48๐ จงหาดัชนีหักเหของแก้ว ให้ sine 48๐ = 0.7 และ sine 42๐ = 0.6
1. 1.5 2. 1.6 3. 1.7 4. 1.8

Ex14. ในรูปเป็นท่อแก้วนาแสงตันทาด้วยแก้วที่มีดัชนีหักเห n ถ้าให้แสงเข้าไปในท่อแก้วจากปลายข้างหนึ่ง


แล้วเกิดการสะท้อนภายในหลายครั้ง จนกระทั่งแสงไปออกยังปลายอีกข้างหนึ่งของท่อ ถ้าในการสะท้อนแต่ละ
ครั้งไม่เกิดการหักเหของแสงสู่ภายนอก แสดงว่า ว่ามุมตกกระทบเป็นอย่างไร
1. เท่ากับ sin-1 ( 1
)
n
2. มากกว่า sin-1 ( 1
)
n
3. มากกว่า sin-1 ( n )
4. น้อยกว่า sin-1 ( 1
)
n

Ex15.แสงเดินทางอย่างไรจึงจะเกิดการสะท้อนกลับหมด
1. อากาศไปแก้ว 2. อากาศไปน้า 3. อากาศไปน้ามัน 4. แก้วไปน้า 5. น้าไปแก้ว

Ex16. ข้อใดไม่มีโอกาสเกิดมุมวิกฤต
1. แสงเดินทางจากตัวกลางที่มีดัชนีหักเหมาก ไปยังตัวกลางที่มีดัชนีหักเหน้อย
2. แสงเดินทางจากตัวกลางที่มีดัชนีหักเหน้อย ไปยังตัวกลางที่มีดัชนีหักเหมาก
3. มุมตกกระทบ มีค่าเท่ากับ 45 องศา
4. ถูกต้องทั้ง 3 ข้อ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 156

โจทย์ลกึ จริงลึกปรากฎ
Ex17. คนมองปลาในสระน้าในแนวทามุม 30 องศากับแนวราบ จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
1. คนเห็นปลาตื้นกว่าที่เป็นจริง
2. คนเห็นปลาลึกกว่าที่เป็นจริง
3. คนเห็นปลาตามตาแหน่งที่เป็นจริง
4. คนเห็นปลากลับซ้าย - ขวา

Ex18. ผีเสื้อตัวหนึ่งบินอยู่ในอากาศสูงจากผิวน้า 3 เมตร คนที่ดาอยู่ใต้ผิวน้าและมองดูผีเสื้อตัวนี้ในแนว


เส้นปกติ จะเห็นผีเสื้อไกลออกไปหรือใกล้เข้ามากกว่าความจริงเท่าใดในหน่วยของเมตร ดัชนี
4
หักเหของน้า =
3
1. ใกล้เข้ามามากกว่าความจริง 1.00 เมตร
2. ไกลออกไปมากกว่าความจริง 1.00 เมตร
3. ใกล้เข้ามามากกว่าความจริง 2.25 เมตร
4. ไกลออกไปมากกว่าความจริง 2.25 เมตร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


157 แสงและทัศนอุปกรณ์

น้องลองทา
Ex19. ปลาเสือตัวหนึ่งอยู่ในน้ากาลังมองผีเสื้อที่บินอยู่ในอากาศในแนวตรง ห่างจากผิวน้า 30
4
เซนติเมตร จะเห็นผีเสื้อห่างจากผิวน้าตามข้อใด กาหนดให้ ดัชนีหักเหของน้าเท่ากับ
3

Ex20.แท่งแก้วรูปลูกบาศก์ ยาวด้านละ 15 เซนติเมตร มีฟองอากาศเล็กๆอยู่ภายใน เมื่อมองทางด้านหนึ่งจะเห็น


ฟองอากาศที่ระยะ 6 เซนติเมตร แต่เมื่อมองด้านตรงข้าม จะเห็นอยู่ที่ระยะ 4 เซนติเมตร จงหาว่า จริงๆแล้ว
ฟองอากาศอยู่ที่ไหนจากผิวแรกที่มอง
1. 4 เซนติเมตร
2. 6 เซนติเมตร X
3. 9 เซนติเมตร
4. 10 เซนติเมตร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 158

Ex21. ถ้าทรงกระบอกสูง 2 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เมตร มีน้ามันอยู่เต็มถังพอดี ชายผู้หนึ่งฉายลาแสง


ขนานที่ขอบถังด้วยมุมตกกระทบ 60 องศา ทาให้แสงไปปรากฏที่กลางก้นถัง เขาจะเห็นก้นถังอยู่
ลึกกี่เมตร
2 3 1
1. 2. 3. 3 4.
3 2 3

60°

Ex22. เมื่อเบนซิน ดัชนีหักเห 3/2 หนา 6 เซนติเมตร อยู่บนผิวน้าดัชนีหักเห 4/3 และน้ามีความหนา 4


เซนติเมตร ใต้น้าเป็นกลีเซอรีนหนา 10 เซนติเมตร และดัชนีหักเห 5/4 จงหาว่าจะมองเห็นก้นภาชนะที่
รองรับของเหลวทั้งหมดนี้อยู่ห่างจากตาเท่าไร ถ้าตามองตั้งฉากกับผิวเบนซิน และห่างจากผิวเบนซิน 20
เซนติเมตร

(ตอบ 35 cm)
เบนซิน
6cm

น้า
4cm

กลีเซอรีน
10cm

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


159 แสงและทัศนอุปกรณ์

การบ้านชุดที่ 4

1. จากรูปจงหาดรรชนีหักเหของแสงในตัวกลางที่ B

60° อากาศ

45° ของเหลว A

ของเหลว B
30°

2. จากรูปแสงเคลื่อนที่จากผลึกใสไปสู่ของเหลวแล้วเคลื่อนที่ต่อไปยังอากาศ ทาให้เกิดมุมวิกฤต จงหาดัชนีหัก


เหของผลึกใส
(ตอบ 2)
อากาศ

ของเหลว

60°
ผลึกใส

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 160

3. ถ้ารังสีของแสงในอากาศตกกระทบผ่านด้านข้างของขวดแก้วและผ่านเข้าในของเหลวที่บรรจุไว้โดยดรรชนี
หักเหของเหลวเท่ากับ 1.25 มุมตกกระทบแก้วเท่ากับ 30๐ จะได้ค่าของมุมที่แสงหักเหที่รอยต่อ
ระหว่างผิวแก้วกับของเหลวเท่ากับเท่าใด
1. arc sine ( 0.25 )
2. arc sine ( 0.4 )
3. arc sine ( 0.5 )
4. arc sine ( 0.8 )

4. แสงเคลื่อนที่ผ่านจากตัวกลาง A ไปยังตัวกลาง B มีมุมตกกระทบ 30๐ และมีมุมหักเหเป็น 37๐


จงหาดัชนีหักเหของตัวกลาง B เทียบกับตัวกลาง A (ตอบ 5/6)
8
5. แสงสีหนึ่งมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ในอากาศและมีอัตราเร็ว 3x10 เมตร/วินาที ถ้า
ดัชนีหักเหของแก้วเป็น 3/2 จงหาความถี่ อัตราเร็ว และความยาวคลื่นของแสงในแก้ว
(ตอบ 5x1014 Hz, 2x108 m/s, 400 nm)
6. น้ามีดัชนีหักเห 4/3 เทลงในอ่างแก้วใบใหญ่ ให้มีระดับน้าสูง 10 เซนติเมตร ที่ก้นอ่างมี
หลอดไฟเล็กๆ เปิดสว่างแช่ไว้ จงคานวณหาพื้นที่ของผิวน้าที่แสงจากหลอดไฟสามารถทะลุผ่าน
ผิวน้าขึ้นมาได้
(ตอบ 0.04 ตารางเมตร)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


161 แสงและทัศนอุปกรณ์

7. แสงเดินทางจากแท่งพลาสติกซึ่งมีดัชนีหักเห 3 ไปยังน้าซึ่งมีดัชนีหักเห
2
4
3
มุมวิกฤต
ระหว่างแท่งพลาสติกกับน้าจะมีค่าเท่าใด
1. sin-1 ( 9
) น้า
8
2. cos-1 ( 9 )
8
3. sin-1 ( 8 ) แท่งพลาสติก
9
4. cos-1 ( 8 )
9

8. แท่งแก้วสี่เหลี่ยมหนา 6 เซนติเมตร มีค่าดัชนีหักเห 1.5 วางทับกระดาษ อยากทราบว่าถ้ามอง


ผ่านแท่งแก้วนี้ลงไปตรงๆ จะเห็นตัวอักษรบนกระดาษลอยสูงจากกระดาษขึ้นมาเท่าไร
(ตอบ 2 cm)
9. นกตัวหนึ่งเกาะบนกิ่งไม้สูงจากผิวน้า 9 เมตร ถ้าคนดาน้าลงไปแอบดูนก เขาจะเห็นนกใกล้หรือไกล
4
จากเดิมกี่เมตร กาหนด nน้า =
3
(ตอบ ไกลจากเดิม 3 เมตร )

4
10. วัตถุที่พื้นสระน้าซึ่งลึก 5 เมตร ถ้าดัชนีหักเหของน้ามีค่าเท่ากับ จะมองเห็นวัตถุลึกผิว
3
น้ากี่เมตร
15
1.
4
3
2.
4
4
3.
3
4. 5

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 162

11.ชายคนหนึ่งอยู่บนเรือสาราญมองตรงดิ่งลงดูปะการังในนาเห็นว่าอยู่ลึก 9 เซนติเมตร ซึ่งผิดจากความ


จริงไป 3 เซนติเมตร จงหา n ของน้า
(ตอบ n= 4 )
3

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


163 แสงและทัศนอุปกรณ์

Step ความรู้ที่ 6 : ภาพที่เกิดจากการหักเหของแสงผ่านเลนส์


6.1) ส่วนประกอบทีส่ าคัญของเลนส์
1. C1 และ C2 คือศูนย์กลางความโค้งของผิวทั้งสองของ
เลนส์นูนและเลนส์เว้า โดยระยะ C = 2f
2. เส้นที่ลากผ่าน C1 C2 เรียกว่า “เส้นแกนมุขสาคัญ”
3. จุด o คือจุดศูนย์กลางเลนส์ ในกรณีเลนส์บางถ้า
รังสีตกกระทบผ่านจุด o รังสีแสงจะไม่เปลี่ยนทิศการเคลื่อนที่

จุดโฟกัส
 ถ้าให้แสงขนานตกกระทบเลนส์นูน
รังสีแสงจะหักเหมาตัดกันที่จุด f (รูป
ซ้าย)
 ถ้าให้แหล่งกาเนิดแสงอยู่ที่จุด f แสงที่
หักเหผ่านเลนส์นูนจะเป็นแสงขนาน

 ถ้าให้แสงขนานกับแกนมุขสาคัญตกกระทบเลนส์เว้าแสงหักเห
จะกระจายออกจากกัน ถ้าต่อแนว
รังสีหักเหย้อนกลับมาด้านหลัง แนว
ของรังสีที่ต่อมานั้นจะตัดกันที่จุด f
 ถ้ามีแสงพุ่งเข้ามาที่จุด f พบว่ารังสีที่
หักเหผ่านเลนส์จะขนานกับแกนมุขสาคัญ
หมายเหตุ

* เลนส์นูนแสงตัดกันจริง เราเรียกว่าโฟกัสจริง f ( + )
* เลนส์เว้าเสมือนว่าแสงตัดกัน เราเรียกว่าโฟกัสเสมือน f ( - )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 164

6.2) การหาภาพทีเ่ กิดจากเลนส์นนู โดยการวาดรูป


1. S =

2f f f 2f

2. 2f <S < ∞

2f f f 2f

3. S = 2f

2f f f 2f

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


165 แสงและทัศนอุปกรณ์

4. f < S < 2f

2f f f 2f

5. S =f

2f f f 2f

6. 0 <S < f

2f f f 2f

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 166

6.3) การหาภาพทีเ่ กิดจากเลนส์เว้าโดยการวาดรูป


1. S = ∞

2. 0<S< ∞

6.4) เปรียบเทียบภาพทีเ่ กิดจากเลนส์นูนและเลนส์เว้า


เลนส์นนู
สังเกตว่าเลนส์นนู ให้ภาพได้ทกุ ชนิด ขึ้นอยู่กับว่าเราเอาวัตถุ
ไปวางไว้ที่ไหน
- ถ้าเราวางไว้ไกลกว่า จุด 2F จะเกิดภาพจริงขนาดเล็ก
- ถ้าเราเอามาวางที่ จุด 2F จะได้ภาพจริงขนาดเท่ากับ
วัตถุ - ถ้าวางระหว่างจุด 2F กับ F จะได้ภาพจริงขนาด
ใหญ่
- ถ้าวางวัตถุทรี่ ะยะ F จะเกิดภาพที่ระยะอนันต์
- ถ้าวางวัตถุนอ้ ยกว่าระยะ F จะเกิดภาพเสมือนขนาดใหญ่
เลนส์เว้า (หมอดูลายมือใช้แว่นขยายส่องลายมือโดยวางเลนส์นูนห่าง
จากมือน้อยกว่าระยะ F)

เลนส์เว้าให้ภาพเสมือนหัวตัง้ ขนาดเล็กกว่าวัตถุแสมอ

หมายเหตุ หน้าเลนส์คือด้านเดียวของวัตถุ หลังเลนส์คือด้านตรงข้ามกับวัตถุ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


167 แสงและทัศนอุปกรณ์

6.5) เปรียบเทียบการเกิดภาพทีเ่ กิดจากเลนส์ & กระจก

กระจกเว้า

เลนส์นนู

กระจกนูน
เป็นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่า
วัตถุ เกิดด้านด้านหลังกระจก

เลนส์เว้า
เป็นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่า
วัตถุ เกิดด้านด้านหน้าเลนส์

ข้อสังเกต : กระจกเว้าให้ภาพลักษณะเดียวกับเลนส์นูน กระจกนูนให้ภาพลักษณะเดียวกับเลนส์เว้า


สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างกระจกกับเลนส์คือ กระจกภาพจริงอยู่หน้ากระจก ภาพเสมือนอยูห่ ลังกระจก
เลนส์ภาพจริงอยู่หลังเลนส์ ภาพเสมือนอยูดา้ นหน้าเลนส์

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 168

6.6) สมการการคานวณเกีย่ วกับเลนส์


1. ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งภาพตาแหน่งวัตถุ และระยะโฟกัส

2.กาลังขยายของภาพ

คาอธิบายตัวแปร มีเครือ่ งหมายเป็นบวก( + ) มีเครือ่ งหมายเป็นลบเป็นลบ( - )


แทน ระยะวัตถุ วัตถุอยู่หน้าเลนส์ วัตถุอยู่หลังเลนส์ (มักเกิดในกรณีเลนส์ซ้อนกัน)

แทน ระยะภาพ ภาพอยู่หลังเลนส์ ภาพอยู่หน้าเลนส์


แทน ขนาดวัตถุ วัตถุอยู่หน้าเลนส์ วัตถุอยู่หลังเลนส์
’ แทน ขนาด ภาพอยู่หลังเลนส์ ภาพอยู่หน้าเลนส์
ภาพ
แทน ระยะโฟกัส เลนส์นูน เลนส์เว้า
แทน กาลังขยาย ภาพจริง (ภาพหัวกลับ) ภาพเสมือน ภาพเสมือน(ภาพหัวตั้ง)

EXAM : 5 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


การหักเหของแสงเมือ่ ผ่านเลนส์ Step 2. วาดรูป
Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(......)ค้างไว้
บาง

Ex1. วางวัตถุไว้หน้าเลนส์นูนซึ่งมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร เป็นระยะ 10 เซนติเมตร ภาพที่เกิด


ขึ้นจะเป็น
1. ภาพจริงหัวกลับ อยู่หลังเลนส์เป็นระยะ 10 เซนติเมตร
2. ภาพจริงหัวตั้ง อยู่หลังเลนส์เป็นระยะ 10 เซนติเมตร
3. ภาพเสมือนหัวตั้ง อยู่หน้าเลนส์เป็นระยะ 10 เซนติเมตร
10
4. ภาพจริงหัวกลับ อยู่หลังเลนส์เป็นระยะ เซนติเมตร
3

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


169 แสงและทัศนอุปกรณ์

Ex2.วัตถุสูง 4 เซนติเมตร วางหน้าหน้าเลนส์นูนเป็นระยะ 12 เซนติเมตร ได้ภาพจริงห่างจาก


เลนส์ 24 เซนติเมตร จงหาความสูงของภาพและความยาวโฟกัสของเลนส์เป็นเซนติเมตร
1. 2, 8
2. 8, 2
3. 2, 2
4. 8, 8

Ex3. เลนส์เว้ามีความยาวโฟกัส 20 ซม. จะต้องวางไว้ที่ตาแหน่งใดจึงจะให้ภาพมีขนาด1/4 เท่าของวัตถุ


(ตอบ 60 cm)

Ex4. เลนส์นูนบางความยาวโฟกัส 15 เซนติเมตร วางวัตถุไว้หน้าเลนส์ทาให้เกิดภาพเสมือนขนาด 3


เท่าของวัตถุ วัตถุและภาพอยู่ห่างกันเท่าใด
1. 10 cm
2. 20 cm
3. 30 cm
4. 40 cm

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 170

Ex5. วางวัตถุไว้หน้าเลนส์นูนจะเกิดภาพที่ I แต่ถ้านากระดาษดาปิดครึ่งบนของเลนส์นูนไว้ ดังรูป

1. ขนาดของภาพจะลดลง
2. ความสว่างของภาพจะลดลง
3. ส่วนบนของภาพหายไป
4. ส่วนล่างของภาพหายไป

Ex6. ในการหาสัมพันธ์ระหว่างระยะวัตถุ (s) ระยะภาพ (s’) และความยาวโฟกัส (f) ของเลนส์นูน กราฟ


รูปใดแสดงผลของความสัมพันธ์ได้ถูกต้องที่สุด

จา!! จุดตัดแกน คือ 1/f


ความชัน(slope)ของกราฟ=-1

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


171 แสงและทัศนอุปกรณ์

Ex7. จากรูป

1. A เป็นกระจกเว้า, B เป็นเลนส์นูน, C เป็นกระจกนูน, D เป็นเลนส์เว้า


2. A เป็นเลนส์เว้า, B เป็นกระจกนูน, C เป็นกระจกเว้า, D เป็นเลนส์นูน
3. A เป็นเลนส์นูน, B เป็นเลนส์เว้า, C เป็นกระจกนูน, D เป็นกระจกเว้า
4. A เป็นกระจกนูน, B เป็นเลนส์นูน, C เป็นเลนส์เว้า, D เป็นกระจกเว้า

Ex8. ถ้าวางวัตถุไว้หน้าทัศนอุปกรณ์อย่างง่ายชนิดหนึ่ง จะได้ภาพจริงหัวกลับขนาดขยายใหญ่กว่าวัตถุดังรูป


ทัศนอุกรณ์อย่างง่ายนี้คือ

1. กระจกนูน 2. กระจกเว้า 3. เลนส์นูน 4. เลนส์เว้า

F
Ex9. เลนส์นูนมีความยาวโฟกัส F วางวัตถุไว้ข้างหน้าเลนส์นูนที่ระยะห่างจากเลนส์นูน คากล่าวข้อใด
2
อธิบายถึงภาพที่เกิดได้ถูกต้อง
1. ภาพจริง หัวกลับ อยู่หลังเลนส์ ขนาดโตกว่าวัตถุ
2. ภาพจริง หัวตั้ง อยู่หน้าเลนส์ ขนาดเล็กกว่าวัตถุ
3. ภาพเสมือน หัวตั้ง อยู่หน้าเลนส์ ขนาดโตกว่าวัตถุ
4. ภาพเสมือน หัวกลับ อยู่หน้าเลนส์ ขนาดเล็กกว่ากว่าวัตถุ
5. ไม่มีภาพเกิดขึ้น เพราะภาพเกิดที่จุดอนันต์

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 172

Ex10. เมื่อวางวัตถุไว้หน้าเลนส์เว้า
1. จะเกิดภาพเสมือนเสมอ และระยะภาพน้อยกว่าระยะวัตถุ
2. จะเกิดภาพจริงเมื่อระยะวัตถุมีค่าน้อยกว่าความยาวโฟกัส
3. จะเกิดภาพเสมือนเสมอ และระยะภาพมากกว่าระยะวัตถุ
4. จะเกิดภาพเสมือน เมื่อระยะภาพมีค่ามากกว่าความยาวโฟกัส

Ex11. มองยอดตึกสูงที่อยู่ไกลออกไป 100 เมตรผ่านเลนส์นูนความยาวโฟกัส 0.15 เมตร และให้เลนส์อยู่ห่าง


จากตา 0.60 เมตร ถ้าภาพยอดตึกเมื่อมองด้วยตาเปล่าเป็นดังนี้ภาพยอดตึกที่เห็นผ่านเลนส์จะเป็นดังข้อใด

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


173 แสงและทัศนอุปกรณ์

การบ้านชุดที่ 5

1. เลนส์นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร เมื่อวางวัตถุสูง 5 เซนติเมตร ไว้ห่างจากเลนส์ 15 เซนติเมตร


จงหาตาแหน่งและขนาดของภาพ

2. ถ้านากระดาษทึบแสงมาปิดช่วงครึ่งซ้ายของเลนส์ที่ทาให้เกิดภาพของวัตถุบนฉากข้อความใด
ต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ภาพของวัตถุจะหายไป
2. ภาพซีกซ้ายของวัตถุจะหายไป
3. ภาพซีกขวาของวัตถุจะหายไป
4. ภาพของวัตถุจะครบทุกส่วน

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 174

Step ความรู้ที่ 7 : การคานวณเลนส์ซอ้ นเลนส์หรือซ้อนกระจก

คลายโจทย์ >> เลนส์ซอ้ นกัน หรือกระจกซ้อนกัน

Step 1. คานวณหาภาพที่เกิดจากเลนส์หรือกระจก ตัวแรกก่อน โดยใช้สูตร 1


f
= 1
s
+ 1
s'
Step 2. เขียนภาพที่เกิดขึ้นโดยอ้างว่าภาพที่เกิดขึน้ ครัง้ แรกจะทาหน้าที่เป็นวัตถุให้กบั เลนส์หรือกระจกตัวที่สอง
Step 3. วาดรูปคร่าวๆ เพื่อหาระยะวัตถุของเลนส์ตัวที่สอง โดย
3.1 ถ้าภาพที่เกิดจากเลนส์อันที่หนึ่งอยู่หน้าเลนส์อันที่สอง ระยะวัตถุของเลนส์อนั ที่สองจะมีค่าเป็น+
3.2 ถ้าภาพที่เกิดจากเลนส์อันที่หนึ่งอยู่หลังเลนส์อันที่สอง ระยะวัตถุของเลนส์อนั ที่สองจะเป็น -
Step 4. คานวณหาระยะภาพที่เกิดจากเลนส์ตัวที่สองซึง่ ระยะภาพของเลนส์ตวั ทีส่ องก็คอื ตาแหน่งภาพสุดท้าย

1.ชุดนี้ภาพ I1 เกิดหน้าเลนส์ตัวที่ 2 ดังนั้นระยะวัตถุ 2.ชุดนี้ภาพ I1 เกิดหลังเลนส์ตัวที่ 2 ดังนั้นระยะวัตถุ


ของเลนส์ตัวที่ 2 (S2) จะเป็น + ของเลนส์ตัวที่ 2 (S2) จะเป็น –

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


175 แสงและทัศนอุปกรณ์

EXAM : 6 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


การคานวณเลนส์ซอ้ น Step 2. วาดรูป
Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(......)ค้างไว้
เลนส์หรือซ้อนกระจก

Ex1. เลนส์นูน 2 อัน ความยาวโฟกัส 4 และ 16 เซนติเมตร ตามลาดับ วางห่างกัน 20 ซม. มีวัตถุ
อยู่ห่างจากเลนส์อันแรกที่ระยะ 6 ซม. ตาแหน่งและลักษณะของภาพสุดท้ายที่เกิดขึ้นเนื่องจากเลนส์ทั้งสอง
1. ภาพเสมือนที่ระยะ 16 เซนติเมตร จากเลนส์อันที่สอง
2. ภาพจริงที่ระยะ 16 เซนติเมตร จากเลนส์อันที่สอง
3. ภาพเสมือนที่ระยะ 48 เซนติเมตร จากเลนส์อันที่สอง
4. ภาพจริงที่ระยะ 48 เซนติเมตร จากเลนส์อันที่สอง

20cm
6cm

Ex2. วัตถุอยู่ทางด้านซ้ายมือของเลนส์นูน(ความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร) ระยะทาง 10 ซม. และมีเลนส์


เว้า (ความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร) ทางขวามือของเลนส์นูนเป็นระยะทาง 5 ซม. ภาพที่เกิดเป็น

1. ภาพเสมือนอยู่ทางด้านซ้ายมือของเลนส์เว้าเป็นระยะ 3.33 ซม.


2. ภาพจริงอยู่ทางด้านขวามือของเลนส์เว้าเป็นระยะ 10 ซม.
3. ภาพเสมือนอยู่ทางด้านขวามือของเลนส์เว้าเป็นระยะ 10 ซม.
4. ภาพจริงอยู่ทางด้านซ้ายมือของเลนส์เว้าเป็นระยะทาง 10 ซม.

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 176

Ex3. เลนส์นูนความยาวโฟกัส 30 เซนติเมตร อยู่ห่างจากกระจกเว้ารัศมีความโค้ง 20 เซนติเมตร เป็น


ระยะทาง 80 เซนติเมตร ถ้าวางวัตถุหน้าเลนส์เป็นระยะทาง 60 เซนติเมตร จะเกิดภาพจริงหรือ
ภาพเสมือน ณ ตาแหน่งที่ห่างจากกระจกเว้าเท่านั้น

1. ภาพจริง 10 เซนติเมตร
2. ภาพเสมือน 10 เซนติเมตร
3. ภาพจริง 20 เซนติเมตร
4. ภาพเสมือน 20 เซนติเมตร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


177 แสงและทัศนอุปกรณ์

โจทย์กรณี >> ภาพกับวัตถุอยู่ทตี่ าแหน่งเดียวกัน

หลักการ : ภาพที่เกิดขึ้นที่เดียวกับวัตถุ(ภาพและวัตถุไม่เกิดพาราแลกซ์กนั ) แสดงว่ารังสีแสง


ที่ตกกระทบกับกระจกจะต้องสะท้อนย้อนกลับไปในเส้นทางเดิม ภาพที่เกิดมันจึงไปซ้อนทับกับวัตถุได้ ซึง่
รังสีสะท้อนจะย้อนกลับทางเดิมได้มีได้กรณีเดียวเท่านัน้ คือ รังสีทตี่ กกระทบจะต้องตกตัง้ ฉากกับผิวสะท้อน
ของกระจก
การแก้โจทย์
1 1 1
Step1. คานวณหาตาแหน่งภาพครั้งแรกก่อน จาก = +
f s s'
Step2. จัดตาแหน่งกระจกให้รังสีจากภาพวิ่งมาตั้งฉากกับผิวกระจก
TRICK! เพื่อสะดวกในการเขียนภาพพี่แนะนาให้เขียนวัตถุเป็นจุด ภาพที่ได้ก็จะเป็นจุดอยู่ที่ตาแหน่ง
จากนั้นให้น้องวางกระจกโค้งโดยให้จุด C ซ้อนทับกับตาแหน่งภาพ ) เท่านี้กระจกก็จะทาหน้าที่สะท้อนรังสี
แสงไปตัดกันที่เดียวกับวัตถุแล้ว เพื่อความเข้าใจขอให้น้องดูตัวอย่างข้างล่างประกอบ
ตัวอย่างทีน่ ่าสนใจ
1.เลนส์นนู + กระจกเว้า 2.เลนส์นนู ส์ + กระจกนูน 3.เลนส์เว้า + กระจกเว้า

ถ้ารังสีที่ออกจากเลนส์หรือระบบเลนส์ เป็นรังสีขนาน ต้องนากระจกราบมารับเท่านัน้

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 178

Ex4. วางวัตถุห่างจากเลนส์นูนซึ่งมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร เป็นระยะ 30 เซนติเมตรและถ้าวาง


กระจกเว้าห่างจากเลนส์นูน 35 เซนติเมตร คนละด้านกับวัตถุจะเกิดภาพจริงที่เดียวกับวัตถุ รัศมี
ความโค้งของกระจกมีค่าเซนติเมตร
1. 5
2. 10
3. 15
4. 20

Ex5. วัตถุอยู่ห่างจากเลนส์เว้า ระยะทาง 10 เซนติเมตรทางซ้ายมือ และมีกระจกเว้า (ความยาวโฟกัส 10


เซนติเมตร) อยู่ห่างจากเลนส์เว้า 15 เซนติเมตรทางขวามือ แล้วภาพจะอยู่ที่เดียวกับวัตถุความยาว
โฟกัสของเลนส์เว้ามีค่าเท่ากับ

1. – 3.33 ซม.
2. – 5 ซม.
3. – 6 ซม.
4. – 10 ซม.

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


179 แสงและทัศนอุปกรณ์

Ex6. ในการทดลองหาความยาวโฟกัสของเลนส์นูน โดยวางกระจกเงาราบไว้หลังเลนส์นูนเป็นระยะ 10


เซนติเมตรและวางวัตถุ ไว้หน้าเลนส์นูนเป็นระยะ 20 ซม. เกิดภาพไม่มีพาราแลกซ์กับวัตถุ
ความยาวโฟกัสของเลนส์จะมีค่าเท่ากับกี่เซนติเมตร
1. 10
2. 15
3. 20
4. 40

Ex7.วางวัตถุไว้อยู่หน้าเลนส์นูนกับกระจกราบดังรูปเลื่อนวัตถุจนเกิดภาพที่เดียวกับวัตถุ ได้ระยะ 20 เซนเมตร


จากนั้นเอากระจกระนาบออก เลื่อนวัตถุออกจากเลนส์ จนห่างจากเลนส์ 30 เซนติเมตร ภาพจะ
เกิดห่างจากเลนส์นูน
1. 60 เซนติเมตร 2. 80 เซนติเมตร
3. 100 เซนติเมตร 4. 120 เซนติเมตร

20cm

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 180

Ex8. แสงจากจุดวัตถุซึ่งอยู่ห่างเลนส์นูนเป็นระยะ 12 เซนติเมตร เมื่อหักเหผ่านเลนส์จะตัดแกนห่างจากเลนส์


เป็นระยะ 24 เซนติเมตร เมื่อนาเลนส์เว้ามาวางต่อจากเลนส์นูนเป็นระยะ 6 เซนติเมตร ปรากฏว่าแสงที่หัก
เหผ่านเลนส์เว้าเป็นแสงขนานกับแกนดังรูป ทางยาวโฟกัสของเลนส์เว้ามีเท่าใด

1. 6 cm
2. 12 cm
3. 18 cm
4. 24 cm

การบ้านชุดที่ 6

1. เลนส์นูนความยาวโฟกัส 2 ซม.วางห่างจากกระจกเว้ารัศมีความโค้ง 4 ซม. เป็นระยะ 10 ซม. ดัง


รูป ถ้าวัตถุอยู่หน้าเลนส์นูน 4 ซม. ภาพจะเกิดที่ตาแหน่งใด

1. A
2. B
3. C
4. D

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


181 แสงและทัศนอุปกรณ์

2. กระจกระนาบ ( M1 ) บานหนึ่งวางตั้งฉากกับแกนมุขสาคัญของกระจกเว้า ( M2 ) ซึ่งมีรัศมีความโค้ง


20.0 เซนติเมตร หันหน้าเข้าหากันดังรูปและอยู่ห่าง 35.0 เซนติเมตร วัตถุสูง 8.0 เซนเมตร
วางตั้งขนานอยู่หน้ากระจกระนาบ 5.0 เซนติเมตร จงหาชนิดของภาพสุดท้ายที่เกิดจากการสะท้อนสอง
ครั้งโดยให้สะท้อนครั้งแรกที่กระจกระนาบ

1. ได้ภาพเสมือนอยู่หลังกระจกระนาบ 5.0 เซนติเมตร


2. ได้ภาพเสมือนอยู่ห่างจากกระจกเว้า 40.0 เซนติเมตร
3. ได้ภาพจริงอยู่ห่างจากกระจกเว้า 8.0 เซนติเมตร
4. ได้ภาพจริงอยู่ห่างจากกระจกเว้า 13.3 เซนติเมตร

3. เลนส์นูนความยาวโฟกัส 15 เซนติเมตร วางวัตถุห่างจากเลนส์นูน 30 เซนติเมตร ถ้าต้องการ


ให้เกิดภาพจริงที่ตาแหน่งเดียวกับวัตถุ โดยใช้กระจกเว้าความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร มาช่วยสะท้อน
แสงจะต้องวางกระจกเว้าห่างจากเลนส์นูนเป้นระยะกี่เซนติเมตร
1. 10
2. 15
3. 30
4. 40
5. 50

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 182

4. วางวัตถุห่างจากเลนส์นูนซึ่งมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร เป็นระยะ 30 เซนติเมตรและถ้าวาง


กระจกเว้าห่างจากเลนส์นูน 35 เซนติเมตร คนละด้านกับวัตถุจะเกิดภาพจริงที่เดียวกับวัตถุ รัศมี
ความโค้งของกระจกมีค่าเซนติเมตร
1. 5
2. 10
3. 15
4. 20

5. จากรูปถ้าวางวัตถุ O ให้ห่างจากเลนส์นูน L1 เป็นระยะทาง 24.0 เซนติเมตร นาเลนส์เว้า L2 วาง


ไว้หลังเลนส์นูน L1 เป็นระยะห่าง 28.0 เซนติเมตร เมื่อนากระจกเงาราบ M วางไว้หลังเลนส์เว้า L2
ทาให้เกิดภาพจริงของวัตถุ O อยู่ที่เดียวกับวัตถุ O ถ้าความยาวโฟกัสของเลนส์นูน L1 เท่ากับ 16.0
เซนติเมตร จงหาความยาวโฟกัสของเลนส์เว้า L2 ใน หน่วยเซนติเมตร (cm )

1. 4.4 2. 20.0
3. 32.5 4. 62.4

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


183 แสงและทัศนอุปกรณ์

6. วางวัตถุไว้อยู่หน้าเลนส์นูนกับกระจกราบดังรูปเลื่อนวัตถุจนเกิดภาพที่เดียวกับวัตถุ ได้ระยะ 20 เซนเมตร


จากนั้นเอากระจกระนาบออก เลื่อนวัตถุออกจากเลนส์ จนห่างจากเลนส์ 30 เซนติเมตร ภาพจะเกิดห่าง
จากเลนส์นูน
1. 60 เซนติเมตร 2. 80 เซนติเมตร
3. 100 เซนติเมตร 4. 120 เซนติเมตร

20cm
7. เลนส์นูนอันหนึ่งห่างจากฉาก 20 เซนติเมตร ปรากฏว่าแสงจากวัตถุที่อยู่ไกลมาก เมื่อผ่านเลนส์ แล้วจะไป
ตัดกันที่ระยะ 15 เซนติเมตร ถ้านาเลนส์อีกอันหนึ่งวางลงที่กึ่งกลางระหว่างเลนส์นูนกับ ฉาก แล้วภาพจะ
เลื่อนไปบนฉาก เลนส์ที่นามาวางนี้จะต้องเป็นเลนส์ชนิดใด และมีความยาวโฟกัสเท่าใด
(ตอบ 10 cm)

20cm

8. เมื่อจัดอุปกรณ์ตามรูป พบว่าภาพที่เกิดจากกระจกเงาระนาบกับกระจกนูนไม่มีพาราแลกซ์ ความ


ยาวโฟกัสของกระจกนูนคือ (หน่วย เซนติเมตร )

1. 20
2. 24
3. 96
4. 120

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 184

Step ความรู้ที่ 8 : เลนส์บางวางประกบกัน(Thin Lenses in contact)


เมื่อเอาเลนส์บางหลายอันมาประกบติดกันเลนส์ทั้งหมด จะทา
หน้าที่ร่วมกันเสมือนเป็นเลนส์อันใหม่ และเกิดความยาวโฟกัสใหม่ขึ้น
สมการหาความยาวโฟกัสรวม

คาอธิบายการใช้สมการ
f 1 , f2 , f 3 , …. เป็นความยาวโฟกัสของเลนส์แต่ละอันที่นามาประกบกันในการคานวณต้องคิด
เครื่องหมายของเลนส์แต่ละตัวด้วย โดย เลนส์นูน f เป็น + , เลนส์เว้า f เป็น –
 ถ้า fรวม เป็น + แสดงว่าเลนส์รวมทั้งชุดเป็นเลนส์นูน
 ถ้า fรวม เป็น - แสดงว่าเลนส์รวมทั้งชุดเป็นเลนส์เว้า

กาลังของเลนส์ (Power of Lens)


กาลังของเลนส์ หมายถึง ความสามารถของเลนส์แต่ละตัว
ที่จะทาให้แสงหักเหออกจากเลนส์เบี่ยงเบนไป
จากแนวรังสีตกกระทบเลนส์
- ถ้ารังสีเบี่ยงเบนมากก็แสดงว่ากาลังของเลนส์มาก
- ถ้ารังสีเบี่ยงเบนน้อยก็แสดงว่ากาลังของเลนส์น้อย
 เลนส์นนู P เป็นบวก / เลนส์เว้า P เป็นลบ

สมการ คาอธิบายตัวแปร
P= กาลังของ เลนส์ มีหน่วยเป็น ไดออปเตอร์(Diopter,D)
f= ความยา ความยาวโฟกัส มีหน่วยเป็น เมตร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


185 แสงและทัศนอุปกรณ์

EXAM : 8 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


เลนส์บางวางประกบกัน & Step 2. วาดรูป
กาลังของเลนส์ Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(......)ค้างไว้
Ex1. นาเลนส์บางสองอัน ความยาวโฟกัส 15 และ 30 เซนติเมตร มาวางชิดกัน จงหาความยาวโฟกัสรวมของ
เลนส์ทั้งสอง
(ตอบ 10 cm )

Ex2. (มข.) ถ้านาเลนส์บาง 2 ชิ้นมาประกบกัน ชิ้นแรกเป็นเลนส์นูนมีกาลัง 5 ไดออปเตอร์


และชิ้นที่สองเป็นเลนส์เว้าที่มีกาลัง3 ไดออปเตอร์ จะได้เลนส์ประกบที่มีระยะโฟกัสรวมกี่เซนติเมตร
1. 50
2. 20
3. 16.7
4. 12.5

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 186

Step ความรู้ที่ 9 : ตากับการมองเห็นสี


ตา เป็นอวัยวะสาหรับใช้ในการมองเห็นสิ่งต่างๆ ตาของมนุษย์ มีส่วนประกอบ และรูปร่างดังภาพ
ต่อไปนี้

1. หน้าทีข่ องส่วนประกอบทีส่ าคัญของตา


1. กระจกตา อยู่ส่วนหน้าสุดของลูกตา มีลักษณะโค้งนูนและใส ทาให้แสงจากภายนอกผ่านเข้าไปใน
ลูกตาได้
2. ม่านตา(Iris) คือ ส่วนของตาที่ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณแสงที่เข้าสู่ตาโดยการปรับรูม่านตา
3. รูมา่ นตา (Pupil) เป็นช่องกลางม่านตา ที่จะให้แสงผ่านเข้าสู่ตา
4. เลนส์ตา หรือ แก้วตา มีลักษณะใสนูนคล้ายเลนส์นูน ทาหน้าที่รวมแสงให้ไปตกบนจอตา (เร
ตินา)
5. กล้ามเนือ้ ยึดเลนส์ตา สามารถปรับเลนส์ตาให้นูนมากหรือน้อย ทาให้เกิดภาพที่ชัดด้านหลังลูกตา
6. จอตา (เรตินา) คือ ผนังชั้นในสุด ทาหน้าที่เป็น จอรับภาพ
2. หลักการมองเห็น
คือ แสงจากวัตถุหักเหผ่านเลนส์ตา(เลนส์นูน) แล้วเกิดภาพจริงบนเรตินา

ตาแหน่งของวัตถุใกล้สุดที่เห็นภาพชัดที่สุด เรียกว่า “จุดใกล้(Near Point)”


ตาแหน่งของวัตถุที่ไกลสุดที่เห็นภาพชัดที่สุด เรียกว่า “จุดไกล(Far Point)”

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


187 แสงและทัศนอุปกรณ์

9.1) การมองเห็นของคนสายตาปกติ
1.ระยะใกล้ทสี่ ดุ ที่เห็นภาพชัด 2.ระยะไกลทีส่ ดุ ที่เห็นภาพชัด

ระยะใกล้ที่สุดที่มองเห็นภาพชัด คือ 25 cm ระยะไกลที่สุดที่เห็นภาพชัด คือ ระยะอนันต์


การมองเห็นของคนสายตาสัน้ และสายตายาว
คนสายตาสัน้ (มองไกลๆไม่ชดั ) คนสายตายาว (มองใกล้ไม่ชดั )
1.ที่ระยะใกล้เห็นชัดเหมือนคนสายตาปกติ(25cm ) 1.ที่ระยะใกล้ๆ จะมองไม่ชัด
2.ที่ระยะไกลๆ จะมองเห็นวัตถุพร่ามัวไม่ชัด 2.ทีร่ ะยะไกลๆ จะมองเห็นชัดเหมือนคนสายตาปกติ
เนือ่ งจาก: แสงหักเหจากเลนส์ตาไปตัดกันก่อนถึงเร (ระยะอนันต์)
ตินา เนือ่ งจาก: แสงหักเหจากเลนส์ตาไปตัดกันเลยเรตินา

วิธแี ก้ไข: ต้องใส่เลนส์เว้าเพื่อถ่างแสงให้ภาพไปตก วิธแี ก้ไข: ต้องใส่เลนส์นูนเพื่อรวมแสงให้ภาพไปตกที่เร


ไกลออกไปจากเลนส์ตา โดยให้ไปตกที่เรตินาพอดี ตินาพอดี

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 188

9.2) การหาความยาวโฟกัสของแว่น
ความยาวโฟกัสของแว่นสาหรับคนสายตาสัน้ ความยาวโฟกัสของแว่นสาหรับคนสายตายาว
1. ถ้าก่อนใส่แว่นมองเห็นได้ไกลสุดที่ระยะ X 1. ถ้าก่อนใส่แว่นมองเห็นได้ใกล้สุดที่ระยะ X

2. ถ้าต้องการเห็นวัตถุที่ระยะอนันต์ เหมือนคน 2. ถ้าต้องการเห็นวัตถุที่ระยะ25 cm เหมือนคน


ปกติ ก็สามารถทาได้โดยใช้เลนส์มาดึงภาพจากระยะ ปกติ ก็สามารถทาได้โดยใช้เลนส์มาขยับภาพจาก25
อนันต์ให้มาอยู่ที่ระยะ X แทน cmให้มาอยู่ที่ระยะ X แทน

สรุป: สาหรับกรณีนี้มันจะติดรูปสมการแบบนี้นะ ขอให้


ทาความเข้าใจกับหลักการคิดละกัน แล้วสุดท้ายเมื่อน้อง
สรุป: คนสายตาสั้นต้องใช้แว่นที่ทาจากด้วยเลนส์เว้า ที่มี คานวณตัวเลขออกมามันจะออกมาเป็นค่าบวกเสมอ นั่น
ความยาวโฟกัสเท่ากับระยะที่มองเห็นชัดเจนที่สุด แสดงว่าแว่นนี้ต้องทาจากเลนส์นูน

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


189 แสงและทัศนอุปกรณ์

EXAM : 9 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


เลนส์บางวางประกบกัน & Step 2. วาดรูป
กาลังของเลนส์ Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(......)ค้างไว้

Ex1. คนสายตายาวคนหนึ่ง มองเห็นได้ชัดใกล้สุดที่ 1 เมตร ถ้าต้องการให้เขาเห็นได้ชัดเท่า


คนสายตาปกติซึ่งเห็นได้ชัดตั้งแต่ 25 เซนติเมตร ขึ้นไป จะต้องให้เขาสวมแว่นอย่างไร
1. ใช้เลนส์นูนความยาวโฟกัส 33 เซนติเมตร
2. ใช้เลนส์เว้าความยาวโฟกัส 33 เซนติเมตร
3. ใช้เลนส์นูนความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร
4. ใช้เลนส์เว้าความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร

น้องลองทา
Ex2. ชายผู้หนึ่งสามารถอ่านหนังสือได้ชัดเมื่อหนังสืออยู่ห่างจากเขาไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร ดังนั้นเขาจะต้อง
สวมแว่นตาที่มีความยาวโฟกัสกี่เซนติเมตร
(ตอบ 34.6 cm)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 190

Ex3. เลนส์แว่นตาสาหรับคนสายตายาวทาหน้าที่ต่อผู้ใส่แว่นนั้นอย่างไร
1. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 เซนติเมตร จากตาไปไว้ที่ระยะใกล้ที่สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
2. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 เซนติเมตร จากตาไปไว้ที่ระยะอนันต์
3. ย้ายวัตถุที่ระยะอนัตต์มาไว้ที่ระยะใกล้ที่สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
4. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาที่ระยะไกลที่สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด

Ex4. จุดไกลที่เห็นชัดสุดของเด็กคนหนึ่งมีค่า 1 เมตร ควรจะสวมแว่นตาที่ทาด้วยเลนส์อะไร ความยาวโฟกัส


เท่าไรจึงจะเห็นวัตถุได้ชัดที่ระยะอนันต์(ตอบในหน่วยเซนติเมตร)
(ตอบ –100cm)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


191 แสงและทัศนอุปกรณ์

Step ความรู้ที่ 10 : แสงสีและสารสี


แสงสี ( Colour ) สารสี (Pigment)
แสงสี คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่มีความถี่อยู่ในช่วงที่ สารสี คือ ตัวกาหนดแสงสีที่สะท้อนออกมาจากวัตถุ หรือ
ประสาทตาสามารถรับรู้ได้ ทะลุผ่านออกไปจากวัตถุ(แผ่นกรองแสง)วัตถุที่เราเห็นเป็นสี
ใดแสดงว่ามันสะท้อนสีนั้นหรือปล่อยให้แสงสีนั้นออกมา
แสงสีปฐมภูมิ มี 3 แสงสี คือ สารสีปฐมภูมิ มี 3 สารสีคือ

แสงสีแดง แสงสีเขียว แสงสีนาเงิ


้ น สารสีฟา้ สารสีแดงม่วง สารสีเหลือง
R G B
หากนาแสงสีทั้งสามนี้มาฉายผสมในสัดส่วนที่เท่ากันจะ
หากนาสารสีทั้งสามนี้มาผสมในสัดส่วนที่เท่ากันจะได้สารสี
ได้แสงขาวออกมา
ดาออกมา (ดูดกลืนแสงสีทุกแสงสี)
แสงสีทตุ ยิ ภูมิ : เป็นแสงสีที่เกิดจากการนาแสงสี สารสีทตุ ยิ ภูมิ : เป็นสารสีที่เกิดจากการนาสารสีปฐม
ปฐมภูมมิ าผสมกัน
ภูมิมาผสมกัน

แดง เขียว น้าเงิน


ม่วงแดง เหลือง ฟ้า

เหลือง ฟ้า
แดง เขียว

แดงม่วง
น้าเงิน

แสงสีเติมเต็ม: แสงสีที่ผสมกับแสงสีหนึ่งแล้วได้แสงสีขาว สารสีเติมเต็ม: สารสีที่ผสมกับสารสีหนึ่งแล้วได้สารสีดา


หลักคือ น้าเงิน + เขียว + แดง = ขาว หลักคือ ม่วงแดง + เหลือง +ฟ้า = ดา
ฟ้า + แดง = ขาว แดง + ฟ้า = ดา
เหลือง + น้าเงิน = ขาว น้าเงิน + เหลือง = ดา
แดงม่วง + เขียว = ขาว แดงม่วง + เขียว = ดา
พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
คลายปม ฟิสกิ ส์ 192

ตัวอย่าง

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


193 แสงและทัศนอุปกรณ์

EXAM : 10 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


แสงสีและสารสี Step 2. วาดรูป
Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(......)ค้างไว้

Ex1. (มช. ปี 50) เมื่อเอาวัตถุสีเหลืองวางในแสงสีแดง จะเห็นวัตถุนั้นมีสีอะไร


1. แดง
แสงสีแดง
2. เหลือง
3. น้าเงิน
4. ดา
วัตถุสีเหลือง

Ex2. (มช.ปี 49)วัตถุชิ้นหนึ่งมองเห็นเป็นสีเขียวเมื่อวางในแสงสีเขียว และมองเห็นเป็นสีดาเมื่อวางใน


แสงสีน้าเงิน วัตถุนั้นจะเห็นเป็นสีอะไรเมื่อวางในแสงสีขาว
1. ขาว แสงสีเขียว แสงสีน้าเงิน
2. แดง
3. ม่วง
4. เหลือง

Ex3. (มช. ปี 51) เมื่อเอาวัตถุสีขาว วางในแสงสีเขียวและแสงสีแดง คนตาปกติจะมองเห็นเป็นสีอะไร


1. ดา
2. ม่วง
3. น้าเงิน
4. เหลือง

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 194

Ex4.นาย ก. ชวนเพื่อนไปเที่ยวดิสโก้เทค เพื่อนของเขาใส่หมวกสีเขียว เสื้อสีขาวมีลายมังกรสีแดง ในดิสโกเทคใช้


แสงสว่างจากหลอดไฟสีเขียว นาย ก. จะเห็นเพื่อนของเขาแต่งตัวอย่างไร
1. หมวกสีเขียว เสื้อเขียวลายมังกรสีดา
2. หมวกสีเขียว เสื้อสีเขียวลายมังกรสีเขียว
3. หมวกสีขาว เสื้อเขียวลายมังกรสีเหลือง
4. หมวกสีขาว เสื้อสีเขียวลายมังกรสีเขียว
แสงสีเขียว

Ex5. นายสั่งสอนสวมเสื้อสีเขียว กางเกงสีเหลืองอยู่ในห้องมืด ถ้าฉายแสงสีแดงไปยังนายสั่งสอน จะเห็นเสื้อและ


กางเกง สีอะไร
1. แดง, เขียว
2. น้าเงิน , ดา
3. ดา,แดง แสงสีแดง
4. น้าเงิน,เขียว

Ex6. ดอกไม้ดอกหนึ่งส่องด้วยสงสีขาว เมื่อมองผ่านแผ่นกรองแสงสีแดงจะเห็นดอกไม้เป็นสีแดง ถ้ามองผ่านแผ่น


กรองแสงสีเขียวจะเห็นเป้นสีเขียว ถ้ามองผ่านแผ่นกรองแสงสีเหลืองจะเห็นเป็นสีเหลือง ดอกไม้ดอกนี้มีสีอะไร
1. น้าเงิน
2. แดง แสงขาว
3. เขียว
4. เหลือง

แสงขาว

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


195 แสงและทัศนอุปกรณ์

Step ความรู้ที่ 11 : ความสว่าง (Luminance)


ถ้ามีแหล่งกาเนิดแสงเป็นจุด แหล่งกาเนิดจะปล่อยพลังงาน
แสงออกมารอบตัวเท่าๆกันทุกทิศทาง ปริมาณพลังงานแสงที่
ส่งออกมาต่อหนึ่งหน่วยเวลา เรียกว่า “ฟลักซ์ของการส่อง
สว่าง
หรือ อัตราการให้พลังงาน”เขียนแทนด้วย“F” มีหน่วยเป็นลู
เมน (Lumen, lm)

สมการคานวณหาอัตราการให้พลังงาน คาอธิบายตัวแปร
E แทน ความสว่างบนพื้นที่รับแสง มีหน่วยเป็น ลักซ์ ( lx )
F แทน อัตราการให้พลังงานแสง มีหน่วยเป็น ลูเมน ( lm )
A แทน พื้นที่รับแสง ( กรณีแสงเป็นจุดพื้นที่รับแสงจะเป็น
ทรงกลม A  4R 2 )
สมการคานวณหาความสว่างบนพืน้ ที่รบั แสง
R แทน ระยะห่างจากแหล่งกาเนิดแสง มีหน่วยเป็นเมตร ( m )
I แทน ความเข้มแห่งของการส่องสว่าง มีหน่วยเป็นแคนเดลา (cd )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 196

EXAM : 11 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


ความสว่าง Step 2. วาดรูป
Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(.... )ค้างไว้

Ex1. หลอดฉายภาพชนิดหนึ่ง มีอัตราให้พลังงานแสงเท่ากับ 1,000 ลูเมนเมื่อใช้ไประยะหนึ่งประสิทธิภาพใน


การให้พลังงานแสงเหลือเพียง 80% ถ้าต้องการฉายภาพให้มีความสว่างเฉลี่ยบนจอ 250 ลักซ์ ภาพที่
ฉายจะมีขนาดใหญ่ที่สุดได้กี่ตารางเมตร
1. 2.8 m2 2. 3.2 m2 3. 3.6 m2 4. 4.0 m2

Ex2.หลอดไฟฟ้ามีตัวสะท้อนแสงบรรจุอยู่ภายใน หลอดไฟฟ้าที่มีอัตราการให้พลังงานแสง 5,500 ลูเมน


ถ้าหากแสงได้ตกกระทบบนพื้นที่โต๊ะสี่เหลี่ยมจตุรัสที่มีความยาวด้านละ 3 เมตร ปรากฏว่าค่าความสว่าง
บนที่พื้นโต๊ะเท่ากับ 600 ลักซ์ ค่าอัตราการให้พลังงานแสงที่สูญเสียไปเนื่องจากตัวสะท้อนแสงมีค่ากี่ลูเมน
(ตอบ 100 lm )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


197 แสงและทัศนอุปกรณ์

Ex3.ที่จุดศูนย์กลางของลูกโป่งทรงกลมมีจุดกาเนิดแสงเล็กๆ ซึ่งส่งแสงออกไปรอบ ๆ เท่ากันทุกทิศทางด้วยอัตรา


การให้พลังงานแสง 4  ลูเมน ถ้าลูกโป่งขยายตัวโดยรัศมีเพิ่มขึ้นจากเดิมเป็น 1.5 เท่า อัตราส่วนของ
ความสว่างที่พื้นผิวภายในลูกโป่งตอนขยายตัวแล้วเทียบกับตอนไม่ขยายตัวมีค่าเท่าใด
1. 0.33
2. 0.44
3. 0.66
4. 0.88

Ex4. หลอดไฟ 64 วัตต์ มีความเข้มแห่งการส่องสว่าง 36 แคนเดลา ถ้าต้องการความสว่างบนโต๊ะ


อ่านหนังสือ 144 ลักซ์ จะต้องแขนหลอดไฟสูงจากโต๊ะเป็นระยะกี่เมตร
1. 0.5
2. 0.67
3. 0.15
4. 2.0

Ex5. โคมไฟสนามสองดวงมีกาลัง 100 และ 200 วัตต์ และมีอัตราการให้พลังงานแสงต่อวัตต์เท่ากัน


ถ้าท่านยืนห่างจากโคมไฟ 200 วัตต์ เป็นระยะ 2.0 เมตร พบว่าได้รับความสว่างจากหลอดไฟทั้งสอง
เท่ากัน ท่านยืนห่างจากโคมไฟ 100 วัตต์ เป็นระยะเท่าใด
1. 1.0 m 2. 1.4 m 3. 2.0 m 4. 4.0 m

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 198

การบ้านชุดที่ 11

1.เครื่องฉายภาพยนต์ เครื่องหนึ่งให้ความสว่างเฉลี่ยบนจอ 500 ลักซ์ เมื่อฉายที่ระยะห่างจากจอ 10


เมตร ถ้าเลื่อนเครื่องฉายไปเป็น 1.5 เท่าของระยะเดิม ความสว่างบนจอจะเป็นเท่าใด
1. 200 lux
2. 220 lux
3. 250 lux
4. 280 lux
2. ในห้องทางานขนาดกว้าง 2.0 m ยาว 2.5 m สูง 3.0 m ถ้าต้องการความสว่าง 100 ลักซ์ บน
โต๊ะทางานที่สูง 1.2 m จากพื้น จะต้องใช้หลอดไฟขนาด 60 w ที่มีความเข้มของการส่องแสง 54
แคนเดลา ทั้งหมดกี่หลอด
1. 3 หลอด
2. 6 หลอด
3. 16 หลอด
4. 17 หลอด
3. หลอดไฟฟ้าแบบไส้ 60 วัตต์ 5 หลอด แต่หลอดมีฟลักซ์ส่องสว่าง 850 ลูเมน มีตัวสะท้อนแสงทาให้แสง
ทั้งหมดตกบนพื้นที่ 4 ตารางเมตร จงหาความสว่างบนพื้นที่นี้
(ตอบ 1062.5 ลักซ์)

4. ห้องผ่าตัดต้องการความสว่างบนเตียงผ่าตัด 10,000 ลักซ์ ถ้าพื้นที่รับแสงทั้งหมด 6 ตารางเมตร โดย


หลอดไฟมีทั้งหมด 10 ดวง ถ้าตัวสะท้อนแสงและอุปกรณ์ต่างๆมีการส่วนเสียพลังงานแสง 20% อยากทราบ
ว่าหลอดไฟแต่ละดวงมีฟลักซ์ส่องสว่างกี่ลูเมน
(ตอบ 7,500 ลูเมน)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


199 แสงและทัศนอุปกรณ์

5. ห้องผ่าตัดโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง เมื่อแขวนโคมไฟไวเหนือเตียงผ่าตัด 1 เมตร ปรากฏว่ามีค่าความสว่าง


ของเตียง 6,400 ลักซ์ อยากทราบว่าถ้าลดระดับโคมไฟลงมา 20% ความสว่างบนเตียงผ่าตัดจะ
เพิ่มขึ้นหรือลดลงกี่เปอร์เซ็นต์
1. เพิ่มขึ้น 20 %
2. ลดลง 20 %
3. เพิ่มขึ้น 56 %
4. ลดลง 56 %

6. ตู้เพาะเลี้ยงต้นไม้มีขนาด 1  1  1 เมตร3 มีหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ติดอยู่ภายในตู้ด้านบนถ้าต้องการให้ตู้


เพาะเลี้ยงมีความสว่าง 1,500 ลักซ์ ต้องการใช้หลอดที่มีอัตราพลังงานแสงกี่ลูเมนถือว่าการศูนย์เสีย
พลังงานแสง 25 เปอร์เซ็นต์ และไม่คิดการสูญเสียที่ฝาดานที่หลอดไฟติดอยู่
1. 7.5  103
2. 8.0  103
3. 1.0  104
4. 1.2  104

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 200

แบบฝึกหัดเพิม่ เติม แสงและทัศนอุปกรณ์

1. ให้ลาแสงตกกระทบด้านข้างปริซึมมุมยอด 75องศา
โดยให้มุมตกกระทบเป็น 45 องศา ให้ค่าดัชนีหัก
เหของสารที่ใช้ทาปริซึมมีค่า 1.4 ค่า sin ของมุม
หักเหของลาแสงออกจากปริซึมมีค่าเท่าใด (Ent)
1. 0.99 2. 0.88 3. 0.77 4. 0.66

2. ลาแสงขนาน (ความยาวคลื่นเดี่ยว) ขนาดกว้าง L


ตกกระทบตั้งฉากกับด้านหนึ่งของแท่งแก้วทางด้าน
ตรงข้ามมุมฉาก (ดรรชนีหักเห n) ดังรูป เมื่อ
ลาแสงหักเหออกจากแท่งแก้วทางด้านตรงข้ามมุม
ฉากของปริซึมลาแสงจะมีขนาดกว้างเท่าใด
1. L sin(n sin ) 2. √

3. L cos (n sin ) 4. L / sin 1  n2 sin 2

3. แท่งพลาสติกจมอยู่ในน้ามันสมมติว่ามีแหล่งกาเนิดแสงเล็กๆ วางอยู่ในแท่งพลาสติกนี้มุมวิกฤต C
สาหรับกรณีนี้จะมีค่าเท่าใด กาหนดดัชนีการหักเหของน้ามันเท่ากับ 1.10 และค่าดัชนีหักเหของ
พลาสติกมีค่าเท่ากับ 1.32
1. sin-1 ( 5
)
6
น้ามัน
2. tan-1 ( 5 )
6
3. cos-1 ( 5 )
6
4. sin-1 ( 6 ) พลาสติก
5

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


201 แสงและทัศนอุปกรณ์

4. เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลาง A ไปยังตัวกลาง B ปรากฏว่าความยาวของแสงเพิ่มขึ้นเป็น


4
เท่า ของความยาวคลื่นเดิม ถ้าต้องการให้เกิดการสะท้อนกลับหมด ต้นกาเนิดแสงจะต้องอยู่ในตัวกลางใด
3
และค่า sine ของมุมวิฤตมีค่าเท่าใด
3
1. อยู่ในตัวกลาง A และค่า sine =
4
4
2. อยู่ในตัวกลาง B และค่า sine =
3
3
3. อยู่ในตัวกลาง A และค่า sine =
5
3
4. อยู่ในตัวกลาง B และค่า sine =
5

5. ถ้ามุมวิกฤตของตัวกลางชนิดหนึ่งเป็น 30 องศา จงหาอัตราเร็วของแสงในตัวกลางนั้น


1. 1.0x108 m/s
2. 1.5x108 m/s
3. 2.0x108 m/s
4. 3.0x108 m/s

6. มุมวิกฤตของแสงในของเหลวชนิดหนึ่ง เท่ากับ 60๐ ความยาวคลื่นของแสงนั้นในของเหลวจะเป็นกี่


เท่าของความยาวคลื่นในอากาศ
2
1.
2
3
2.
2
3. 2
1
4.
2
7. แสงเคลื่อนที่จากตัวกลาง (1) ซึ่งมีดัชนีหักเห 3/2 ไปยังตัวกลาง (2) ซึ่งมีดัชนีหักเห 6/5 ด้วยมุมตก
กระทบ 30๐ จงหามุมหักเหในตัวกลาง (2) (ตอบ sin 1  5 8 )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 202

8. จากรูปดัชนีหักเหของของเหลวมีค่าเท่าใด

1. sin i
1
2.
sin i

3. 2 sin 2 i  cos 2 i
sin i
4.
sin r

9. เมื่อแสงเคลื่อนที่จากแก้วดัชนีหักเห 3/2 สู่อากาศ จงหามุมวิกฤติที่ทาให้แสงเกิดการสะท้อน


กลับหมดในแก้ว (ตอบ sin 1  2 / 3 )

10. มุมวิกฤต c  ของแสงที่เดินทางจากแก้วซึ่งมีค่าดัชนีหักเห 1.5 ไปยังน้าซึ่งมีค่าดัชนีหักเห 1.3 มีค่าเท่ากับ


เท่าใด
1. sin-1(0.65)
2. sin-1(0.76)
3. sin-1(0.87)
4. sin-1(0.92)

11. ถ้าเล็งจากจุด A แล้วพบว่า A , B , C อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน โดย A อยู่ในอากาศ B อยู่ที่ผิวของ


ของเหลวชนิดหนึ่ง ส่วน C จมอยู่ในของเหลวนั้น ถามว่าดรรชนีหักเหของของเหลวมีค่าเท่าไร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


203 แสงและทัศนอุปกรณ์

12. ถ้วยแก้วก้นหนา 9 เซนติเมตร บรรจุน้าสูง 10 เซนติเมตร วางทับวัตถุเล็กๆบางๆ ชิ้นหนึ่ง เมื่อมองวัตถุ


ตรงในแนวดิ่งโดยมองผ่านถ้วยแก้วนี้ จะเห็นวัตถุลอยสูงขึ้นจากเดิมเท่าใด กาหนดให้ดัชนีหักเหของน้าและ
แก้วเป็น 4/3 และ 3/2 ตามลาดับ
(ตอบ 5.5 cm)

13. มุมวิกฤตสาหรับสารโปร่งใสชนิดหนึ่งในอากาศมีค่าเท่ากับ 45 องศา ความเร็วแสงในสาร


โปร่งใสนี้มีค่าเท่าใด
1. 2.1 X 108 m/s
2. 2.4 X 108 m/s
3. 2.7 X 108 m/s 45°
8
4. 3.0 X 10 m/s

14. ถ้ามุมวิกฤตในของเหลวชนิดหนึ่ง (เมื่อแสงเดินทางผ่านไปสู่อากาศ) มีค่าเป็น 60๐ ถามว่า


ความเร็วแสงในของเหลวนี้มีค่าเป็นเท่าใด (C = ความเร็วแสงในอากาศ )
3
1. c
2
2c
2.
3
4
3. c 60°
2
3
4. c
4

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 204

15.ดัชนีการหักเหของอากาศ = 1, ของน้า = 4
ถ้ามุมวิกฤตของแก้วชนิดหนึ่งกับอากาศเท่ากับ 45๐ มุม
3
วิกฤตระหว่างแก้วและน้าเป็นเท่าใด
1. sin-1 ( 3 2
)
8

2. sin-1 ( 2 2 )
2

3. sin-1 ( 3 2 )
2

4. sin-1 ( 8 2 )
3
16. ถังใบหนึ่งก้นถังมีกระจกเงาระนาบ และมีน้าลึก 10 เซนติเมตร แขวนวัตถุให้จมลงใต้ผิวน้า 4 เซนติเมตร
มองลงไปตรงๆ จะเห็นภาพของวัตถุอยู่ที่ไหนบ้าง ถ้าดัชนีหักเหของน้ามีค่า 4/3
(ตอบ 3, 12 cm)

17. ข้อความต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
1. ภาพเสมือนจะเกิดขึ้นเสมอ หากวัตถุอยู่ด้านหน้าของกระจกนูน
2. ภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ เป็นภาพจริงเสมอ
3. ภาพที่เกิดจากกระจกเว้ามีได้กรณีเดียว คือ วัตถุอยู่ห่างจากผิวกระจกน้อยกว่าความยาวโฟกัสของกระจก
4. ภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า เป็นได้ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน

18. จากรูป แสงเดินทางจากตัวกลางที่ 1 ผ่านตัวกลาง ที่ 2 ตัวกลางที่ 3 ไปสู่ตัวกลางที่ 4 โดยผ่านรอยต่อ


ตัวกลาง A, B, C ซึ่งขนานกัน จงหาดัชนีหักเหของตัวกลางที่ 1 เทียบกับตัวกลางที่ 4
(ตอบ 3/4)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


205 แสงและทัศนอุปกรณ์

19. แสงสีเหลืองฉากกับด้านหนึ่งของปริซึมรูปสามเหลี่ยมที่วางติดอยู่กับแท่งพลาสติกรูปสี่เหลี่ยม(ดังรูป)
เมื่อแสงผ่านเข้าแก้วแล้วจะหักเหผ่านไปตามรอยต่อระหว่างวัตถุทั้งสอง ดังรูป ดัชนีหักเหของพลาสติก
3
สาหรับแสงสีเหลืองจะมีค่าเท่าไร ดัชนีหักเหของแก้ว =
2
( sin 20๐ = 0.342, sin 70๐ = 0.94 )

พลาสติก

แก้ ว
20°

1. 1.32
2. 1.38
3. 1.41
4. 1.52
20. อุปกรณ์ที่เป็นระบบรวมแสง คือ
1. กระจกเว้า, เลนส์เว้า 2. กระจกเว้า, เลนส์นูน
3. กระจกนูน, เลนส์เว้า 4. กระจกนูน, เลนส์นูน
21. เมื่อต้องการดูของที่มีขนาดเล็กเรามักจะใช้ “แว่นขยาย” ซึ่งทาด้วยเลนส์นูนเพราะภาพที่เกิดจากการวาง
วัตถุไว้หน้าเลนส์นูนนั้น
1. มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุเสมอ
2. เป็นภาพเสมือนเสมอ
3. เป็นภาพจริงหรือภาพเสมือน และมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุเสมอ
4. เป็นภาพเสมือน ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ ที่ระยะวัตถุช่วงหนึ่ง
22.เลนส์นูนบางความยาวโฟกัส 15 เซนติเมตร วางวัตถุไว้หน้าเลนส์ทาให้เกิดภาพเสมือนขนาด 3 เท่าของวัตถุ
วัตถุและภาพอยู่ห่างกันเท่าใด
1. 10 cm
2. 20 cm
3. 30 cm
4. 40 cm

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 206

23. จากการทดลอง เรื่องการหักเหของแสงที่ผ่านเลนส์ ปรากฏว่าได้ผลดังตาราง (เมื่อ s และ s’ คือระยะภาพ


และระยะวัตถุตามลาดับ) ข้อความใดถูกต้อง
ครั้งที่ s(cm) S’ (cm)
1 10.0 2.0
2 5.0 2.5
3 2.5 5.0
4 2.0 10.0
ก. การเขียนกราฟเมื่อ s’ เป็นแกนตั้ง และ s เป็นแกนนอน จะได้กราฟเส้นตรงที่มีความชัน
เท่ากับการขยาย (m)
ข. การเขียนกราฟเมื่อ 1/s’ เป็นแกนตั้ง และ 1/s เป็นแกนนอน จะได้กราฟเส้นตรงโดยมีความ
ชันเท่ากับ 1
ค. การเขียนกราฟเมื่อ 1/s’ เป็นแกนตั้ง และ 1/s เป็นแกนนอน จะได้กราฟเส้นตรงโดยมีจุดตัด
บนแกนทั้งสองเป็นค่าส่วนกลับของความยาวโฟกัส
คาตอบที่ถูกต้องคือ
1. ข้อ 1 เท่านั้น 2. ข้อ ข และ ค
3. ข้อ ค เท่านั้น 4. ข้อ ก และ ค
24. จากรูป ข้อใดแสดงการเขียนรังแสงที่ทาให้เกิดภาพได้ถูกต้อง

1. ก. และ ข. 2. ข. และ ค.
3. ก. และ ค. 4. ก., ข. และ ค.
25. ลูกศรในรูป แทนรังสีของแสงตกกระทบเลนส์ และกระจกโค้ง กรณีใดบ้างที่จะได้ภาพจริง

1. เฉพาะ 1 2. รูป 1 และ 2 3. รูป 2 และ 3 4. รูป 1 และ 3

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


207 แสงและทัศนอุปกรณ์

26. ลาแสงสีเดียวส่องผ่านเลนส์ 2 อัน และรังสีเดินทาง ดังรูป เลนส์ I และ II เป็นเลนส์อะไร


1. เลนส์ทั้งคู่เป็นเลนส์นูน
2. I เป็นเลนส์นูน, II เป็นเลนส์เว้า
3. I เป็นเลนส์เว้า, II เป็นเลนส์นูน
4. เลนส์ทั้งคู่เป็นเลนส์เว้า I II

27. วางวัตถุไว้หน้าเลนส์เว้าห่างจากเลนส์ 15 เซนติเมตร เกิดภาพห่างจากเลนส์ 10 เซนติเมตร จง


หาความยาวโฟกัสของเลนส์เว้า (ตอบ 30 cm)

28. ลาแสงขนานตกกระทบเลนส์นูนซึ่งมีความยาวโฟกัส 30 เซนติเมตร แล้วหักเหไปตกกระทบเลนส์เว้าซึ่งมี


ความยาวโฟกัส 20 เซนเมตร ถ้าจะให้แสงที่หักเหผ่านเลนส์เว้าออกไปเป็นลาแสงขานจะต้องวางเลนส์เว้า
ห่างจากเลนส์นูนเป็นระยะกี่เซนติเมตร
1. 10 2. 15 3. 20 4. 30

29. เลนส์เว้าความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร 2 อัน และเลนส์นูนความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร 1 อัน


วางรับแสงอาทิตย์ดังรูป ถ้าลาแสงสุดท้ายหลังจากผ่านเลนส์ทั้งสามเป็นลาแสงขนาน ค่า a จะมีค่าเท่าไร
1. 10 เซนติเมตร
2. 20 เซนติเมตร
3. 30 เซนติเมตร
4. 40 เซนติเมตร
30. เลนส์เว้ามีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร และเลนส์นูนมีความยาวโฟกัส 35 เซนติเมตร วางห่าง
กันดังรูป เมื่อมีลาแสงขนานผ่านเลนส์เว้า แล้วผ่านเลนส์นูนออกมาเป็นแสงขนาน เลนส์ทั้งสองต้อง
วางห่างกันกี่เซนติเมตร (ตอบ 15 )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 208

31. เลนส์นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร และกระจกนูนรัศมีความโค้ง 8 เซนติเมตร วางอยู่ดังใน


รูป เมื่อให้ เมื่อให้แสงขนานตกกระทบเลนส์นูน แสงจะหักเหผ่านเลนส์ไปตกกระทบกระจกนูน แล้ว
สะท้อนกลับมาหักเหผ่านเลนส์ ถ้าแสงที่สะท้อนกลับมานี้เป็นลาแสงขนาน เลนส์และกระจกต้องวางห่าง
กันกี่เซนติเมตร

32. เลนส์นูน 2 อัน ความยาวโฟกัสอันละ 10 เซนติเมตร วางห่างกัน 35 เซนติเมตร อยู่บนแกน


มุขสาคัญเดียวกัน วัตถุสูง 5 เซนติเมตร วางอยู่หน้าเลนส์ทั้งสอง และอยู่ห่างจากเลนส์อันใกล้ 15
เซนติเมตร จงหาตาแหน่งชนิดและขนาดของภาพที่เกิดจากแสงหักเหผ่านเลนส์ทั้งสองแล้ว

33. วัตถุอยู่ทางด้านซ้ายมือของเลนส์นูน (ความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร) เป็นระยะ 10 เซนติเมตร


และมีเลนส์เว้า(ความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร) ทางด้านขวามือของเลนส์นูนนั้นอยู่ห่าง 5
เซนติเมตร ภาพที่เกิดจากเลนส์ทั้งสองเป็นอย่างไร

34. วัตถุอยู่ห่างจากเลนส์เว้า 20 เซนติเมตร ทางซ้ายมือและมีกระจกเว้าความยาวโฟกัส 20เซนติเมตร อยู่ห่าง


จากเลนส์เว้า 30 เซนติเมตร ทางด้านขวามือแล้วภาพจะอยู่ที่เดียวกับวัตถุความยาวโฟกัสของเลนส์เว้ามีค่า
เท่าใด (ตอบ 20 cm)

35. วางวัตถุห่างจากเลนส์นูน 15 เซนติเมตร หลังเลนส์นูนมีกระจกนูน วางห่างเลนส์นูน 10เซนติเมตร ถ้า


เลนส์นูนมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร กระจกนูนมีความยาวโฟกัสเท่าไร จึงทาให้เกิดภาพที่เดียวกับวัตถุ
(ตอบ 10 cm)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


209 แสงและทัศนอุปกรณ์

36. วัตถุหนึ่งอยู่ห่างจากเลนส์นูน ความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร เป็นระยะ 15 เซนติเมตร ถ้าต้องการให้เกิด


ภาพที่เดียวกับวัตถุต้องวางกระจกเว้าความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ห่างจากเลนส์นูนเท่าใด
(ตอบ 50 cm)

37. วางวัตถุห่างจากเลนส์นูน 15 เซนติเมตร ทางซ้ายมือ ทางขวามือของเลนส์นูนห่างไป 20 เซนติเมตร มี


เลนส์เว้าวางไว้บนแกนมุขสาคัญเดียวกัน ทางขวามือของเลนส์เว้ามีกระจกเงาระนาบวางไว้ ปรากฏว่าเกิดภาพ
ไม่มีแพรัลแลกซ์กับวัตถุ ถ้าความยาวโฟกัสของเลนส์นูน 10 เซนติเมตร จงหาความยาวโฟกัสของเลนส์เว้า
(ตอบ 10 cm)

38. เมื่อเอาวัตถุไปวางไว้หน้าเลนส์นูนห่าง 20 ซม. แล้วเอากระจกเงาราบมาวางไว้ข้างหลังเลนส์นูนที่


ระยะห่างออกไป 15 ซม. พบว่า ภาพที่เกิดอยู่ที่ตาแหน่งเดียวกับวัตถุพอดี จงหาความยาวโฟกัส
ของเลนส์นูน (ตอบ 20 cm)

39. เลนส์นูนความยาวโฟกัส 30 เซนติเมตร มีลาแสงขนานซึ่งมีทิศขนานกับแกนของเลนส์ตกกระทบ ลาแสงนี้


กว้าง 5 เซนติเมตรจะต้องนาเลนส์เว้าความยาวโฟกัสเหมาะสมวางห่างจากเลนส์นูนกี่เซนติเมตร ลาแสงที่
ออกจากเลนส์เว้าจึงจะเป็นลาขนานซึ่งขนานกับแกนของเลนส์เว้าและมีความกว้าง 2 เซนติเมตร

40. แว่นขยายทาด้วยเลนส์นูนมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ถ้าต้องการใช้ส่องวัตถุเพื่อให้วัตถุใหญ่ขึ้น ควร


วางวัตถุให้ห่างจากเลนส์เท่าใด
1. 7 cm
2. 14 cm
3. 21 cm
4. 28 cm

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 210

41. เลนส์แว่นตาสาหรับคนสายตายาวทาหน้าที่ต่อผู้ใส่แว่นนั้นอย่างไร
1. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 cm จากตาไปไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
2. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 cm จากตาไปไว้ที่ระยะอนันต์
3. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
4. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไว้ที่ระยะไกลสุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด

42. ดอกไม้ดอกหนึ่งส่องด้วยแสงสีขาว เมื่อมองผ่านแผ่นกรองแสงสีแดงจะเห็นดอกไม้เป็นสีแดง ถ้ามองผ่านแผ่น


กรองแสงสีเขียวจะเห็นเป็นสีเขียว ถ้ามองผ่านแผ่นกรองแสงสีเหลืองจะเห็นเป็นสีเหลือง ดอกไม้ดอกนี้มีสีอะไร
1. น้าเงิน
2. แดง
3. เขียว
4. เหลือง

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์

You might also like