You are on page 1of 93

209 คลืน

่ กล
คลืน่ กล (Mechanical Wave)
ถาม : คลืน่ คืออะไร?
คลืน่ คือ รูปแบบหนึ่งของการถ่ายทอดพลังงานจากบริเวณหนึ่งสู่อีกบริเวณหนึ่ง
ถาม : คลืน่ เกิดขึน้ ได้อย่างไร?
คลื่นเกิดจากการที่แหล่งกาเนิดคลื่นถูกรบกวน แล้วส่งพลังงานออกมา ที่ใดที่พลังงานถูกส่งออกไปก็จะเห็นเป็นคลื่น
เช่น คลื่นน้าที่เกิดจากการโยนก้อนหินลงน้า คลื่นในเส้นเชือกที่เกิดจากการสะบัดเส้นเชือกขึ้นลงเราก็จะเห็นคลื่นวิ่งออกไป แต่
คลื่นบางชนิดเราก็ไม่สามารถมองเห็นได้ แต่เราสามารถตรวจรับได้ เช่น คลื่นวิทยุ

หมายเหตุ : ..........................................................................................................................................................

เมื่อเราสะบัดเชือกขึ้นลงก็จะทาให้เกิดคลื่นวิ่งออกไปจากมือเรา เมื่อคลื่น
วิ่งไปถึงก้อนวัตถุ
ก็จะทาให้ก้อนวัตถุนั้นเกิดการเคลื่อนที่ขึ้นลง
จึงทาให้เราได้ข้อสรุปว่า คลื่นก็คอื การถ่ายทอดพลังงานจากบริเวณหนึง่
ไปยังอีกบริเวณหนึง่ และขณะที่คลื่นเคลื่อนที่ไปก็จะพาพลังงานติดไป
พร้อมกับคลื่นด้วย

ถาม : การถ่ายทอดพลังงานของคลืน่ กับอนุภาคมันต่างกันอย่างไร??


ข้อแตกต่างระหว่างการส่งผ่านพลังงานของคลืน่ และอนุภาค
การส่งผ่านพลังงานของอนุภาค การส่งผ่านพลังงานของคลืน่
อนุภาคทาหน้าที่พาพลังงานไป อนุภาคของตัวกลางไม่ได้เป็นตัวพาพลังงานไป
เช่น การยิงหนังสติ๊ก ลูกกหินจะเป็นตัวพา เช่น คลื่นในเส้นเชือกอนุภาคต่างๆบนเส้นเชือกไม่ได้พลังงานไป
พลังงานไป

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 210

Step ความรู้ที่ 1 : การจาแนกประเภทของคลืน่


ประเภทของคลืน่ จาแนกได้เป็น 3 ลักษณะด้วยกันคือ
1.1 จาแนกตามความจาเป็นในการอาศัยตัวกลาง แบ่งได้เป็น
1. คลืน่ กล 2. คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
(Mechanical Wave) (Electromagnetic Wave)

คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า คือ


คลืน่ กล คือ
................................................................................
...............................................................................
................................................................................
........................................................................เช่น
(เกิดจากการเหนี่ยวนากันอย่างต่อเนื่องของ
คลื่นน้า คลื่นเสียง คลื่นในเส้นเชือก เป็นต้น
สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า) เช่น คลื่นวิทยุ คลื่น
ไมโครเวฟ อินฟาเรด แสง
คลืน่ กลเกิดจาก : การสั่นของแหล่งกาเนิด แล้วถ่ายโอน
รังสีUV รังสี X รังสีแกมมา เป็นต้น
พลังงานให้กับโมเลกุลหรืออนุภาคของ ตัวกลางทาให้โมเลกุล
หรืออนุภาคของตัวกลางเกิดการสั่นเป็นทอดๆ เกิดเป็นคลื่น คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า เกิดจาก : การเหนี่ยวนาระหว่าง
แผ่ออกไปจาก แหล่งกาเนิด โดยคลื่นนี้จะมีความถี่เท่ากับ สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า ซึ่งราย ละเอียดในเรื่องนี้ เรา
ความถี่ของแหล่งกาเนิดเสมอ จะได้เรียนกันตอน ม.6 ในบทของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าครับ

NOTE.

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


211 คลืน
่ กล
1.2) จาแนกตามลักษณะการสัน่ ของอนุภาคตัวกลาง
1. คลืน่ ตามขวาง 2. คลืน่ ตามยาว
(Transverse wave) (Longitudinal wave)

คลืน่ ตามขวาง คือ คลืน่ ตามยาว คือ


…………………………………………………………………………… ..........................................................................................
…………………………………………………………………………… ........................................................................................

คลื่นน้้า = คลื่นตามยาว + คลื่นตามขวาง

มักมีความเข้าใจผิดกันมากว่าคลื่นน้าเป็นคลื่นตามขวางซึ่งถ้าจะให้ถูกต้องจริงๆ ต้องบอกว่าเป็นทั้งคลื่น
ตามยาวและตามขวางประกอบกันและอนุภาคของน้าจะวิ่งวนเป็นวงกลมหรือวงรี(ขึ้นอยู่กับระดับความลึก)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 212
1.3) จาแนกตามความต่อเนือ่ งของแหล่งกาเนิด
1. คลืน่ ดล 2. คลืน่ ต่อเนือ่ ง
(pulse wave) (continuous wave)

คลืน่ ดล คือ คลืน่ ทีเ่ กิดจากแหล่งกาเนิดสัน่ เพียงหนึง่ คลืน่ ต่อเนือ่ ง คือ คลืน่ ทีเ่ กิดจากแหล่งกาเนิดสัน่ เป็น
หรือสองครัง้ ทาให้เกิดคลืน่ เพียงหนึง่ หรือสองลูก จังหวะต่อเนือ่ ง ทาให้คลืน่ เคลือ่ นทีอ่ อกจากแหล่งกาเนิด
เช่น ใช้นิ้วมือเคาะผิวน้าเพียง 1 ครั้ง แล้วหยุด คลืน่ อย่างต่อเนือ่ ง เช่น ใช้นิ้วเคาะผิวน้าเป็นจังหวะ
ก็จะเกิดคลื่นเพียงลูกเดียวแล้วก็หายไป ตลอด เวลาคลื่นก็จะถูกปล่อยออกมาอย่างต่อเนื่อง

2.การบอกตาแหน่งของอนุภาคต่างบนๆบนคลื่นตามขวางเมือ่ เวลาผ่านไปเล็กน้อย
หลักการวิเคราะห์ : ขณะที่คลื่นเคลื่อนที่ไป อนุภาคของตัวกลางไม่ได้เคลื่อนที่ตามไปด้วยแต่มันจะ
ขยับขึ้นๆลงๆ
Step การวิเคราะห์
1. ดูว่าคลื่นเคลื่อนที่ไปทางไหน วาด
รูปคลื่นลูกใหม่ ขยับไปข้างหน้าเล็กน้อย
2. ต้าแหน่งของอนุภาคจะขยับจากคลื่น
ลูกเดิมไปยังคลื่นที่เกิดขึ้นใหม่

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


213 คลืน
่ กล

Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


EXAM :1
Step 2. วาดรูป
การจาแนกประเภท Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้( )ค้างไว้
ของคลืน่

โจทย์การถ่ายทอดพลังงานของคลืน่
Ex1. ในการเคลื่อนที่แบบคลื่นนั้น พลังงานจากการสะบัดปลายเส้นเชือกด้านหนึ่งจะถ่ายทอดไปยัง
ปลายเชือกอีกด้านหนึ่งได้ แสดงว่า
1. พลังงานถ่ายทอดไปพร้อมกับการเคลื่อนที่ของคลื่น
2. พลังงานถ่ายทอดหลังจากการเคลื่อนที่ของคลื่นผ่านไปแล้ว
3. พลังงานถ่ายทอดไปก่อนที่คลื่นจะเคลื่อนที่มาถึง
4. พลังงานจากคลื่นจะถ่ายเทให้อนุภาค และอนุภาคจะเคลื่อนที่ไปยังปลายเชือก

โจทย์จาแนกประเภทของคลืน่

Ex2. คลื่นในเส้นเชือก คลื่นผิวน้า คลื่นเสียง คลื่นแสง รังสี UV


คลื่นกล ได้แก่…………………………………………………………………………………………………………….
คลื่นตามขวาง ได้แก่……………………………………………………………………………………………………
คลื่นตามยาว ได้แก่……………………………………………………………………………………………………
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ได้แก่………………………………………………………………………………………………

Ex3.คลื่นตามยาวและคลื่นตามขวางถูกนิยามขึ้นโดยดูจากปัจจัยใดเป็นหลัก(O-NET)
1.ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
2.ทิศการสั่นของอนุภาคของตัวกลาง
3.ประเภทของแหล่งกาเนิด
4.ความยาวคลื่น

Ex4.คลื่นในข้อใดต่อไปนี้ เป็นคลื่นประเภทเดียวกัน
1. คลื่นเสียง , คลื่นวิทยุ , คลื่นไมโครเวฟ 2. คลื่นน้า , คลื่นในเส้นเชือก , คลื่นดล
3. คลื่นในสปริง , คลื่นน้า , แสง 4. แสง , คลื่นไฟฟ้ากระแสสลับ , รังสีแกมมา

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 214
โจทย์วเิ คราะห์ทศิ ทางการเคลือ่ นทีข่ องอนุภาคตัวกลาง
Ex5. คลื่นดลในเส้นเชือกกาลังเคลื่อนที่จากขวาไปซ้าย A, B และ C เป็นจุดบนเส้นเลือก เมื่อเวลาหนึ่งรูปร่างของเส้นเชือก
เป็นดังรูป ถ้าเวลาผ่านไปอีกเล็กน้อย จุดทั้งสามจะเคลื่อนที่อย่างไร

1. จุดทั้งสามจะเคลื่อนที่ไปซ้ายมือ
2. A สูงกว่าเดิม B ต่ากว่าเดิมและ C สูงกว่าเดิม
3. A สูงกว่าเดิม B สูงกว่าเดิมและ C ต่ากว่าเดิม
4. A ต่ากว่าเดิม B ต่ากว่าเดิมและ C สูงกว่าเดิม

EX6.ถ้ากระทุ่มน้าเป็นจังหวะสม่าเสมอ ลูกปิงปองที่ลอยอยู่ห่างออกไปจะเคลื่อนที่อย่างไร(O-NET)
1. ลูกปิงปองเคลื่อนออกห่างไปมากขึ้น
2. ลูกปิงปองเคลื่อนที่เข้ามาหา
3. ลูกปิงปองเคลื่อนที่ขึ้น-ลงอยู่ที่ตาแหน่งเดิม
4. ลูกปิงปองเคลื่อนี่ไปด้านข้าง

Ex7. มีบอลตกลงไปกลางคลองเจดีย์บูชา จะเอื้อมเก็บอย่างไรก็เอือ้ มไม่ถึง นาย A กับนาย B จึงแสดงความคิดกัน น้องคิด


ว่าความคิดของใครถูก
นายฺ B : ถ้าเขาขว้างไม้ไปถูก
ลูกบอลที่จุด A ลูกบอลจะ
เคลื่อนที่ไปยังฝั่งตรงข้ามได้
นาย A : ใช้เท้าตีน้าสม่้าเสมอเพื่อให้เกิดคลื่น
คลื่นจะผลักลูกบอลไปยังฝั่งตรงเข้าได้

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


215 คลืน
่ กล
การบ้านชุดที่ 1

1. คลื่นใดต่อไปนี้ เป็นคลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ (O-NET’49)

1. คลื่นแสง 2.คลื่นเสียง 3. คลื่นผิวน้า

คาตอบทีถ่ กู ต้องคือ
1. ทั้ง 1 , 2 และ 3 2. ข้อ 2 และ 3
3. ข้อ 1 เท่านั้น 4. ผิดทุกข้อ

2. ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องเกีย่ วกับคลืน่ ตามยาว(O-NET)


1. เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นในแนวเดียวกับกับเคลื่อนที่ของคลื่น
2. เป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ไปตามแนวยาวของตัวกลาง
3. เป็นคลื่นที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
4. เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นได้หลายแนว

3. จงพิจารณาคลื่นในเส้นเชือกที่เกิดจากการสะบัดปลายเชือกขึ้นลง คลื่นผิวน้าที่เกิดจากวัตถุกระทบผิวน้า
และคลื่นเสียง แล้วบอกว่าข้อความใดผิด
1. คลื่นทั้งสามชนิดเป็นคลื่นกล
2. คลื่นทั้งสามชนิดเป็นคลื่นตามยาว
3. คลื่นทั้งสามชนิดเป็นการถ่ายโอนตามยาว
4. คลื่นทั้งสามชนิดนี้จะสะท้อนเมื่อเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างชนิด

4.เมื่อมีคลื่นผิวน้า แผ่ไปถึงวัตถุที่ลอยอยู่ที่ผิวน้าจะมีการเคลื่อนที่อย่างไร
1. อยู่นิ่งๆ เหมือนเดิม 2. กระเพื่อมขึ้นลงและอยู่กับที่เมื่อคลื่นผ่านไปแล้ว
3. เคลื่อนที่ตามคลื่น 4. ขยับไปข้างหน้าแล้วถอยหลัง

5.คลื่นตามยาวและคลื่นตามขวางต่างกันอย่างไร
1. ต่างกันที่ความยาวคลื่น 2. ต่างกันที่ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น
3. ต่างกันที่ประเภทของแหล่งกาเนิด 4. ต่างกันที่ทิศทางการสั่นของตัวกลาง

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 216

1. ส่วนประกอบของคลืน่
คลืน่ ประกอบด้วย

1) การกระจัด (displacement) คือ ระยะที่วัดจากแนวสมดุลของคลื่นไปยังตาแหน่งใดๆ บนหน้าคลื่น


เนื่องจากการกระจัดเป็นปริมาณเวกเตอร์ ทิศทางของการกระจัดโดยทั่วไปนิยมกาหนดดังนี้
1.1 สูงกว่าแนวสมดุลจะมีเครื่องหมาย เป็นบวก(+)
1.2 ต่ากว่าแนวสมดุลจะมีเครื่องหมาย เป็นลบ (-)
2) สันคลืน่ (crest) คือ ตาแหน่งสูงสุดของคลืน่
3) ท้องคลืน่ (trought) คือ ตาแหน่งต่าสุดของคลืน่
4) แอมพลิจดู (amplitude ;A) คือ ขนาดของการกระจัดทีส่ ูงทีส่ ดุ หรือ ความสูงของท้องคลื่น หรือท้องคลื่นที่วัด
จากระดับปกติ เขียนแทนด้วย “A”
แอมพลิจูดเป็นตัวบ่งบอกพลังงานคลื่น โดย E  A2 (คลื่นที่มีความสูงมากก็จะมีพลังงานมากด้วย)

หมายเหตุ: หากเราสบัดเชือกก็จะเกิดคลื่นในเส้นเชือก เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางคือเชือกไปแล้ว อนุภาค


ตัวกลางคืออนุภาคบนเส้นเชือกจะไม่ได้เคลื่อนที่ตามคลื่นไปด้วย แต่อนุภาคตัวกลางจะสัน่ ขึน้ ๆ ลงๆ อยู่ ณ ตาแหน่ง
เดิมแบบซิมเปิลฮาร์มอนิก
ดังนั้น เราจะหาการกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการสั่นของอนุภาคตัวกลาง
ได้จากสูตรของซิมเปลิฮาร์โมนิก ดังนี้
1. การกระจัดของอนุภาคตัวกลาง หาจากสูตร y = A sin t
2. ความเร็วของอนุภาคตัวกลาง หาจากสูตร v = A cos t
3. ความเร่งของอนุภาคตัวกลาง หาจากสูตร a = –2 A sin t

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


217 คลืน
่ กล
พิสจู น์ : EA2 (ข้ามได้ครับ)
การเคลื่อนที่แบบคลื่นคือการเคลื่อนที่ที่มีการส่งผ่านพลังงานไปกับตัวกลางที่คลื่น
เคลื่อนที่ผ่าน ดังนั้น พลังงานของคลืน่ = พลังงานของอนุภาคตัวกลางที่สนั่
ถ้าเราพิจารณาที่ตาแหน่งสมดุล พลังงานคลืน่ (E) = Ek  EP
1
 mv2 max  0
2
1
 m(A) 2  0
2
1
 m(2fA) 2  0
2
1
Ek  m(2fA) 2 จากสมการจึงสรุปว่า E  A2
2

5) ความยาวคลืน่ (Wave Length ;) คือ ระยะที่วัดจากเฟสถึงเฟสตรงกันของคลื่นถัดไป


เขียนแทนด้วย “” (สัญลักษณ์ตัวนี้เป็นภาษากรีกอ่านว่า“แลมด้า”) มีหน่วยเป็นเมตร (m)
จับประเด็นโจทย์ : ในโจทย์มักพูดว่าระยะจากสันคลื่นถึงสันคลื่นที่ติดกัน หรือ ระยะจากท้องคลื่นถึง
ท้องคลื่นที่ติดกัน ก็ให้น้องทราบในทันทีว่าระยะนั้นก็คือ  นั่นเอง

6) คาบ (Period ;T) คือ

กราฟการกระจัดของอนุภาคใดๆ
กราฟการกระจัดของอนุภาค กับระยะทาง
บนหน้าคลืน่ กับเวลา

กราฟนีใ้ ช้สา้ หรับหา ความยาวคลื่น 


กราฟนีใ้ ช้สา้ หรับหา คาบ T

รูปนี้คือรูปที่เกิดจากการถ่ายรูปของคลื่น ณ เวลา
รูปนี้ไม่ใช่ภาพถ่ายของคลื่นนะครับ มีเยอะที่เข้าใจผิด ไอ้
ใดเวลาหนึ่ง
รูปนี้มันเป็นกราฟความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดกับ
เวลาของอนุภาคใดอนุภาคหนึ่งของคลื่น

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 218

การพิจารณาคาบการสัน่ ของอนุภาค P บนคลื่น เมือ่ เวลาผ่านไป t

สังเกต
เวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ไปได้ 1 เท่ากับเวลาที่
อนุภาคบนคลื่นเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ

คาบการเคลือ่ นทีข่ องคลืน่ = คาบการสัน่ ของอนุภาค

7) ความถี่ (frequency ;f) คือ

ค่าความถี่ของคลื่นจะขึ้นอยู่กับความถี่ของแหล่งกาเนิด ถ้าแหล่งกาเนิดสั่นเร็วจะให้ค่าความถี่คลื่นสูง
8) เฟส (phase) คือ

ตาแหน่ง 2 ตาแหน่งที่มีมุมเฟสต่างกัน 2 ตาแหน่ง 2 ตาแหน่งนี้จะอยู่ห่างกันเท่ากับ


 และคลื่นจะใช้เวลาเดินทางจากสองตาแหน่งนี้เท่ากับ T

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


219 คลืน
่ กล

การบอกมุมเฟสของตาแหน่งต่างๆ บนหน้าคลืน่

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 220
ขัน้ ตอนการพิจารณาว่าจุดใดมีเฟสตรงกัน - จุดใดมีเฟสตรงข้ามกัน
Step 1. ให้ขยับคลื่นไปด้านหน้าเล็กน้อย
Step 2. เขียนการกระจัดของอนุภาค โดยลากเส้นจากตาแหน่งเดิมไปยังตาแหน่งใหม่
Step 3. ขั้นการวิเคราะห์
- จุดใดมีการกระจัดเท่ากัน(ขนาดเท่า ทิศทางเดียวกัน) แสดงว่า มีเฟสตรงกัน
- จุดใดมีการกระจัดตรงข้ามกันกัน(ขนาดเท่า ทิศทางตรงข้ามกัน) แสดงว่า มีเฟสตรงข้ามกัน

จุดทีม่ ีเฟสเดียวกัน (Inphase) จุดทีม่ ีเฟสตรงข้ามกัน (Out of Phase)


จุดที่มีเฟสเดียวกัน คือ จุดบนคลื่นที่มีขนาดการกระจัด จุดที่มีเฟสตรงข้ามกัน คือ จุดบนคลื่นที่มีขนาด
เท่ากัน และมีการสั่นไปในทิศทางเดียวกัน การกระจัดเท่ากัน แต่สั่นในทิศทางตรงข้ามกัน
จุดที่มีเฟสเดียวกันจะมีลักษณะเฉพาะดังนี้ จุดที่มีเฟสตรงข้ามกัน จะมีลักษณะเฉพาะดังนี้
1.มีมมุ เฟสต่างกัน 2 4 6 ,...., 2n 1.มีมมุ เฟสต่างกัน  , 3 , 5 ,...., (2n  1)
2.มีระยะห่างกัน , 2 , 3 ,…, n  3 5 1
2.มีระยะห่างกัน , , ,...., (n  )
3.มีเวลาต่างกันT , 2T , 3T ,…, nT 2 2 2 2
T 3T 5T 1
3.มีเวลาต่างกัน , , ,...., (n  )T
2 2 2 2
เมื่อ n = 1, 2, 3,...
เมื่อ n = 1, 2, 3,...

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


221 คลืน
่ กล
9) หน้าคลืน่ (Wave Front) คือ เส้นที่ลากผ่านตาแหน่งที่มีเฟสเดียวกันในคลื่นลูกหนึ่งๆ เช่น แนว
ของสันคลื่นหรือแนวของท้องคลื่น ที่เราเห็นมันเป็นแนวๆ คล้ายกับ
ลอนกระเบื้องนั่นแหละครับ ที่เขา
เรียกว่าหน้าคลื่น

สังเกต :หน้าคลื่นจะตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่เสมอ

2. อัตราเร็วของคลืน่
ถ้าคลื่นเคลื่อนที่ได้ระยะทาง s ในเวลา t เราสามารถ
หาความเร็วของคลื่นได้จาก v = s/t ถ้าคลื่น
เคลื่อนที่ได้ครบ1 ลูก ระยะทางที่คลื่นคลื่อนที่ได้จะ
เท่ากับ  ส่วนเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ครบ 1 ลูกก็คือ
คาบ T เมื่อแทน s ด้วย  และแทน t ด้วย Tลงใน

s  
v  จะได้ v  แทน f 
1 ใน v  ก็จะได้ v  f
t T T T

สมการ คาอธิบายตัวแปร
v แทน อัตราเร็วของคลื่น  แทน ความยาวคลื่น
แทน ระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ แทน คาบ
แทน เวลาที่คลื่นใช้ในการเคลื่อนที่ แทน ความถี่

หมายเหตุ : สาหรับในตัวกลางเดียวกันอัตราเร็วจะเท่ากัน

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 222
Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?
EXAM :2
Step 2. วาดรูป
ส่วนประกอบของคลืน่ , Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้( )ค้างไว้
อัตราเร็วของคลืน่

โจทย์ปพู นื้ ฐาน

Ex1. ในการสะบัดเชือกที่ปลายข้างหนึ่งของเชือกที่ขึงตรึงในแนวระดับให้เคลื่อนที่เป็นคลื่น ปรากฏว่าในเวลา 0.7 วินาที


เกิดคลื่นดังรูปจงหา

1. ความยาวคลื่น
2. ความเร็วคลื่น
3. ความถี่ของการสะบัดเชือก

Ex2. จากรูปแสดงคลื่นเคลื่อนที่ไปทางขวามือโดยเริ่มจาก x = 0 จงหา

1. ความยาวคลื่นมีค่าเท่าไร
2. แอมพลิจูดมีค่าเท่าไร
3. ถ้าคลื่นเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 5 m/s จงหาความถี่คลื่น
4. จุดคู่ใดบ้างที่มีเฟสตรงกัน
5. จุดคู่ใดบ้างที่มีเฟสตรงข้ามกัน

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


223 คลืน่ กล
โจทย์ฝกึ ความเชีย่ วชาญ

Ex3. จากรูปคลื่นขบวนหนึ่ง เมื่อเวลา t = 0


แสดงด้วยเส้นทึบและเมื่อเวลาผ่านไป t = 0.2
วินาที แสดงด้วยเส้นประจงหาความเร็วของ
คลื่นเป็นกี่เมตร/วินาที
1. 0.2 2. 0.5 3. 1.0 4. 2.0

Ex4. คลื่นในเส้นเชือก เมื่อเวลาหนึ่งเป็นดังรูป ก. หลังจากนั้น 0.5 วินาที เป็นดังรูป ข. ความถี่ของคลื่นจะเป็นกี่เฮิรตซ์

Ex5. เมื่อทาให้เกิดคลื่นดลหน้าคลื่นเส้นตรงขึ้นในชุดถาดคลื่น โดยใช้คานกาเนิดคลื่นตรงกระทุ่มน้า 1 ครั้ง พบว่า คลื่นดล


นี้เคลื่อนที่ไปถึงของถาดที่อยู่ห่างออกไป 40 ซม. ในเวลา 10 วินาที และมีคลื่นสะท้อนน้อยมากจากขอบถาด ต่อมาทาให้
คานกาเนิดคลื่นกระทุ่มน้า ด้วยความถี่ 600 ครั้งต่อนาทีอย่างสม่าเสมอ จะพบว่าเวลาที่ยอดคลื่น 2 ยอดที่อยู่ใกล้กัน
ที่สุด จะเคลื่อนที่มาถึงขอบถาดคลื่นที่ห่างกันเป็นเวลากี่วินาที
1. 0.1 วินาที
2. 0.25 วินาที
3. 1.0 วินาที
4. 4.0 วินาที

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 224
Ex6. ในการสังเกตของนักเรียนกลุ่มหนึ่งพบว่า เมือ่ ทาให้เกิดคลื่นดลวงกลมขึ้นในถาดคลื่น รัศมีของคลื่นดล วงกลมที่เวลาต่างๆ
เป็นไปตามกราฟข้างล่าง

ถามว่า ถ้านักเรียนกลุ่มนี้ทาให้เกิดคลื่นต่อเนื่องขึ้นในถาดคลื่นนี้ด้วยความถี่ 10 เฮิรตซ์ ยอดคลื่น 2 ยอดที่อยู่ใกล้


กันมากที่สุดจะอยู่ห่างกันกี่เซนติเมตร
1. 0.5 2. 2.0 3. 5.0 4. 50.0

Ex7. แหล่งกาเนิดคลื่นปล่อยคลื่นมีความยาวคลื่น 0.05 เมตร วัดอัตราเร็วได้ 40 เมตร/วินาที เป็นเวลา 1 วินาที ได้คลื่น


ทั้งหมดกี่ลูกคลื่น

1. 320
2. 640
3. 800
4. 1,200
Ex8. แหล่งกาเนิดคลื่นปล่อยคลื่นมีความยาวคลื่น 0.05 เมตร วัดอัตราเร็วได้ 40 เมตร/วินาที เป็นเวลา 0.8 วินาที ได้
คลื่นทั้งหมดกี่ลูกคลื่น

1. 320
2. 640
3. 800
4. 1,200
Ex9. ในการทดลองเรื่องการเคลื่อนที่ของคลื่น โดยใช้ถาดน้ากับตัวกาเนิดคลื่นซึ่งเป็นมอเตอร์ที่หมุน 4 รอบ ต่อวินาที ถ้า
คลื่นบนผิวน้าเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 12 เซนติเมตร/วินาที จงหาความยาวคลื่นบนผิวน้าที่เกิดขึ้น

1. 1.5 cm
2. 3.0 cm
3. 4.5 cm
4. 6.0 cm

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


225 คลืน
่ กล
Ex10. จากรูปคลื่นกาลังเคลื่อนที่ไปทางขวามือ จุด P เป็นปมเชือก จงหาว่าเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปทางขวาได้ระยะทาง 1
เซนติเมตร ปมเชือก P จะมีการกระจัดเท่าใด

Ex11. จากรูปคลื่นกาลังเคลื่อนที่ไปทางขวามือ จุด P เป็นปมเชือก จงหาว่าเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปทางขวาได้ระยะทาง 2


เซนติเมตรปมเชือก P จะมีการกระจัดเท่าใด

Ex 12.คลื่นชนิดหนึ่งกาลังเคลื่อนที่ ดังรูป ไปทางขวาด้วยอัตราเร็ว 0.5 เมตรต่อวินาที อยากทราบว่าเมื่อเวลาผ่านไป


4 วินาที จุด P ซึ่งเป็นจุดหนึ่งบนตัวกลางจะเคลื่อนที่ได้การกระจัดกี่เซนติเมตร
1. +0.25 Y(cm)
2. +1.0
3. -0.5 1
4. -1.0 P
x(m)
1 2 3 4 5 6
-1

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 226
โจทย์ความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างของคลืน่ กับเวลา
Ex. 13 จากรูป คลื่นน้าเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอ 10 เซนติเมตร/วินาที จุด P อยู่ที่ท้องคลื่นพอดีอยากทราบว่าอีก
นานเท่าไร จุด P จึงอยู่บนสันคลื่น เมื่อคลื่นขบวนนี้สันคลื่นที่ติดกันห่างกัน 5 ซม.
1. 0.25 2. 0.5 3. 1.0 4. 2.0

Ex14. คลื่นนิ่งในเส้นเชือกที่เวลาต่างๆ 3 เวลาดังรูป จงหาความเร็วของคลื่นในเส้นเชือกในหน่วยเมตรต่อวินาที

โจทย์ทเี่ กีย่ วกับกราฟ


Ex15. คลื่นดลบนเชือกมีลักษณะดังรูป เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v กราฟข้อใดแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด y ของ
จุด P (จุดหนึ่งบนเส้นเชือก) กับเวลา t ได้ถูกต้อง

P
𝑦 𝑦
1. 2.

𝑡 𝑡

𝑦
𝑦
3. 4
.
𝑡 𝑡

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


227 คลืน
่ กล

Ex16. สังเกตรูปคลื่นที่ขณะเวลาหนึ่ง(เสมือนกับถ่ายรูปเอาไว้)มีลักษณะดังรูปด้านบน สังเกตการสั่นของอนุภาคที่


ตาแหน่ง P แล้วเขียนกราฟระหว่างการกระจัดกับเวลา ได้ดงั รูปด้านล่างคลื่นนี้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วกี่เมตรต่อวินาที

Ex17. การกระจัดของอนุภาคบนคลื่นขบวนหนึ่งเป็นดังกราฟ ข้อใดถูกต้องทั้งหมด

1. มุมเฟสเริ่มต้น 0 องศา แอมพลิจูด 10 เซนติเมตร คาบ 10 วินาที ความถี่ 0.1 เฮิรตซ์


2. มุมเฟสเริ่มต้น 0 องศา แอมพลิจูด 5 เซนติเมตร คาบ 8 วินาที ความถี่ 0.125 เฮิรตซ์
3. มุมเฟสเริ่มต้น 90 องศา แอมพลิจูด 5 เซนติเมตร คาบ 8 วินาที ความถี่ 0.125 เฮิรตซ์
4. มุมเฟสเริ่มต้น 30 องศา แอมพลิจูด 5 เซนติเมตร คาบ 8 วินาที ความถี่ 0.1 เฮิรตซ์

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 228
การบ้านชุดที่ 2

1.สาหรับคลื่นน้าในตัวกลางเดียวกันถ้าแหล่งกาเนิดสั่นเร็วขึ้นจะมีอะไรเปลี่ยนแปลงนอกจากความถี่
1. คาบเพิ่มขึ้น 2. ความยาวคลื่นลดลง
3. พลังงานมากขึ้น 4. อัตราเร็วเพิ่มขึ้น
2.เคาะน้าเป็นจังหวะสม่าเสมอด้วยความถี่ 10 Hz เมื่อเวลาหนึ่ง สันคลื่นลูกแรกและลูกที่ 3 ห่างกัน 2 เมตร จงหาความเร็ว
ของคลื่น

3. จากรูป คลื่นในเส้นเชือกมีการเปลี่ยนแปลงจากรูปบนเป็นรูปล่างในเวลาน้อยที่สุด 0.1 วินาที จงหาอัตราเร็วของคลื่น ใน


เส้นเชือกในหน่วยเมตรต่อวินาที

4. ในการทดลองเรื่องการเคลื่อนที่ของคลื่น โดยใช้ถาดน้ากับตัวกาเนิดคลื่นซึ่งเป็นมอเตอร์ที่หมุน 4 รอบ ต่อวินาที ถ้าคลื่น


บนผิวน้าเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 12 เซนติเมตร/วินาที จงหาความยาวคลื่นบนผิวน้าที่เกิดขึ้น
1. 1.5 cm
2. 3.0 cm
3. 4.5 cm
4. 6.0 cm

5. คลื่นน้าเคลื่อนผ่านจุด ๆ หนึ่งไป 30 ลูกคลื่น ในเวลา 1 นาที ถ้าคลื่นนี้เคลื่อนที่ด้วยอัตราความเร็ว 2 เมตรต่อวินาที จง


หาระยะระหว่างสันคลื่นและท้องคลื่นที่อยู่ติดกัน
1. 1 m
2. 2 m
3. 3 m
4. 4 m

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


229 คลืน
่ กล
6. ตัวกาเนิดคลื่นมีค่าความถี่ของการสั่น 8 เฮิรตซ์ ทาให้เกิดคลื่นผิวน้า ดังแสดงในรูปแสดงคลื่นผิวน้าในกล่องคลื่นที่
เวลาหนึ่งหาความเร็วของคลื่นนี้ในหน่วยเซนติเมตร/วินาที

7. เมื่อสังเกตคลื่นเคลื่อนที่ไปบนผิวน้ากระเพื่อมขึ้นลง 600 รอบ ใน 1 นาที และระยะระหว่างสันคลื่นที่ถัดกันวัดได้ 20


เซนติเมตร จงหาว่าเมื่อสังเกตคลื่นลูกหนึ่งเคลื่อนที่ไปใน 1 นาที จะได้ระยะทางกี่เมตร

8. แหล่งกาเนิดคลื่นสั่นอย่างสม่าเสมอด้วยอัตรา 30 ครั้ง ใน 1 นาที ทาให้เกิดคลื่นน้าแผ่ออก ไปอย่างต่อเนื่อง เมื่อ


พิจารณาคลื่นที่เกิดขึ้นพบว่า คลื่นแต่ละลูกเคลื่อนที่จากเสาต้นหนึ่งไปยัง เสาอีกต้นหนึ่งซึ่งปักอยู่ห่างกัน 20 เมตร ต้องใช้
เวลา 2 วินาที ความยาวคลื่นน้ามีค่าเท่าใด
1. 10 เมตร 2. 15 เมตร 3. 20 เมตร 4. 25 เมตร

9. ลูกบอลลูกหนึ่งตกลงน้าและสั่นขึ้นลงหลายรอบทาให้เกิดคลื่นผิวน้าแผ่ออกไปเป็นรูปวงกลม เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที


คลื่นน้าแผ่ออกไปได้รัศมีสูงสุด 20 เมตร โดยมีระยะระหว่างสันคลื่นที่ติดกันเท่ากับ 2 เมตร จากข้อมูลดังกล่าวลูกบอล
สั่นขึ้นลงด้วยความถี่ประมาณเท่าใด

1. 0.5 Hz
2. 1.0 Hz
3. 2.0 Hz
4. 4.0 Hz

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 230

Step ความรู้ที่ 5 : การคานวณความต่างเฟส


8.1 ความต่างเฟสของคลืน่ ขบวนเดียวกัน
การพิจารณาคาบการสัน่ ของอนุภาค P บนคลืน่ เมือ่ เวลาผ่านไป t

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


231 คลืน
่ กล
1. การคานวณความต่างเฟส
ความต่างเฟสของคลืน่ ขบวนเดียวกัน
1) ความต่างเฟสของตาแหน่งสองตาแหน่ง 2) ความต่างเฟสของตาแหน่งใดตาแหน่ง
บนคลืน่ ทีห่ า่ งกัน x ของคลืน่ ขบวน หนึง่ บนคลืน่ เมือ่ เวลาเปลีย่ นไป t
เดียวกัน
ณ จุด 2 จุด บนคลื่นที่มีเฟสต่างกัน จากความรู้ที่ว่าอนุภาคที่ตาแหน่งใดๆ เคลื่อนที่ครบ 1 รอบ
2  จะมีระยะห่าง  จะมีเฟสต่างกัน 2  โดยใช้เวลา T
ถ้าเฟสต่างกัน  จะมีระยะห่าง x ถ้าเฟสต่างกัน  คลื่นใช้เวลาเดินทาง t
สมการการแก้โจทย์ จาไม่ยากเพราะมันมีทมี่ า
จากการเทียบบัญญัตยางค์ธรรมดานีเ่ อง

มักใช้คู่กับสมการ มักใช้คู่กับสมการ

ถ้าโจทย์ให้มุมมาเป็นองศาให้แทน 2π ด้วย 360


0

Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


EXAM :3
Step 2. วาดรูป
การคานวณความต่างเฟส
Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(....)ค้างไว้
โจทย์ปพู นื้ ฐาน
Ex1. จากรูปจงหา

ความต่างเฟสของ A กับ B
ความต่างเฟสของ A กับ C
ความต่างเฟสของ B กับ C

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 232
Ex2. S เป็นแหล่งกาเนิดคลื่นวงกลมที่ให้ความยาวคลื่น 2 เมตร ถ้าจุด A ห่างจากแหล่งกาเนิด 3 เมตร จุด B อยู่ห่าง
จากแหล่งกาเนิด 4 เมตร จุด C อยู่ห่างจากแหล่งกาเนิด 2 เมตร จงหา A กับ B มีเฟสต่างกันกี่องศา

โจทย์ฝกึ ความเชีย่ วชาญ


Ex3. จากรูป P เป็นแหล่งกาเนิดคลื่นซึ่งมีคาบของการสั่น = 1.010-3 วินาที จุด Q และจุด R อยู่ห่างจากจุด P เป็น
ระยะทาง 12.0 เมตร และ 14.0 เมตร ตามลาดับ ถ้าคลื่นที่มาถึงจุด Q และจุด R มีเฟสต่างกัน 270๐ จงหา
ความเร็วของคลื่นในหน่วยเมตรต่อวินาที

Q 1. 14.0103 2. 12.0103
3. 2.7103 4. 2.0103
P
R

Ex4. คลื่นที่มีความถี่ 8 เฮิรตซ์ ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 2 เมตรต่อวินาที จุด A และ B อยู่บนผิวน้าในแนวเส้นตรงต่อ


กับตัวกาเนิดคลื่น โดยอยู่ห่าง 0.30 เมตร จุดทั้งสองมีเฟสต่างกันกี่เรเดียน
1. 0.25 
2. 0.4 
3. 2.25 
4. 2.40 

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


233 คลืน่ กล
โจทย์ทเี่ กีย่ วกับกราฟ
Ex5. คลื่นสองขบวน มีลักษณะดังรูป

1. คลื่น A มีความยาวคลื่น 0.5 เมตร ,คลื่น A และ B มีเฟสต่างกัน 90 องศา


2. คลื่น A มีความยาวคลื่น 0.25 เมตร ,คลื่น A และ B มีเฟสต่างกัน 90 องศา
3. คลื่น A มีความยาวคลื่น 0.5 เมตร ,คลื่น A และ B มีเฟสต่างกัน 45 องศา
4. คลื่น A มีความยาวคลื่น 0.25 เมตร ,คลื่น A และ B มีเฟสต่างกัน 45 องศา

Ex6.

จากคลื่นดังรูปที่เวลา t=15 วินาที จะมีมุมเฟสและการกระจัดเป็นเท่าใด

1.
2.
3. 2
4.

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 234
Ex7. เชือกเส้นหนึ่งขึงตรึง โดยปลายข้างหนึ่งตรึงอยู่กับที่ อีกปลายหนึ่งติดอยู่กับเครื่องสั่นสะเทือน ณ ที่จุดหนึ่งบนเชือกมี
เฟสเปลี่ยนไป 240 องศา ทุกๆ ช่วง 3 วินาที จงหาว่าเครื่องสั่นสะเทือนนี้มีความถี่ในการสั่นเท่าไร (ในหน่วย
เฮิรตซ์)

1. 0.11
2. 0.22
3. 0.33
4. 0.44

Ex8. คลื่นขบวนหนึ่งมีความถี่ 12 Hz เมื่อเวลาผ่านไป 1.2 วินาที จงหาว่าเฟสใหม่มีค่าเท่าไร

1. ถ้าเฟสเริ่มต้นเป็นศูนย์
2. ถ้าเฟสเริ่มต้นเป็น 90 องศา

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


235 คลืน
่ กล
การหาความต่างเฟสของคลืน่ ต่างขนวนกันทีม่ คี วามถีต่ า่ งกัน
การคานวณความต่างเฟส
Step 1. ใช้แผนภาพเฟสเซอร์คิด ง่ายสุดครับ ถ้าค้านวณแล้วได้มุมเฟสเกิน 360 0
Step 2. ตั้งสมการ   2ft ของคลื่นแต่ละลูกแยกกัน ให้เอา 360 0 หาร เศษที่เหลือคือค้าตอบ เช่น ถ้า
ก่อน แล้วจึงนามาลบกันเพื่อหาความต่างเฟส ค้านวณได้ ∆∅=760 0
เอา 360 0
หารแล้วได้
(เอาคลืน่ ทีม่ ีความถีส่ งู กว่า ลบคลืน่ ทีม่ คี วามถีต่ ากว่
่ า)
2 เศษ 40 0
ให้เราตอบว่าเฟสต่างกัน 400
ตรงนี้แหละที่น้องๆ นักเรียนมักพลาดกันอย่างน่า
ซึ่งจะได้
เสียดาย (ถ้ามีเฟสต่างกันเป็นจ้านวนเต็มของ 360 0
อนุภาคบนคลื่นจะมีการกระจัดเหมือนกันเราเรียกว่ามันมีเฟส
ตรงกัน นี่จึงเป็นเหตุผลว่าท้าไมเราจึงเอา 360 0 หาร)

Ex9. คลื่นสองขบวนมีความถี่ 10 Hz และ 15 Hz ถูกปล่อยออกจากแหล่งกาเนิดด้วยเฟสเดียวกัน หลังจากนั้น 0.25


วินาที จะมีเฟสต่างกันกี่องศา

1. 90
2. 135
3. 180
4. 225

Ex10. คลื่นสองขบวน เคลื่อนที่ออกจากจุดกาเนิดพร้อมกัน คลื่นขบวนที่หนึ่งมีความถี่ 27 Hz อีกขบวนหนึ่งมีความถี่


32 Hz เมื่อเวลาผ่านไป 1.5 วินาที คลื่นทั้งสองขนวนจะมีเฟสต่างกันกี่องศา

1. 45 องศา
2. 90 องศา
3. 180 องศา
4. 225 องศา

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 236
Ex11. คลื่นสองขบวนมีความถี่ 150 Hz และ 100 Hz ถูกปล่อยออกจากแหล่งกาเนิดด้วยเฟส 180 และ 90 องศา
ตามลาดับ หลังจากนั้นนานเท่าใด คลื่นน้าจึงจะมีเฟสตรงกัน
(ตอบ 0.015 วินาที)
𝑓2 = Hz

𝑓1 = Hz

Ex12. คลื่นสองขบวนมีความถี่ 21 และ 20 Hz เคลื่อนที่จากจุดเดียวกันด้วยเฟสตั้งต้นเท่ากัน เวลาผ่าน


ไปกี่วินาทีจึงจะมีมุมเฟส ณ จุดกาเนิดต่างกัน 270 องศา (ตอบ 0.75 วินาที)

 
Ex13. คลื่นสองขบวนมีความถี่ 200Hz และ 250 Hz ตามลาดับถูกปล่อยออกมา พร้อมกันด้วยเฟส และ
3 2
ตามลาดับแล้วอีกนานเท่าไรคลื่นทั้งสองจึงจะมีเฟสตรงกัน (ตอบ 0.018 วินาที)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


237 คลืน
่ กล

Ex14. ส่งคลื่นความถี่ 240 Hz ออกไปโดยมีเฟสเริ่มต้น 50 องศา ต่อมาอีก 0.6 วินาที ก็ส่งคลื่นความถี่


280Hz ออกไปโดยมีเฟสเริ่มต้น 20 องศา หลังจากนั้นนานเท่าไรจึงมีเฟสตรงกันเป็นครั้งแรก
(ตอบ 0.0021 วินาที)

การบ้านชุดที่ 3

1. จากรูป S เป็นแหล่งกาเนิดคลื่นซึ่งมีความถี่ 100 Hz จุด P และจุด Q อยู่ห่างจาก S เป็นระยะ 15 เมตร และ 18


3
เมตร ตามลาดับ ถ้าคลื่นที่มาถึงจุด P และจุด Q มีเฟสต่างกัน เรเดียน จงหาอัตราเร็วของคลื่นในหน่วยเมตร/
2
วินาที
1. 400
2. 500
3. 600
4. 700

2. คลื่นน้ามีความถี่ 30 เฮิรตซ์ และความเร็ว 2.4 เมตร/วินาที ระยะทางระหว่าง 2 จุดที่คลื่นมีความแตกต่างเฟสเป็น


120 องศา มีค่าเป็นเท่าใด และเมื่อพิจารณาตาแหน่งหนึ่งของผิวน้าที่มีคลื่นน้านี้ถ้าเวลาผ่านไป 1 วินาที แล้วคลื่น ณ
90
ตาแหน่งนี้มีการเปลี่ยนเฟสไปเท่าใด
1. ระยะทาง 2.7 เซนติเมตร เปลีย่ นเฟส 30 องศา
2. ระยะทาง 2.7 เซนติเมตร เปลี่ยนเฟส 120 องศา
3. ระยะทาง 4.2 เซนติเมตร เปลี่ยนเฟส 30 องศา
4. ระยะทาง 4.2 เซนติเมตร เปลี่ยนเฟส 120 องศา

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 238
3.คลื่นต่อเนื่องขบวนหนึ่ง เกิดจากแหล่งกาเนิดที่สั่น 20 รอบ/วินาที มีความเร็วเฟส 30
เมตร/วินาที ณ จุด 2 จุด บนคลื่นนี้ซึ่งห่างกัน 0.5 เมตร จะมีเฟสต่างกันเท่าไร
1. 120o 2. 160o 3. 240o 4. 360o

4. คลื่น A มีความถี่ 5 Hz มีเฟสเริ่มต้น 30 องศา คลื่น B มีความถี่ 3 Hz เฟสเริ่มต้น 60 องศา ถูก


ปล่อยออกมาพร้อมกัน คลื่นทั้งสองมีเฟสตรงกันครั้งแรกเมื่อเวลาเท่าใด และ A มีเฟสเท่าใด

(ตอบ )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


239 คลืน
่ กล

Step ความรู้ที่ 6: การศึกษาคลืน่ น้าด้วยถาดคลืน่ (Ripple Tank)

ส่วนประกอบ ที่สาคัญ

1. ตัวถาดคลืน่ ซึ่งก้นถาดเป็นแผ่นแก้วหรือแผ่นพลาสติกใสเพื่อให้แสงส่องผ่าน
ลงสู่ด้านใต้ถาดคลื่นได้
2. ตัวกาเนิดคลืน่ ซึ่งสามารถปรับความถี่ได้โดยปรับการหมุนของมอเตอร์ให้
ช้าหรือเร็ว
3. โครมไฟ ติดอยู่เนือเพดานเพือ่ ส่องแสงจากด้านบนให้เห็นคลื่นได้ชัดเจน

- จุดกึ่งกลางของแถบมืด แทนตาแหน่งของท้องคลืน่
- จุดกึ่งกลางของแถบสว่าง แทนตาแหน่งของสันคลืน่

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 240

Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


EXAM : 4
Step 2. วาดรูป
การศึกษาคลื่นน้าด้วย
ถาดคลืน่ Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้( )ค้างไว้

Ex1. ในการทดลองเรื่องคลื่นน้า โดยใช้ถาดคลื่น (ripple tank) แถบสว่างที่ได้จากการทดลองตรง


กับส่วนใดของคลื่นน้า
1. สันคลื่น 2. ท้องคลื่น 3. หน้าคลื่น 4. แอมพลิจูด

Ex2. ในการทดลองเรื่องคลื่นน้า โดยใช้ถาดคลื่น (ripple tank) พบว่าระยะระหว่างแถบสว่าง 3 แถบที่ติดกันห่างกัน


10 เซนติเมตร ถ้าเครื่องกาเนิดคลื่นน้ามีความถี่ 10 รอบต่อวินาที จงหาความเร็วคลื่น

Ex3. การทดลองโดยใช้ถาดคลื่นที่มีน้าลึกสม่าเสมอ วัดความยาวของแถบสว่าง 5 แถบที่อยู่ถดั กันของคลื่นต่อเนื่องได้


ระยะทาง 10 เซนติเมตรถ้าคลื่นผิวน้ามีอัตราเร็ว 20 เซนติเมตร/วินาที จงหาความยาวคลื่นและความถี่ของคลื่น
(ตอบ 2.5 cm และ 8 Hz)

การบ้านชุดที่ 4

1. จากการทดลองโดยใช้ถาดคลื่นที่มีน้าลึกสม่าเสมอ วัดความยาวของแถบสว่าง 6 แถบที่อยู่ถัดกันของคลื่นผิวน้าต่อเนื่องได้


ระยะ 30 เซนติเมตร ต้นกาเนิดสั่น 1,200 รอบ/วินาที คลื่นนี้มีความเร็วกี่เมตร/วินาที

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


241 คลืน
่ กล

Step ความรู้ที่ 7 : การซ้อนทับของคลืน่ หรือหลักการรวมกันได้ของคลืน่ (Superposition)


ถ้ามีคลื่นตั้งแต่ 2 ขบวนขึ้นไป เคลื่อนที่มาพบกัน จะเกิดการรวมกันของคลื่น เรียกว่า “คลืน่ ลัพธ์”

การกระจัดของคลืน่ ลัพธ์ = การกระจัดของคลืน่ ย่อยๆ รวมกัน

การซ้อนทับของคลืน่ หรือหลักการรวมกันได้ของคลืน่ มี 2 กรณี


1. การรวมแบบเสริมกัน 2. การรวมแบบหักล้าง
เกิดจากการที่คลื่นสองขบวนที่มีการกระจัดไปทาง เกิดจากการที่คลื่นสองขบวนที่มีการกระจัดอยู่ในทิศทางตรง
เดียวกัน เคลื่อนที่มาพบกัน เช่น สันคลืน่ พบสัน ข้ามกันเคลื่อนที่มาพบกัน เช่น สันคลืน่ พบกับท้องคลืน่
คลืน่ หรือท้องคลืน่ พบท้องคลืน่ การซ้อนทับกัน การซ้อนทับกันแบบนี้ การกระจัดลัพธ์จะมีขนาดเท่ากับ
แบบนี้ทาให้ การกระจัดลัพธ์จะมีขนาดเท่ากับ ผลต่างของการกระจัดย่อยของคลืน่ ทั้งสอง
ผลบวกของการกระจัดย่อยของคลืน่ ทั้งสอง

การรวมกันแบบเสริม การรวมกันแบบหักล้าง

ก่อนพบกัน คลื่น
ก่อนพบกัน คลื่นสีดามีการกระจัด 1 หน่วย ในทิศขึ้น สีดามีการกระจัด 1หน่วย ในทิศลง เคลื่อนที่ไปทางขวา คลื่นสีขาวมี
เคลื่อนที่ไปทางขวา คลื่นสีขาวมีขนาด 2 หน่วยในทิศขึ้น ขนาด 2 หน่วยในทิศขึ้นเคลื่อนที่ไปทางซ้าย
เคลื่อนที่ไปทางซ้าย

ขณะพบกัน เส้นปะๆนั่นแหละครับคือคลื่นลัพธ์ที่เกิดขึ้น ขณะพบกัน เส้นปะๆนั่นแหละครับคือคลื่นลัพธ์ที่เกิดขึ้น


ในที่นคี้ ลื่นลัพธ์มีขนาดเท่ากับ 3 หน่วย ในที่นมี้ ีขนาดเท่ากับ 1 หน่วย

หลังจากพบกันแล้ว คลื่นก็จะเลยผ่านพ้นกันไปรูปร่าง หลังจากพบกันแล้ว คลื่นก็จะเลยผ่านพ้นกันไปรูปร่างลักษณะของ


ลักษณะของคลื่นจะมีลักษณะเหมือนเดิมทุกประการ คลื่นจะมีลักษณะเหมือนเดิมทุกประการ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 242

รูปแสดงการรวมกันของคลืน่

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


243 คลืน
่ กล

EXAM : 5 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


Step 2. วาดรูป
การซ้อนทับของคลืน่
Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้( )ค้างไว้

โจทย์ปพู นื้ ฐาน

Ex1. จากรูปแสดงคลื่นที่กาลังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 2 เมตรต่อวินาที เท่ากัน เมื่อเวลาผ่านไป 2วินาที จงเขียนคลื่นลัพธ์ที่


เกิดขึ้น

โจทย์ฝกึ ความเชีย่ วชาญ

Ex2. คลื่นดลสองชุดมีการกระจัดสูงสุด 4 เซนติเมตรเท่ากัน มีรูปร่างดังรูปกาลังเคลื่อนที่เข้าหากันบนเส้นเชือกด้วย


อัตราเร็ว 2 เซนติเมตรต่อวินาทีเท่ากัน ในตอนเริ่มต้นสังเกต จุด A บนเส้นเชือกอยู่ห่างจากคลื่นดลทั้งสองเป็นระยะ
5 เซนติเมตรเท่ากัน เมื่อเวลาผ่านไป 3 วินาที จุด A มีการกระจัดกี่เซนติเมตร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 244
Ex3. ตามรูปคลื่นดลสองคลื่นในเส้นเชือกแต่ละคลื่นสูง 0.03 เมตร เคลื่อนที่เข้าหากันด้วยอัตราเร็ว 0.05 เมตรต่อวินาที
จุด A อยู่กึ่งกลางระหว่างคลื่นทั้งสอง ที่เวลา t = 0 วินาที คลื่นทั้งสองอยู่ห่างกัน 0.32 เมตร ที่เวลา t = 3
วินาที จุด A อยู่สูงจากแนวระดับกี่เซนติเมตร

0.03m 0.03m
A
1. 8.00
2. 4.50 0.16m
3. 4.00 0.32m
4. 2.25

Ex4. จากรูปเป็นคลื่น 2 ขบวนวิ่งเข้าหากันด้วยอัตราเร็วเท่ากัน คือ 1 เมตรต่อวินาที รูปคลื่นจะมีลักษณะหักล้างกันหมด


เมื่อเวลาผ่านไปกี่วินาที

การกระจัด(m)

ต้าแหน่ง(m)
1 2 3 4 5

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


245 คลืน
่ กล
Ex5. เมื่อคลื่นดล 2 คลื่น เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2.5 เมตรต่อวินาที เคลื่อนที่เข้าหากันตามเส้นเชือก ลักษณะของคลื่น
ขณะเวลาหนึ่งเป็นดังรูป ก. เมื่อเวลาผ่านไปลักษณะของคลื่นบนเส้นเชือกจะเป็นดังรูป ข. ถามว่าคลื่นรูป ข. นี้จะเป็น
เหตุการณ์หลังจากรูป ก. กี่วินาที
(ตอบ 0.5 s)
การกระจัด(m)

รูป
ต้าแหน่ง (m)
ก.
1 2 3 4

การกระจัด(m)

ต้าแหน่ง (m) รูป ข.


1 2 3 4

การบ้านชุดที่ 5

1.คลื่นสองขวนเคลื่อนที่สวนกันด้วยอัตราเร็วเท่ากัน

10 m

เมื่อเวลาผ่านไป 2 วินาทีพบว่าคลื่นเป็นดังรูปล่าง จงหาอัตราเร็วของคลื่น

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 246

Step ความรู้ที่ 8 : สมบัตขิ องคลืน่


1) สมบัตกิ ารสะท้อน (Reflection)
การสะท้อนและหักเห
(การที่คลื่นตกกระทบตัวกลางหนึ่งแล้วสะท้อนกลับสู่
สมบัติร่วมระหว่างคลื่นกับอนุภาค
ตัวกลางเดิม)
(อนุภาคก็มีสมบัติทั้งสองนี้เช่นกัน)
2) สมบัตกิ ารหักเห (Refraction)
(การที่คลื่นเปลี่ยนตัวกลางการเคลื่อนที่แล้ว
ทาให้ความเร็วของคลื่นเปลี่ยนไป)

3) สมบัตกิ ารแทรกสอด (Interferance)


การแทรกสอด และ เลี้ยวเบน
(การรวมกันของคลื่น)
เฉพาะคลื่นเท่านั้นที่มีสมบัตินี้
4) สมบัตกิ ารเลีย้ วเบน (Diffraction) (อนุภาคไม่มีสมบัตินี้นะ)
(การที่คลื่นสามารถเลี้ยวอ้อมสิ่งกีดขวางได้)

NOTE.

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


247 คลืน
่ กล

Step ความรู้ที่ 9 : สมบัตกิ ารสะท้อน (Reflection)


การสะท้อนของคลื่น คือการที่คลื่นเคลื่อนที่ไปกระทบสิ่งกีดขวางแล้วเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่กับสู่ตัวกลางเดิม

รังสี คือ เส้นที่แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น (ตั้งฉากกับหน้าคลื่นเสมอครับ)


เส้นแนวฉาก คือ เส้นที่ลากตั้งฉากกับผิวรอยต่อ (หนังสือบางเล่มอาจเรียกว่าเส้นปกติ)
กรณีแสง นิยมบอกในรูปของรังสี เพราะสังเกต กรณีคลื่นน้า นิยมบอกในรูปของหน้าคลื่นเพราะสังเกตได้ง่าย (หน้า
ได้ง่ายกว่าหน้าคลื่น (ลาแสง  รังสี) คลื่นเป็นลอนๆคล้ายลอนกระเบื้อง)

กฎการสะท้อน
1. มุมตกกระทบ 1   มุมสะท้อน (  2 )
2.รังสีตกกระทบ, รังสีสะท้อน และเส้นแนวฉากต้องอยูใ่ นระนาบเดียวกัน
มุมตกกระทบ มุมสะท้อน
บอกได้ 2 แบบ คือ บอกได้ 2 แบบ คือ
1. มุมทีร่ ังสีตกกระทบกระทากับเส้นแนวฉาก 1. มุมทีร่ ังสีสะท้อนกระทากับเส้นแนวฉาก
หรือ หรือ
2. มุมทีห่ น้าคลืน่ ตกกระทบกระทากับผิว 2. มุมทีห่ น้าคลืน่ สะท้อนกระทากับผิวรอยต่อ
รอยต่อ
Note. เมื่อคลื่นเกิดการสะท้อนกลับมายังตัวกลางเดิม อัตราเร็ว ความยาวคลื่นและความถี่ของคลื่น
จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง นะครับ มีทิศทาง กับความเร็วเท่านั้นที่เปลี่ยน
(ความเร็วเป็นเวกเตอร์ ทิศทางเปลี่ยนถือว่าความเร็วเปลี่ยนด้วย )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 248

Step ความรู้ที่ 10 : รูปแบบการสะท้อนทีน่ ่าสนใจ


คลืน่ หน้าตรงตกกระทบผิวสะท้อนตรงเรียบ คลืน่ หน้าวงกลมกระทบผิวสะท้อนตรงเรียบ

คลืน่ หน้าตรงตกกระทบผิวสะท้อนโค้งเรียบ คลืน่ ถ้าแหล่งกาเนิดคลืน่ วงกลมอยูท่ จี่ ดุ โฟกัส F คลืน่ สะท้อนทีผ่ ิว


สะท้อนจะมีทศิ พุง่ ตรงไปยังโฟกัส F โค้งเว้าจะเป็นคลืน่ หน้าตรง

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


249 คลืน
่ กล
Step ความรู้ที่ 11 : เฟสการสะท้อน
การสะท้อนอาจจะมีเฟสตรงกันหรือมีเฟสตรงข้ามกันกับคลื่นตกกระทบก็ได้ขนึ้ อยู่กับรอยต่อระหว่างตัวกลางและ
ความหนาแน่นของตัวกลาง
การสะท้อนของคลืน่ จากปลายทีต่ รึงไว้ การสะท้อนของคลืน่ จากปลายอิสระ

เฟสของคลืน่ สะท้อนเปลี่ยนไป 180  เฟสของคลืน่ สะท้อนเหมือนเดิม


(ตอนมาเอาสันเข้ามา ตอนกลับเอาท้องกลับ ตอนมากับตอน (ตอนมาเอาสันเข้ามา ตอนกลับก็เอาสันกลับเหมือนเดิม)
กลับ
จะสลับกัน)
เส้นเชือกปลายตรึงไว้ เส้นเชือกปลายอิสระ คลืน่ น้า(เหมือนกรณีปลายอิสระ)

 เฟสของคลื่นสะท้อนเหมือนเดิม
 เฟสของคลื่นสะท้อนเปลีย่ นไป 180  เฟสของคลื่นสะท้อนเหมือนเดิม
(ตอนมาเอาสันเข้ามา ตอนกลับก็เอาสัน
(ตอนมาเอาสันเข้ามา ตอนกลับเอาท้อง (ตอนมาเอาสันเข้ามา ตอนกลับก็เอาสันกลับ
กลับเหมือนเดิม)
กลับ ตอนมากับตอนกลับจะสลับกัน) เหมือนเดิม )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 250

Step ความรู้ที่ 12 : เฟสการสะท้อนเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่าน


ตัวกลางความหนาแน่นเชิงเส้นต่างกัน
คลื่นทีเ่ คลือ่ นทีจ่ ากตัวกลางทีม่ ีความหนาแน่น คลื่นทีเ่ คลื่อนทีจ่ ากตัวกลางทีม่ ีความหนาแน่นเชิงเส้นมากกว่า
เชิงเส้นน้อยกว่าไปสูต่ ัวกลางทีม่ ีความหนาแน่นมากกว่า ไปสูต่ ัวกลางทีม่ ีความหนาแน่นน้อยกว่า

จะมีคลื่นส่วนหนึ่งสะท้อนกลับมาโดยจะมีเฟสเปลี่ยนตรงข้าม จะมีคลื่นส่วนหนึ่งสะท้อนกลับมาโดยจะมีเฟสคงเดิม และคลื่น


และคลื่นส่วนหนึ่งจะเคลื่อนที่ผ่านไปยังอีก ส่วนหนึง่ จะเคลื่อนที่ผ่านไปยังอีกตัวกลางหนึ่งโดยมีเฟสคงเดิม
ตัวกลางหนึ่งโดยมีเฟสคงเดิม แต่มีความเร็วเปลี่ยนแปลง ดัง แต่มีความเร็วเปลี่ยนแปลง ดังรูป
รูป

หมายเหตุ : ความหนาแน่นเชิงเส้น(  ) คือ อัตราส่วนของมวลต่อหน่วยความยาว หรือเขียนเป็น


สมการได้ว่า   m / l

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


251 คลืน
่ กล
Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?
EXAM : 6
Step 2. วาดรูป
Step 8-12
Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(.....)ค้างไว้

โจทย์ทฤษฎี

Ex1. คลื่นน้าหน้าตรงเคลื่อนที่เข้ากระทบผิวสะท้อนราบเรียบจะเกิดการสะท้อนขึ้นคลื่นน้าที่สะท้อน
ออกมามีเฟสเปลี่ยนไปกี่องศา
1. 0 2. 90 3. 180 4. 270

Ex2. เชือกเส้นหนึ่งมีปลายข้างหนึ่งผู้ติดกับเสา เมื่อสร้างคลื่นดลจากปลายอีกข้างหนึ่งเข้ามาตกกระทบ จะเกิดคลื่นสะท้อน


ขึ้น คลื่นสะท้อนนี้มีเฟสเปลี่ยนไปกี่องศา

1. 90 2. 180 3. 270 4. 360

โจทย์ทดสอบความเข้าใจ
Ex3. คลื่นดลดังรูปเคลื่อนที่ตกกระทบผิวสะท้อนอิสระคลื่นสะท้อนจะมีรูปร่างอย่างไร

1. 2.

3. 4.

Ex4. จากรูปแสดงถึงคลื่นตกกระทบในเส้นเชือก ซึ่ง


ปลายข้างหนึ่งของเชือกผูกติดกับกาแพง เมื่อคลื่นตก
กระทบกับกาแพงแล้วเกิดคลื่นสะท้อนขึ้นดังข้อใด

1. 2.

3. 4.

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 252
Ex5. สะบัดเชือกให้เกิดคลื่นดลวิ่งไปบนเชือกเบาดังรูป รูปใดถูกต้องเมื่อเชือกเคลื่อนที่ผ่านบ่วงที่ผูกไว้อย่างหลวมๆ

1.

2.

3.

4.

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


253 คลืน
่ กล
Ex6.นายสั่งสอนนาเชือกไปผูกติดกับเพดาน โดยให้เชือกห้อยลงมาในแนวดิ่ง นายสั่งสอนสะบัดปลายล่างของเชือกทา
ให้เกิดคลื่นดลขึ้นไปตามเส้นเชือก และเกิดการสะท้อนลักษณะของเชือกที่ปรากฏเรียงตามลาดับเป็นอย่างไร

1. กงขค
2. ขค ก ง
3. ก ค ข ง
4. ข ง กค

Ex7. เชือก AB ปลาย A เป็นห่วงคล้องกับเสาทาให้เคลื่อนที่อย่างอิสระในแนวดิ่ง เมื่อสะบัดปลาย B เพื่อทาให้


เกิดคลื่นลูกหนึ่งเคลื่อนที่ไปทางซ้ายมือด้วยอัตราเร็ว 4.5 เซนติเมตรต่อวินาทีดังรูป ถ้าเวลาผ่านไป 1 วินาที
รูปร่างเชือกจะเป็นดังข้อใด

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 254
Ex8.ในรูป คลื่นขบวนหนึ่งในเส้นเชือกแผ่เข้าหากาแพง โดยปลายเชือกที่ 0 ตรึงแน่นไว้กับกาแพง ถ้าอัตราเร็วของคลื่น
เป็น 5 เมตรต่อวินาที ให้หาว่านานกี่วินาทีรูปร่างของคลื่นจะเปลี่ยนจากรูปข้างบนเป็นรูปข้างล่าง

(ตอบ 2.2s)

ต้าแหน่ง(m)
0 2 4 6 8

0 2 4 6 8 9
ต้าแหน่ง(m)

Ex9.คลื่นดลในเส้นเชือกคลื่นหนึ่ง เมื่อ t=0 วินาที มีลักษณะดังรูป (ก) ต่อมาเมื่อเวลา t=0.2วินาที คลื่นมีลักษณะ


ดังรูป (ข) จงหาว่าคลื่นดลในเส้นเชือกนี้มีความยาวคลื่นเท่าใด ถ้าคลื่นนี้มีความถี่ 5 เฮิรตซ์

ก (ตอบ 0.4m)
มัดแน่น
0.2m

Ex10. ใช้ดินสอจุ่มลงน้าที่จุด o ทาให้เกิดคลื่นดลลูกหนึ่งแผ่ออกไปชนกาแพงราบซึ่งอยู่ห่างจาก o เป็นระยะ D ใน


ที่สุดจะปรากฏมีคลื่นวิ่งตามกันไปในแนว PO อยากทราบว่า คลื่นทั้งสองวิ่งตามกันด้วยระยะห่างเท่าใด
1.
2
2. D
3. 2 P
O
4.

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


255 คลืน
่ กล
Step ความรู้ที่ 13 : สมบัตกิ ารหักเห (Refraction)
การหักเห คือ การที่คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งเข้าไปในอีกตัวกลางหนึ่งแล้วทาให้ความเร็ว(v) ความยาวคลืน่ ()
เปลีย่ นแปลงไป แต่ความถี่ (f) มีค่าคงที่ ส่วนทิศทางการเคลื่อนที่นั้นอาจเปลี่ยนหรือไม่ก็ได้

ดูให้ดีนะเดี๋ยวจะโดนโจทย์หรอกเอาได้ เช่น ถ้าโจทย์


การบอกมุมตกกระทบ,มุมหักเหของคลื่นบอกได้ 2 แบบ
ให้หน้าคลื่นมาน้องต้องรู้ทันทีว่า ต้องใช้มุมที่หน้า
1. มุม  คือ มุมทีร่ งั สีท้ากับเส้นแนวฉาก
คลื่นท้ากับรอยต่อ ถ้าซี้ซั้วเอาหน้าคลื่นไปท้ามุมกับ
2. มุม  คือ มุมที่ทา้ กับผิวรอยต่อ เส้นแนวฉากก็ผิดเต็มๆเลยละ...

หมายเหตุ :
เมื่อคลื่นมีการหักเหเข้าไปในอีกตัวกลางหนึ่ง มันก็จะมีคลื่นส่วนหนึ่งที่สะท้อนกลับมาเสมอ พลังงานของคลื่นตกกระทบจึงเท่ากับ
พลังงานของคลื่นที่สะท้อนกลับออกมา บวกกับพลังงานของคลื่นที่หักเหเข้าไปในอีกตัวกลางหนึ่ง ดังนัน้

แอมพลิจดู A ของคลืน่ สะท้อนและคลืน่ หักเหจึงน้อยกว่าแอมพลิจดู คลืน่ ตกกระทบเสมอ (E  A2)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 256

Step ความรู้ที่ 14 : การหาความเร็วและความยาวคลืน่ ของ


คลืน่ น้าจากผลของความลึกของน้า
สมการหาความเร็วของคลื่นน้าแบบเต็มรูป(เกิ นหลักสูตร)
 g  2   2 h 
v    tanh  
 2     

สาหรับคลืน่ ผิวน้า บริเวณน้าตืน่ ๆ (ลึกไม่มากนัก) ( > >h) ( หลักสูตร ม .ปลายจะสนใจกรณีน้คี รับ)สาหรับคลืน่ น้าทีม่ ี
ความลึกไม่มาก v  gh แสดงว่าความเร็วคลื่นน้าขึ้นอยู่กับความลึก (v h ) ในบริเวณน้าตืน้ คลืน่ จะเคลือ่ นทีช่ า้ กว่าน้า
ลึก จาก v= gh และ v = f
ทาให้ทราบว่า v h  
ปัจจัยที่มีผลต่อความเร็วของน้าก็คือ“ระยะความลึกของน้า” ดังนั้นตัวกลางที่เราจะพิจารณาจึงมี 2 ตัวกลาง
คือ บริเวณน้าลึก กับ บริเวณน้าตืน้ ความเร็วและความยาวคลื่นในน้าลึกจะมากกว่าในน้าตื้น แต่ ความถีจ่ ะเท่ากัน
เพราะมันเกิดจากแหล่งกาเนิดคลื่นเดียวกัน

บริเวณน้้าลึก  𝑣 𝜆 𝛳 มาก
บริเวณน้้าตื้น  𝑣 𝜆 𝛳 น้อย
ความถี่ในน้้าลึกับในน้้าตื้นเท่ากันเสมอ!

หน้าคลืน่ ตกกระทบขนานกับรอยต่อ หน้าคลืน่ ตกกระทบทามุมกับผิวรอยต่อ

ถ้าหน้าคลืน่ ตกกระทบขนานกับผิวรอยต่อ ถ้าหน้าคลืน่ ตกกระทบทามุมกับผิวรอยต่อ ทิศทางของคลืน่ จะเปลีย่ น


ทิศทางของคลื่นจะไม่เปลี่ยน

สมการการหักเห :

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


257 คลืน
่ กล
พิสจู น์สมการการหักเหของคลืน่ น้า

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 258

Step ความรู้ที่ 15 : มุมวิกฤต (Critical Angle)


มุมวิกฤต (c) คือ มุมตกกระทบที่ทาให้มุมหักเหมีค่าเท่ากับ 900

ก่อนอื่นต้องเข้าใจก่อนนะครับว่าคลื่นในน้าลึกจะมี ความเร็ว ความยาวคลื่น มุมจะมากกว่าในน้าตื้น ในรูปที่ 1 คลื่นเคลื่อนที่จาก


น้าตื้นไปสู่น้าลึกมุมมันจะโตขึ้น หากเราปรับมุมตกกระทบให้มากขึ้นไปเรื่อยๆ มุมหักเหมันก็จะโตขึ้นไปเรื่อยๆ จนกระทั่ง เราปรับ
มุมตกกระทบปรับไปถึงค่าๆ หนึง่ ซึง่ ไปมีผลให้มมุ หักเหทีเ่ กิดขึน้ โตเป็นมุม 900 เขาตัง้ ชือ่ มุมนีอ้ ย่างเป็นทางการว่า “มุมวิกฤติ” ทีนถี้ ้า
หากเราปรับมุมตกกระทบมากกว่ามุมวิกฤติจะเกิดอะไรขึ้น แน่นอนครับเมื่อมุมตกกระทบโตกว่ามุมวิกฤติ ก็ย่อมไม่มีการหักเหอีกต่อไป
มันจะมีเฉพาะการสะท้อนอย่างเดียวเท่านั้น คลื่นที่ตกกระทบผิวรอยต่อของตัวกลางจะสะท้อนกลับทั้งหมดโดยไม่มีการหักเหเข้าไปข้าง
ในอีกเลย ซึ่งเขาเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า “การสะท้อนกลับหมด”
คาถาม คาตอบ
1.จะเกิดมุมวิกฤตได้ก็ต่อเมื่อคลื่นคลื่นที่จากบริเวณ
ใดไปบริเวณใด

2. การคานวณหามุมวิฤตต้องสูตรใด ใช้สูตรหักเห ตื้น


= ตื้น
= ตื้น
ลึก ลึก ลึก

โดยแทน  หักเห =  ลึก =

3. ถ้าคานวณหามุมวิกฤต ได้ c = 30  ถ้า


ต้องการให้คลื่นเกิดการสะท้อนกลับหมดตก
กระทบควรเป็นอย่างไร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


259 คลืน
่ กล

Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


EXAM : 7
Step 2. วาดรูป
Step 13-15
Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(....)ค้างไว้

โจทย์ทฤษฎี
Ex 1. เมื่อคลื่นผิวน้าเคลื่อนที่จากเขตน้าลึกเข้าไปยังเขตน้าตื้น โดยทามุมตกกระทบเป็นมุม  พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ความยาวคลื่นในน้าลึกจะยาวกว่าในน้าตื้น
ข. ความถี่คลื่นในน้าลึกจะน้อยกว่าในน้าตื้น
ค. ความเร็วของคลื่นในน้าลึกจะน้อยกว่าในน้าตื้น
ง. มุมหักเหจะมีค่าน้อยกว่ามุม 
1. (ก) และ (ง)
2. (ข) และ (ค)
3. (ก), (ข) และ (ค)
4. (ข), (ค) และ(ง)
Ex2.ในการทดลองเรื่องการหักเหของคลื่นผิวน้า เมื่อคลื่นผิวน้าเคลื่อนที่จากบริเวณน้าลึกไปน้าตื้น
ความยาวคลื่น  ความเร็ว v และความถี่ f ของคลื่นผิวน้าจะเปลี่ยนอย่างไร
1.  น้อยลง v น้อยลง แต่ f คงที่ 2.  มากขึ้น v มากขึ้น แต่ f คงที่
3.  น้อยลง f มากขึ้น แต่ v คงที่ 4.  มากขึ้น f น้อยลง แต่ v คงที่

Ex3. บริเวณ A B และ C เป็นบริเวณที่น้าลึกไม่เท่ากัน จากแนวการเคลื่อนที่ของคลื่นดังรูป

1. A ลึกกว่า B แต่ตื้นกว่า C
2. C ลึกกว่า B แต่ตื้นกว่า A
3. B ลึกกว่า A แต่ตื้นกว่า C
4. C ลึกกว่า A แต่ตื้นกว่า B

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 260
Ex4. ABCD เป็นถาดคลื่นบรรจุน้าไว้พอสมควร ยกด้านหนึ่งของคลื่นให้สูงขึ้นเล็กน้อยแล้วใช้ดินสอจุ่มลงที่จุด P
ให้เกิดคลื่นดล แทนที่จะได้คลื่นวงกลมที่ผิวน้ากลับได้คลื่นกระจายออกมาจากจุด P ในลักษณะดังรูป ถามว่า
ถาดคลื่นด้านไหนถูกยกขึ้น

A B

D C

โจทย์ปพู นื้ ฐานการคานวณ


Ex 5. คลื่นน้าเคลื่อนที่จากเขตน้าลึกไปยังเขตน้าตื้นดังรูป จงหา

5.1) ความยาวคลื่นในน้าตื้น

5.2) ถ้าคลื่นน้ามีความถี่ 10 Hz จงหา อัตราเร็วคลื่นในน้าลึกและน้าตื้น

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


261 คลืน
่ กล
Ex 6. คลื่นน้าเคลื่อนที่จากเขตน้าลึกไปยังเขตน้าตื้นดังรูป จงหาความยาวคลื่นในน้าลึก

โจทย์ฝกึ ความชานวญ
Ex7. ถ้าคลื่นน้าเคลื่อนที่ผ่านจากเขตน้าลึกไปยังเขตน้าตื้น แล้วทาให้ความยาวคลื่นลดลงครึ่งหนึ่ง จงหาอัตราส่วนของ
อัตราเร็วของคลื่นในน้าลึกกับอัตราเร็วของคลื่นในน้าตื้น
1. 0.5
2. 1.0
3. 2.0
4. 4.0

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 262
Ex8. คลื่นน้าเคลื่อนที่จากน้าตื้นไปยังน้าลึก ถ้ามุมตกกระทบและมุมหักเหเท่ากับ 30 และ 45 องศาตามลาดับ และความ
ยาวของคลื่นในน้าตื้นเท่ากับ 2 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่นในน้าลึกในหน่วยเซนติเมตร

(ตอบ 2.83 cm)

Ex9. คลื่นน้าเคลื่อนที่ผ่านบริเวณที่มีความลึกต่างกันเกิดปรากฏการณ์ดังรูป ในบริเวณ ก หน้าคลื่นอยู่ห่างกัน 12


เซนติเมตร ในบริเวณ ข คลื่นมีความเร็ว 6 2 เซนติเมตรต่อวินาที ถ้าต้นกาเนิดคลื่นมาจากบริเวณ ก ความถี่ของ
ต้นกาเนิดคลื่นมีค่า

3
1. รอบต่อวินาที 2. 4 รอบต่อวินาที
2 3

12 1
3. รอบวินาที 4. รอบต่อวินาที
3 3

น้องลองทา

Ex10. จากรูป แสดงหน้าคลื่นตกกระทบ และหน้าคลื่นหักเหของคลื่นผิวน้าที่เคลื่อนที่จากเขตน้าลึกไปยังเขตน้าตื้นเมื่อ กข


คือ เส้นรอยต่อระหว่างน้าลึกและน้าตื้น จงหาอัตราส่วนความเร็วของคลื่นในน้าลึกต่อความเร็วของคลื่นนาน้าตื้น

1. sin 600/sin 350 2. sin 350/sin600 3. sin550/sin 300 4. sin 300/sin550

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


263 คลืน
่ กล
Ex11. คลื่นผิวน้าลูกหนึ่งวิ่งจากเขตน้าลึก โดยเมื่อผ่านโขดหินแล้ว 50 วินาที จึงเข้าสู่เขตน้าตื้น หน้าคลื่นในเขตน้าลึกทามุม
45 องศากับแนวเขต และหน้าคลื่นในเขตน้าตื้นทามุม 30 องศากับแนวเขต ถ้าความเร็วคลื่นในเขตน้าตื้นเท่ากับ
0.50 เมตร/วินาที โขดหินอยู่ห่างจากแนวเขตกี่เมตร (ตามเส้นตั้งฉากกับแนวเขต)

Ex12. คลื่นน้าเคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งไปสู่อีกบริเวณหนึ่ง ปรากฏ


ว่าแนวการเคลื่อนที่ของคลื่นเบนไปจากแนวเดิม 300
และความยาวคลื่นกลายเป็น 3 เท่าของเดิมคลื่นขบวนนี้
ทามุมตกกระทบเท่าใด
1. 300 2. 600 3. 370 4. 600

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 264
Ex 12. จงเขียนรูปคลื่นในน้าตื้น

โจทย์เกีย่ วกับมุมวิกฤติ
Ex13. ในการทดลองโดยใช้ถาดคลื่น พบว่า ความเร็วของคลื่นน้าลึกเป็น 2 เท่าของความเร็วในน้าตื้นถ้าจะทาให้เกิดการ
สะท้อนกลับหมด คลื่นจะต้องตั้งต้นเคลื่อนที่จากบริเวณไหนและมีมุมวิกฤตเท่าไร

1. น้าตื้น, 300
2. น้าลึก, 300
3. น้าตื้น, 600
4. น้าลึก, 600
Ex14. อัตราเร็วของคลื่นน้าในน้าลึกมีค่า 5 เท่าของอัตราเร็วของคลื่นในน้าตื้น คลื่นจะเกิดการสะท้อนกลับหมดเมื่อคลื่น
3
เคลื่อนที่ จากบริเวณใด มีมุมตกกระทบเท่าใด
1. 100 (ตื้น)
2. 200 (ลึก)
3. 300 (ลึก)
4. 400 (ตื้น)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


265 คลืน
่ กล

การบ้านชุดที่ 7

1. คลื่นผิวน้าเคลื่อนที่จากบริเวณน้าลึกไปยังบริเวณน้าตื้นโดยหน้าคลื่นตกกระทบขนานกับบริเวณรอยต่อคลื่นในบริเวณทั้ง
สองมีค่าใดบ้างที่เท่ากัน
ก. ความถี่ของคลื่น ข. ความยาวคลื่น
ค. อัตราเร็วของคลื่น ง. ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
1. ก. และ ข. 2. ข. และ ค.
3. ค. และ ง. 4. ก. และ ง.

2.เมื่อคลื่นแนวตรงเคลื่อนที่จากบริเวณ A ซึ่งเป็นบริเวณน้าลึกเข้าสู่บริเวณ B ซึ่งเป็นบริเวณน้าตื้น ดังรูป ลักษณะหน้า


คลื่นเคลื่อนที่ออกสู่บริเวณ C ซึ่งเป็นบริเวณน้าลึกเช่นเดียวกับ A คลื่นบริเวณ C จะมีลักษณะอย่างไร

1. เป็นคลื่นแนวตรงเหมือนเดิมทุกประการ
2. เป็นคลื่นแนวตรงเหมือนเดิม แต่มีระยะระหว่างหน้าคลื่นสั้นกว่าเดิม
3. เป็นคลื่นแนวโค้งที่ขนานกับแนว de และระยะระหว่างคลื่นเท่าเดิม
4. เป็นคลื่นแนวโค้งที่เหมือนส่วนหนึ่งของวงกลมที่ออกจากแหล่งกาเนิดที่เป็นจุด

3. คลื่นน้าเคลื่อนที่จากเขตน้าลึกเข้าไปยังเขตน้าตื้น โดยมีรอยต่อของเขตทั้งสองเป็นเส้นตรง ถ้าหน้าคลื่นตกกระทบทามุม


กับแนวรอยต่อ 30 องศา ทาให้ความยาวคลื่นในเขตน้าตื้นเป็นครึ่งหนึ่งของความยาวคลื่นในเขตน้าลึก อยากทราบว่าหน้า
คลื่นหักเหทามุมกับรอยต่อเป็นมุมเท่าใด

1. sin 1   2. sin 1  
1 1
2 3

3. sin 1   4. sin 1  
1 1
5 4

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 266
4. แนวการเคลื่อนที่ของคลื่นน้าจากบริเวณน้าลึกไปยังน้าตื้น หักเหจากแนวของคลื่นตกกระทบ 30 องศา และอัตราเร็ว
ของคลื่นในน้าลึกเป็น 2 เท่าของอัตราเร็วในน้าตื้น มุม  มีค่าเท่าใด

 1   1 
1. arcsin   2. arctan 
 3  3
 1  1
3. arcsin   4. arctan
 3 1  3 1

5. คลื่นน้าแบบต่อเนื่องที่มีหน้าคลื่นตรง เคลื่อนที่ผ่านรอยต่อระหว่างบริเวณน้าลึกและน้าตื้นแล้วทาให้เกิดคลื่นหักเหหน้า
คลื่นตรง ถ้าแนวทางเดินของคลื่นตกกระทบทามุมกับรอยต่อระหว่างตัวกลางเท่ากับ 30 องศา จงหามุมหักเห ถ้าความ
ยาวคลื่นในน้าตื้นลดลงเป็น 1 ของความยาวคลื่นในน้าลึก
3
1. 15 องศา 2. 30 องศา
3. 45 องศา 4. 60 องศา
6. เมื่อคลื่นแนวตรงเคลื่อนที่จากบริเวณ A ไปสู่บริเวณ B ในถาดคลื่น ทาให้เกิดการหักเหของคลื่นปรากฏดังรูปซึ่งมีไม้สเกล
เซนติเมตรวางเทียบอยู่ ถ้าคลื่นนีเ้ กิดจากแหล่งกาเนิดซึ่งมีความถี่ 9 เฮิรตซ์ จงหาอัตราความเร็วของคลื่นน้าที่บริเวณ B

7. คลื่นน้าเคลื่อนที่จากน้าตื้นไปยังน้าลึก ถ้ามุมตกกระทบและมุมหักเท่ากับ 30 องศา และ 45 องศา ตามลาดับ และความยาว


คลื่นในน้าตื้นเท่ากับ 2 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่นในน้าลึกในหน่วยเซนติเมตร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


267 คลืน
่ กล
Step ความรู้ที่ 16 : สมบัตกิ ารแทรกสอดของคลืน่ (Interference)
การแทรกสอดของคลื่น คือ การที่คลื่นต่อเนื่องจากแหล่งกาเนิดตั้งแต่ 2 แหล่งขึ้นไป เคลื่อนที่มาพบกันและเกิดการซ้อนทับกัน

รูปการแทรกสอด ตาแหน่งปฏิบพั ตาแหน่งบัพ


(Antinode, A) (Node, N)
เป็นเป็นตาแหน่งที่คลื่นมีการ เป็นตาแหน่งที่คลื่นมีการแทรกสอดแบบหักล้างกัน เช่น
แทรกสอดแบบเสริมกัน เช่น สัน สันคลืน่ พบท้องคลืน่ ทาให้บริเวณนั้นมีการกระจัดของ
คลืน่ พบสันคลืน่ , ท้องคลื่นพบ คลื่นน้อยที่สุด เราจะเห็นผิวน้าบริเวณนั้นเป็นแนวจะนิ่ง
ท้องคลืน่ ทาให้บริเวณนั้นมีการ ไม่ไหวติงใดๆ
กระจัดของคลื่นมากสุด สาหรับ
ในรูปนี้ตาแหน่งปฏิบัพก็คือ
ตาแหน่งที่น้ากระเพื่อมขึ้นๆลงๆ
ปฏิบพั บัพ เป็นลอนๆเหมือนลอนกระเบื้อง
(กระเพื่อม) (นิ่ง)
นั่นแหละครับ

การเขียนรูปการแทรกสอด ข้อตกลง และคาศัพท์ทเี่ กีย่ วข้อง (ข้ามได้ครับ)

ให้ แทนสันคลื่น 1. สันคลืน่ -สันคลืน่ ทีต่ ิดกัน ห่างกัน 1λ


……….. แทนท้องคลื่น ท้องคลืน่ -ท้องคลืน่ ทีต่ ิดกัน ห่างกัน 1λ
2. สันคลื่น–ท้องคลื่นทีต่ ดิ กันห่างกัน 0.5λ
An แทนแนวปฎิบัพที่ n
เมื่อ n = 1,2,3,4….
N n แทนแนวบัพที่ n เมื่อ n = 1,2,3,4…

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 268
นิยามและคาศัพท์ทตี่ อ้ งทราบ
แหล่งกาเนิดอาพันธ์ Path difference (Path diff)
(Coherent Source)
แหล่งกาเนิดอาพันธ์ คือ แหล่งกาเนิด Path diff คือ ผลต่างทางเดินของคลืน่ ที่
ตั้งแต่ 2 แหล่งขึ้นไป ผลิตคลื่นที่มี เคลือ่ นทีจ่ ากจุดกาเนิดไปยังจุดของการแทรก
แอมพลิจดู ความถี่ ความยาวคลืน่ และ สอดทีเ่ ราสนใจ
ความเร็วเท่ากัน และมีเฟสตรงกันหรือ
(จุดหรือตาแหน่งบนคลื่นที่เราสนใจ นิยมเขียน
ต่างกันคงที่
แทนด้วยตัว P)

Path diff = S1P –S2P 

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


269 คลืน
่ กล
Step ความรู้ที่ 17 : การแทรกสอดของคลืน่ ที่มีเฟสตรงกัน
สาหรับคลื่นที่มีเฟสตรงกัน ที่เวลาเดียวกันแหล่งกาเนิดทั้งคู่จะปล่อยคลื่นที่มีการกระจัดเหมือนกันออกมา
(ถ้าเราใช้เครื่องเคาะน้าเป็นแหล่งกาเนิด แขนเคาะทั้งสองจะกดลงและยกขึ้นพร้อมๆ กัน)
การหาสูตรกรณีเฟสตรงกัน (ข้ามได้ครับ)

Path diff = S1P –S2P หมายถึง ผลต่างระยะทางจากแหล่งก้าเนิดทั้งสองไปยังจุดที่เราสนใจ


(ย้้านะว่าต้องวัดจากแหล่งก้าเนิด !! )

พิจารณาบนแนวปฏิบัพใดๆ (A ใดๆ) พิจารณาบนแนวบัพใดๆ (N ใดๆ)


บนแนว A 0 : บนแนว N 0
Path diff = S1P –S2P  = 1λ (แนวนีไ้ ม่มีครับ)
บนแนว A 1 : บนแนว N 1 :
Path diff = S1P –S2P = 2λ Path diff = S1P –S2P  = 0.5λ
บนแนว A 2 : บนแนว N2 :
Path diff = S1P –S2P  = 3λ Path diff = S1P –S2P = 1.5λ
บนแนว A 3 : บนแนว N 3 :
Path diff = S1P –S2P  = 4λ Path diff = S1P –S2P  = 2.5λ
ถ้าเราสนใจแนวที่ n ใดๆ เมือ่ n = 0,1,2,3…. ถ้าเราสนใจแนวที่ n ใดๆ เมือ่ n = 1,2,3….
บนแนว N n :
บนแนว A n :
Path diff = S1P –S2P  =(n-0.5)λ
Path diff = S1P –S2P  = nλ

ดังนัน้ จุด Pที่อยูบ่ นแนวปฎิบพั (A)ใดๆ จะมีสตู รเป็น สาหรับจุด P ทีอ่ ยูบ่ นแนวบัพ(N)ใดๆจะได้สตู รเป็น

Path diff = S1P –S2P  =nλ Path diff = S1P –S2P  =(n-0.5)λ
………..….(16w)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 270

Step ความรู้ที่ 18 : กรณีการแทรกสอดของคลืน่ ทีม่ เี ฟสตรงข้ามกัน


สาหรับคลื่นที่มีเฟสตรงข้ามกัน ที่เวลาเดียวกันแหล่งกาเนิดทั้งคู่จะปล่อยคลื่นที่มีการ กระจัดเหมือนกันออกมา
(ถ้าเราใช้เครื่องเคาะน้าเป็นแหล่งกาเนิด แขนเคาะอันหนึ่งจะกดลงอีกแขนเคาะหนึ่ง จะยกขึ้น สลับกันไป)

การหาสูตรกรณีเฟสตรงข้ามกัน

พิจารณาบนแนวปฏิบัพใดๆ ( A ใดๆ ) พิจารณาบนแนวบัพใดๆ ( N ใดๆ )


บนแนว A 0 (ไม่มี) บนแนว N0 :
บนแนว A 1 : Path diff = S1P –S2P  =0𝝀
Path diff = S1P –S2P = 0.5𝝀 บนแนว N 1 :
บนแนว A2 : Path diff = S1P –S2P  = 1𝝀
Path diff = S1P –S2P  = 1.5𝝀 บนแนว N2 :
บนแนว A3 : Path diff = S1P –S2P  = 2𝝀
Path diff = S1P –S2P  = 2.5𝝀 บนแนว N 3 :
Path diff = S1P –S2P  = 3𝝀
ถ้าเราสนใจแนวที่ n ใดๆ เมือ่ n = 1,2,3….
บนแนว An : ถ้าเราสนใจแนวที่ n ใดๆ เมือ่ n = 0,1,2,3….
Path diff = S1P –S2P  = ( ) บนแนว N n :
สาหรับจุด Pที่อยู่บนแนวปฎิบัพ(A)ใดๆจะได้สูตรเป็น Path diff = S1P –S2P  =
สาหรับจุด P ที่อยู่บนแนวบัพ (N)ใดๆจะได้สูตรเป็น

Path diff = S1P –S2P  = (𝒏 𝟎 𝟓)𝝀 Path diff = S1P –S2P  = 𝒏𝝀

ข้อสังเกต!! : น้องๆ เพียงจาสูตรของกรณีเฟสตรงกันให้ได้ก็พอแล้วครับ เพราะกรณีของเฟสตรงข้าม สูตรและแนวมันก็จะ


ตรงข้ามกับกรณีของเฟสตรงกัน ...

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


271 คลืน
่ กล
การหาสูตรกรณีจดุ ของการแทรกสอดทีเ่ ราสนใจ(จุด P) อยูไ่ กลจากแหล่งกาเนิดมากๆ

ข้อตกลง: เนื่องจากจุด P อยู่ไกลจาก S1 และ S2


มากๆ ในการคานวณเราจะประมาณว่าเส้น S1P
//OP//S2P

จากรูปจะประมาณว่าผลต่างของระยะทางระหว่าง
S1P กับ S2P มีค่าประมาณ d sin  ดังนั้น

Path diff = S1P –S2P   d sin 


 คือมุมที่จุด P เบนออกจากแนวกลาง

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 272
สรุปสูตรการแทรกสอดของคลืน่
1. กรณีเฟสตรงกัน 1. กรณีเฟสตรงข้ามกัน (เฟสต่างกัน 180)
(การพิสูจน์จะใช้วิธีเดียวกับกรณีเฟสตรงกัน )
ปฏิบพั (A) ; ปฏิบพั (A) ;

Path diff = n Path diff = (𝒏 𝟎 𝟓)

S1P –S2P  = 𝑛𝜆 S1P –S2P = (𝒏 𝟎 𝟓)

𝑑 sin 𝛳 = (𝒏 𝟎 𝟓)
𝑑 sin 𝛳 = 𝑛𝜆

เมื่อ = 2
เมื่อ = 2
บัพ (N) ;
บัพ (N) ;

Path diff = (𝒏 𝟎 𝟓) Path diff = n


S1P –S2P = (𝒏 𝟎 𝟓) S1P –S2P  = 𝑛𝜆

𝑑 sin 𝛳 = (𝒏 𝟎 𝟓)
𝑑 sin 𝛳 = 𝑛𝜆
เมื่อ = 2
เมื่อ = 2
หมายเหตุ : ต้องเป็นจานวนเต็มเท่านั้น

โดยปกติข้อสอบมักออกกรณีเฟสตรงกันมากกว่ากรณีเฟสตรงข้าม ในการ
ท่องจ้าสูตรพี่แนะน้าให้ท่องจ้าเฉพาะกรณีสูตรเฟสตรงกันก็พอ ถ้าหากโจทย์พูดถึง
กรณีเฟสตรงข้าม น้องก็เพียงแค่สลับสูตรระหว่างสูตรบัพกับปฎิบัพเท่านั้นเอง และ
แนวการแทรกสอดก็ต้องสลับกันด้วย อย่างเช่น ถ้าเป็นกรณีเฟสตรงกันแนวกลางจะ
เป็น 𝐴0 กรณีเฟสตรงข้ามแนวกลางจะเป็น 𝑁0 (สลับทั้งสูตร สลับทัง้ แนว)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


273 คลืน
่ กล
การหาแนวบัพหรือแนวปฏิบพั ทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมด
 ถ้าโจทย์ถามหาแนวบัพ หรือแนวปฏิบัพที่เกิดขึน้ ทั้งหมด หน้าทีน่ ้องคือต้องหา n สูงสุดทีเ่ ป็นไปได้กอ่ น
(n สูงสุดก็คือแนวบัพหรือแนวปฏิบัพเส้นสุดท้าย)
จากสมการค่า n จะมากที่สดุ ได้กต็ อ่ เมือ่ sin = sin900=1 ดังนัน้ โจทย์ลกั ษณะนีน้ อ้ งต้องแทน sin ด้วย
sin 900 น้องก็จะหาค่า n ได้ พอได้คา่ n แล้วอย่าใจเร็วเอาค่า n มาตอบเลยล่ะ ค่า n คือ จานวนแนวใน
ฝั่งเดียวเท่านั้น ถ้าหาจานวนแนวทั้งหมดน้องต้องคิด 2 ฝั่งดูสูตรเลยนะครับ (ดูให้เข้าใจไม่ตอ้ งจา!)
เฟสตรงกัน เฟสตรงข้ามกัน
ปฏิบพั (A) ; จาก dsin = n ปฏิบพั (A) ; จาก sin ( )

แทน sin = sin900 จะได้


d = n
แทน sin= sin900 จะได้
=( )
จ้านวนแนวปฏิบัพทั้งหมด = 2n + 1

หมายเหตุ : ที่ต้องเป็น 2n + 1 ก็เพราะว่าแนวปฎิบัพมี 2 จ้านวนแนวปฏิบัพทั้งหมด = 2n


ฝั่งคือฝั่งซ้ายกับขวา และมีอีก 1 แนวคือตรงกลาง เช่นถ้า
น้องคานวณได้ n = 3 แสดงว่ามีฝั่งซ้าย 3 แนว ฝั่งขวา 3 หมายเหตุ : ที่ต้องเป็น 2n ก็เพราะว่าแนวปฎิ
แนว และมีตรงกลางอีกหนึ่งแนว รวมกันเป็น 7 แนว บัพมี 2 ฝั่งคือ ฝั่งซ้ายกับขวา ส่วนแนวกลางไม่
มี เช่น ถ้าคานวณได้ n = 3 แสดงว่ามีฝั่งซ้าย
3 แนว ฝั่งขวามีอีก 3 แนว รวมกันเป็น 6
แนว
บัพ (N) ; จาก sin = ( ) บัพ (N) ; จาก dsin = n
0
แทน sin=sin 90 จะได้
แทน sin = sin 900จะได้
=( )
d = n

จ้านวนแนวบัพทั้งหมด = 2n จ้านวนแนวบัพทั้งหมด = 2n + 1

หมายเหตุ : ที่ต้องเป็น 2n ก็เพราะว่าแนวบัพมี 2 ฝั่งคือฝั่ง หมายเหตุ : ที่ต้องเป็น 2n+1 ก็เพราะว่าแนวบัพ


ซ้ายกับขวา ส่วนแนวกลางไม่มี เช่น ถ้าคานวณได้ n = 3 มี 2 ฝั่งคือ ฝั่งซ้ายกับขวา และมีอีกหนึ่งแนวคือ
แสดงว่ามีฝั่งซ้าย 3 แนว ฝั่งขวามีอีก 3 แนว รวมกันเป็น 6 ตรงกลาง เช่นถ้าคานวณได้ n = 3 แสดงว่ามี
แนว ฝั่งซ้าย 3 แนว ฝั่งขวา 3 แนว และมีตรงกลาง
อีกหนึ่งแนว รวมกันเป็น 7 แนว
หมายเหตุ :ถ้าได้ค่า n เป็นเลขทศนิยมให้ปัดลง เช่น n = 3.9 อย่าไปปัดขึ้นเป็น 4 เชียวนะแนวที่ 4 มันยังไม่
เกิด แนวที่เกิดขึ้นจริงๆ(ส้าหรับซีกใดซีกหนึ่งเท่านั้น) มันมีแค่เพียง 3 แนวเท่านั้น ดังนั้นให้ปัดลงเป็น n=3

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 274
คาถาม : ถ้าคานวณบนแนวปฏิบัพ(A) แล้วได้ค่า n สุดท้าย = 2.5 จะตีความหมายอย่างไร

ในการคานวณหาว่าแนวสุดท้าย (แนวที่ทับกับแหล่งกาเนิด) คือแนวที่เท่าไร วิธีการก็คือให้น้องแทนค่า


sin = sin 900=1 ลงในสมการ dsin = n น้องก็จะได้ค่า n ที่มากที่สุด(แนวสุดท้าย) สมมติว่าน้อง
คานวณแล้วได้ค่า n = 2.5 มันมีความหมายว่า แนวปฏิบพั เส้นสุดท้ายมันคือแนวที่ 2 และมันก็ไม่ได้ซอ้ นทับกับ
แหล่งกาเนิด ภาพแนวการแทรกสอดจะเป็นไปตามรูปด้านขวา ทีนี้ถ้าโจทย์ถามหาแนวปฏิบัพทั้งหมด น้องก็
สามารถตอบได้ทันทีว่ามันมีทั้งหมด 5 แนว แต่น้องถ้าไปเจอโจทย์ที่ถามว่าแนวปฏิบัพที่เกิดระหว่างแหล่งกาเนิดทั้ง
สองมีกี่แนว ก็ยังตอบว่าเท่ากับ 5 แนวเหมือนเดิม
หมายเหตุ :
1. คาถามที่ว่าแนวปฏิบัพที่เกิดระหว่างแหล่งกาเนิดทั้งสองมีกี่แนว เราจะไม่นับแนวที่ทับกับแหล่งกาเนิด ในกรณี
นี้แนวบัพสุดท้ายไม่ได้ซ้อนทับกับแหล่งกาเนิดเลย แนวปฏิบัพที่เกิดระหว่างแหล่งกาเนิด จึงเป็น 5 แนว
2. สาหรับการคานวณแนวบัพพี่ขอไม่ทาให้ดูนะเพราะวิธีการวิเคราะห์มันเหมือนกับของแนวปฎิบัพนัน่ แหละต่างกันเพียงสูตรที่ใช้เท่า
นั้นเอง
คาถาม : ถ้าคานวณบนแนวปฏิบัพ(A)แล้วได้ค่า n สุดท้ายเป็นจานวนเต็มจะตีความหมายอย่างไร

ทีนี้สมมติว่าถ้าคานวณแล้วได้ n สุดท้ายเท่ากับ 2 มันก็ตีความได้ว่าแนวสุดท้ายคือแนวปฏิบัพที่ 2 และแนวปฏิบพั ที่


2 นีม้ ันก็ไปซ้อนทับกับแหล่งกาเนิดพอดิบพอดี แนวปฎิบัพที่เกิดมันเป็นไปตามรูปด้านขวามือ ถ้าโจทย์ถามหาแนวปฏิบัพ
ทั้งหมดน้องก็ตอบได้ทันทีว่ามันมีแนวปฏิบัพทั้งหมด 5 แนว แต่โจทย์ถามว่าแนวปฏิบัพที่เกิดระหว่างแหล่งกาเนิดทั้งสองมีกี่
แนว ต้องตอบว่า 3 แนวเพราะเราจะไม่นับแนวปฏิบัพที่ไปซ้อนทับกับแหล่งกาเนิด (โจทย์ขหี้ ลอกอย่างนี้ตอ้ งจาให้ดนี ะ จะ
ได้ไม่ตกเป็นเหยื่อ)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


275 คลืน
่ กล
Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?
EXAM : 7
step 2. วาดรูป
การแทรกสอด
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้( )ค้างไว้

โจทย์ปพู นื้ ฐาน


Ex1.S1 และ S2 เป็นแหล่งกาเนิดคลื่นที่ให้คลื่นที่มีความยาวคลื่น 5 เซนติเมตร จากรูปตาแหน่ง P อยู่บนแนวปฏิ
บัพที่ 3 จงหาว่าระยะ S1P กับ S2P ต่างกันกี่เมตร

Ex2. แหล่งกาเนิดคลื่นน้าสร้างคลื่นน้าที่สองตาแหน่ง A และ B มีความยาวคลื่น 1.5 เซนติเมตร และได้แนวของเส้นปฏิบัพ


ดังแสดงในรูป อยากทราบว่า AC และ BC มีความยาวต่างกันเท่าใด
1. 1.5 cm 2. 3 cm 3. 4.5 cm 4. 6 cm

Ex3. S1 และ S2 เป็นแหล่งกาเนิดอาพันธ์สองแหล่งที่ทาให้เกิดคลื่นผิวน้าที่มี


ความถี่เท่ากันและความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร พบว่าเส้นตรงที่ต่อ
ระหว่างแหล่งกาเนิดทั้งสองมีบัพ 6 บัพ ถ้า Q เป็นจุดในแนวปฏิบัพที่ 2
นับจากปฏิบัพกลาง จุด Q จะอยูห่ า่ งจาก S1 และ S2 เป็นระยะต่างกันกี่
เซนติเมตร
(ตอบ 4 cm)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 276
โจทย์เชือ่ มโยงกับสมการ = 𝝀

Ex4. จากรูป เป็นภาพการแทรกสอดของคลื่นผิวน้าที่เกิดจากแหล่งกาเนิดอาพันธ์


โดยมี P เป็นจุดใดๆ บนแนวเส้นบัพ S1P = 15 เซนติเมตร, S2P = 5
เซนติเมตร ถ้าอัตราเร็วของคลื่นทั้งสองเท่ากับ 50 เซนติเมตรต่อวินาที
แหล่งกาเนิดคลื่นทั้งสองมีความถี่กี่เฮิรตซ์

โจทย์ทเี่ กีย่ วกับมุม

Ex5. แหล่งกาเนิดคลื่นอาพันธ์เฟสตรงกัน 2 อัน วางห่างกัน 12 เซนติเมตร ความเร็วคลื่น 20 เซนติเมตร/วินาที ขณะ


คลื่นมีความถี่ 10 Hz จงหาว่าแนวปฏิบัพที่ 3 จะเบนออกจากแนวกลางเท่าไร
1. 300
2. 530
3. 600
4. 900

Ex6. แหล่งกาเนิดคลื่นอาพันธ์เฟสตรงกัน 2 อัน วางห่างกัน 6 เซนติเมตร ความเร็วคลื่น 40 เซนติเมตร/วินาที ขณะ


คลื่นมีความถี่ 20 Hz จงหาว่าแนวปฏิบัพที่ 3 จะเบนออกจากแนวกลางเท่าไร
1. 300
2. 530
3. 600
4. 900

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


277 คลืน
่ กล
โจทย์ทเี่ กีย่ วกับการหาจานวนแนวบัพแนวปฎิบพั
Ex7. S1 และ S2 เป็นแหล่งกาเนิดคลื่นอาพันธ์ให้คลื่นเฟสตรงกัน อยู่ห่างกัน 5  บน แนวเส้น S1 S2 จะมีจุดบัพกี่จุด
2

1. 3
2. 4
3. 5
4. 6

Ex8. ให้คลื่นหน้าตรงความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร ตกกระทบช่องเปิดสองช่องที่ห่างกัน 6 เซนติเมตร ในแนวตั้งฉากกับช่องเปิด


จงหาแนวบัพที่เกิดขึ้นทั้งหมด
1. 5 แนว
2. 6 แนว
3. 7 แนว
4. 8 แนว

Ex9. S1 และ S2 เป็นแหล่งกาเนิดคลื่นน้า อยู่ห่างกัน 18 เซนติเมตร ให้คลื่นเฟสตรงกัน มีความถี่และแอมพลิจูดเท่ากัน


ความยาวคลื่น 4 เซนติเมตร ระหว่าง S1 และ S2 จะให้แนวบัพกี่แนว
1. 4 แนว
2. 5 แนว
3. 8 แนว
4. 9 แนว

โจทย์วเิ คราะห์ตาแหน่งทีก่ าหนดมาให้วา่ อยูบ่ นแนวบัพหรือแนวปฎิบพั

Ex10. รูป S1 และ S2เป็นช่องแคบ ถ้ามีคลื่นหน้าตรงความยาวคลื่น 1.0 เซนติเมตร ตาแหน่ง P เป็นตาแหน่งบัพหรือ


ตาแหน่งปฏิบัพ
P
5cm

7cm

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 278
Ex11. รูป S1 และ S2 เป็นช่องแคบ ถ้ามีคลื่นหน้าตรงความยาวคลื่น 1.0 เซนติเมตร ตาแหน่ง P เป็นตาแหน่งบัพหรือ
ตาแหน่งปฏิบัพ

P
4cm

5.5 cm

Ex12. จากรูป S1 และ S2เป็นช่องแคบ ถ้ามีคลื่นหน้าตรงความยาวคลื่น 1.0 เซนติเมตร ตกกระทบทามุม 60 องศา กับ
แนว S1 และ S2 ซึ่งห่างกัน 3.0 เซนติเมตร การแทรกสอดที่จดุ P จะเป็นอย่างไร

1. จะไม่เกิดการแทรกสอดของคลื่น
2. จะเกิดจุดปฏิบัพ
3. จะเกิดจุดบัพ
4. เกิดการแทรกสอดที่ไม่ใช่ทั้งบัพและปฏิบัพ

Ex13. S1, S2 เป็นแหล่งกาเนิดอาพันธ์มีเฟสตรงกันให้คลื่นมีความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร ณ จุดที่ห่างจาก S1 และ


S2 เป็นระยะ 11 และ 14 เซนติเมตรตามลาดับจะมีการแทรกสอดอย่างไร
1. อยู่บนแนวเสริมที่ 1
2. อยู่บนแนวเสริมที่ 2
3. อยู่บนแนวหักล้างที่ 1
4. อยู่บนแนวหักล้างที่ 2

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


279 คลืน่ กล
โจทย์กรณีเฟสตรงข้ามกัน
Ex14. คลื่นต่อเนื่องรูปวงกลมจากแหล่งกาเนิดคลื่น 2 แหล่งมีแอมพลิจูดเท่ากัน และความถี่เท่ากัน แต่เฟสต่างกัน 180
องศา มาแทรกสอดกัน ในภาพนี้จะมีแนวเส้นปฏิบัพกี่แนว
1. 2 แนว
2. 3 แนว
3. 4 แนว
4. 5 แนว

การบ้านชุดที่ 8

1. จุด A อยู่ห่างจาก S1 และ S2 ซึ่งเป็นแหล่งกาเนิดอาพันธ์มีเฟสตรงกัน ให้กาเนิดคลื่นความยาวคลื่น 3 เซนติเมตร จุด


A นี้อยู่ห่างจาก S1 เป็นระยะ 6 เซนติเมตร และจะอยู่ห่างจาก S2 เท่าไร ถ้าจุด A เป็นตาแหน่งบนแนวบัพเส้นแรก
ถัดจากเส้นกลาง
1. 1.5 เซนติเมตร
2. 3.0 เซนติเมตร
3. 4.5 เซนติเมตร
4. 6.0 เซนติเมตร

2. S1 และ S2 เป็นแหล่งกาเนิดคลื่นอาพันธ์ให้คลื่นเฟสตรงกัน S1 S2 20 เซนติเมตร และ P อยู่บน


แนวปฏิบัพที่ 4, ถ้า Q อยู่บนแนวบัพที่ 3 จงหาค่า S1Q  S 2 Q
1. 7.5 เซนติเมตร
2. 10.0 เซนติเมตร
3. 12.5 เซนติเมตร
4. 15.0เซนติเมตร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 280
3. แหล่งกาเนิดคลื่นน้าอาพันธ์ให้หน้าคลื่นวงกลมสองแหล่งอยู่ห่างกัน 10 เซนติเมตร มีความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร ที่
ตาแหน่งหนึ่งห่างจากแหล่งกาเนิดคลื่นทั้งสองเป็นระยะ 10 เซนติเมตร และ 19 เซนติเมตร ตามลาดับจะอยู่บนแนวบัพ
หรือ ปฏิบัพที่เท่าใด นับจากแนวกลาง
1. ปฏิบัพที่ 4
2. บัพที่ 4
3. ปฏิบัพที่ 5
4. บัพที่ 5

4. จากรูป S1 และ S2 เป็นแหล่งกาเนิดคลื่นผิวน้า ซึ่งเป็นแหล่งกาเนิดอาพันธ์ ระยะ S1P = 12 เซนติเมตร และ S2P =


18 เซนติเมตร ถ้าความถี่ของคลืน่ เท่ากับ 10 เฮิรตซ์ จงหาความเร็วของคลืน่

5. การทดลอง การแทรกสอดของคลื่นผิวน้า จากแหล่งกาเนิดอาพันธ์ S1 และ S2 ได้ผลดังรูป S1P = 0.50 เมตร และ


S2P = 0.44 เมตร ถ้าอัตราเร็วของคลื่นทั้งสองเป็น 0.60 เมตรต่อวินาที แหล่งกาเนิดคลื่นมีความถี่กี่รอบต่อ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


281 คลืน
่ กล

step ความรู้ที่ 19 : คลืน่ นิง่ (Standing Wave)


ลักษณะของคลืน่ นิง่ เป็นคลืน่ ที่มีตาแหน่งบัพ ปฏิบัพ อยู่ที่ตาแหน่งเดิมตลอดเวลา
คลืน่ นิง่ เกิดจากการแทรกสอดของคลื่น 2 ขบวนที่มีแอมพลิจูด ความยาวคลื่น ความถี่ ความเร็ว และความยาว
คลื่นเท่ากัน เคลื่อนที่สวนทางกัน มาพบกัน จะเกิดการรวมคลื่นโดยจะมีตาแหน่งบัพและปฏิบัพอยู่ที่เดิม
ตลอดเวลา(ดูรูปด้านล่างนะ)
หมายเหตุ ; ปฏิบัพ(A) เป็นตาแหน่งที่เกิดการแทรกสอดแบบเสริมกันของคลื่น ตาแหน่งนี้อนุภาคของเชือกจะมีการ
กระจัดสูงสุดและสั่นตลอดเวลาทาให้ มองเห็นเหมือนเชือกป่อง
บัพ(N) เป็นตาแหน่งที่เกิดการแทรกสอดแบบหักล้างกันของคลื่น ตาแหน่งนี้อนุภาคของเส้นเชือกจะ
มีการกระจัดเป็นศูนย์(ไม่เกิดการสั่น) จึงมองเห็นเป็นข้อหรือเป็นจุด

ต้าแหน่งบัพ ( เป็นจุดที่ไม่สั่น
คลืน่ นิง่ ในเส้นเชือก

ต้าแหน่งปฏิบัพ(สั่นรุนแรงจะเห็นเป็นป่องๆ)

สมการความเร็วในเส้นเชือก
คาอธิบายตัวแปร
ความยาวคลื่นหาได้จากรูปคลื่นนิ่ง
แทน อัตราเร็วคลื่น (m/s)
แทน แรงตึงเชือก (N)
ที่เกิดขึ้น แล้วใช้ความสัมพันธ์ที่ว่า
 แทน มวลต่อหน่วยความยาว (kg/m)
1  = 2Loop
เดี๋ยวเราจะไปฝึกหา  ในหน้า
ถัดไป....

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 282

ถาม – ตอบทดสอบความเข้าใจ (เพือ่ เอาไปใช้ในโจทย์จริง)


คาถาม ตอบ
ถ้า L = 3 m =?

ถ้า L = 3 m =?

ถ้า L = 3 m =?

ปฏิบพั ถึงปฏิบพั ทีต่ ดิ กันห่างกัน 3 เมตร =?

ปฏิบพั ถึงบัพทีต่ ิดกันห่างกัน 3 เมตร =?

ปฏิบพั 3 ปฏิบัพทีต่ ิดกันห่างกัน 3 เมตร =?

หมายเหตุ: ถ้าโจทย์ให้หาความถี่ต่้าสุด หรือความถี่มูลฐาน( มีค่ามากที่สุด)


Loop ที่เกิดขึ้นจะมี Loop เดียว

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


283 คลืน
่ กล
T
พิสจู น์ที่มาของสูตร v

พิจารณาชิ้นส่วนเชือกที่มีแรงกระทาดังรูป
∑ =
2 ∆𝑚 แทนมวลของเชือกส่วนที่พิจารณา
2 sin =∆
2
2 sin =∆

2 =∆ θ≅
∆𝑙
∆ 2 sin 𝜃 ≅ 𝜃 =
2 ( )=∆ 2𝑅
2

2
∆ =∆
∆ 2
=( )

2 เมื่อก้าหนดให้ ( ค่า (มิว) เป็นค่าคงที่ เช่น
=
มันแปลว่าถ้า เชือกยาว 1 เมตรจะมีมวล 0.5 กิโลกรัม ถ้าเชือกยาว 2 เมตรก็จะมี
มวล 1 กิโลกรัม
𝑇
𝑣=
𝜇

สมการนี้มันบอกเราว่า ถ้าเชือกตึง (T) มาก ความเร็วของคลื่น(v) จะมาก


แต่ถ้าอัตราส่วนมวลต่อความยาว ( ) มาก ความเร็วของคลื่น(v) จะน้อย

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 284

Step ความรู้ที่ 21 : คลืน่ นิง่ ในน้า


การเกิดคลืน่ นิง่ จากการสะท้อน
กรณีคลื่นน้ามันจะเป็นคลื่นปลายอิสระ ดังนั้นเวลามันสะท้อนออกมาคลื่นที่
สะท้อนกลับมาจะมีเฟสตรงกัน ตรงบริเวณที่สะท้อน กับบริเวณที่เป็น
แหล่งกาเนิด จะมีเป็นตาแหน่งปฏิบัพ

ทีนถี้ า้ เราฉายแสงผ่านคลืน่ ลงไป มันก็จะปรากฏเป็นแถบมืดแถบสว่าง


เกิดขึน้ ตรงบริเวณทีเ่ ป็นแถบมืดจะเป็นตาแหน่ง
ปฏิบพั ส่วนตรงบริเวณทีเ่ ป็นแถบสว่างจะเป็นตาแหน่งบัพ
ดังนั้นตาแหน่ง มืดถึงมืด ที่ติดกันจะห่างกัน …………..
ดังนั้นตาแหน่ง สว่างถึงสว่าง ที่ติดกันจะห่างกัน …………..

ระวัง!! อย่าสับสนการหาความยาวคลืน่ จากการวัดแถบมืดกับแถบสว่างนะครับ ครัง้ ทีแ่ ล้วเราเรียนการหาความยาว


คลืน่
มืดถึงมืด ที่ติดกันจะห่างกัน 
สว่างถึงสว่าง ที่ติดกันจะห่างกัน 
เปรียบเทียบแถบมืดแถบสว่างของคลืน่ กับคลืน่ นิ่ง
คลืน่ นิง่ คลืน่ ปกติ

เป็นคลื่นที่มีการสะท้อนและแทรกสอดกันเป็นคลื่นนิ่ง เป็นคลื่นที่มีการเคลื่อนที่ตามปกติ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


285 คลืน
่ กล

Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


EXAM : 9
Step 2. วาดรูป
Step 19 - 22
Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้( )ค้างไว้

Ex1. คุณสมบัติหรือปรากฏการณ์ ข้อใดที่ใช้อธิบายการเกิดคลื่นนิ่ง


1. การแทรกสอด 2. การรวมกันได้ของคลื่น
3. แหล่งกาเนิดอาพันธ์ 4. ถูกทั้ง (1), (2) และ (3)

Ex2. เส้นด้ายปลายด้านหนึ่ง ผูกติดกับปลายของส้อมเสียงที่สั่นด้วยความถี่ 250Hz ส่วนปลายอีกข้างหนึ่ง ผ่านรอกลื่นและ


มีมวลถ่วงให้เส้นด้ายตึงเมื่อส้อมเสียงสั่นปรากฏว่า เกิดคลื่นนิ่งดังรูป แสดงว่าความเร็วคลื่นในเส้นด้ายมีค่าเท่าใด

1. 50 m/s
2. 100 m/s
3. 150 m/s
4. 200 m/s

Ex3. แหล่งกาเนิด คลื่นอาพันธ์เฟสตรงกัน อยู่ห่างกัน 12 เซนติเมตร ให้กาเนิดคลื่นด้วยความถี่ 10 เฮิรตซ์ คลื่นแผ่


ออกไปด้วยอัตราเร็ว 40 เซนติเมตร/วินาที จงคานวณหาจานวนบัพที่เกิดขึ้นระหว่างแหล่งกาเนิดทั้งสอง
1. 4 บัพ
2. 6 บัพ
3. 8 บัพ
4. 12 บัพ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 286
Ex4. เชือกเส้นหนึ่งยาว 5 เมตร มีมวลต่อความยาวเป็น 0.10 กิโลกรัม/เมตร ผูกปลายทั้งสองตรึงไว้ทาให้เชือกมีขนาดแรง
ตึง 10 นิวตันจงหาความถี่ของการสั่นของเชือกที่ทาให้เกิดคลื่นนิ่งจานวน 2 ลูพ

1. 1 Hz
2. 2 Hz
3. 3 Hz
4. 4 Hz

Ex5. เชือกเส้นหนึ่ง ปลายข้างหนึ่งถูกตรึงแน่น ปลายอีกข้างหนึ่งติดกับตัวสั่นสะเทือน สั่นด้วยความถี่ 30Hz ปรากฏว่าเกิด


คลื่นนิ่งพอดี 3Loop ถ้าใช้เชือกยาว 1.5 m จงหาอัตราเร็วคลื่นในเส้นเชือก
1. 15 เมตร/วินาที
2. 30 เมตร/วินาที
3. 45 เมตร/วินาที
4. 60 เมตร/วินาที

Ex6. เมื่อสั่นเชือกเส้นหนึ่งยาว 1.6 เมตร ถูกขึงดึงด้วยความถี่ 50 เฮิรตซ์ ปรากฏว่าเกิดคลื่นนิ่ง มีลักษณะเป็น Loop 5


Loop พอดี จงหาอัตราเร็วของคลื่นในเชือกเส้นนี้ในหน่วยเมตร/วินาที
1. 32
2. 50
3. 64
4. 100

Ex7. เชือกขึงตึงยาว 1.2 เมตร สั่นด้วนความถี่ 100 เฮริตซ์ เกิดปฏิบัพ 3 ตาแหน่ง ความเร็วของคลื่นในเส้นเชือกเป็น
เท่าใดของหน่วยเมตรต่อวินาที

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


287 คลืน
่ กล

การบ้านชุดที่ 9

1. จากรูปเป็นคลื่นนิ่งในเส้นเชือกที่มีปลายทั้งสองยึดแน่นไว้ ถ้าเชือกยาว 90 เซนติเมตร และความเร็วคลื่นในเส้นเชือก


ขณะนั้นเท่ากับ 2.4×102 เมตรต่อวินาที จงหาความถี่ของคลื่น
1. 200 Hz
2. 267 Hz
3. 400 Hz
4. 800 Hz

2. เชือกยาว 1 เมตร ปลายข้างหนึ่งถูกตรึง ปลายอีกข้างหนึ่งติดกับเครื่องที่สั่นในแนวตั้งฉากกับเส้นเชือกและสั่นด้วยความถี่


80 เฮิรตซ์ ถ้าเกิดคลื่นนิ่งมีปฏิบัพ 4 แห่ง อัตราเร็วของคลื่นในเชือกเป็นเท่าใด
1. 20 m/s
2. 27 m/s
3. 40 m/s
4. 53 m/s

3. การทดลองคลื่นนิ่งในเส้นเชือกถ้าความถี่ของคลื่นนิ่งเป็น 475 เฮิรตซ์ และอัตราเร็วของคลื่นในเส้นเชือกเท่ากับ 380


เมตร/ วินาที ตาแหน่งบัพสองตาแหน่งที่ถัดกันห่างกันเท่าไร
(ตอบ 0.4 เมตร)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 288
TRICK!! การเขียนรูปคลืน่ นิง่ ในน้าเพือ่ การแก้โจทย์
1. แหล่งกาเนิดสองแหล่งเฟสตรงกัน ห่างกัน 4 เมตร และทั้งสองคลื่นมีความยาวคลืน่ เท่ากับ 2 เมตร

เสริมกัน(A)

2. แหล่งกาเนิดสองแหล่งเฟสตรงข้ามกัน ห่างกัน 5 เมตร และทัง้ สองคลืน่ มีความยาวคลืน่ เท่ากับ 2 เมตร

หักล้างกัน(N)

3. แหล่งกาเนิดคลืน่ น้าให้คลืน่ ทีม่ คี วามยาวคลืน่ 2 เมตร ตกกระทบแผ่นสะท้อนคลืน่ บัพที3่ นับจากผิวสะท้อน


ห่างจากผิวสะท้อนกีเ่ มตร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


289 คลืน
่ กล
Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?
EXAM : 10
Step 2. วาดรูป
TRICK!! การแก้โจทย์ Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้( )ค้างไว้
คลืน่ นิง่ ในน้า

Ex1. แหล่งกาเนิดคลื่นอาพันธ์สองแหล่งห่างกัน 6 เซนติเมตร ถ้าแหล่งกาเนิดคลื่นทั้งสองทาให้เกิดคลื่นผิวน้าที่มีความถี่


เท่ากันและความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร จงหาว่าบนเส้นตรงที่เชือ่ มระหว่างแหล่งกาเนิดทั้งสอง คลื่นรวมที่เกิดจากการ
แทรกสอดมีบัพกีบ่ ัพ (ตอบ 6 บัพ)

6 cm

Ex2. แหล่งกาเนิดคลื่นน้าอาพันธ์เฟสตรงกัน อยู่ห่างกัน 12 เซนติเมตร ให้กาเนิดคลื่นด้วยความถี่ 10 เฮิรตซ์ คลื่นแผ่


ออกไปด้วยอัตรเร็ว 40 เซนติเมตร/วินาที จงหาจานวนบัพที่เกิดขึ้นระหว่างแหล่งกาเนิดทั้งสอง

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 290
Ex3. AB เป็น CD เป็นคานกาเนิดคลื่นเส้นตรงของถาดคลื่น ที่วางขนานและอยู่ห่างกัน 16 เซนติเมตร คานทั้งสองให้
คลื่นน้าที่มีเฟสตรงกัน และมีความยาวคลื่น 4 เซนติเมตร ถ้าเกิดคลื่นนิ่งระหว่าง AB และCD
1. จงหาว่าระหว่าง AB และ CD มีบัพเกิดขึ้นทั้งหมดเท่าใด และบัพที่อยู่ถัดกันห่างกันเท่าไร
(ตอบ 8 บัพ 2 เซนติเมตร)

2.ถ้าให้แสงสว่างเหนือถาดคลื่นจะมีแถบสว่างเกิดขึ้นระหว่าง AB และCD ทั้งหมดกี่แถบบนฉากใต้ถาดคลื่น


(ตอบ 7 แถบ)

Ex4. คลื่นน้ามีความยาวคลื่น 8 เซนติเมตร เคลื่อนที่เข้าหาสิ่งกีดขวางและสะท้อนกลับมาในแนวเดิม ตาแหน่งบัพที่ 3 นับ


จากสิ่งกีดขวาง จะห่างจากสิ่งกีดขวางกี่เซนติเมตร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


291 คลืน
่ กล
Step ความรู้ที่ 22 : การสัน่ พ้อง (Resonance)
ความถีธ่ รรมชาติ จากการศึกษาการสั่นหรือการแกว่งของวัตถุตา่ งๆ ที่ถูกตรึงหรือยึดไว้ ถ้าเราออกแรงกระทากับวัตถุ
เพียงครั้งเดียวแล้วปล่อยให้วัตถุนั้นสั่น หรือแกว่งอย่างอิสระ วัตถุนั้นจะสั่นหรือแกว่งด้วยความถี่ที่มีค่าคงที่ค่าหนึ่ง เรา
เรียกความถี่ของวัตถุที่สั่นอย่างอิสระนี้ว่า “ ความถีธ่ รรมชาติ ”
1 g
เช่น การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา จะมีความถี่ธรรมชาติ ซึ่งเป็นไปตามสมการ f 
2 l
หรือ การสั่นของวัตถุที่ติดกับปลายสปริง จะมีความถี่ธรรมชาติ ซึ่งเป็นไปตาม
1 k
สมการ f 
2 m
การสัน่ พ้อง
ถ้า ความถีข่ องการออกแรงภายนอกกระทากับวัตถุ = ความถีธ่ รรมชาติของวัตถุ
ผลจะทาให้ช่วงกว้างของการแกว่ง(แอมพลิจูด) มีค่าเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เราเรียกปรากฏการนี้ว่า “การสัน่ พ้อง”
ในการโล้ฉิ่งช้ามีความถี่ธรรมชาติของมัน ถ้าจะท้าให้เกิด
การสั่นพ้องก็สามารถท้าได้โดยการผลักฉิ่งช้าที่สอดคล้องกับ
ความถี่ธรรมชาติหรือให้คนนั่งฉิ่งช้าโยกตัวเองโดยการย่อเข่าโยก
เป็นจังหวะที่สอดคล้องกับความถี่ธรรมชาติที่เขานั่ง

เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1940 ลมพัดด้านข้างของสะพานแขวนช่องแคบแทคโคมา เป็น


เหตุให้สะพานสั่นด้วยแอมพลิจูดที่สูงมากจนกระทั่งพังลงมา ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่า สะพานแขวนมีความถี่ธรรมชาติ
ของการสั่นค่าหนึ่ง เมื่อลมพัดกระทบด้านข้างของสะพานแขวนทาให้เกิดการสั่นในลักษณะโบกสะบัดเป็นจังหวะด้วย
ความถี่ต่างๆกัน แต่บังเอิญว่าในวันเกิดเหตุการณ์ ความถี่ของลมที่พัดมากระทบสะพานเป็นความถี่เดียวกับ
ความถี่ธรรมชาติของสะพานแขวน ทาให้เกิดการสั่นพ้อง จึงทาให้สะพานแขวนพังลงมา
เมื่อมองลึกลงไปในระดับโมเลกุลโมเลกุล แต่ละโมเลกุลก็จะสั่นด้วย ความถี่ธรรมชาติค่า
หนึ่งเช่นเดียวกันและสมบัตินี้ถูกนามาประยุกต์ใช้ในเตาไมโครเวฟโดยเตาไมโครเวฟจะมี
หลอดแมกนีตรอนที่ทาหน้าที่ผลิต

คลืน่ ไมโครเวฟซึ่งเป็นคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่เท่ากับความถี่ธรรมชาติ


ของโมเลกุลของน้าซึ่งกระบวนการสั่นนี้จะทาให้เกิดพลังงานความร้อนในอาหารทาให้อาหารสุก

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 292

Step ความรู้ที่ 23 : การเลีย้ วเบน (Diffraction)


การเลีย้ วเบน คือ การที่คลื่นสามารถเคลื่อนที่อ้อมสิ่งกีดขวางได้
ในการเลี้ยวเบนของคลื่นยังคงมีความถี่ ความยาวคลื่น และอัตราเร็วเท่าเดิม
หลักการของฮอยเกนส์
(Huygen’s rinciple)

“ทุกๆ จุดบนหน้าคลืน่ จะท้า


หน้าทีเ่ ป็นแหล่งก้าเนิดใหม่ที่ให้
ก้าเนิดคลืน่ ซึง่ เคลือ่ นทีอ่ อกไปทุก
ทิศทุกทางด้วยอัตราเร็วเท่าเดิม ”

เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ปะทะสิ่งกีดขวางที่เป็นช่องเปิดคลื่นจะเกิดการเลี้ยวเบนลักษณะการเลี้ยวเบนของคลื่นจะ
ขึ้นอยู่กับความกว้าง(d)ของช่องเปิดกับความยาวคลื่น() ดังรูปข้างล่างนี้

d  d  d 

สมการการแทรกสอดหลังจากเลีย้ วเบนผ่านช่องเปิดเดี่ยว
แนวปฏิบพั (A) แนวบัพ (N)
dsin = ( n  1 ) dsin = n
2
x dx = n
d  L d x = ( n  1 ) L
L 2

เมื่อ n = 1, 2, 3, ……
เมื่อ n = 1, 2, 3, ……

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


293 คลืน่ กล
สาหรับการเลี้ยวเบนของคลื่นผ่านช่องเปิดถ้าปรากฏแนวบัพของการแทรกสอดให้เห็นจะเรียกว่า
“การเลี้ยวเบนไม่ด”ี แต่ถ้าเลี้ยวเบนออกไปแล้วไม่ปรากฏแนวบัพของการแทรกสอดให้เห็นจะเรียกว่า
“การเลี้ยวเบนดี” การเลี้ยวเบนดีหรือไม่ดี จะขึ้นอยู่กับขนาดของความกว้างช่องเปิด (d) พิจารณาดังนี้

พิจารณาการเกิดบัพที่ 1 จากช่องเดี่ยว
จาก dsin = n  ถ้า d >  จาก sin = ดังนั้นค่า sin < 1
n
sin =
d เป็นไปได้ ท้าให้ เกิดแนวบัพขึน้ เรียกว่า “เลีย้ วเบนไม่ด”ี
เมื่อ n = 1 ;
sin =
 ถ้า d <  จาก sin = ดังนั้นค่า sin > 1
เป็นไปไม่ได้ จึงไม่เกิดแนวบัพ เรียกว่า“เลีย้ วเบนดี ”

1. ช่องเปิดเล็กๆ (d น้อยกว่า) การเลี้ยวจะดีและไม่มีแนวบัพ


2. การแทรกสอดหลังการเลี้ยวเบนแนวกลางจะเป็นแนวปฏิบัพ (A0)

ข้อสังเกต สมการแนวบัพแนวปฏิบัพของการแทรกสอดช่องเปิดคู่กับช่องเปิดเดี่ยวจะมีความต่างกัน
- d ในช่องเปิดคู่ คือระยะห่างของช่องเปิดทัง้ สอง
แต่ d ในช่องเปิดเดีย่ วคือ ความกว้างของช่อง
- สมการทีใ่ ช้งานก็แตกต่างกันจุดนี้แหละที่ทาให้นักเรียนส่วนใหญ่สับสน เพราะฉะนั้น
ต้องสังเกตและจาให้แม่นๆ เพื่อผลประโยชน์ของน้องเอง

ช่องคู่เฟสตรงกัน** ช่องคู่เฟสตรงข้าม ช่องเดี่ยว


ปฏิบพั dsin = n dsin = ( n  0.5 ) d x = ( n  0.5 )
L
บัพ dsin = ( n  0.5 ) dsin = n dsin = n
แนวกลางเป็นปฏิบัพ แนวกลางเป็นบัพ แนวกลางเป็นปฏิบัพ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 294

Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


EXAM : 11
Step 2. วาดรูป
การเลีย้ วเบน Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(......)ค้างไว้

ลักษณะโจทย์แบบที่ 1 : โจทย์พื้นฐานเน้นการใช้สูตร
Ex1. นายสั่งสอนยืนอยู่บนฝั่งสังเกตคลื่นน้าเคลื่อนที่เข้าฝั่ง มีท่อนไม้ 2 ท่อนลอยขนานกับฝั่งปลายด้านในห่างกัน 50
เซนติเมตรกิดบัพและปฏิบัพของคลื่น ถ้าระยะระหว่างปฏิบัพแรกเท่ากับ 8 เมตร คลื่นน้ามีความยาวคลื่นเท่าไร
1. 5.0 cm คลื่นน้้า ปฏิบัพ
2. 6.7 cm
3. 10.0 cm d 8m
4. 20.0 ปฏิบัพ
L = 20m

Ex2. นายส้มโอยืนสังเกตคลื่นน้าเคลื่อนที่เข้าหาฝั่ง มีท่อนไม้ 2 ท่อน ลอยขนานกับฝั่ง ลอยห่างกัน 80 ซม. อยู่ห่างจากฝั่ง


25 เมตร ที่ฝั่งเกิดบัพและปฏิบพั ของคลื่น ถ้าระยะระหว่างปฏิบัพแรกเท่ากับ 10 เมตร คลื่นน้าจะมีความยาวคลื่นกี่
เมตร
1. 0.11
2. 0.80
3. 1.25
4. 2.50

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


295 คลืน
่ กล
ลักษณะโจทย์แบบที่ 2
ทบทวน
แนวกลาง
ค่า n ต้องเป็นจานวนเต็มเท่านั้นจึงจะเกิดแนวบัพได้(ถ้าเป็นทศนิยมปัดทิ้ง)
จากสูตร dsin = n
หากคานวณแล้วได้ n = 2.9 (ปัดลงเป็น 2)
จะเกิดแนวบัพรอบแนวกลางเท่ากับ 4 แนว (ซ้าย 2แนว ขวา 2 แนว)
 โจทย์ที่จะกล่าวต่อไปนี้ก็คือ โจทย์ที่กาหนดแนวบัพทั้งหมดที่เกิดขึ้นแล้วให้หา d และ  ที่เหมาะสม
จาก dsin = n ; n มีสูงสุดเมื่อ sin = sin90
จะได้ dsin90 = n หรือ d = n
หมายเหตุ : ถ้า n = 1 จะทาให้การเลี้ยวเบนเด่นชัด

Ex1. คลื่นน้าเคลื่อนที่ผ่านช่องเปิดที่มีความกว้าง 2 เซนติเมตร อยากทราบว่า ความยาวคลื่นควรจะมี


ค่าอยู่ในช่วงใด จึงจะทาให้เห็นแนวบัพ 4 แนว ผ่านช่องเปิดนี้

ข้อสงสัย : ท้าไม  = 1 ได้ แต่  = 0.67 ไม่ได้


ตอบ : ถ้า  = 1 จะได้ n = 2 ท้าให้เกิดแนวบัพ 4 แนว ตามโจทย์กา้ หนด
แต่ถ้า  = 0.67 จะได้ n = 3 ท้าให้เกิดแนวบัพ 6 แนว เกินที่โจทย์ก้าหนด

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 296
Ex2. ช่องเปิดควรมีความกว้างเท่าใด เมื่อคลื่นหน้าตรงความยาวคลื่น 1.0 เซนติเมตร เคลื่อนที่ผ่านทาให้เห็นแนวบัพ 6
แนว ผ่านช่องเปิดนี้

ข้อสงสัย : ท้าไมจึงบอกว่า d = 3 ได้


ตอบ : ก็เพราะว่าถ้า d = 3 แล้ว จะได้ n = 3 ท้าให้เกิดแนวบัพ 6 แนว ตามที่โจทย์ก้าหนด
แต่ d = 4 ไม่ได้ เพราะจะให้ค่า n = 4 ท้าให้เกิดแนวบัพ 8 แนว เกินที่โจทย์ก้าหนด

Ex3. ช่องเปิดควรมีความกว้างเท่าใดเมื่อคลื่นหน้าตรงความยาวคลื่น 2.0 ซม. เคลื่อนที่ผ่านทาให้เห็นแนวบัพ 4 แนว


ผ่านช่องเปิดนี้
1. 2.5 ซม.
2. 5.0 ซม.
3. 7.5 ซม.
4. 10.0 ซม.

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


297 คลืน
่ กล
Ex4. คลื่นน้าความยาวคลื่นเท่าใน ที่จะให้เกิดบัพทั้งหมด 6 บัพรอบแนวกึ่งกลางของช่องเปิด เมื่อคลื่น
เคลื่อนที่ผ่านช่องเปิดที่มีความกว้าง 3 เซนติเมตร
1. 0.6 ซม.
2. 0.8 ซม.
3. 1.2 ซม.
4. 1.4 ซม.

Ex5. ถ้าคลื่นน้าเคลื่อนที่ผ่านช่องเปิดที่มีความกว้าง 2.2 เซนติเมตร คลื่นน้าที่มีความยาวคลื่นเท่าไรจึงจะแสดงการ


เลี้ยวเบนได้เด่นชัด
1. 0.5 ซม.
2. 1.0 ซม.
3. 1.5 ซม.
4. 2.5 ซม.

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 298
โจทย์เพิม่ เติม คลืน่ (Mechanical Wave)

1.เมื่อพิจารณาคลื่นที่เกิดขึ้นบนเชือกที่ขึงระหว่างเสาทั้งสองในรูป พบว่าใช้เวลาอย่างน้อย 0.8 วินาที ในการเปลี่ยนจากรูป


บนเป็นรูปล่าง ถ้าระยะระหว่างเสาทั้งสองเท่ากับ 6 เมตร อัตราเร็วของคลื่นเป็นเท่าใด

2. จากรูป S เป็นแหล่งกาเนิดคลื่นซึ่งมีความถี่ 20Hz ให้คลื่นแผ่ออกไปมีอัตราเร็ว 1.2 เมตร/วินาที จุด A และ B อยู่


ห่างจาก S เป็นระยะ 16 และ 13 ซม. ตามลาดับ อยากทราบว่าคลื่นที่จุด A และ B มีเฟสต่างกันกี่องศา
1. 1800
2. 2700
3. 3600
4. 4500

3. จากการใช้สโตรโบสโคป ซึ่งมีอยู่ 40 ช่อง สังเกตคลื่นน้าความเร็ว 4 เมตรต่อวินาที พบว่าเมื่อหมุนสโตรโบสโคปด้วย


ความถี่ 0.2 เฮิรตซ์จะเห็นเหมือนคลื่นหยุดนิ่ง ถ้าคลื่นน้านี้เคลื่อนเข้าไปในบริเวณที่น้าตื้นกว่าเดิม โดยหน้าคลื่นทามุม
ตกกระทบ  1 กับผิวรอยต่อระหว่างตัวกลางพบว่า มุมหักเหในน้าตื้นเป็น  2 และความยาวคลื่นเปลี่ยนเป็น 40
 sin 1 
เซนติเมตร ให้หา  
 sin  2 
(แนะนา: จะเห็นคลืน่ หยุดนิง่ เมือ่ fช่องสโตโบสโคป = fคลืน่ )
1. 0.5 2. 0.8
3. 1.25 4. 2

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


299 คลืน
่ กล

4. คลื่นน้าแบบต่อเนื่องที่มีหน้าคลื่นตรง เคลื่อนที่ผ่านรอยต่อระหว่างบริเวณน้าลึกและน้าตื้นแล้วทาให้เกิดคลื่นหักเหหน้า
คลื่นตรง ถ้าแนวทางเดินของคลื่นตกกระทบทามุมกับรอยต่อระหว่างตัวกลางเท่ากับ 30 องศา จงหามุมหักเหถ้าความ
ยาวคลื่นในน้าตื้นลดลงเป็น 1 ของความยาวคลื่นในน้าลึก
3
1. 15 องศา
2. 30 องศา
3. 45 องศา
4. 60 องศา

5. จุดกาเนิดคลื่น s ในถาดคลื่น ให้กาเนิดคลื่นอย่างต่อเนื่องด้วยความถี่ค่าหนึ่ง มีวัตถุขอบตรงกั้นสะท้อน


คลื่น R ที่ระยะห่างจาก s เท่ากับ 3 เท่าของความยาวคลื่น จงหาว่าจะเกิดแนวของบัพ(node) ทั้งหมด
กี่แนว
(ตอบ 6 แนว)

6. 1 และ 2 เป็นแหล่งกาเนิดอาพันธืที่ให้คลื่นเฟสตรงกัน วางห่างกัน 5 เซนติเมตร จุด P เป็นจุดปฏิบัพ อยู่ห่างจาก


เป็นระยะ 5 เซนติเมตร และทามุม 1 2 =
2 จงหาว่า จะมีจานวนของแนวเส้นบัพที่เกิดระหว่างจุด P
กับแนวปฏิบัพกึ่งกลางกี่แนว ถ้าคลื่นที่ส่งออกมามีความยาวคลื่น 1.83 เซนติเมตร

5cm
𝑠2 (ตอบ 2 แนว)
𝑠1

5cm

A0 𝑃

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสิกส์ 300
7. 1 และ 2 เป็นแหล่งกาเนิดคลื่นความถี่เดียวกัน และเฟสตรงกันอยู่ห่างกัน d จุด Q เป็นจุดที่คลื่นเสริมกันตรงกลาง
จุด P เป็นจุดบนเส้นปฏิบัพที่ 1 ระยะ 1 และ 2 ยาวกว่า d มาก ถ้าต้องการให้ P เข้าใกล้ Q มากขึ้น เรา
ต้องทาตามข้อใด
𝒔𝟏 𝑑 𝒔𝟐
1. เพิ่มความถี่ของ 1 และ 2 ขึ้นเท่าๆกัน
2. เพิ่มความถี่เฉพาะ 2
3. เลื่อน 1 และ 2 ให้ชิดกันมากขึ้น
4. เปลี่ยนไปทาในตัวกลางอื่นที่คลื่นสามารถเดินทางได้เร็วขึ้น

𝑄
𝑃

8. การแทรกสอดของคลื่นน้าจาก s1 และ s2 ที่มีความถี่เท่ากัน แอมพลิจูดเท่ากัน และเฟสตรงกัน แสดงดัง


รูป แนวของ A เป็นแนวของวงกลมที่มี s2 เป็นจุดศูนย์กลาง ที่ PQR และ S จุดใดแอมพลิจูดของ
คลื่นน้าจะสูงสุด
1. จุด P
2. จุด Q
3. จุด R
4. จุด Q

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


301 คลืน
่ กล
9. คลื่นขบวนหนึ่งเคลื่อนที่เข้าใกล้ปลายเชือกที่ตึงอยู่กับที่ ที่จุด A ดังรูป จงหาว่าตาแหน่งบัพที่ 4 จากจุด A จะอยู่ห่าง
จากจุด A เป็นระยะทางเท่าใดในหน่วยเมตร ถ้าคลื่นมีความยาวคลื่นเท่ากับ 1.2 เมตร
(ตอบ 1.8 m)

10. คลื่นในเส้นเชือกเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 0.6 เมตรต่อวินาที ไปยังอีกด้านหนึ่งที่ยึดแน่นไว้ แล้วสะท้อนกลับเกิดเป็นคลื่น


นิ่ง ซึ่งมีบัพอยู่ 5 บัพ ถ้าเชือกนี้ยาว 6 เมตร คลื่นจะมีความถี่กี่รอบต่อวินาที
(ตอบ 0.2)

11. เมื่อสบัดปลายเชือกขึ้นลงสองรอบต่อวินาที มีความยาวคลื่น 80 เซนติเมตรดังรูป เม็ดโฟมที่อยู่ห่างจากมือ 10 เมตร


จะเคลื่อนที่ได้กี่รอบหลังจากเริ่มสบัดปลายเชือก 20 วินาที

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์

You might also like