You are on page 1of 69

บทที่ 1

หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์

Aj.Oranuch Ketsungnoen
Faculty of Medical Science, Nakhonratchasima College
2

1.1 บทนา
1.2 หน่วยของการวัด
1.3 พื้นฐานเวกเตอร์
บทนำ : ฟิสิกส์คืออะไร

PHYSICS = φυσική (physikos)


= “natural”
= ของธรรมชำติ

ฟิสิกส์เป็นวิทยำศำสตร์ของโลกแห่งธรรมชำติ
ศึกษำควำมเป็นไปของธรรมชำติ
4

บทนำ : What is Physics?


หน่ วยวัด และ การวัด
สิ่ งสาคัญของการเรียนวิชาฟิ สิ กส์ คือ การวัด

https://www.youtube.com/watch?v=ZNXbI_R4XMc
การวัด
 การวัด คือ การคานวณค่าปริมาณที่ไม่ทราบค่าว่ามีปริมาณที่
กาหนดคงที่เท่าใด ปริมาณที่กาหนดคงที่นี้เรียกว่า หน่วย (unit)
ฉะนั้ น การวั ด จึ ง ต้ อ งมี ร ะบบหน่ ว ยวั ด ที่ ถู ก ต้ อ งเชื่ อ ถื อ ได้ และใช้
สะดวก เพื่อให้เป็น สากลทั่วโลกหน่ วยวัดจึงต้องใช้ค่าเหมือนกัน
ซึ่ ง จ าเป็ น ต้ อ งมี ค าจ ากั ด ความที่ ชั ด เจนเกี่ ย วกั บ หน่ ว ยวั ด และวิ ธี
ค านวณปรั บ เที ย บกั บ ระบบวั ด ลั ก ษณะนี้ เ รี ย กว่ า มาตรฐาน
(standard) เป็น การ
ปรับเทียบ (calibration) คือ การตรวจสอบระบบวัดให้ตรงกับ
มาตรฐานเมื่อระบบอยู่ในสภาพที่สอดคล้องกับสภาพที่กาหนดไว้ใน
มาตรฐาน
หน่ วยวัด
 ปี ค.ศ. 1960 การประชุม The 11th Conference General des
Poised Measures ได้ยอมรับระบบ System International
Unit's ให้เป็นระบบหน่วยวัดสากล ระบบนี้เรียกว่าระบบ “SI”
ในการประชุมครั้ง ต่อมาได้มีการปรับแต่งระบบจนปัจจุบันนี้มีหน่วยวัด
พื้นฐาน 7 ประเภท คือ วัดมวลเป็นกิโลกรัม(kg)
วัดความยาวเป็นเมตร(m) นับเวลาเป็นวินาที(s) วัดกระแสเป็น
แอมแปร์(A) วัดอุณหภูมิเป็นองศาเคลวิน (K) วัดความเข้มแสงสว่าง
เป็นแคนเดลา(cd) และวัดปริมาณสสารเป็นโมล(mol) จากหน่วยวัด
พื้นฐานเหล่านีท้ าให้ได้หน่วยอนุพันธ์อื่น ๆ
หน่ วยวัด
o ระบบอังกฤษ
o ระบบสากลระหว่างชาติ (SI)
o ระบบเมทริก (CGS)
ระบบหน่วย เวลา มวล ความยาว ความเร็ว
SI วินาที กิโลกรัม เมตร เมตร/วินาที
CGS วินาที กรัม เซนติเมตร เซนติเมตร/วินาที
อังกฤษ วินาที ปอนด์มวล ฟุต ฟุต/วินาที
หน่ วยวัด
หน่วย SI แบ่งเป็น หน่วยฐาน และ หน่วยอนุพัทธ์
หน่วยฐาน เป็นหน่วยของปริมาณฐานซึ่งมี 7 ปริมาณ ดังนี้
ปริมาณฐาน สัญลักษณ์ หน่วยฐาน สัญลักษณ์
ความยาว l, s เมตร m
มวล m กิโลกรัม kg
เวลา t วินาที s
อุณหภูมิทาง
T เคลวิน K
เทอร์โมไดนามิกส์
กระแสไฟฟ้า I แอมแปร์ A
ความเข้มของการ
I แคนเดลา cd
ส่องสว่าง
ปริมาณสสาร n โมล mol
หน่ วยวัด
หน่วยอนุพัทธ์ คือ หน่วยที่มีหน่วยฐานหลายหน่วยมา
เกี่ยวเนื่องกัน เช่น
ความเร็ว มีหน่วย m/s
โมเมนตัม มีหน่วย kg.m/s
แรง มีหน่วย kg. m/s2 หรือ นิวตัน, N
หน่วยอนุพันธ์เอสไอที่มีชื่อเฉพาะ
ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ ปริ มาณ การแสดงออกในรู ปหน่วยฐาน
เฮิรตซ์ Hz ความถี่ s−1
เรเดียน rad มุม m·m−1
สเตอเรเดียน sr มุมตัน m2·m−2
นิวตัน N แรง kg m s −2
จูล J พลังงาน N m = kg m2 s−2
วัตต์ W กาลัง J/s = kg m2 s−3
ปาสกาล Pa ความดัน N/m2 = kg m −1 s−2
ลูเมน lm ฟลักซ์ส่องสว่าง cd sr = cd
ลักซ์ lx ความสว่าง cd m−2
คูลอมบ์ C ประจุไฟฟ้ า As
โวลต์ V ความต่างศักย์ J/C = kg m2 A−1 s−3
โอห์ม Ω ความต้านทานไฟฟ้ า V/A = kg m2 A−2 s−3
หน่ วยอนุพนั ธ์ เอสไอที่มีชื่อเฉพาะ
ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ ปริ มาณ การแสดงออกในรู ปหน่วยฐาน
ฟารัด F ความจุไฟฟ้ า Ω−1 s = A2 s4 kg−1 m−2
เวเบอร์ Wb ฟลักซ์แม่เหล็ก kg m2 s−2 A−1
เทสลา T ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก Wb/m2 = kg s−2 A−1
เฮนรี H ความเหนี่ยวนาไฟฟ้ า Ω s = kg m2 A−2 s−2
ซีเมนส์ S ความนา Ω−1 = kg−1 m−2 A2 s3
เบกเคอเรล Bq กันมันตภาพของรังสี s−1
เกรย์ Gy ขนาดกาหนดของการดูดกลืนรังสี J/kg = m2 s−2
ซีเวิร์ต Sv ขนาดกาหนดของกัมมันตภาพรังสี J/kg = m2 s−2
องศาเซลเซียส °C อุณหภูมิอุณหพลวัต K − 273.15
คาทัล kat อานาจการเร่ งปฏิกิริยา mol/s = s−1·mol
คาอุปสรรคในระบบ SI
 ถ้า ค่า ของหน่ว ยมู ลฐานหรื อหน่ว ยอนุพั ทธ์ มากหรื อ
น้อยเกินไป การเขียนแบบธรรมดาจะยุ่งยาก เช่น
ความเร็วแสงมีค่าประมาณ 300,000,000 เมตรต่อวินาที
โดยการเปลี่ยนรูปแบบการเขียนจานวนเป็นการเขียนใน
รูป 10 ยกกาลัง เช่น 108 เพื่อความสะดวกจึงใช้คา
อุปสรรค (prefix) แทนค่า 10 ยกกาลังเหล่านั้น
คาอุปสรรคแทน 10 ยกกาลังเลขบวก
คาอุปสรรค ความหมาย สัญลักษณ์
exa- 1018 E
peta- 1015 P
tera- 1012 T
giga- 109 G
mega- 106 M
kilo- 103 k
hecto- 102 H
deka- 101 Da
คาอุปสรรคแทน 10 ยกกาลังเลขลบ (ค่าน้อยกว่า 1)
คาอุปสรรค ความหมาย สัญลักษณ์
deci- 10-1 d
centi- 10-2 c
milli- 10-3 m
micro- 10-6 
nano- 10-9 n
pico- 10-12 p
femto- 10-15 f
atto- 10-18 a
ตัวอย่าง :
300,000,000 เมตรต่อวินาที = 3 x108 เมตรต่อวินาที
60,000,000 g = 60 x106 g
= 60 Mg
= 60,000 x 103 g
= 60,000 kg

10 km = 10 x 103 m
2 ms = 2 x 10-3 s = 0.002 s
กิจกรรม จงเปลี่ยนหน่วยเหล่านี้ให้ถูกต้อง

1) 1 km = 1x mm

2) 1.5 nm = m

3) 2.7 m3 = mm3

4) 1.45 kN = mN

5) 1.4 MHz = kHz


o หน่ วยวัด
การเปลีย่ นหน่ วย
- เปลีย่ นจาก หน่ วยทีเ่ ล็ก ไปสู่ หน่ วยทีใ่ หญ่ กว่ า
เช่ น
เปลีย่ นจาก mm. ไปเป็ น m.

เปลีย่ นจาก inch ไปเป็ น m.

นา conversion factor ไป หาร


o หน่ วยวัด
การเปลีย่ นหน่ วย
ตัวอย่ าง 1
ถ้ าต้ องการเปลีย่ น 2500 m ให้ เป็ น km
จาก 1 km = 103 m
ดังนั้น
2500 m = 2500/103 km
= 2.5 km
o หน่ วยวัด
การเปลีย่ นหน่ วย
ตัวอย่ าง 2
ถ้ าต้ องการเปลีย่ น 254 cm ให้ เป็ น inch
จาก 1 inch = 2.54 cm
ดังนั้น
254 cm = 254/2.54 inch
= 100 inch
o หน่ วยวัด
การเปลีย่ นหน่ วย

- เปลีย่ นจาก หน่ วยทีใ่ หญ่ ไปสู่ หน่ วยทีเ่ ล็กกว่ า


เช่ น
เปลีย่ นจาก m. ไปเป็ น mm.

เปลีย่ นจาก m. ไปเป็ น inch

นา conversion factor ไป คูณ


o หน่ วยวัด
การเปลีย่ นหน่ วย
ตัวอย่ าง 3
ถ้ าต้ องการเปลีย่ น 2.5 km ให้ เป็ น m
จาก 1 km = 103 m
ดังนั้น
2.5 km = 2.5*103 m
= 2500 m
o หน่ วยวัด
การเปลีย่ นหน่ วย
ตัวอย่ าง 4
ถ้ าต้ องการเปลีย่ น 100 inch ให้ เป็ น cm
จาก 1 inch = 2.54 cm
ดังนั้น
100 inch = 100*2.54 cm
= 254 cm
o หน่ วยวัด
การเปลีย่ นหน่ วย
การหา conversion factor
ถ้ าต้ องการเปลีย่ นชั่วโมง , h เป็ นวินาที, s

1 h = 60 min และ 1 min = 60 s

1 h = 60*60 = 3600 s
o หน่ วยวัด
การเปลีย่ นหน่ วย

ถ้ าต้ องการเปลีย่ น km/h เป็ น m/s


จาก 1 km = 103 m และ 1 h = 3600 s
o หน่ วยวัด
การเปลีย่ นหน่ วย
ถ้ าต้ องการเปลีย่ น km/h เป็ น m/s ให้ เอา 5/18 ไป
คูณ

ถ้ าต้ องการเปลีย่ น m/s เป็ น km/h ให้ เอา 5/18 ไป


หาร
ตัวอย่าง 5 จงเปลี่ยนอัตราเร็ว 36 ไมล์/ชั่วโมงให้
เป็นเมตร/วินาที เมื่อ 1 ไมล์ = 1.6 km
วิธีทา 1 ไมล์ = 1.6 km = 1600 m
1 h = 3600 s
ตั ว อย่ า งที่ 6 ถั ง บรรจุ น้ ามั น รถยนต์ มี น้ ามั น ในถั ง 10
ลิตร สถานีบริการน้ามันเติมน้ามันด้วยอัตรา 5 ลิตร/นาที
ถ้ า เติ ม น้ ามั น เป็ น เวลา 96 วิ น าที จะมี น้ ามั น ภายในถั ง
ทั้งหมดเท่าไร
วิธีทา
ปริมาณน้ามันทั้งหมด = มีอยู่เดิม + ที่เติม
มีอยู่เดิม = 10 ลิตร
ดังนั้น ถ้ าเติมนา้ มันเป็ นเวลา 96 วินาที

จะได้ นา้ มัน

ปริมาณน้ามันทั้งหมด = มีอยู่เดิม + ที่เติม


= 10 + 8 L
= 18 L ตอบ
35

HOME WORK # I
The research submersible ALVIN is diving at a
speed of 36.5 fathoms per minute.

a. Express this speed in meters per second. A


fathoms (fath) is precisely 6 ft.

b. What is this speed in miles per houre?

c. What is this speed in light-years per year?


ปริมาณทางฟิสิกส์
ปริ มาณทางฟิ สิ กส์มีกี่ประเภท ?
เวกเตอร์
ปริมาณต่ างๆ ในวิชาฟิ สิ กส์ แบ่ งเป็ น 2 ประเภท คือ

ปริมาณสเกลาร์ ปริมาณเวกเตอร์
ปริมาณทีร่ ะบุเพียงขนาดและ ปริมาณทีต่ ้ องระบุท้งั ขนาด
หน่ วย ก็ได้ ความสมบูรณ์ เช่ น และ ทิศทาง จึงได้ ความ
มวล ( kg ) พืน้ ที่ (m2) สมบูรณ์ เช่ น
ความถี่ ( Hz ) เวลา (s) อุณหภูมิ การกระจัด ความเร็ว
( K ) เป็ นต้ น ความเร่ ง แรง เป็ นต้ น
o เวกเตอร์
ปริมาณเวกเตอร์ โดยทัว่ ไปเขียนด้วยลูกศรที่มีความ
ยาวเท่ากับขนาดของเวกเตอร์ และมีทิศเดียวกับเวกเตอร์บน
ลูกศรจะมีอกั ษรย่อกากับว่าเป็ นเวกเตอร์ ของปริ มาณใด เช่น
o คุณสมบัตขิ องเวกเตอร์
• การเท่ากันของเวกเตอร์
o เวกเตอร์
ขนาดของเวกเตอร์

สั ญลักษณ์
หรือ
s,v,F,p
o เวกเตอร์
การบวกเวกเตอร์

การบวกเวกเตอร์ ทาได้ 2 วิธี คือ การบวก


เวกเตอร์ โดย วิธีเขียนรูป และ การบวก
เวกเตอร์ โดย วิธีคานวณ
o เวกเตอร์
การบวกเวกเตอร์ โดยวิธีเขียนรูป

ทาได้ โดยนาเวกเตอร์ ทจี่ ะบวกมาต่ อกันให้ หัว


ลูกศรเรียงตามกัน โดยผลรวมหรือ เวกเตอร์ ลพั ธ์ คือ
เวกเตอร์ ทลี่ ากจากหางลูกศรของเวกเตอร์ แรกไปยังหัว
ลูกศรของเวกเตอร์ สุดท้ าย
o เวกเตอร์
การบวกเวกเตอร์ โดยวิธีเขียนรูป

3 หน่ วย
4 หน่ วย
+
ตัวอย่ าง 7
+ + +
A = 3 หน่ วย, B = 2 หน่ วย, C = 2 หน่ วย, D = 1 หน่ วย

จากการวัดเวกเตอร์ ลพั ธ์
มีขนาด 6 หน่ วย
o เวกเตอร์
คุณสมบัตกิ ารบวกของเวกเตอร์

กฎการสลับที่

กฎการเปลีย่ นกลุ่ม
o กฎการสลับที่

+
o กฎการเปลีย่ นกลุ่ม

+ +
o การบวกเวกเตอร์ โดยวิธีคานวณ
การบวกเวกเตอร์ โดยวิธีคานวณทาได้ ทลี ะ 2 เวกเตอร์
o การบวกเวกเตอร์ โดยวิธีคานวณ
o การบวกเวกเตอร์ โดยวิธีคานวณ
4 หน่ วย

2 หน่ วย
วิธีทา

จาก กฎโคไซน์ จะได้


o การลบเวกเตอร์
การลบเวกเตอร์ ทาได้ โดย การบวกกับเวกเตอร์ ที่
เป็ นลบ เช่ น

4 หน่ วย 2 หน่ วย
วิธีทา จากการบวกกับเวกเตอร์ที่เป็ นลบ

จากสมการ จะได้
จาก กฎไซน์ หาทิศทางของเวกเตอร์ จะได้ ว่า

เวกเตอร์ ลพั ธ์ มีขนาด 5.29 หน่ วย


o องค์ประกอบเวกเตอร์ในระบบพิกดั ฉาก
การแยกเวกเตอร์ เป็ นองค์ ประกอบของเวกเตอร์
y

x
y

x
o เวกเตอร์ หนึ่งหน่ วย ( Unit Vector )
เวกเตอร์ หนึ่งหน่ วย คือ เวกเตอร์ ที่มีขนาดหนึ่ง
หน่ วย และมีทิศเดียวกับเวกเตอร์ ที่สนใจ

จะได้ หรือ
o เวกเตอร์ หนึ่งหน่ วย ( Unit Vector )
a ˆ2
a x  ˆ
a 2
y

 4 2  ( 3) 2
 16  9
 25
5 Ans
และทิศทางเทียบแกน x จะได้
Ax 4
cos     0.8
A 5
Ay 3
cos      0.6 Ans
A 5
o ผลคูณของเวกเตอร์
ผลคูณเชิงสเกลาร์
o ผลคูณเชิงสเกลาร์
o ผลคูณเชิงสเกลาร์
Ex. จงหามุมระหว่ างเวกเตอร์ ท้งั 2 ดังนี้

วิธีทา
จาก
ดังนั้น
o ผลคูณเชิงเวกเตอร์

การครอสเวกเตอร์
o ผลคูณเชิงเวกเตอร์
o ผลคูณเชิงเวกเตอร์
o ผลคูณเชิงเวกเตอร์
กฎของผลคูณเชิงสเกลาร์
จงหา
1. A.B  B. A
2. A.( B  C )  A.B  A.C
a b  Ax Bx  Ay By  Az Bz
3. m( A.B)  (mA).B  A.(mB)
 3(1)  3(4)  (2)(2)
  3  12  4
  19
a  c  Ax C x  Ay C y  Az CZ
 3(2)  3(2)  ( 2)(1)
6 6 2
10
a  b  a  c   19  10   9

You might also like