You are on page 1of 1

น.ส.

บุญธิ ชา ลาลาภ 601110038

การควบคุมคุณภาพในหน่ วยปฏิบัติการภูมคิ ุ้มกันวิทยา

วัตถุประสงค์
เพื่อต้องการให้ผลตรวจการวิเคราะห์ถูกต้องและแม่นยำ สามารถนำไปรักษาหรื อติดตามผูป้ ่ วยได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
การควบคุมคุณภาพ ประกอบด้วยการควบคุมสามขั้นตอนหลัก
1. Pre analytical process : เป็ นการควบคุมขั้นตอนก่อนการวิเคราะห์ เช่น การใส่ anticoagulant หรื อ การเก็บสิ่ ง
ส่ งตรวจ โดยควรปฏิเสธสิ่ งส่ งตรวจที่มีลกั ษณะ lipemic, hemolysis ซึ่งจะไปรบกวนในกระบวนการตรวจโดยวิธี
Nephelometry หรื อ Turbidmetry
2. Analytical process : เป็ นการควบคุมขั้นตอนการวิเคราะห์ โดยการทำ IQC, EQA
3. Post analytical process : เป็ นการควบคุมขั้นตอนหลังการวิเคราะห์ เช่นการ รายงานผลทางห้องปฏิบตั ิการ

การควบคุมคุณภาพการวิเคราะห์ โดยใช้ Single rule


เป็ นการใช้กฏเดียวมาควบคุมคุณภาพในห้องปฏิบตั ิการ โดยสามารถตรวจพบความผิดพลาดได้ดี แต่มีความไวมากเกินไป และทำให้สิ้น
เปลืองทรัพยากรในการตรวจวิเคราะห์

การควบคุมคุณภาพการวิเคราะห์ โดยใช้ Six sigma และ Westgard’s multi-rules


เป็ นการใช้หลายกฏในการควบคุม ซึ่ งสามารถลดผลการเตือนลวง และสามารถค้นหาความผิดพลาดได้ดี
ขั้นตอนการทำ คือ เริ่ มจากการวางแผนและทำ method เพื่อหา ค่า mean และ SD ของห้องปฏิบตั ิการเอง จากนั้นหาค่า % Tea, %
Bias, % CV เพื่อหาค่า sigma matric และ หาค่า operating point ที่ IQC ให้ความเชื่อมัน่ การวิเคราะห์ที่ 90% สุ ดท้ายเลือก
OPspecs chart เพื่อหา IQC ที่เหมาะสม ที่สามารถหาความผิดพลาดได้ดี ( ≥90 %) และ การเตือนลวงต่ำที่สุด ( <5%)

ในกรณี ที่ QC-out ต้องตรวจหาความผิดพลาดที่เกิดระหว่างการวิเคราะห์ก่อน ห้ามทำซ้ำโดยทันที หรื อ ห้ามเปลี่ยน QC control


material โดยไม่คน้ หาสาเหตุ

สาเหตุของ QC-out
Systemic error : มักเกิดจากตวามผิดพลาดที่ส่งผลต่อเนื่องเช่น การเปลี่ยน หรื อ การเก็บรักษา Calibrator/ Reagent ที่ไม่ถูก
ต้อง
Random error : มักเกิดเมื่อใดก้ได้ ไม่สามารถคาดการณ์ เช่น เกิดจากฟองอากาศ หรื อ ไฟฟ้ ากระตุก

You might also like