You are on page 1of 55

ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 1

คานา
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ที่จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL
ที่ ส่ ง เสริ ม ความสามารถในการสื่ อ สารทางคณิ ต ศาสตร์ เรื่ อ ง ความสั ม พั น ธ์ แ ละฟั ง ก์ ชั น
ชั้น มัธ ยมศึ กษาปีที่ 4 ชุ ดนี้ จั ด ทาขึ้ นเพื่อ ส่ ง เสริ ม และสนั บสนุน ให้ผู้ เ รีย นทุ ก คน มี ค วามสามารถ
ในการเรียนรู้และพัฒนาความสามารถในการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ เกิดความคิดรวบยอดจากเนื้อหา
โดยสรุป ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง แก้ปัญ หาโดยเน้นประสบการณ์ตรง และ
ประเมิน ตนเอง ตามสาระการเรี ย นรู้ มาตรฐานการเรีย นรู้ค ณิต ศาสตร์ ของหลั กสู ตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งมีทั้งหมด 12 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 เรื่อง คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
ชุดที่ 2 เรื่อง ความสัมพันธ์
ชุดที่ 3 เรื่อง ฟังก์ชัน
ชุดที่ 4 เรื่อง ฟังก์ชันเชิงเส้น
ชุดที่ 5 เรื่อง ฟังก์ชันกาลังสอง y = a(x – h)2 + k
ชุดที่ 6 เรื่อง ฟังก์ชันกาลังสอง y = ax2 + bx + c
ชุดที่ 7 เรื่อง การแก้สมการและอสมการโดยใช้กราฟ
ชุดที่ 8 เรื่อง การแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้เรื่องฟังก์ชันและกราฟ
ชุดที่ 9 เรื่อง ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ชุดที่ 10 เรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันขั้นบันได
ชุดที่ 11 เรื่อง ชนิดและการดาเนินการของฟังก์ชัน
ชุดที่ 12 เรื่อง อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันประกอบ
โดยในชุดที่ 5 เรื่อง ฟังก์ชันกาลังสอง y= a(x – h)2 + k ประกอบด้วย คาชี้แจงสาหรับครู
คาแนะนาสาหรับนักเรียน แผนผังการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด
จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน ใบความรู้ แบบฝึกทักษะและแบบทดสอบหลังเรียน
โดยเนื้อหาแต่ละเรื่องมีตัวอย่างประกอบชัดเจน นักเรียนสามารถศึกษาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
ตามลาดับขั้นตอน พร้อมทั้งตรวจคาตอบที่ถูกต้องของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ได้ด้วยตนเอง
ผู้จั ด ท าหวั ง เป็ นอย่ า งยิ่ง ว่ า แบบฝึ ก ทั ก ษะคณิ ต ศาสตร์ ชุด ที่ 5 เรื่ อ ง ฟัง ก์ ชั น กาลั ง สอง
y= a(x – h)2 + k จะช่วยพัฒนาความคิดรวบยอด และส่งเสริมความสามารถในการสื่อสารทาง
คณิตศาสตร์ และเหมาะสมกับผู้เรียนทุกคน เหมาะสมสาหรับครูที่จะนาไปจัดการเรียนการสอน
นางนิกร ประวันตา
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 2

คาชี้แจงสาหรับครู

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชุดที่ 5 เรื่อง ฟังก์ชันกาลังสอง y= a(x – h)2 + k รายวิชา


คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ หน่วยการ
เรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน โดยในแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 5 เรื่อง ฟังก์ชัน
กาลังสอง y= a(x – h)2 + k ใช้เวลาจัดการเรียนรู้ 4 ชั่วโมง ประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้
5.1 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = ax2 (1 ชั่วโมง)
5.2 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = ax2+ k (1 ชั่วโมง)
5.3 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = a(x – h)2 (1 ชั่วโมง)
5.4 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = a(x – h)2+ k (1 ชั่วโมง).5 ฟังก์ชันกาลัง
ในแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 5 เรื่อง ฟังก์ชันกาลังสอง y= a(x – h)2 + k ประกอบด้วย
คาชี้แจงสาหรับครู คาแนะนาสาหรับนักเรียน แผนผังการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ มาตรฐาน
การเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน ใบความรู้ แบบฝึกทักษะที่มีแนวทาง
การหาคาตอบโดยใช้ เทคนิค KWDL แบบทดสอบหลังเรียน และภาคผนวกซึ่งประกอบด้ วยเฉลย
แบบทดสอบก่อนเรียน เฉลยแบบฝึกทักษะ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน แบบบันทึกคะแนนและเกณฑ์
การประเมิน ในการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดนี้ ครูผู้สอนควรปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้

ขัขั้น้นทีที่ ่11 ชี้แจงขั้นตอนการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะนี้ให้นักเรียนเข้าใจ

ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนก่อนศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้
ขัขั้น้นทีที่ ่22
ทาแบบฝึกทักษะและตรวจคาตอบตามเฉลยในภาคผนวกทีละแบบฝึกทักษะ

ขัขั้น้นทีที่ ่33 ดูแลให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนและให้คาแนะนาเมื่อนักเรียนพบปัญหา

ประเมินผลการเรียนของนักเรียนอย่างต่อเนื่องและให้แรงเสริม
ขัขั้น้นทีที่ ่44
ในการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน

ขัขั้น้นทีที่ 5่ 5 ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เมื่อศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้


และทาแบบฝึกทักษะเสร็จสิ้น

ขัขั้น้นทีที่ 6่ 6 บันทึกผลการประเมินหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะทุกครั้ง

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 3

คาแนะนาสาหรับนักเรียน

นัก เรี ยนควรปฏิ บั ติ ในการใช้ แ บบฝึ ก ทักษะคณิ ต ศาสตร์ ชุ ด ที่ 5 เรื่อง ฟังก์ชันกาลังสอง
y= a(x – h)2 + k ดัง นี้

ขั้นที่ 1 ศึกษาขั้นตอนการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ให้เข้าใจชัดเจน

ขั้นที่ 2 ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้


เวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้

ขั้นที่ 3 ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ตรวจคาตอบจากเฉลยในภาคผนวก


แล้วบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน

ศึกษาและทาความเข้าใจเนื้อหาจากใบความรู้และทาแบบฝึกทักษะ
ขั้นที่ 4 ด้วยตนเองและตรวจคาตอบจากเฉลยในภาคผนวกไปทีละแบบฝึกทักษะ
ตามลาดับเมื่อพบปัญหาให้ขอคาแนะนาจากครูทันที

ขั้นที่ 5 ทาแบบทดสอบหลังเรียน ตรวจคาตอบจากเฉลยในภาคผนวก


แล้วบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน

ประเมินผลว่านักเรียนผ่านเกณฑ์หรือไม่
ขั้นที่ 6  “ผ่านเกณฑ์การประเมิน” ให้นักเรียนศึกษาแบบฝึกทักษะชุดต่อไป
 “ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน” ให้นักเรียนย้อนกลับไปศึกษาและ
ทาความเข้าใจเนื้อหาจากใบความรู้และทาแบบฝึกทักษะด้วยตนเองใหม่

อ่านคาแนะนาให้เข้าใจและปฏิบัติตามให้ถูกต้อง
ก่อนที่จะลงมือทากิจกรรมในแบบฝึกทักษะ
และที่สาคัญต้องมีความซื่อสัตย์นะจ๊ะ

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 4

แผนผังการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 5

ศึกษาขั้นตอนการใช้แ บบฝึ ก ทั กษะคณิ ต ศาสตร์


ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้

ทาแบบทดสอบก่อนเรียน

ศึกษาใบความรู้ที่ 5.1-5.4
และทาแบบฝึ ก ทั กษะ
คณิ ต ศาสตร์

ศึกษาเนื้อหาสาระใบความรู้
ตัวอย่างการหาคาตอบตามเทคนิค KWDL
ในชุดที่ 5 ให้ครบตามกาหนดไว้
ศึกษาเนื้อหา
ทาแบบฝึ ก ทัก ษะ 5.1-5.4

ตรวจให้คะแนนด้วยตนเอง

ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
เก็บสถิติคะแนน
ทดสอบหลังเรียน
ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80

จบชุดที่ 5

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 5

สารบัญ
เรื่อง หน้า

คานา 1
คาชี้แจงสาหรับครู 2
คาแนะนาสาหรับนักเรียน 3
แผนผังการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ 4
สารบัญ 5
มาตรฐานการเรียนรู้ 6
ตัวชี้วัด 6
จุดประสงค์การเรียนรู้ 6
แบบทดสอบก่อนเรียนชุดที่ 5 เรื่อง ฟังก์ชันกาลังสอง y= a(x – h)2 + k 7
5.1 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = ax2 11
ใบความรู้ที่ 5.1 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = ax2 11
แบบฝึกทักษะที่ 5.1 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = ax2 17
5.2 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = ax2+ k 19
ใบความรู้ที่ 5.2 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = ax2+ k 19
แบบฝึกทักษะที่ 5.2 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = ax2+ k 24
5.3 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = a(x – h)2 26
ใบความรู้ที่ 5.3 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = a(x – h)2 26
แบบฝึกทักษะที่ 5.3 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = a(x – h)2 31
5.4 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = a(x – h)2+ k 33
ใบความรู้ที่ 5.4 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = a(x – h)2+ k 33
แบบฝึกทักษะที่ 5.4 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = a(x – h)2+ k 36
แบบทดสอบหลังเรียนชุดที่ 5 ฟังก์ชันกาลังสอง y= a(x – h)2 + k 38
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนชุดที่ 5 ฟังก์ชันกาลังสอง y= a(x – h)2 + k 44
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนชุดที่ 5 ฟังก์ชันกาลังสอง y= a(x – h)2 + k 44
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 5.1 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = ax2 45
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 5.2 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = ax2+ k 47
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 5.3 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = a(x – h)2 49
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 5.4 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = a(x – h)2+ k 51
บรรณานุกรม 53

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 6

มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วดั
/จุดประสงค์การเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 4 พีชคณิต สาระการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์
(mathematical model) อื่นๆ แทน สถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและ
นาไปใช้แก้ปัญหาได้
สาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ ต่าง ๆ ทาง
คณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

ตัวชี้วดั
ค 4.1 ม. 4 – 6 /3 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เขียนแสดง
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันในรูปต่าง ๆ เช่น ตาราง กราฟ และสมการ
ค 4.2 ม. 4 – 6 /4 สร้างความสัมพันธ์หรือฟังก์ชนั จากสถานการณ์หรือปัญหาและ
นาไปใช้ในการแก้ปัญหา
ค 6.1 ม. 4 – 6/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ในการสื่อสาร
การสื่อความหมายและการนาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถ
1. บอกความหมายของฟังก์ชันกาลังสองได้
2. เขียนและบอกลักษณะกราฟของฟังก์ชันกาลังสองได้
3. บอกลักษณะกราฟของฟังก์ชันกาลังสองในรูป y = ax2 ได้
4. บอกลักษณะกราฟของฟังก์ชันกาลังสองในรูป y = ax2+ k ได้
5. บอกลักษณะกราฟของฟังก์ชันกาลังสองในรูป y = a(x – h)2 ได้
6. บอกลักษณะกราฟของฟังก์ชันกาลังสองในรูป y = a(x – h)2+ k ได้

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 7

รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค31102) ชั้ น มัธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 4


คาชี้ แ จง ให้ เ ลือ กข้ อ ที่ ถูก ต้องที่ สุ ดเพียงคาตอบเดี ยว คะแนนเต็ ม 10 คะแนน เวลา 10 นาที

1.
ฟังก์ชันในข้อใดเป็นฟังก์ชันกาลังสอง
ก. y = 3x +1 ข. y = 4x2+3
ค. y = x + 4 ง. y = 3x+2
2.
ฟังก์ชันในข้อใดมีจุดต่าสุดที่จุด (0,0)
ก. y = x2 - 3 ข. y = 4x2
ค. y = x2 +3 ง. y = 3x2 - 3
3.
ฟังก์ชันในข้อใดมีจุดต่าสุดที่จุด (0,-4)
ก. y = 4x2 +4 ข. y = 4x2
ค. y = x2 - 4 ง. y = x2+ 4
4.
ฟังก์ชันในข้อใดมีจุดวกกลับที่จุด (0,3)
ก. y = 2x2 +3 ข. y = 3x2+1
ค. y = 2x2 -3 ง. y = 3x2

5.
จากกราฟเป็นกราฟของฟังก์ชันในข้อใด

ก. y = – (x – 5) 2
ข. y = – (x + 5) 2
ค. y = –x 2 – 5
ง. y = – x2 + 5

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 8

6.
กราฟในข้อใดเป็นกราฟของฟังก์ชัน y = 2x2
ก. ข.

ค. ง.

7.
กราฟในข้อใดเป็นกราฟของฟังก์ชัน y = -5x2
ก. ข.

ค. ง.

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 9

8.
ฟังก์ชันในข้อใดมีจุดวกกลับที่จุด (0,-2)
ก. y = x2 -3 ข. y = 4x2-2
ค. y = x2 +5 ง. y = 3x2

ใช้กราฟต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 9 – 10

9.
จากกราฟที่กาหนดให้เป็นกราฟของฟังก์ชันในข้อใด
ก. y = (x – 3) 2 + 5 ข. y = (x + 3) 2 – 5
ค. y = (x – 3) 2 – 5 ง. y = (x – 5) 2 – 3

10.
จากกราฟที่กาหนดให้ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. Rf = (–,–3] ข. ค่าต่าสุด คือ y = – 5
ค. Df = R ง. จุดวกกลับ คือ (–3, –5)

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 10

กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรียน

ชื่อ – นามสกุล ..................................................................... ชั้น ................. เลขที่ ...........

คาชี้แจง จงทาเครื่องหมายกากบาท ( × ) ลงในกระดาษคาตอบ

ข้อที่ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเสร็จแล้ว
ไป...เรียนรู้ฟังก์ชันกาลังสองกันเลย

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 11

ความหมายของฟังก์ชันกาลังสอง
ฟังก์ชันกาลังสอง (quadratic function) คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = ax2 + bx + c
เมื่อ a, b และ c เป็นจานวนจริงและ a  0 ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันขึ้นอยู่กับค่าของ
a, b และ c ถ้า a > 0 กราฟเป็นเส้นโค้งหงาย และ a < 0 กราฟเป็นเส้นโค้งคว่า

กราฟของฟังก์ชันกาลังสองในรูปนี้มีชื่อว่า พาราโบลา
เช่น
1) y = 2x2 + 3x – 10 เมื่อ a = 2 , b = 3 และ c = -1
2) y = x2 + 1 เมื่อ a = 1 , b = 0 และ c = 1
2
3) y = -x + 2x + 1 เมื่อ a = -1 , b = 2 และ c = 1

ฟังก์ชันกาลังสอง
ได้สิคะ ซึ่งลักษณะของกราฟที่กาหนด
y = ax2 + bx + c
ด้วย a, h และ k ตัวอย่างต่อไปนี้
สามารถจัดให้อยู่ในรูป
จะได้ศึกษา กราฟที่ถูกกาหนดด้วย
y = a(x – h)2+ k ได้ไหมครับ
สมการ y = ax2 เมื่อ a  0
ไปศึกษาเรียนรู้กันเลย

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 12

กรณีที่ 1 กราฟของฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป y = ax2 เมื่อ a  0

ตัวอย่างที่ 1
จงเขียนกราฟจากสมการต่อไปนี้ 1) y = x2 2) y = 12 x2 3) y = 14 x2

แนวทางหาคาตอบ ตามเทคนิค KWDL


1. K (What we know) สิ่งทีโ่ จทย์กาหนดให้
นักเรียนรู้อะไรบ้างจากที่โจทย์กาหนดให้ สมการของฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป
y = ax2 เมื่อ a  0
2. W (What we want to know) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ
นักเรียนหาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบหรือ กราฟของสมการ
สิ่งที่นักเรียนต้องการรู้ 1) y = x2
2) y = 12 x2
3) y = 14 x2
3. D (What we do to find out)
นักเรียนจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ หรือสิ่งที่ตนเองต้องการรู้

วิธีแก้ปัญหา
วิธีทา 1) จาก y = x2 จะได้
x 1 2 3 0 -1 -2 -3 -4
y 1 4 9 0 1 4 9 16

1 2
2) จาก y = 2
x จะได้
x 2 4 6 0 -2 -4 -6
y 2 8 18 0 2 8 18

1 2
3) จาก y = 4
x จะได้
X 2 4 8 0 -2 -4 -8
Y 1 4 16 0 1 4 16

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 13

นาข้อมูลในตารางมาเขียนกราฟ
Y
y = 1 x2
2

y = 1 x2
4
2
y=x

4. L (What we learned) คาตอบและสิ่งที่ค้นพบ


นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ลักษณะของกราฟที่กาหนดด้วยสมการ y = ax2
เมื่อ a  0
1) เมื่อ a > 0 ได้พาราโบลาหงาย
2) จุดต่าสุดอยู่ที่ (0, 0)
3) แกนสมมาตรคือ แกน Y หรือเส้นตรง X = 0
4) เมื่อ a > 0 ค่าต่าสุดคือ 0
5) | a | ยิ่งมากกราฟยิง่ แคบ

รู้จักลักษณะของกราฟที่กาหนดด้วยสมการ
y = ax2 เมื่อ a  0 เมื่อ a > 0 กันแล้ว
ไปศึกษาตัวอย่างที่ 2 กันเลย

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 14

ตัวอย่างที่ 2
จงเขียนกราฟจากสมการต่อไปนี้
1) y = -x2 2) y = - 12 x2 3) y = - 14 x2

แนวทางหาคาตอบ ตามเทคนิค KWDL


1. K (What we know) สิ่งทีโ่ จทย์กาหนดให้
นักเรียนรู้อะไรบ้างจากที่โจทย์กาหนดให้ สมการของฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป
y = ax2 เมื่อ a  0
2. W (What we want to know) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ
นักเรียนหาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบหรือ กราฟของสมการ
สิ่งที่นักเรียนต้องการรู้ 1) y = -x2
2) y = - 12 x2
3) y = - 14 x2
3. D (What we do to find out)
นักเรียนจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ หรือสิ่งที่ตนเองต้องการรู้

วิธีแก้ปัญหา
วิธีทา 1) จาก y = - x2 จะได้
x 1 2 3 0 -1 -2 -3
y -1 -4 -9 0 -1 -4 -9
2) จาก y = - 12 x2 จะได้
x 2 4 6 0 -2 -4 -6
y -2 -8 -18 0 -2 -8 -18
3) จาก y = - 14 x2 จะได้
x 2 4 8 0 -2 -4 -8
y -1 -4 -16 0 -1 -4 -16

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 15

นาข้อมูลในตารางมาเขียนกราฟ
Y

y = -x2
y = - 1 x2
4
2
y = -1 x
2

4. L (What we learned) คาตอบและสิ่งที่ค้นพบ


นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ลักษณะของกราฟที่กาหนดด้วยสมการ y = ax2
เมื่อ a  0
1) เมื่อ a < 0 ได้พาราโบลาคว่า
2) จุดสูงสุดอยู่ที่ (0, 0)
3) แกนสมมาตรคือ แกน Y หรือเส้นตรง X = 0
4) เมื่อ a < 0 ค่าสูงสุดคือ 0
5) | a | ยิ่งมากกราฟยิง่ แคบ

รู้จักลักษณะของกราฟที่กาหนดด้วยสมการ
y = ax2 เมื่อ a  0 เมื่อ a < 0 กันแล้ว
ไปดูสรุปลักษณะกราฟทั้ง 2 กรณีต่อเลย

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 16

สรุปลักษณะของกราฟที่กาหนดด้วยสมการ y = ax2 เมื่อ a  0


1) เมื่อ a > 0 ได้พาราโบลาหงาย จุดต่าสุดอยู่ที่ (0, 0)
เมื่อ a < 0 ได้พาราโบลาคว่า จุดสูงสุดอยู่ที่ (0, 0)

a เป็ นบวกกราฟที่ ไ ด้จ ะเป็ น


กราฟหงายได้ f(x) = ax2
จุดต่าสุดของกราฟอยู่ที่ (0, 0)

a เป็ น ลบกราฟที่ ไ ด้ จ ะเป็ น


กราฟคว่าได้ f(x) = ax2
จุดสูงสุดของกราฟอยู่ที่ (0, 0)

2) แกนสมมาตรคือ แกน Y หรือเส้นตรง X = 0 ,


สมการแกนสมมาตรคือ X = 0
3) เมื่อ a > 0 ค่าต่าสุดคือ 0 และ เมื่อ a < 0 ค่าสูงสุดคือ 0
4) | a | ยิ่งมากกราฟยิ่งแคบ

a เพิ่มขึ้นกราฟแคบ
เบนเข้าหาแกน Y

a ลดลงกราฟกว้าง
เบนเข้าหาแกน X

ศึกษาเนื้อกันแล้ว...ไปทาแบบฝึกทักษะกันเลย

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 17

แบบฝึกทักษะที่ 5.1 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = ax2

คาชี้แจง 1) ให้นักเรียนเติมคาตอบหรือใส่เครื่องหมาย  ลงในตาราง (4 คะแนน)


( ส่งเสริมความสามารถในการสื่อสารด้านการแสดงแนวคิดทางคณิตศาสตร์)

กราฟ สมการ ค่า จุด


ข้อที่ สมการ
หงาย คว่า แกนสมมาตร สูงสุด ต่าสุด สูงสุด ต่าสุด
1. y = 5x2
2. y = -3x2
3. y = 12x2
4. y = -6x2

2) จงเขียนกราฟของ y = 2x2 และ y = -2x2 โดยใช้แกนคู่เดียวกัน (6 คะแนน)


แนวทางหาคาตอบ ตามเทคนิค KWDL
1. K (What we know) สิ่งทีโ่ จทย์กาหนดให้
นักเรียนรู้อะไรบ้างจากที่โจทย์กาหนดให้ .............................................................................

2. W (What we want to know) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ


นักเรียนหาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบหรือ .............................................................................
สิ่งที่นักเรียนต้องการรู้ .............................................................................

3. D (What we do to find out)


นักเรียนจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ หรือสิ่งที่ตนเองต้องการรู้

วิธีแก้ปัญหา

2.1) y = 2x2 2.2) y = -2x2

x 1 2 3 0 -1 -2 x 1 2 3 0 -1 -2
y y

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 18

นาข้อมูลในตารางมาเขียนกราฟ

4. L (What we learned) คาตอบและสิ่งที่ค้นพบ


นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ .............................................................................
.............................................................................
.............................................................................
.............................................................................
.............................................................................
.............................................................................
.............................................................................

ไปศึกษาฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ
y = ax2+ k ต่อกันเลย

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 19

จากฟังก์ชันกาลังสอง
y = a(x – h)2+ k ถ้า h = 0 ฟังก์ชันกาลังสอง
ถ้า h = 0 จะมีลักษณะ จะอยู่ในรูปแบบ y = ax2+ k
อย่างไรครับ ไปศึกษาเรียนรู้กันเลย

กรณีที่ 2 กราฟของฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป y = ax2 + k เมื่อ a  0, k  0

ตัวอย่างที่ 1
จงเขียนกราฟจากสมการต่อไปนี้ 1) y = x2 + 2 2) y = -x2 + 2

แนวทางหาคาตอบ ตามเทคนิค KWDL


1. K (What we know) สิ่งทีโ่ จทย์กาหนดให้
นักเรียนรู้อะไรบ้างจากที่โจทย์กาหนดให้ สมการของฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป
y = ax2 + k เมื่อ a  0, k  0
2. W (What we want to know) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ
นักเรียนหาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบหรือ กราฟของสมการ
สิ่งที่นักเรียนต้องการรู้ 1) y = x2 + 2 2) y = -x2 + 2

3. D (What we do to find out)


นักเรียนจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ หรือสิ่งที่ตนเองต้องการรู้

วิธีแก้ปัญหา
วิธีทา 1) y = x2 + 2 2) y = -x2 + 2 จะได้

X -3 -2 -1 0 1 2 3
y = x2 + 2 11 6 3 2 3 6 11
y = -x2 + 2 -7 -2 1 2 1 -2 -7

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 20

นาข้อมูลในตารางมาเขียนกราฟ
Y

y = x2 + 2

2 (0, 2)
1
-2-1 1 2
X
-1
-2

y = -x2 + 2

4. L (What we learned) คาตอบและสิ่งที่ค้นพบ


นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ลักษณะกราฟของฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป
y = ax2 + k เมื่อ a  0, k  0
1) ถ้า a > 0 ได้พาราโบลาหงาย
จุดต่าสุดอยู่ที่ (0, k) ค่าต่าสุด = k
ถ้า a < 0 ได้พาราโบลาคว่า
จุดสูงสุดอยู่ที่ (0, k) ค่าสูงสุด = k
2) แกนสมมาตรคือ แกน Y หรือเส้นตรง x = 0
สมการแกนสมมาตรคือ x = 0
3) ถ้า k > 0 จุดวกกลับอยู่เหนือแกน X
ถ้า k < 0 จุดวกกลับอยู่ใต้แกน X
4) ถ้า a, k มีเครื่องหมายเหมือนกัน
กราฟไม่ตัดแกน X
ถ้า a, k มีเครื่องหมายต่างกัน
กราฟจะตัดแกน X

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 21

ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ
ไปศึกษาตัวอย่างที่ 2 กันเลย

ตัวอย่างที่ 2
จงเขียนกราฟจากสมการต่อไปนี้
1) y = x2 – 4 2) y = – x2 – 4

แนวทางหาคาตอบ ตามเทคนิค KWDL


1. K (What we know) สิ่งทีโ่ จทย์กาหนดให้
นักเรียนรู้อะไรบ้างจากที่โจทย์กาหนดให้ สมการของฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป
y = ax2 + k เมื่อ a  0, k  0

2. W (What we want to know) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ


นักเรียนหาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบหรือ กราฟของสมการ
สิ่งที่นักเรียนต้องการรู้ 1) y = x2 – 4
2) y = –x2 – 4

3. D (What we do to find out)


นักเรียนจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ หรือสิ่งที่ตนเองต้องการรู้

วิธีแก้ปัญหา
วิธีทา

x -3 -2 -1 0 1 2 3
y = x2 – 4 5 0 -3 -4 -3 0 5
y = –x2 – 4 -13 -8 -5 -4 -5 -8 -13

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 22

นาข้อมูลในตารางมาเขียนกราฟ
Y

y = x2– 4

(0, – 4)

y = –x2 – 4

4. L (What we learned) คาตอบและสิ่งที่ค้นพบ


นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ลักษณะกราฟของฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป
y = ax2 + k เมื่อ a  0, k  0
1) ถ้า a > 0 ได้พาราโบลาหงาย
จุดต่าสุดอยู่ที่ (0, k) ค่าต่าสุด = k
ถ้า a < 0 ได้พาราโบลาคว่า
จุดสูงสุดอยู่ที่ (0, k) ค่าสูงสุด = k
2) แกนสมมาตรคือ แกน Y หรือเส้นตรง x = 0
สมการแกนสมมาตรคือ x = 0
3) ถ้า k > 0 จุดวกกลับอยู่เหนือแกน X
ถ้า k < 0 จุดวกกลับอยู่ใต้แกน X
4) ถ้า a, k มีเครื่องหมายเหมือนกัน
กราฟไม่ตัดแกน X
ถ้า a, k มีเครื่องหมายต่างกัน
กราฟจะตัดแกน X

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 23

รู้จักลักษณะของกราฟที่กาหนด
ด้วยสมการ y = ax2 + k กันแล้ว
ไปดูสรุปลักษณะกราฟทั้ง 2 กรณีต่อเลย

สรุปลักษณะของกราฟที่กาหนดด้วยสมการ y = ax2 + k เมื่อ a  0, k  0


1) เมื่อ a > 0 ได้พาราโบลาหงาย จุดต่าสุดอยู่ที่ (0, k) ค่าต่าสุด = k
เมื่อ a < 0 ได้พาราโบลาคว่า จุดสูงสุดอยู่ที่ (0, k) ค่าสูงสุด = k
2) แกนสมมาตรคือ แกน Y หรือเส้นตรง x = 0
สมการแกนสมมาตรคือ x = 0

3) ถ้า k > 0 จุดวกกลับอยู่เหนือแกน X


ถ้า k < 0 จุดวกกลับอยู่ใต้แกน X
ถ้า a, k มีเครื่องหมายเหมือนกัน กราฟไม่ตัดแกน X
ถ้า a, k มีเครื่องหมายต่างกัน กราฟจะตัดแกน X

2 k เป็นบวกกราฟเลื่อนขึ้น
k เป็นลบกราฟเลื่อนลงด้วยf(x) = ax + k f(x) = ax2+ k
ด้วยระยะ kหน่วย
ระยะ k หน่วย จุดต่าสุดหรือ จุดต่าสุดหรือสูงสุด
สูงสุดของกราฟอยู่ที่ (0, k) ของกราฟอยู่ที่ (0, k)

เห็นไหมคะนักเรียนว่า......ไม่ยากเลย
ศึกษาเนื้อกันแล้ว...ไปทาแบบฝึกทักษะกันเลย

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 24

แบบฝึกทักษะที่ 5.2 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y= ax2+ k

คาชี้แจง 1) ให้นักเรียนเติมคาตอบหรือใส่เครื่องหมาย ลงในตาราง (4 คะแนน)


( ส่งเสริมความสามารถในการสื่อสารด้านการแสดงแนวคิดทางคณิตศาสตร์)

กราฟ สมการ ค่า จุด


ข้อที่ สมการ
หงาย คว่า แกนสมมาตร สูงสุด ต่าสุด สูงสุด ต่าสุด
1. y = –2x2 – 5
2. y = 3x2 + 5
3. y = –5x2 + 6
4. y = 4x2 – 7

2) จงเขียนกราฟของ y = 2x2 + 2 และ y = –2x2 – 2 โดยใช้แกนคู่เดียวกัน (6 คะแนน)


แนวทางหาคาตอบ ตามเทคนิค KWDL
1. K (What we know) สิ่งทีโ่ จทย์กาหนดให้
นักเรียนรู้อะไรบ้างจากที่โจทย์กาหนดให้ .............................................................................

2. W (What we want to know) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ


นักเรียนหาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบหรือ .............................................................................
สิ่งที่นักเรียนต้องการรู้ .............................................................................

3. D (What we do to find out)


นักเรียนจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ หรือสิ่งที่ตนเองต้องการรู้

วิธีแก้ปัญหา

2.1) y = 2x2 + 2 2.2) y = –2x2 – 2

x 1 2 3 0 -1 -2 -3 x 1 2 3 0 -1 -2 -3
y y

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 25

นาข้อมูลในตารางมาเขียนกราฟ

4. L (What we learned) คาตอบและสิ่งที่ค้นพบ


นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ .............................................................................
.............................................................................
.............................................................................
.............................................................................
.............................................................................
.............................................................................
.............................................................................

นักเรียนทุกคนเก่งจริงๆ
ขอปรบมือให้ดังๆ ...
ไปศึกษา y = a(x – h)2 ต่อกันเลย

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 26

จากฟังก์ชันกาลังสอง
y = a(x – h)2+ k ถ้า h = 0 ฟังก์ชันกาลังสอง
ถ้า k = 0 จะมีลักษณะ จะอยู่ในรูปแบบ y = a(x – h)2
อย่างไรครับ ไปศึกษาเรียนรู้กันเลย

กรณีที่ 3 กราฟของฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป y = a(x – h)2 เมื่อ a  0, h  0

ตัวอย่างที่ 1
จงเขียนกราฟจากสมการต่อไปนี้ 1) y = (x – 3)2 2) y = –2(x – 3)2

แนวทางหาคาตอบ ตามเทคนิค KWDL


1. K (What we know) สิ่งทีโ่ จทย์กาหนดให้
นักเรียนรู้อะไรบ้างจากที่โจทย์กาหนดให้ สมการของฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป
y = a(x – h)2 เมื่อ a  0, h  0
2. W (What we want to know) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ
นักเรียนหาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบหรือ กราฟของสมการ
สิ่งที่นักเรียนต้องการรู้ 1) y = (x – 3)2 2) y = –2(x – 3)2

3. D (What we do to find out)


นักเรียนจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ หรือสิ่งที่ตนเองต้องการรู้

วิธีแก้ปัญหา
วิธีทา 1) y = (x – 3)2 2) y = –2(x – 3)2 จะได้

X 0 2 3 4 5 6 7
y = (x – 3)2 9 1 0 1 4 9 16
y = –2(x – 3)2 -18 -2 0 -2 -8 -18 -32

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 27

นาข้อมูลในตารางมาเขียนกราฟ
Y

y = (x – 3)2
สมการ
แกนสมมาตร
x=3

(0, 0) X

สมการ
แกนสมมาตร
x=3
y = -2(x – 3)2

4. L (What we learned) คาตอบและสิ่งทีค่ ้นพบ


นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ลักษณะกราฟของฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป
y = a(x – h)2 เมื่อ a  0, h  0
1) ถ้า a > 0 ได้พาราโบลาหงาย
จุดต่าสุดอยู่ที่ (h, 0) ค่าต่าสุด = 0
ถ้า a < 0 ได้พาราโบลาคว่า
จุดสูงสุดอยู่ที่ (h, 0) ค่าสูงสุด = 0
2) แกนสมมาตรคือ แกน Y หรือ เส้นตรง x = h
สมการแกนสมมาตรคือ x = h
3) h > 0 แกนสมมาตรอยู่ทางขวาของแกน Y
h < 0 แกนสมมาตรอยู่ทางซ้ายของแกน Y

ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ
ไปศึกษาตัวอย่างที่ 2 กันเลย

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 28

ตัวอย่างที่ 2
จงเขียนกราฟจากสมการต่อไปนี้
1) y = (x + 4)2 2) y = –2(x + 2)2

แนวทางหาคาตอบ ตามเทคนิค KWDL


1. K (What we know) สิ่งทีโ่ จทย์กาหนดให้
นักเรียนรู้อะไรบ้างจากที่โจทย์กาหนดให้ สมการของฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป
y = a(x – h)2 เมื่อ a  0, h  0

2. W (What we want to know) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ


นักเรียนหาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบหรือ กราฟของสมการ
สิ่งที่นักเรียนต้องการรู้ 1) y = (x + 4)2
2) y = –2(x + 2)2

3. D (What we do to find out)


นักเรียนจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ หรือสิ่งที่ตนเองต้องการรู้

วิธีแก้ปัญหา
วิธีทา

x -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2
2
y = (x + 4) 1 0 1 4 9 16 25 36
2
y = –2(x + 2) -18 -8 -2 0 -2 -8 -18 -32

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 29

นาข้อมูลในตารางมาเขียนกราฟ
Y

y = (x + 4)2
สมการแกน
สมมาตร
x = -4

(-2, 0)
(-4, 0) X

สมการ
แกนสมมาตร
x = -2
y = -2(x + 2)2

4. L (What we learned) คาตอบและสิ่งที่ค้นพบ


นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ลักษณะกราฟของฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป
y = a(x – h)2 เมื่อ a  0, h  0
1) ถ้า a > 0 ได้พาราโบลาหงาย
จุดต่าสุดอยู่ที่ (h, 0) ค่าต่าสุด = 0
ถ้า a < 0 ได้พาราโบลาคว่า
จุดสูงสุดอยู่ที่ (h, 0) ค่าสูงสุด = 0
2) แกนสมมาตรคือแกน Y หรือ เส้นตรง x = h
สมการแกนสมมาตรคือ x = h
3) h > 0 แกนสมมาตรอยู่ทางขวาของแกน Y
h < 0 แกนสมมาตรอยู่ทางซ้ายของแกน Y

รู้จักลักษณะของกราฟที่กาหนด
ด้วยสมการ y = a(x – h)2 กันแล้ว
ไปดูสรุปลักษณะกราฟทั้ง 2 กรณีต่อเลย

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 30

สรุปลักษณะของกราฟที่กาหนดด้วยสมการ y = a(x – h)2 เมื่อ a  0, h  0


1) เมื่อ a > 0 ได้พาราโบลาหงาย จุดต่าสุดอยู่ที่ (h, 0) ค่าต่าสุด = 0
เมื่อ a < 0 ได้พาราโบลาคว่า จุดสูงสุดอยู่ที่ (h, 0) ค่าสูงสุด = 0
2) แกนสมมาตรคือ เส้นตรง x = h
สมการแกนสมมาตรคือ x = h

3) h > 0 แกนสมมาตรอยู่ทางขวาของแกน Y
h < 0 แกนสมมาตรอยูท่ างซ้ายของแกน Y

h 2เป็นบวกกราฟเลื่อน
f(x) = a(x - h)2 f(x) = a(x - h)ขวาด้ วยระยะ
h เป็นลบกราฟเลื่อนซ้าย  h หน่วย จุดต่าสุด
ด้วยระยะ h หน่วย หรือสูงสุดของกราฟ
จุดต่าสุดหรือสูงสุดของ อยู่ที่ (h, 0)
กราฟอยู่ที่ (h, 0)

รู้จักลักษณะของกราฟที่กาหนด
ด้วยสมการ y = a(x – h)2 กันแล้ว
ไปฝึกทักษะการเขียนกราฟต่อเลย

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 31

แบบฝึกทักษะที่ 5.3 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y= a(x – h)2

คาชี้แจง 1) ให้นักเรียนเติมคาตอบหรือใส่เครื่องหมาย  ลงในตาราง (4 คะแนน)


( ส่งเสริมความสามารถในการสื่อสารด้านการแสดงแนวคิดทางคณิตศาสตร์)

กราฟ สมการ ค่า จุด


ข้อที่ สมการ
หงาย คว่า แกนสมมาตร สูงสุด ต่าสุด สูงสุด ต่าสุด
1. y = (x + 8)2
2. y = -(x + 3)2
3. y = 2(x – 3)2
4. y = -3(x – 2)2

2) จงเขียนกราฟของ y = (x + 6)2 และ y = –(x – 8)2 โดยใช้แกนคู่เดียวกัน (6 คะแนน)


แนวทางหาคาตอบ ตามเทคนิค KWDL
1. K (What we know) สิ่งทีโ่ จทย์กาหนดให้
นักเรียนรู้อะไรบ้างจากที่โจทย์กาหนดให้ .............................................................................

2. W (What we want to know) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ


นักเรียนหาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบหรือ .............................................................................
สิ่งที่นักเรียนต้องการรู้ .............................................................................

3. D (What we do to find out)


นักเรียนจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ หรือสิ่งที่ตนเองต้องการรู้

วิธีแก้ปัญหา

2.1) y = (x + 6)2 2.2) y = –(x – 8)2

x -4 -5 -6 -7 -8 -9 x 6 7 8 9 10 11
y y

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 32

นาข้อมูลในตารางมาเขียนกราฟ

4. L (What we learned) คาตอบและสิ่งที่ค้นพบ


นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ .............................................................................
.............................................................................
.............................................................................
.............................................................................
.............................................................................
.............................................................................
.............................................................................

นักเรียนทุกคนเก่งจริงๆ
ขอปรบมือให้ดังๆ ...ไปศึกษา
y = a(x – h)2 +k ต่อกันเลย

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 33

เมื่อ a  0, h  0 และ k  0
ฟังก์ชันกาลังสองจะอยู่ในรูปแบบ y = a(x – h)2 + k
ลักษณะของกราฟจะเป็นอย่างไรไปศึกษาเรียนรู้กันเลย

กรณีที่ 4 ฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป y = a(x – h)2+ k เมื่อ a  0, h  0, k  0

ตัวอย่างที่ 1
จงเขียนกราฟจากสมการต่อไปนี้
1) y = -(x + 2)2 – 4 2) y = -(x + 2)2 + 2
3) y = (x – 3)2 – 5 4) y = (x – 3)2 + 1
แนวทางหาคาตอบ ตามเทคนิค KWDL
1. K (What we know) สิ่งทีโ่ จทย์กาหนดให้
นักเรียนรู้อะไรบ้างจากที่โจทย์กาหนดให้ สมการของฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป
y = a(x – h)2+ k เมื่อ a  0, h  0, k  0
2. W (What we want to know) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ
นักเรียนหาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบหรือ กราฟของสมการ
สิ่งที่นักเรียนต้องการรู้ 1) y = -(x + 2)2 – 4 2) y = -(x + 2)2 + 2
3) y = (x – 3)2 – 5 4) y = (x – 3)2 + 1
3. D (What we do to find out)
นักเรียนจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ หรือสิ่งที่ตนเองต้องการรู้

วิธีแก้ปัญหา
วิธีทา

x -4 -3 -2 0 x 2 3 4 5
y = -(x + 2)2 – 4 -8 -5 -4 -8 2
y = (x – 3) – 5 -4 -5 -4 -1
y = -(x + 2)2 + 2 -2 1 2 -2 y = (x – 3)2 + 1 2 1 2 5

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 34

นาข้อมูลในตารางมาเขียนกราฟ
Y
y = (x – 3)2 + 1

(-2, 2) y = (x – 3)2 – 5
(3, 1)
X
2
y = -(x + 2) + 2
(-2, -4)
(-3, -5)

y = -(x + 2)2 – 4

4. L (What we learned) คาตอบและสิ่งที่ค้นพบ


นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ เมื่อ a > 0 ได้พาราโบลาหงาย
จุดต่าสุดอยู่ที่ (h, k) ค่าต่าสุด = k
เมื่อ a < 0 ได้พาราโบลาคว่า
จุดสูงสุดอยู่ที่ (h, k) ค่าสูงสุด = k
ถ้า k > 0 จุดวกกลับอยู่เหนือแกน X
ถ้า k < 0 จุดวกกลับอยู่ใต้แกน X
แกนสมมาตรคือ แกน Y หรือ เส้นตรง x = h
สมการแกนสมมาตรคือ x = h
ถ้า h>0 แกนสมมาตรอยู่ทางขวามือของแกน Y
ถ้า h<0 แกนสมมาตรอยู่ทางซ้ายมือของแกน Y
ถ้า a และ k มีเครื่องหมายเหมือนกัน
กราฟไม่ตัดแกน X
ถ้า a และ k มีเครื่องหมายต่างกัน
กราฟตัดแกน X

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 35

สรุป

ลักษณะของกราฟที่กาหนดด้วยสมการ y = a(x – h)2 + k


เมื่อ a > 0 ได้พาราโบลาหงาย จุดต่าสุดอยู่ที่ (h, k) ค่าต่าสุด = k
เมื่อ a < 0 ได้พาราโบลาคว่า จุดสูงสุดอยู่ที่ (h, k) ค่าสูงสุด = k
ถ้า k > 0 จุดวกกลับอยู่เหนือแกน X
ถ้า k < 0 จุดวกกลับอยู่ใต้แกน X
แกนสมมาตร คือ เส้นตรง x = h สมการแกนสมมาตรคือ x = h
ถ้า h > 0 แกนสมมาตรอยู่ทางขวามือของแกน Y
ถ้า h < 0 แกนสมมาตรอยู่ทางซ้ายมือของแกน Y
ถ้า a และ k มีเครื่องหมายเหมือนกันกราฟไม่ตัดแกน X
ถ้า a และ k มีเครื่องหมายต่างกันกราฟตัดแกน X

เรียกจุด V ว่า จุดวกกลับ หรือ จุดยอด


กรณีที่ กราฟหงาย (a > 0) จะเรียกจุด V ว่า จุดต่าสุด
กรณีที่ กราฟคว่า (a < 0) จะเรียกจุด V ว่า จุดสูงสุด
เรียกเส้นปะว่า เส้นสมมาตร หรือ แกนสมมาตร

สมการ จุดวกกลับ สมการเส้นสมมาตร ค่าสูงสุดหรือต่าสุด


f(x) = ax2 (0,0) x=0 0
f(x) = ax2 + k (0,k) x=0 k
f(x) = a(x-h)2 (h,0) x=h 0
f(x) = a(x-h)2+ k (h,k) x=h k

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 36

แบบฝึกทักษะที่ 5.4 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y= a(x – h)2+ k

คาชี้แจง 1) ให้นักเรียนเติมคาตอบหรือใส่เครื่องหมาย ลงในตาราง (4 คะแนน)


( ส่งเสริมความสามารถในการสื่อสารด้านการแสดงแนวคิดทางคณิตศาสตร์)

กราฟ สมการ ค่า จุด


ข้อที่ สมการ
หงาย คว่า แกนสมมาตร สูงสุด ต่าสุด สูงสุด ต่าสุด
1. y = -(x + 8)2 – 6
2. y = 2(x – 4 )2 + 3
3. y =-4(x + 4)2 – 10
4. y= 3(x + 2)2 + 7

2) จงเขียนกราฟของ y = (x – 5)2 + 4 และ y = -(x + 5)2 – 3 โดยใช้แกนคู่เดียวกัน


(6 คะแนน)
แนวทางหาคาตอบ ตามเทคนิค KWDL
1. K (What we know) สิ่งทีโ่ จทย์กาหนดให้
นักเรียนรู้อะไรบ้างจากที่โจทย์กาหนดให้ .............................................................................

2. W (What we want to know) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ


นักเรียนหาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบหรือ .............................................................................
สิ่งที่นักเรียนต้องการรู้ .............................................................................

3. D (What we do to find out)


นักเรียนจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ หรือสิ่งที่ตนเองต้องการรู้

วิธีแก้ปัญหา
2.1) y = (x – 5)2 + 4 2.2) y = –(x + 5)2 – 3
x 6 5 4 3 2 x -5 -4 -3 -2
y y

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 37

นาข้อมูลในตารางมาเขียนกราฟ

4. L (What we learned) คาตอบและสิ่งที่ค้นพบ


นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ .............................................................................
.............................................................................
.............................................................................
.............................................................................
.............................................................................
.............................................................................
.............................................................................

นักเรียนทุกคนเก่งจริงๆ
ขอปรบมือให้ดังๆ ...
ไปทาแบบทดสอบหลังเรียนต่อได้เลย

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 38

รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค31102) ชั้ น มัธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 4


คาชี้ แ จง ให้ เ ลือ กข้ อ ที่ ถูก ต้องที่ สุ ดเพียงคาตอบเดี ยว คะแนนเต็ ม 10 คะแนน เวลา 10 นาที

1.
ฟังก์ชันในข้อใดเป็นฟังก์ชันกาลังสอง
ก. y = x + 4 ข. y = 3x+2
ค. y = 3x +1 ง. y = 4x2+3
2.
ฟังก์ชันในข้อใดมีจุดต่าสุดที่จุด (0,-4)
ก. y = 4x2 +4 ข. y = 4x2
ค. y = x2 - 4 ง. y = x2+ 4
3.
ฟังก์ชันในข้อใดมีจุดต่าสุดที่จุด (0,0)
ก. y = x2 - 3 ข. y = 4x2
ค. y = x2 +3 ง. y = 3x2 - 3

4.
จากกราฟเป็นกราฟของฟังก์ชันในข้อใด

ก. y = – (x – 5) 2
ข. y = – (x + 5) 2
ค. y = –x 2 – 5
ง. y = – x2 + 5

5.
ฟังก์ชันในข้อใดมีจุดวกกลับที่จุด (0,3)
ก. y = 2x2 +3 ข. y = 3x2+1
ค. y = 2x2 -3 ง. y = 3x2

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 39

6.
กราฟในข้อใดเป็นกราฟของฟังก์ชัน y = -5x2
ก. ข.

ค. ง.

7.
กราฟในข้อใดเป็นกราฟของฟังก์ชัน y = 2x2
ก. ข.

ค. ง.

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 40

ใช้กราฟต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 8 – 9

8.
จากกราฟที่กาหนดให้เป็นกราฟของฟังก์ชันในข้อใด
ก. y = (x – 3) 2 + 5 ข. y = (x + 3) 2 – 5
ค. y = (x – 3) 2 – 5 ง. y = (x – 5) 2 – 3

9.
จากกราฟที่กาหนดให้ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. Rf = (–,–3] ข. ค่าต่าสุด คือ y = – 5
ค. Df = R ง. จุดวกกลับ คือ (–3, –5)

10.
ฟังก์ชันในข้อใดมีจุดวกกลับที่จุด (0,-2)
ก. y = x2 -3 ข. y = 4x2-2
ค. y = x2 +5 ง. y = 3x2

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 41

กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบหลังเรียน

ชื่อ – นามสกุล ..................................................................... ชั้น ................. เลขที่ ...........

คาชี้แจง จงทาเครื่องหมายกากบาท ( × ) ลงในกระดาษคาตอบ

ข้อที่ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เป็นไงบ้างคะแบบทดสอบหลังเรียน
เรื่องฟังก์ชันกาลังสองไม่ยากเลย

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 42

แบบบันทึกคะแนน
แบบฝึกทักษะชุดที่ 5 เรื่อง ฟังก์ชันกาลังสอง y= a(x – h)2+ k

ชื่อ.............................................................เลขที่...........ชั้น...........ห้อง........

รายการ คะแนนเต็ ม คะแนนที่ไ ด้ ผลการประเมิน


แบบทดสอบก่อนเรี ยน 10
แบบฝึ ก ทั กษะที่ 5.1 10
แบบฝึ ก ทั กษะที่ 5.2 10
แบบฝึ ก ทั กษะที่ 5.3 10
แบบฝึ ก ทั กษะที่ 5.4 10
แบบทดสอบหลั งเรี ยน 10
รวม 60

เกณฑ์การประเมิน ในแต่ละชุด นักเรียนต้องทาแบบฝึกทักษะ ให้ได้คะแนน


ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เช่น แบบฝึกทักษะทีม่ ี 10 คะแนน นักเรียน
ต้องทาให้ได้ไม่น้อยกว่า 8 คะแนนจึงจะถือว่า “ผ่านเกณฑ์”

“ผ่านเกณฑ์” “ไม่ผ่านเกณฑ์”

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 43

เฉลยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน และเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 5

ชุดที่ 2
แฟกทอเรียลและวิธีเรียงสับเปลี่ยน

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 44

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน และเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 5

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 5
ข้อ คาตอบ ข้อ คาตอบ
1. ข. y = 4x2+3 6. ข.
2. ข. y = 4x2 7. ง.
3. ค. y = x2 - 4 8. ข. y = 4x2-2
4. ก. y = 2x2 +3 9. ข. y = (x + 3) 2 – 5
5. ง. y = – x2 + 5 10. ก. Rf = (–,–3]

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 5
ข้อ คาตอบ ข้อ คาตอบ
1. ง. y = 4x2+3 6. ง.
2. ค. y = x2 - 4 7. ข.
3. ข. y = 4x2 8. ข. y = (x + 3) 2 – 5
4. ง. y = – x 2 + 5 9. ก. Rf = (–,–3]
5. ก. y = 2x2 +3 10. ข. y = 4x2-2

ถ้านักเรียนทราบผลคะแนนแล้ว
อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่น่าพอใจ
ลองกลับไปศึกษาเนื้อหาได้อีกนะคะ...

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 45

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 5.1 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = ax2

คาชี้แจง 1) ให้นักเรียนเติมคาตอบหรือใส่เครื่องหมาย  ลงในตาราง (4 คะแนน)


( ส่งเสริมความสามารถในการสื่อสารด้านการแสดงแนวคิดทางคณิตศาสตร์)

กราฟ สมการ ค่า จุด


ข้อที่ สมการ
หงาย คว่า แกนสมมาตร สูงสุด ต่าสุด สูงสุด ต่าสุด
1. y = 5x2  - x = 0 - 0 - (0, 0)
2. y = -3x2 -  x = 0 0 - (0, 0) -
3. y = 12x2  - x = 0 - 0 - (0, 0)
4. y = -6x2 -  x = 0 0 - (0, 0) -

2) จงเขียนกราฟของ y = 2x2 และ y = -2x2 โดยใช้แกนคู่เดียวกัน (6 คะแนน)


แนวทางหาคาตอบ ตามเทคนิค KWDL
1. K (What we know) สิ่งทีโ่ จทย์กาหนดให้
นักเรียนรู้อะไรบ้างจากที่โจทย์กาหนดให้ ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = ax2

2. W (What we want to know) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ


นักเรียนหาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบหรือ กราฟของ y = 2x2 และ y = -2x2
สิ่งที่นักเรียนต้องการรู้ โดยใช้แกนคู่เดียวกัน

3. D (What we do to find out)


นักเรียนจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ หรือสิ่งที่ตนเองต้องการรู้

วิธีแก้ปัญหา

2.1) y = 2x2 2.2) y = -2x2

x -2 -1 0 1 2 3 x -2 -1 0 1 2 3
y 8 2 0 2 8 18 y -8 -2 0 -2 -8 -18

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 46

นาข้อมูลในตารางมาเขียนกราฟ
Y

y = 2x2

2
1
-2 -1 -1 1 2
X
-2

y = -2x2

4. L (What we learned) คาตอบและสิ่งที่ค้นพบ


นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ลักษณะของกราฟที่กาหนดด้วยสมการ y = ax2
เมื่อ a  0
1) เมื่อ a > 0 ได้พาราโบลาหงาย
2) จุดต่าสุดอยู่ที่ (0, 0)
3) แกนสมมาตรคือ แกน Y หรือเส้นตรง X = 0
4) เมื่อ a > 0 ค่าต่าสุดคือ 0
5) เมื่อ a < 0 ได้พาราโบลาคว่า
6) จุดสูงสุดอยู่ที่ (0, 0)
7) แกนสมมาตรคือ แกน Y หรือเส้นตรง X = 0
8) เมื่อ a < 0 ค่าสูงสุดคือ 0
9) | a | ยิ่งมากกราฟยิง่ แคบ

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 47

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 5.2 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y= ax2+ k

คาชี้แจง 1) ให้นักเรียนเติมคาตอบหรือใส่เครื่องหมาย  ลงในตาราง (4 คะแนน)


( ส่งเสริมความสามารถในการสื่อสารด้านการแสดงแนวคิดทางคณิตศาสตร์)

กราฟ สมการ ค่า จุด


ข้อที่ สมการ
หงาย คว่า แกนสมมาตร สูงสุด ต่าสุด สูงสุด ต่าสุด
2
1. y = –2x – 5 -  x = 0 -5 - (0, -5) -
2
2. y = 3x + 5  - x = 0 - 5 - (0, 5)
2
3. y = –5x + 6 -  x = 0 6 - (0, 6) -
2
4. y = 4x – 7  - x = 0 - -7 - (0, -7)

2) จงเขียนกราฟของ y = 2x2 + 2 และ y = –2x2 – 2 โดยใช้แกนคู่เดียวกัน (6 คะแนน)


แนวทางหาคาตอบ ตามเทคนิค KWDL
1. K (What we know) สิ่งทีโ่ จทย์กาหนดให้
นักเรียนรู้อะไรบ้างจากที่โจทย์กาหนดให้ ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = ax2 + k

2. W (What we want to know) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ


นักเรียนหาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบหรือ กราฟของ y = 2x2 + 2 และ y = –2x2 – 2
สิ่งที่นักเรียนต้องการรู้

3. D (What we do to find out)


นักเรียนจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ หรือสิ่งที่ตนเองต้องการรู้

วิธีแก้ปัญหา

2.1) y = 2x2 + 2 2.2) y = –2x2 – 2

x 1 2 3 0 -1 -2 -3 x 1 2 3 0 -1 -2 -3
y 4 10 20 2 4 10 20 y -4 -10 -20 -2 -4 -10 -20

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 48

นาข้อมูลในตารางมาเขียนกราฟ
Y
y = 2x2 + 2

(0, 2)
-2-1 (0,1 -2)2
X

y = -2x2 - 2

4. L (What we learned) คาตอบและสิ่งที่ค้นพบ


นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ลักษณะกราฟของฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป
y = ax2 + k เมื่อ a  0, k  0
1) ถ้า a > 0 ได้พาราโบลาหงาย
จุดต่าสุดอยู่ที่ (0, k) ค่าต่าสุด = k
ถ้า a < 0 ได้พาราโบลาคว่า
จุดสูงสุดอยู่ที่ (0, k) ค่าสูงสุด = k
2) แกนสมมาตรคือ แกน Y หรือเส้นตรง x = 0
สมการแกนสมมาตรคือ x = 0
3) ถ้า k > 0 จุดวกกลับอยู่เหนือแกน X
ถ้า k < 0 จุดวกกลับอยู่ใต้แกน X
4) ถ้า a, k มีเครื่องหมายเหมือนกัน
กราฟไม่ตัดแกน X
ถ้า a, k มีเครื่องหมายต่างกัน
กราฟจะตัดแกน X

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 49

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 5.3 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y= a(x – h)2

คาชี้แจง 1) ให้นักเรียนเติมคาตอบหรือใส่เครื่องหมาย ลงในตาราง (4 คะแนน)


( ส่งเสริมความสามารถในการสื่อสารด้านการแสดงแนวคิดทางคณิตศาสตร์)

กราฟ สมการ ค่า จุด


ข้อที่ สมการ
หงาย คว่า แกนสมมาตร สูงสุด ต่าสุด สูงสุด ต่าสุด
2
1. y = (x + 8)  - x = -8 - 0 - (-8, 0)
2
2. y = -(x + 3) -  x = -3 0 - (-3, 0) -
2
3. y = 2(x – 3)  - x = 3 - 0 - (3, 0)
2
4. y = -3(x – 2) -  x = 2 0 - (2, 0) -

2) จงเขียนกราฟของ y = (x + 6)2 และ y = –(x – 8)2 โดยใช้แกนคู่เดียวกัน (6 คะแนน)


แนวทางหาคาตอบ ตามเทคนิค KWDL
1. K (What we know) สิ่งทีโ่ จทย์กาหนดให้
นักเรียนรู้อะไรบ้างจากที่โจทย์กาหนดให้ ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = a(x – h)2

2. W (What we want to know) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ


นักเรียนหาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบหรือ กราฟของ y = (x + 6)2 และ y = –(x – 8)2
สิ่งที่นักเรียนต้องการรู้

3. D (What we do to find out)


นักเรียนจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ หรือสิ่งที่ตนเองต้องการรู้

วิธีแก้ปัญหา

2.1) y = (x + 6)2 2.2) y = –(x – 8)2

x -4 -5 -6 -7 -8 -9 x 6 7 8 9 10 11
y 4 1 0 1 4 9 y -4 -1 0 -1 -4 -9

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 50

นาข้อมูลในตารางมาเขียนกราฟ
Y
y = (x + 6)2

(8, 0)
(-6, 0)
X

y = -(x – 8)2

4. L (What we learned) คาตอบและสิ่งที่ค้นพบ


นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ลักษณะกราฟของฟังก์ชันกาลังสองที่อยู่ในรูป
y = a(x – h)2 เมื่อ a  0, h  0
1) ถ้า a > 0 ได้พาราโบลาหงาย
จุดต่าสุดอยู่ที่ (h, 0) ค่าต่าสุด = 0
ถ้า a < 0 ได้พาราโบลาคว่า
จุดสูงสุดอยู่ที่ (h, 0) ค่าสูงสุด = 0
2) แกนสมมาตรคือ แกน Y หรือ เส้นตรง x = h
สมการแกนสมมาตรคือ x = h
3) h > 0 แกนสมมาตรอยู่ทางขวาของแกน Y
h < 0 แกนสมมาตรอยู่ทางซ้ายของแกน Y

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 51

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 5.4 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y= a(x – h)2+ k

คาชี้แจง 1) ให้นักเรียนเติมคาตอบหรือใส่เครื่องหมาย  ลงในตาราง (4 คะแนน)


( ส่งเสริมความสามารถในการสื่อสารด้านการแสดงแนวคิดทางคณิตศาสตร์)

กราฟ สมการ ค่า จุด


ข้อที่ สมการ
หงาย คว่า แกนสมมาตร สูงสุด ต่าสุด สูงสุด ต่าสุด
2
1. y = -(x + 8) – 6  - x = -8 -6 - (-8,-6) -
2
2. y = 2(x – 4 ) + 3 -  x = 4 - 3 - (4,3)
2
3. y =-4(x + 4) – 10  - x = -4 -10 - (-4,-10) -
2
4. y= 3(x + 2) + 7 -  x = -2 - 7 - (-2,7)

2) จงเขียนกราฟของ y = (x – 5)2 + 4 และ y = -(x + 5)2 – 3 โดยใช้แกนคู่เดียวกัน


(6 คะแนน)
แนวทางหาคาตอบ ตามเทคนิค KWDL
1. K (What we know) สิ่งทีโ่ จทย์กาหนดให้
นักเรียนรู้อะไรบ้างจากที่โจทย์กาหนดให้ ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = a(x – h)2 + k

2. W (What we want to know) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ


นักเรียนหาสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบหรือ กราฟของ y = (x – 5)2 + 4 และ
สิ่งที่นักเรียนต้องการรู้ y = -(x + 5)2 – 3

3. D (What we do to find out)


นักเรียนจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ หรือสิ่งที่ตนเองต้องการรู้

วิธีแก้ปัญหา
2.1) y = (x – 5)2 + 4 2.2) y = –(x + 5)2 – 3

x 6 5 4 3 2 x -5 -4 -3 -2
y 5 4 5 8 13 y -3 -4 -7 -12

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 52

นาข้อมูลในตารางมาเขียนกราฟ
Y

y = (x – 5)2 + 4

y = -( + 5)2 - 3

4. L (What we learned) คาตอบและสิ่งที่ค้นพบ


นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ 1) เมื่อ a > 0 ได้พาราโบลาหงาย
จุดต่าสุดอยู่ที่ (h, k) ค่าต่าสุด = k
2) เมื่อ a < 0 ได้พาราโบลาคว่า
จุดสูงสุดอยู่ที่ (h, k) ค่าสูงสุด = k
3) ถ้า k > 0 จุดวกกลับอยู่เหนือแกน X
4) ถ้า k < 0 จุดวกกลับอยู่ใต้แกน X
5) แกนสมมาตร คือ เส้นตรง x = h
6) สมการแกนสมมาตรคือ x = h
7) ถ้า h>0 แกนสมมาตรอยู่ทางขวามือของแกน Y
8) ถ้า h<0 แกนสมมาตรอยู่ทางซ้ายมือของแกน Y
9) ถ้า a และ k มีเครื่องหมายเหมือนกัน
กราฟไม่ตัดแกน X
10) ถ้า a และ k มีเครื่องหมายต่างกัน
กราฟตัดแกน X

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 53

กระทรวงศึกษาธิการ. เอกสารประกอบ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551


คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.). 2551.
__________. เอกสารประกอบ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.). 2545.
กนกวลี อุษณกรกุล, ปาจรี วัชชวัลคุและสุเทพ บุญซ้อน, ดร. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้
พื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ ม. 4 เล่ม 2.บริษัทอักษรเจริญทัศน์
อจท. จากัด: กรุงเทพมหานคร, พิมพ์ครั้งที่ 3. 2547.
กิตติคุณ ยุพิน พิพิธกุล และสิริพร ทิพย์คง. ชุดกิจกรรมพัฒนาการคิดวิเคราะห์คณิตศาสตร์ ม.4
เล่ม 2. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พ.ว.). 2550.
_______. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญคณิตศาสตร์ ม.4 เล่ม 2. กรุงเทพฯ :
พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พ.ว.). 2548.
ทรงวิทย์ สุวรรณธาดา. แบบฝึกมาตรฐานการแม็ค คณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4 - ม.6)
ม.4 ภาคเรียนที่ 2. บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด: กรุงเทพมหานคร. 2546.
_______. แบบฝึกมาตรฐานแม็ค คณิตศาสตร์พื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 4 (ม. 4 – ม. 6)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 2 ภาคเรียนที่ 2. กรุงเทพฯ : ทองพูลการพิมพ์. 2546.
นพพร แหยมแสง. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ ื้นฐานคณิตศาสตร์ ม. 4. กรุงเทพฯ:
พัฒนาคุณภาพวิชาการ. 2547.
_______.ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.
กรุงเทพฯ : บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ. 2548.
วินิจ วงศ์รัตนะ. คู่มือเตรียมสอบคณิตศาสตร์ ม.4-5-6 .บริษัท ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์โปรเกรสซิฟ
จากัด : นนทบุรี. 2547.
วันดี วิวัฒน์รัตนกุล. ผลการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรขาคณิตสร้างสรรค์สาหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2552.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 2
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์คุรุ สภาลาดพร้าว. 2554.
_______. ค่มือครูรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกกษาปีที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. 2553.

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 54

ชื่อ......................................... นามสกุล....................................
ชั้น............. เลขที่........... ห้อง...........

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL


ชุดที่ 5 ฟังก์ชันกำลังสอง y = a(x –h)2 + k 55

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชุดที่ 5 เรื่อง ฟังก์ชันกาลังสอง y= a(x – h)2 + k รายวิชาคณิตศาสตร์


พื้นฐาน รหัสวิชา ค31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน โดยในแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 5 เรื่อง ฟังก์ชันกาลัง สอง
y= a(x – h)2 + k ใช้เวลาจัดการเรียนรู้ 4 ชั่วโมง ประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้
เล่ม 1-2. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ บริษัท 2เรืองแสงการพิมพ์ (2002) จากัด, 2554.
5.1 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = ax (1 ชั่วโมง)
สุวร กาญจนมยูร. คณิตคิดเป็น ตอน การบวก ลบ คูณ2หาร พหุนาม. กรุงเทพมหานคร:
5.2 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = ax + k (1 ชั่วโมง)
บริษัท เจ้าพระยาการพิมพ์ จ ากัด, 2553.
5.3 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = a(x – h)2 (1 ชั่วโมง)
5.4 ฟังก์ชันกาลังสองในรูปแบบ y = a(x – h)2+ k (1 ชั่วโมง)
ในแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 5 เรื่อง ฟังก์ชันกาลังสอง y= a(x – h)2 + k ประกอบด้วย
คาชี้แจงสาหรับครู คาแนะนาสาหรับนักเรียน แผนผังการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชีว้ ัด จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน ใบความรู้ แบบฝึกทักษะที่มีแนวทางการหา
คาตอบโดยใช้เทคนิค KWDL แบบทดสอบหลังเรียน และภาคผนวกซึ่งประกอบด้วยเฉลยแบบทดสอบ
ก่อนเรียน เฉลยแบบฝึกทักษะ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน แบบบันทึกคะแนนและเกณฑ์การประเมิน

จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดยเน้นเทคนิค KWDL

You might also like