You are on page 1of 109

50

ภาคผนวก
ความแตกตางของนาคปกทีป่ ระดับมุมชัน้ หลังคากับนาคประดับที่ปลายกรอบหนาบัน
และที่ประดับในบริเวณอื่นของปราสาทศิลปะขอม
นาคปกทีป่ ระดับมุมชั้นหลังคา
จากการศึกษาในสารนิพนธฉบับนี้ทําใหตรวจพบลักษณะที่สําคัญเฉพาะของนาคปกที่
ใชประดับมุมชั้นหลังคาปราสาทในศิลปะขอมไดวา
นาคจะตั้งขึ้นอยูในกรอบหรือโครงที่มีรูปรางเปนสามเหลี่ยม และมีแทนยกขึ้นรองรับ
กรอบหรือโครงดังกลาวใหสูงขึ้นจากระดับพื้นทั่วไป ความสูงของแทน เนื่องจากพบตัวอยางยังไม
มากในศิลปะสมัยบาปวนจึงยังมิไดทําการวิเคราะหหาความแตกตาง แตพบวานาคปกที่ปราสาท
ประธานของปราสาทบากอง มีแทนฐานที่สูง มียอมุม (ยกมุม) และมีการสลักลวดลายเปนเชิงบัวไว
โดยรอบ
นาคปกที่ประดับสวนใหญทําเพียงแคสามเศียร เชื่อวาที่ไมทําเศียรมากกวานี้คง
เนื่องมาจากพืน้ ที่จํากัด
ประเด็นที่สําคัญที่สุดคือลําตัวของนาคที่รองรับเศียรอยูจะเรียวเล็กลง และวกกลับไปทํา
หนาที่เปนเสาหรือสวนลางของกรอบหรือโครงกอนที่จะยกครอบคลุมเศียรนาคทั้งหมด
เครื่องประดับที่อยูบนโครงมักทําเปนลวดลายแบบขอมที่มีลักษณะสามเหลี่ยมเหมือน
ลายใบไมหรือมงกุฎ เบื้องตนพบวามีความแตกตางกันตามยุคสมัย
ที่เศียรของนาคบางสมัยทําเปนนาคหัวโลน บางสมัยทําเปนนาคมีหงอนเล็กติดอยู
นาคประดับที่ปลายกรอบหนาบัน และที่ประดับในบริเวณอื่นของปราสาทศิลปะขอม
นาคประดับที่ปลายกรอบหนาบัน พบวาลําตัวนาคไมมีกรอบหรือโครงสามเหลี่ยมลอม
อยู ที่สวนลางของนาคพบวาไมมีฐานเปนแทนยกขึ้นมารองรับ ลําตัวของนาควางอยูบนพื้นราบ
มีขนาดของลําตัวใหญเทากันไมรีดเรียวแลวยกขึ้น พบบอยๆ วาตอจากลําตัวนาคไปเล็กนอย
ชางนิยมสลักตัวมกรอาปากทําหนาที่คายลําตัวนาคออกมา (ภาพที่ 106)

ปราสาทจําลองที่เก็บรักษาไวที่ศูนยเก็บรักษาวัตถุโบราณที่เมืองเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา
ดูภาพและคําอธิบายใตภาพที่ 105
นาคปกที่เก็บรักษาไวที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพิมาย จังหวัดนครราชสีมา
ดูภาพและคําอธิบายใตภาพที่ 107
51

ภาพที่ 1 วิหารมาวลีปุรัม หรือมัลลปุรัมในอินเดียภาคใต อายุราวๆพุทธศตวรรษที่ 12 ที่


นั ก วิ ช าการหลายท า นเชื่ อ ว า เป น ต น แบบของอาคารหรื อ ปราสาทในศิ ล ปะขอมและประเทศ
ใกลเคียง วิหารนี้มีลักษณะเดนคือทําหลังคาเปนชั้นซอนหลายชั้น ที่มุมหลังคาประดับดวย
อาคารจําลอง มีแผนผังเปนรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส
ที่มา : หมอมเจาสุภัทรดิศ ดิศกุล ,ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศใกลเคียง (กรุงเทพฯ:มติชน,2543),98.
52

ภาพที่ 2 ปราสาทหินพิมาย อ.พิมาย จ.นครราชสีมา ศิลปะสมัยนครวัด อายุราวๆ ตนพุทธ


ศตวรรษที่ 17 กอนหนาปราสาทนครวัดเล็กนอย หลังคาปราสาทหินพิมายใชนาคปกประดับที่มุม
ชั้นหลังคา จึงทําใหภาพหลังคาเปนทรงพุม กลาวกันวาทําขึ้นมาเปนครั้งแรกแลวสงอิทธิพลใหกับ
ปราสาทนครวัดในประเทศกัมพูชาและปราสาทศิลปะสมัยนครวัดในที่อื่นๆตอมา
ที่มา : Marilia,Albanse, Angkor splendors of the Khmer civilization
(Bangkok:Asiabook,2002),276.
53

ภาพที่ 3 ปราสาทบากองหลังกลาง ต.โรลวัะ เสียมเรียบ กัมพูชา อายุราวๆ พุทธศตวรรษที่ 17 เชื่อวามีอายุ


หลังปราสาทหลังอื่นๆที่สรางสมัยพระโค (อายุราวๆตนพุทธศตวรรษที่ 15) ประมาณเกือบ 200ป (หมอมเจา
สุภัทรดิศ ดิศกุล,2539, 35) แตจากการตรวจสอบจากลวดลายทางศิลปะกรรม นาจะมีอายุอยูในสมัยบาป
วนตอนปลาย โดยดูจากหนาบันที่เปนภาพเลาเรื่อง ทับหลังเปนทอนพวงมาลัยแบบบาปวน ตําแหนงของ
หนากาลที่ยุดหรือคายทอนพวงมาลัยอยูดานลางของทับหลัง (ตางจากสมัยพระโคที่หนากาล อยูคอนขางบน
ของทับหลัง ) เสาประดับผนังปรากฏลวดลายกานตอดอกแบบบาปวนที่กานของลายมีขีดสองขีดมาแบงที่
กาน เสาประดับกรอบประตูเปนแปดเหลี่ยม มีวงแหวนสามวงแบงเสาเปนสี่สวน (แบงที่เสี้ยว) ในชองวาง
ระหวา งวงแหวนมีลายใบไมขนาดเล็ ก เหมือนฟ นปลาและผา นุ งที่เอวของเทวดาผู ห ญิง แสดงการนุง ที่
ดานหนาต่ําขางหลังยกสูงแบบบาปวน
54

ภาพที่ 4 เครื่องประดับมุมชั้นหลังคาที่ปราสาทบากองหลังกลาง ที่ตั้งเดียวกันกับรูปที่ 3 ที่เปน


ประเด็นของการศึกษาในสารนิพนธฉบับนี้ ไดกลายรูปจากปราสาทจําลองไปเปนนาคปกแลว
นาคตั้งอยูในกรอบหรือโครงสามเหลี่ยมบนฐานยอมุมที่มีความสูง มีเคารองรอยคลายกับเปนตัว
เรือนธาตุของอาคารจําลองหรือปราสาทจําลองมากอน แตทึบไมมีประตูทั้งสี่ดานเชื่อวาเปนการ
กลายรูปที่มีมากอนนาคปกที่ปราสาทหินพิมาย
55

ภาพที่ 5 วิหารลักษมัณ เมืองสิระปุระ ในอินเดียเหนือ สมัยหลังคุปตะ (สุภัทรดิศ ดิศกุล,2540,


33) กลาววาเปนตนแบบของอาคารในศิลปะขอมยุคแรกๆ สมัยกอนเมืองพระนคร ลักษณะเดน
ของวิหารลักษมัณนี้คือมีหลังคาเปนทรงโคงที่เรียกวาศิขร ซอนกันหลายชั้นแตแบนแนบติดกับตัว
อาคาร ที่มุมชั้นหลังคาไมปรากฏอาคารจําลองเหมือนอยางวิหารที่มาวลีปุรัมในอินเดียใต แต
ประดับเปนวงโคงแบบกุฑุแทน
ที่มา :หมอมเจาสุภัทรดิศ ดิศกุล,ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศใกลเคียง (กรุงเทพฯ:มติชน,2543),107.
56

ภาพที่ 6 ภาพขยายของหลังคาชั้นซอนของวิหารมาวลีปุรัมในอินเดียใต แสดงแนวการประดับ


อาคารจําลองเหนือชัน้ หลังคาและประดับกุฑทุ ี่สันของชัน้ หลังคา
ที่มา : Stierlin,Henri,Hindu India,Benedikt (Kolon:Benedikt Taschen Verlag Gmbh,1998),33.
57

ภาพที่ 7 ปราสาทสมโบรไพรกุก กําปงธม กัมพูชา อายุราวพุทธศตวรรษที่ 12 รูปที่เห็น


เปนหลังที่ N 7 ศิลปะขอมสมัยกอนเมืองพระนคร สรางจากอิฐ มีผังเปนรูปแปดเหลี่ยม
ผนังทําเปนรูปอาคารจําลอง แนวหลังคาประดับเปนแนววงโคงแบบกุฑุ
58

รูปที่ 8 อาศรมมหาฤาษี จ.ตาแกว กัมพูชา อายุราว พุทธศตวรรษที่ 12


ที่มา : Boisserlier J.,Le Cambodge ( Paris:A.et J. PICARD et Cie ,1966),pl.VIII , 3.
59

ภาพที่ 9 ลายเสนอาศรมมหาฤาษี จ.ตาแกว กัมพูชา อายุราวๆ พุทธศตวรรษที่ 12


กลาวกันวาเปนอาคารที่เกาแกที่สุดในศิลปะขอม เห็นไดวา ยังไมปรากฏอาคารจําลอง
ประดับที่มุมหลังคา มีแตหนาบันทีม่ ีอาคารจําลองอยูตรงกลางและมีวงโคงแบบกุฑุ
ขนาดเล็ก ประดับอยูที่แนวชั้นหลังคาและที่มุม
ที่มา : Parmontier Henri,l’Art Khmer Primitif (Paris:L‘ecole francaise d’extreme-
orient,n.d.), pl.LII.
60

ภาพที่ 10 ปราสาทหันชัย กัมพูชา อายุราวๆ พุทธศตวรรษที่ 12 เปนอาคารสมัยกอนเมืองพระ


นครอีกหลังหนึ่งที่มีการประดับชั้นหลังคาดวยแนววงโคงแบบกุฑุ มีรูปใบหนาบุคคลประดับในกุฑุ
แสดงถึงเทวดาที่ประทับในอาคาร
ที่มา: Marilia,Albanse, Angkor splendors of the Khmer civilization
(Bangkok:Asiabooks,2002 ),150.
61

ภาพที่ 11 ลายเสนปราสาทดําไรกราบ ศิลปะสมัยกุเลน(ชวงหัวเลีย้ วหัวตอ) อายุราวๆ ปลายพุทธ


ศตวรรษที่ 14 เปนปราสสาทที่ประดับชัน้ หลังคาดวยอาคารจําลองที่ไดรับอิทธิพลจากศิลปะจาม
(Boisselier j.1966,183.) อนึ่งอาคารจําลองสมัยนีส้ ังเกตวาสวนที่เปนเครื่องบนชั้นหลังคาทํา
เปนหลายชัน้ ซอน ระหวางชั้นหลังคามีทวี่ าง ชางจึงประดับอาคารจําลองที่มุมชัน้ หลังคา อาคาร
จําลองที่พบนี้เริ่มมีหลังคาชัน้ ซอนหลายชัน้ แตตัวเรือนธาตุและฐานยังเตี้ยอยูไมไดสัดสวนเมือ่
เทียบกับปราสาทหลังใหญ เชื่อวาเปนการกลายรูปทีจ่ ะเปลี่ยนไปเปนปราสาทจําลองตอไปใน
สมัยหลัง
ที่มา : Parmontier Henri,L’Art Khmer Primitif(Paris:L‘ecole francaise d’extreme-orient,n.d.),pl.LXI.
62

ภาพที่ 12 ภาพลายเสนปราสาทโอโปง ศิลปะกุเลน เขาพนมกุเลน กัมพูชา อายุราวๆ ปลายพุทธ


ศตวรรษที่ 14 จะเห็นไดวาหลังคาปราสาทหลังใหญทําเปนชั้นซอนแลว ที่มุมหลังคาประดับดวย
อาคารจําลอง มีเรือนธาตุและฐานที่เตี้ยไมไดสัดสวนถาเทียบกับปราสาทหลังใหญ ลักษณะเหมือน
ปราสาทดําไรกราบ แสดงถึงการเริ่มกลายรูปไปเปนปราสาทจําลองตอไป
ที่มา : Parmontier Henri,L’Art Khmer Primitif (Paris:L‘ecole francaised’extreme orient,n.d.),pl.LIX.
63

ภาพที่13 ปราสาทถมอดอป ประเทศกัมพูชา ศิลปะสมัยกุเลน อายุราวๆ ตนพุทธศตวรรษที่ 15


ปราสาทสรางจากอิฐ ทําหลังคาชัน้ ซอน ระหวางชั้นหลังคามีทวี่ างจึงประดับดวยปราสาทจําลองที่มี
พัฒนาการที่สงู กวาปราสาทสมัยกุเลนอื่นๆ
ที่มา : Boisserlier j.,LE CAMBODGE (Paris:A.et J. PICARD et Cie,1966), pl.IX, 1.
64

ภาพที่ 14 จันทิภีมะ บนที่ราบสูงเดียงในชวาภาคกลาง จัดเปนศิลปะชวาภาคกลาง อายุราว


พุทธศตวรรษที่ 13-14 เปนอาคารที่นักวิชาการใชเปนหลักฐานอางอิงถึงอิทธิพลของศิลปะ
อินเดียเหนือและอินเดียใต ผสมผสานกัน โดยมีหลังคาโคงแบบทรงศิขระซอนกันแนบไปกับตัว
อาคาร แตละชั้นหลังคาประดับดวยกุฑุที่มุม ในขณะที่อาคารอื่นในสมัยเดียวกัน เชน จันทิ
อรชุ น หรื อ จั น ทิ ป าฑพ มี ห ลั ง คาเป น ชั้ น ซ อ นประดั บ มุ ม หลั ง คาด ว ยอาคารจํ า ลอง อั น เป น
ลักษณะที่เดนกวาของศิลปะอินเดียใต
ที่มา : Kemmpers,A.J.Bernet,Ancient Indonesian Art (Amsterdam:C.P.J.van der
Peet,1959),33-34 ,pl.29
65

ภาพที่ 15 จันทิอรชุน ที่ราบสูงเดียง ศิลปะชวาภาคกลาง อายุราวๆ พุทธศตวรรษที่ 13


บนที่ราบสูงเดียง อาคารเปนทรงปราสาท หลังคาเปนชั้นซอน ที่มุมหลังคาประดับดวย
อาคารจําลองคลายกับที่วิหารมาวลีปุรัม ศิลปะอินเดียใต
ที่มา : Kemmpers,A.J.Bernet,Ancient Indonesian Art (Amsterdam:C.P.J.van der
Peet,1959), pl.25.
66

ภาพที่ 16 ปราสาทฮั ว ลาย ศิ ล ปะจามในประเทศเวี ย ตนาม อายุ ร าวๆพุ ท ธศตวรรษที่ 14 มี


เครื่องประดับมุมชั้นหลังคาทําเปนอาคารจําลอง เชื่อกันวาใหอิทธิพลกับศิลปะขอมสมัยกุเลนชวงหัว
เลี้ยวหัวตอ
ที่มา : สุภัทรดิศ ดิศกุล ,ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศใกลเคียง (กรุงเทพฯ:มติชน,2543), 206.
67

ภาพที1่ 7 ปราสาทมิเซินหลัง A13 มิเซิน เวียดนาม อายุราวๆ พุทธศตวรรษที่ 15 เครื่องบน


หลังคาเปนชัน้ ซอน ที่มุมหลังคาประดับดวยอาคารจําลอง (Stern Phillipe,n.d.p41)
ที่มา : หมอมเจาสุภัทรดิศ ดิศกุล ,ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศใกลเคียง (กรุงเทพฯ:มติชน,2543), 207.
68

ภาพที่ 18 ปราสาทมิเซิน A 1 เมืองมิเซิน เวียดนาม อายุราวๆ ปลายพุทธศตวรรษที่ 15


อาคารจําลองเริ่มกลายรูปพัฒนาไปเปนครีบ สงอิทธิพลใหศิลปะจามในสมัยหลัง
ที่มา : หมอมเจาสุภัทรดิศ ดิศกุล ,ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศใกลเคียง (กรุงเทพฯ :
มติชน,2543), 208.
69

ภาพที่ 19 ปราสาทโพนคร ที่ เ มื องนาตรัง ประเทศเวีย ตนาม อายุ ราวๆพุท ธศตวรรษที่ 17


แสดงใหเห็นถึงการประดับมุมชั้นหลังคาดวยอาคารจําลอง ซึ่งเปนวิวัฒนาการมาจากปราสาทมิ
เซิน A13 ในสมัยกอนหนา
ที่มา : Stern Phillipe,L’Art du Champa (Paris:Guimet,n.d.),pl.19.[A].
70

ภาพที่ 20 อาคารจําลองที่พบตกอยูที่บริเวณปราสาทบาแคง บนเขาพนมบาแคง เมืองพระนคร


เสียมเรียบ กัมพูชา ศิลปะแบบบาแคง อายุราวตนพุทธศตวรรษที่ 15 เปนศิลปะขอมสมัยแรกที่
พบหลักฐานวาสรางดวยหินทรายทั้งหลัง ปราสาทจําลองที่พบนี้ ทําจากหินทรายเชนเดียวกัน ขอที่
นาสังเกตคือปราสาทจําลองสมัยนี้ พบวามีผังในแนวตั้งครบถวนตามแบบศิลปะขอม คือมีสวนฐาน
เรือนธาตุ และเครื่องบนชั้นหลังคา และยังพบอีกวามีสัดสวนใกลเคียงกับปราสาทหลังใหญซึ่งมี
เรือนธาตุที่ขยายสูงขึ้น ปราสาทบาแคงไดรับความเสียหายมากจากสงครามเขมรแดง
71

ภาพที่ 21 ปราสาทพนมกรอม บนเขาพนมกรอม เสียมเรียบ กัมพูชา ศิลปะสมัยบาแคง อายยุ


ราวๆตน พุทธศตวรรษที่ 15 ปจจุบันตั้งอยูบนยอดเขาพนมกรอม ใกลกับโตนเลสาบ (ทะเลสาบ)
ของประเทศกัมพูชา เปนปราสาทสามหลังตั้งเรียงบนฐานเดียวกัน สรางจากหินทรายทั้งหลัง
ปราสาทมีหลังคาเปนแบบชั้นซอนหลายชั้น ที่มุมชั้นหลังคาประดับดวยปราสาทจําลอง
72

ภาพที่ 22 ปราสาทพนมกรอม ตอเนื่องจากภาพที่ 21 ขยายใหเห็นสัดสวนของปราสาท


ชัดเจน พบวาตัวปราสาทมีผังเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีประตูเขา ออกสองทาง คือทางทิศ
ตะวันออกและทิศตะวันตก ทางดานทิศเหนือและทิศใตทําเปนประตูหลอกเขา ออกไมได
ชั้นหลังคาหลุดรวงลงมาบางสวน แตเชื่อวามีหาชั้น ตรงมุมชั้นหลังคาประดับดวยปราสาท
จําลองเต็มรูป คือมีสวนฐาน เรือนธาตุ และชั้นหลังคา แตปราสาทจําลองที่นี่มีปริมาตรที่
สูงโปรงกวาปราสาทจําลองที่ปราสาทบาแคง
73

ภาพที่ 23 ชั้นหลังคาปราสาทพนมกรอมตอเนื่องจากภาพที่ 22-23 แสดงใหเห็นปราสาท


จําลองที่ประดับมุมชั้นหลังคาของปราสาทพนมกรอม เปนปราสาทจําลองที่ทําจากหิน
ทรายทั้งหลัง ถูกประดับไวที่มุมประธาน แตที่มุมรองพบวาทําเปนรูปบุคคลยืนถืออาวุธอยู
ในซุม
74

ภาพที่ 24 บรรณาลัยสองในสี่หลังของปราสาทพนมกรอม ตั้งอยูทางทิศตะวันออก


ดานหนาของปราสาท บนยอดเขาพนมกรอม เสียมเรียบ กัมพูชา การสํารวจพบวา สอง
หลังคูดานนอกสรางดวยอิฐ สองหลังตรงกลางดานในสรางดวยหินทราย แมวาสรางจาก
วัสดุสองแบบ แตมีขนาด สัดสวนและรูปทรงคลายกัน จากรูปแบบศิลปกรรม เชื่อวาอยูใน
สมัยเดียวกัน (ตรวจสอบจากเสาประดับกรอบประตูและการเจาะชองหนาตางคลายกันกับที่
ปราสาทพระโคที่เกากวาหนึ่งสมัย) ทรวดทรงของบรรณาลัยทั้งสี่หลังมีปริมาตรที่ดูอวน
ปอมกวาตัวปราสาท สังเกตที่มุมหลังคาของบรรณาลัยที่สรางดวยหินทราย ระหวางชั้นที่
หนึ่งและชั้นที่สองมีที่วางอยูสวนหนึ่ง
75

ภาพที่ 25 ปราสาทจํ า ลอง พบบนยอดเขาพนมกรอม เสี ย มเรี ย บกั ม พู ช า ตกอยู ที่


ด า นหลั ง ของบรรณาลั ย ที่ ทํ า จากหิ น ทราย เป น ปราสาทจํ า ลองที่ มี ข นาดใหญ ก ว า
ปราสาทจําลองที่ประดับที่มุมชั้นหลังคาของปราสาทหลังใหญ เชื่อวาปราสาทจําลองนี้
นาจะเคยตั้งอยูที่มุมชั้นหลังคาบรรณาลัยระหวางชั้นที่สองและชั้นที่สาม แลวหลุดเลื่อน
ตกลงมา ลั ก ษระที่ อ ว นป อ มกว า ของปราสาทจํ า ลองหลั ง นี้ ช า งน า จะสลั ก ให รั บ กั บ
ลักษณะของบรรณาลัยที่อวนปอม
76

ภาพที่ 26 ปราสาทเนียงเขมา ตั้งอยูที่จังหวัดตาแกว จัดเปนปราสาทศิลปะสมัยเกาะ


แกร อายุราวๆปลายพุทธศตวรรษที่ 15 ตัวปราสาทสรางจากศิลาแลง หลังคาเปนชั้น
ซอน มุมหลังคาประดับดวยปราสาทจําลอง สังเกตดูมีรูปรางและสัดสวนคลายตัว
ปราสาทหลังใหญ
ที่มา : Boisserlier j.,LE CAMBODGE (Paris : A.et J. PICARD et Cie,1966), pl.IX.[2].
77

ภาพที่ 27 เครื่องบนชั้นหลังคาของปราสาทบันทายสรี หลักฐานจากจารึกกลาววาสรางใน


สมัยพระเจาชัยวรมันที่ 5 โดยมหาราชครูผูเปนพราหมณ ชื่อยัชญะวราหะ ระบุมหาศักราชที่
สรางไว ตรงกับพ.ศ.1510 หรือตนพุทธศตวรรษที่ 16 ตัวปราสาทสรางจากหินทรายสีชมพูทั้ง
หลัง เปนปราสาทสามหลังตั้งอยูบนฐานเดียวกัน ปราสาทบันทายสรี ไดรับการซอมแซมแบบ
อนัสติโลซิสแลว ปจจุบันจะเห็นวาที่ชั้นหลังคาตรงมุมประดับดวยอาคารที่เปนปราสาทจําลองที่
มีรูปทรงสัดสวนและลวดลายแกะสลักเหมือนปราสาทหลังใหญ
78

ภาพที่ 28 อาคารจําลองของปราสาทบันทายสรี ที่ไดพัฒนามาเปนปราสาทจําลองโดย


สมบู ร ณ แ ล ว พบที่ ป ราสาทบั น ทายสรี ศิ ล ปะสมั ย บั น ทายสรี อายุ ต น พุ ท ธศตวรรษที่ 16
ปราสาทจํ า ลองในสมั ย นี้ น อกจากสั ด ส ว นจะมี ข นาดใกล เ คี ย งกั บ ปราสาทหลั ง ใหญ แ ล ว
ลวดลายประดับยังเหมือนกันอีกดวย ปราสาทจําลองหลังนี้แสดงองคประกอบของปราสาท
แบบขอมครบถวน โดยประกอบดวย ฐาน เรือนธาตุที่สลักลวดลายเหมือนปราสาทบันทายสรี
หลังใหญ แสดงรายละเอียดของประตู ทับหลัง และหนาบันที่มีลวดลายครบสมบูรณ และ
เครื่องบนชั้นหลังคาแบบชั้นซอน ปราสาทจําลองหลังนี้ปจจุบันอยูที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ
พนมเปญ
ที่มา : Dalsheimer Nadine,Les Collections du musee national de Phnom Penh
(Paris : L‘ecole francaise d’extreme-orient,2001), 213.
79

ภาพที่ 29 ปราสาทจําลอง พบที่ปราสาทคลังเหนือ กลางเมืองพระนครธม ปราสาทคลัง


เหนือจัดอยูในศิลปะแบบคลัง กําหนดอายุราวกลางพุทธศตวรรษที่ 16 เปนปราสาทที่มีผัง
ในแนวราบเปนสี่เหลี่ยมผืนผา ปราสาทจําลองนี้เชื่อวาคงเคยตั้งประดับอยูที่มุมชั้นหลังคา
ตอมาไดตกลงมา และไดถูกนําไปที่ประเทศฝรั่งเศสปจจุบันตั้งแสดงที่พิพิธภัณฑกีเมต กรุง
ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ที่นาสังเกตคือ ปราสาทจําลองหลังนี้ ชางแกะสลักไดอยางประณีต
ครบสมบูรณขององคประปราสาทแบบขอม ที่มีฐาน เรือนธาตุ และชั้นหลังคาที่มีหาชั้นซอน
มีประตูหลอกทั้งสี่ดาน เหนือประตูแสดงลวดลายของทับหลัง เหนือทับหลังแสดงหนาบันที่
มีลวดลายใหเห็นชัดเจน
80

ภาพที่ 30 เครื่องบนชั้นหลังคาของซุมประตูพระราชวังหลวง ตั้งอยูที่เมืองพระนคร


ธม จั ง หวั ด เสี ย มเรี ย บ ประเทศกั ม พู ช า ที่ ก รอบประตู มี จ ารึ ก กล า วสาปแช ง ผู ที่ ไ ม
จงรักภักดีตอพระเจาสุริยวรมันที่ 1 ผูสรางซุมประตูแหงนี้ กําหนดอายุไดราวๆครึ่งหลัง
ของพุทธศตวรรษที่ 16 และจากลวดลายทางศิลปกรรมที่พบ ลายกานตอดอกในกรอบ
ของซุมหนาบัน ทับหลัง ที่จัดอยูในศิลปะแบบบาปวนตอนตน อายุราวๆปลายพุทธ
ศตวรรษที่ 16 เครื่องชั้นหลังคานี้แสดงความสูงโปรงกวาเครื่องบนชั้นหลังคาในสมัยบัน
ทายสรี ตรงมุมชั้นหลังคาประตูพระราชวังหลวงนี้ประดับดวยปราสาทจําลอง ขอที่นา
สังเกตอีกประการหนึ่ง จะเห็นวาในสวนของซุมที่เปนหลังคาชั้นซอนสรางดวยหินทราย
แตในสวนของหลังคาที่ชักปกออกไปดานขางเปนเครื่องไมมุงกระเบื้อง
81

ภาพที่ 31 ปราสาทจําลองที่ประดับมุมชั้นหลังคาของซุมประตูพระราชวังหลวง ตั้งอยูที่เมือง


พระนครธม ประเทศกัมพูชา ประดับที่มุมประธานของอาคารตามระเบียบของศิลปะขอม ตัว
ปราสาทจําลองที่พบนี้ มีลักษณะเพรียวสูงกวาปราสาทจําลองที่พบที่ปราสาทคลังเหนือ เชื่อ
วาเปนเพราะซุมประตูแหงนี้มีลักษณะสูงเพรียว ชางจึงสลักใหรับกับอาคารหลังใหญ
82

ภาพที่ 32 ปราสาทจําลอง ประดับอยูที่มุมชั้นหลังคาของซุมประตูพระราชวังหลวง


เมื อ งพระนคร เสี ย มเรี ย บ กัม พู ชา ขยายให เ ห็น สัดสว นที่ สูง เพรี ยวแตยัง แสดง
องคประกอบที่ครบถวนของปราสาทแบบขอม ที่มีสวนฐาน เรือนธาตุ และชั้นหลังคา
และยังพยายามแสดงสวนของทับหลังและหนาบันดวย
83

ภาพที่ 33 ทับหลังของปราสาทเขาพระวิหาร ที่ตั้งอยูบนเทือกเขาพนมดงเร็ก (ดงเร็กหรือ


ดองแร็ก แปลวาไมคาน) เขตประเทศกัมพูชา ติดกับชายแดนไทยที่ บานภูมิสะรอล (บานตน
สน) ตําบลบึงมะลู อําเภอกันทรลักษณ จังหวัดศรีสะเกษ ปราสาทเขาพระวิหารมีขนาด
ใหญมีความสําคัญตอราชอาณาจักรขอมโบราณ ปรากฏหลักฐานจารึกเกี่ยวของกับพระ
เจาสุริยวรมันที่ 1 กําหนดอายุราวๆ ครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 16 จากการตรวจสอบ
ทางดานศิลปกรรม พบวามีหลักฐานที่เปนศิลปะแบบบาปวนตอนตน ทับหลังที่แสดงใน
ภาพ ประดับอยูที่มณฑปดานหนาของปราสาทประธานดานทิศตะวันตก แสดงถึงลวดลาย
หนากาลที่อยูตรงกลางดานลางของทับหลัง ทําหนาที่คายหรือยุดจับทอนพวงมาลัยที่วกขึ้น
ฉีกออกดานขางแลววกลงต่ําที่ปลายทับหลัง ที่ตรงกลางของทอนพวงมาลัยแตละขาง มีรูป
หนากาลขนาดเล็กคาบพวงอุบะหอยลง ทําใหทอนพวงมาลัยถูกแบงที่เสี้ยว เปนแบบที่ทํา
มากอนในสมัยบันทายสรี และแสดงชัดเจนในศิลปะแบบคลัง
ที่มา : ม.ร.ว.สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์,ปราสาทเขาพระวิหาร (พระนคร:เมืองโบราณ,2536),155.
84

ภาพที่ 34 ปราสาทจําลอง พบในบริเวณใกลกับปราสาทประธานเขาพระวิหาร เชื่อว าเปน


เครื่องประดับที่มุมชั้นหลังคาของปราสาทประธานที่ยอดหักลมลงมา ปราสาทจําลองหลังนี้ชาง
สลักใหเห็นถึงองคประกอบที่ครบถวนของปราสาทแบบขอม มีสวนฐาน เรือนธาตุ และหลังคาชั้น
ซอน รูปทรงมีลักษณะสูงเพรียวมากกวาสมัยแรกๆ
ที่มา : ม.ร.ว.สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์,ปราสาทเขาพระวิหาร (พระนคร:เมืองโบราณ,2536),164.
85

ภาพที่ 35 ซุมประตูดานทิศตะวันออก หลังดานทิศใต ของปราสาทแมบุญตะวันตก


กลางบารายตะวันตก (มีดานละสามหลัง) เสียมเรียบ กัมพูชา กําหนดอายุราวๆปลาย
พุทธศตวรรษที่ 16 ตอตนพุทธศตวรรษที่ 17 ซุมประตูมีหลังคาชั้นซอนสองชั้น ระหวาง
หลังคาชั้นที่หนึ่งและชั้นที่สองมีพื้นที่วางเหลือพอสมควร ดานบนทําเปนดอกบัวบานมี
แปดกลีบรองรับลูกแกว เมื่อเทียบกับชั้นหลังคาแลวมีขนาดใหญ
86

ภาพที่ 36 เครื่องบนชั้นหลังคาของซุมประตูดานทิศตะวันออก หลังกลางของปราสาทแม


บุญตะวันตก ตอเนื่องจากภาพที่ 35 แสดงใหเห็นลวดลายของหนาบันทําเปนลายพันธุ
พฤกษา ทับหลั งแสดงแบบศิลปะบาปวน เปน ทอนพวงมาลัย ที่เ ริ่ มต นจากตรงกลาง
ด า นล า งของทั บ หลั ง วกขึ้ น ไปที่ ต รงกลางแล ว ฉี ก ออกด า นข า งก อ นที่ ว กกลั บ ลงมาที่
ดานลางปลายของทับหลัง เหนือทอนพวงมาลัยเปนลายใบไมสามเหลี่ยมตั้งขึ้นชี้ออก
ดานขาง ดานลางของทอนพวงมาลัยเปนพวงอุบะหอยมวนออก ที่เสาติดผนังทําเปนลาย
กานตอดอก ที่กานของลายใหญและแบนมีขีดสองขีดมาแบงที่กาน ที่มุมของใบลายกาน
ตอดอกนี้เอียงชี้ขึ้น อันเปนแบบที่นิยมในศิลปะแบบบาปวนตอนปลาย กําหนดอายุราวๆ
ปลายพุทธศตวรรษที่ 16 พองกับหลักฐานทางจารึก
87

ภาพที่ 37 ซุมประตูดานตะวันออกหลังดานทิศเหนือของปราสาทแม
บุ ญ ตะวั น ตก ขยายส ว นของเครื่ อ งบนชั้ น หลั ง คา ให เ ห็ น ระยะห า ง
ระหวางหลังคาชั้นที่หนึ่งและหลังคาชั้นที่สอง ในภาพยังเห็นหนาบันที่
กวางแตเตี้ย ที่ชางออกแบบใหรับกับขนาดและความสูงของซุมประตู ใน
กรอบของซุมไมปรากฏลวดลาย ทําเกลี้ยงไว กรอบหนาบันทําหนาที่
เปนลําตัวของพญานาคที่เศียรอยูปลายสุดทั้งสองขาง
88

ภาพที่ 38 สวนขยายของปลายกรอบหนาบันของซุม ประตู ทางเขาของปราสาทแมบุญ


ตะวันตก ที่ทําเปนพญานาคสามเศียร เนื่องจากกรอบหนาบันที่ทําหนาที่เปนลําตัวพญานาค
ดวยนั้น ลําตัวนาคที่อวบอวนทําใหเศียรนาคมีลักษณะอวบอวนดวยเชนเดียวกัน ลําตัวของ
นาคที่ตั้งขึ้นรองรับเศียร ยกสูงขึ้นสามในสี่ของความสูงหนาบัน ลําตัวนาคไมมีฐานมา
รองรับเปนแทน มีแตเชิงบัวดานบนของผนังเรือนธาตุรับไว แตเปนเชิงที่แกะสลักลวดลาย
ประจํายามและเปนสวนของหินคนละชิ้นที่ใชสลักนาค
89

ภาพที่ 39 ฐานของพญานาคปลายกรอบหนาบัน ของซุมประตูทางเขาปราสาทแมบุญ


ตะวันตก แสดงใหเห็นฐานของลําตัวนาค เปนหินคนละชิ้นกับเชิงบนของผนังเรือนธาตุ
และลําตัวนาคไมมีฐานยกสูงเปนแทนมารองรับ
90

ภาพที่ 40 หินทรายถูกแกะสลัก พบที่กองหินใกลกับแนวของซุมประตูดานทิศ


ตะวันตก หลังทางดานทิศใต ของปราสาทแมบุญตะวันตก เปนรูปลําตัวพญานาค
มีสามเศียร ตั้งอยูบนฐานที่ยกสูงเปนแทน สวนบนของฐานทําลวดลายเวาเปนเชิง
บัว นาคเศียรกลางคายพวงอุบะตกมากองที่ดานลางตรงมุม นาคชิ้นนี้พบตกอยู
ที่บริเวณกองหินใกลกับแนวของซุมประตูดานทิศตะวันตกหลังทางดานปกใต เชื่อ
วาเปนนาคปกที่ใชประดับมุมชั้นหลังคาของซุมประตู
91

ภาพที่ 41 รูปดานขางของนาคสามเศียรชิ้นเดียวกับภาพที่ 40 จะสังเกตเห็นวา


ลําตัวของนาคไมอวบอวนเหมือนกับลําตัวของนาคปลายกรอบหนาบันในรูปที่
38 นอกจากนี้ที่ลําตัวของนาคชิ้นนี้ยังบีบใหรีดเรียวแลวยกขึ้น เพื่อไปทําหนาที่
เปนกรอบโครงที่ครอบสวนเศียรของนาคที่อยูดานบนตามระเบียบของนาคปก
และยังสังเกตเห็นลายใบไมสองใบที่ดานลางติดกับสวนลําตัวของนาคที่ตอกับ
กรอบโครงเหลืออยู แสดงใหเห็นวาเปนสวนของนาคปกที่ประดับมุมชั้นหลังคา
92

ภาพที่ 42 สวนขยายใหเห็นตอเนื่องจาก ภาพที่ 40 ตรงสวนฐานของหินสลักที่


พบที่ปราสาทแมบุญตะวันตก เชื่อวาเปนนาคปก จะสังเกตเห็นวาลําตัวนาคอยูติด
กับฐานที่เปนแทนยกขึ้น ตรงกลางแทนชางนาที่จะตั้งใจแกะสลักใหเปนชองยาวลง
ดานลางเพื่อแบงแทนฐานเปนสองสวน
93

ภาพที่ 43 ตอเนื่องจาก ภาพที่42 แสดงดานลางของหินสลักที่เชื่อวาเปนนาคปก


แสดงใหเห็นถึงแทนฐานมีความสูงเทาที่ปรากฏ มิไดเปนหินที่แตกหักเพราะการตก
ลงมา เพราะใตพื้นดานลางถูกโกลนใหเสมอกันเพื่อใชวางตั้ง แตไมไดขัดเรียบ
ชางคงเห็นวาไมมีความจําเปนเพราะอยูดานใตลางของหิน
94

ภาพที่ 44 มุมชั้นหลังคาของซุมประตูกําแพงดานทิศตะวันออกหลังดานทิศใต มุม


ดานตะวันตกเฉียงใต ของปราสาทแมบุญตะวันตก แสดงรอยที่ชางเจาะรูไวตรงกับ
ตําแหนงที่เปนที่ตั้งของเครื่องประดับชั้นหลังคาอาคาร เชื่อวาทําเพื่อใหสอดสลักที่
เปนเดือยยึดไมใหเครื่องประดับเคลื่อนที่ตกลงมาไดงาย (อานเพิ่มเติมในบทที่ 6 เรือ่ ง
เทคนิคการวางเครื่องประดับชั้นหลังคาที่ปราสาทแมบุญตะวันตก)
95

ภาพที่ 45 ปราสาทประธานสดกก็อกธม บานหนองเสม็ด กิ่งอําเภอโคกสูง จ.สระแกว


ศิลปะสมัยบาปวนตอนปลาย กําหนดอายุราวๆปลายพุทธศตวรรษที่ 16 ถายจากทางดาน
ทิศตะวันตก สวนใหญของปราสาทลมลงมาเกือบหมด ยังคงเหลือเพียงบางสวน ในภาพ
แสดงใหเห็นถึงประตูหลอกของเรือนธาตุดานทิศตะวันตก ที่มีขนาดใหญและสูง ทําให
คาดคะเนไดวาปราสาทประธานคงมีขนาดใหญและสูงดวย
96

ภาพที่ 46 นาคปกของปราสาทสดกก็อกธม ปจจุบันเก็บรักษาอยูที่สํานักสงฆสดกก็อก


ธม ติดกับที่ตั้งของปราสาท ถายจากดานขาง นาคปกชิ้นนี้เชื่อวาเคยประดับที่มุมชั้น
หลังคาปราสาทสดกก็อกธมมากอน เปนนาคปกที่แกะสลักจากหินชิ้นเดียว พบตกอยู
ในบริเวณปราสาท ในภาพแสดงในเห็นพญานาคตั้งอยูในโครงกรอบสามเหลี่ยม มี
แทนฐานที่ยกขึ้นรองรับอยูดานลาง ลําตัวของนาคไมไดวกขึ้นไปทําหนาที่เปนกรอบ
โครง แตมีเสามาตัดลําตัวของนาคใหขาดหายไป เสาที่ปรากฏตั้งขึ้นรองรับซุมที่เปนวง
โคงเล็กๆสี่วง เหนือซุมสลักเปนใบไมสามเหลี่ยมตั้งขึ้น เศียรนาคที่อยูในซุมประดับดวย
ลายมองดูเหมือนเปนหงอน นาคมีหาเศียร เศียรกลางมีขนาดใหญกวาที่เหลือและ
กําลังคายพวงอุบะตกลงมาที่พื้น ภาพจากดานขางนี้ทําใหสังเกตเห็นไดวา สันตรง
ลําตัวนาคตัวกลางตอเนื่องขึ้นไปที่ซุมและลายใบไม มีลักษณะโคงแอนในสวนลาง ใน
สวนบนสอบเอนไปดานหลังเล็กนอย
97

ภาพที่ 47 นาคปกของปราสาทสดกก็อกธม ชิ้นเดียวกันกับภาพที่ 46 ถายเยื้องมาดานหนา


98

ภาพที่ 48 สวนขยายของฐานนาคปกสดกก็อกธม ชิ้นเดียวกันกับภาพที่ 46-47 แสดง


ใหเห็นรายละเอียดของแทนฐานที่ยกขึ้น มีลายเชิงบัวพาดผานตรงกลาง
99

ภาพที่ 49 บรรณาลัยของปราสาทสดกก็อกธมหลังดานทิศเหนือ กําลังบูรณะอยู เปน


อาคารที่มีแผนผังเปนสี่เหลี่ยมผืนผา หันหนามาทางดานทิศตะวันตกเขาหาปราสาท
ประธาน ดานหนาของบรรณาลัย (ดานตะวันตก) ทําเปนมุขยื่นออกมา มีประตูทางเขาออก
สองดานทางดานทิศตะวันออกและทิศตะวันตก แตดานทิศตะวันตกยังเปนทางเขาหลักอยู
ที่มุมหลังคาชั้นที่หนึ่ง (บูรณะแลว) ประดับดวยนาคปลายกรอบหนาบัน ที่ยังมองเห็นลําตัว
ของนาค ตอเนื่องมาจากกรอบของหนาบันที่ตรงกลางเปนลายกานตอดอก นาคที่ประดับนี้
แกะสลักจากหินสองกอนตอกัน
100

ภาพที่ 50 สวนขยายนาคปลายซุมหนาบันที่ประดับอยูที่มุมชั้นหลังคาของบรรณาลัย
ที่ปราสาทสดกก็อกธม สังเกตเห็น ลําตัวของนาคตอเนื่องมาจากกรอบหนาบันที่ทําเปน
ลายกานตอดอก ไมปรากฏโครงที่ทําหนาที่เปนกรอบครอบเศียรนาคนาค สวนของ
เศียรนาคและกรอบหนาบันเปนหินชิ้นเดียวกัน
101

ภาพที่ 51 หินที่แกะสลักเปนนาคปลายกรอบหนาบัน พบที่บริเวณปราสาท


สดกก็อกธม กองอยูเพื่อเตรียมการบูรณะ สังเกตเห็นไดชัดเจนวา ลําตัวของ
นาคทอดตอเนื่องมาจากกรอบหนาบันที่สลักเปนลายกานตอดอก ใตลําตัว
นาคไมปรากฏแทนฐานที่ยกขึ้น สลักจากหินหลายกอน
102

ภาพที่ 52 นาคปลายกรอบหนาบันอีกตัวอยางหนึ่ง พบที่บริเวณปราสาท


สดกก็อกธม เพื่อเปรียบเทียบใหเห็นความแตกตางระหวางนาคปลายกรอบ
หนาบันกับนาคปก
103

ภาพที่ 53 พบที่บริเวณปราสาทสดกก็อกธม ภาพเดียวกันกับภาพที่ 51 ถายจาก


ดานตรง (ดานสัน) แสดงใหเห็นวาเปนนาคปลายกรอบหนาบัน
104

ภาพที่ 54 เศียรนาคพบบริเวณปราสาทสดกก็อกธม กองรวมอยู


ในสวนที่เตรียมบูรณะ เศียรนาคชิ้นนี้สังเกตเห็นความแตกตางจาก
นาคปลายกรอบหนาบันในรูปที่ 49-51 ซึ่งสองชิ้นหินถูกตอที่ลําคอ
ของนาค แตในภาพที่ปรากฏมีเคาวาเปนนาคที่แกะสลักจากหินชิ้น
เดียว แตบังเอิญแตกหักภายหลัง สวนลางที่หายไปมีความสําคัญ
ในการตีความวาเปนนาคปลายกรอบหนาบันหรือนาคปก
105

ภาพที่ 55 เศียรนาคพบที่ปราสาทสดกก็อกธม อีกตัวอยางหนึ่งที่เชื่อวาเปนนาค


ปลายกรอบหนาบัน เปนหินสองชิ้นตอกันตรงลําคอของนาค ลําตัวนาคอวบ
อวนที่แสดงความตอเนื่องมาจากกรอบหนาบัน ไมสังเกตเห็นเสาหรือกรอบโครง
แบบนาคปกในภาพที่ 45 – 46
106

ภาพที่ 56 ปราสาทเมืองต่ํา ต.บานกรวด อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.บุรีรัมย ศิลปะแบบบาปวน


ตอนตน อายุราวๆครึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ 16. แสดงใหปราสาทประธานที่มีหาหลังตั้งอยู
บนฐานเดียวกัน แบงเปนสองแถว แถวหนามีสามหลัง หลังตรงกลางมีขนาดใหญที่สุด
และลมไปหมดแลวเหลือแตฐาน แถวหลังมีสองแถว ปราสาทสรางจากอิฐ ไดรับการบูรณะ
แลว สังเกตที่ปราสาทหลังที่ยังคงสภาพอยู สวนของเรือนธาตุ จะเห็นผนังตั้งตรง ลวดบัวที่
เชิงดานลางของเรือนธาตุ มีหลายชั้นซอนทําใหเชิงดานลางผายออก แตที่เชิงผนังเรือนธาตุ
ดานบน มีลวดบัวเหมือนกันแต ผนังดานบนไมผายออก ทําใหเปนเสนตรงไดฉากรับผนังที่
ตอมาจากเรือนธาตุสวนกลาง ในสวนของเรือนธาตุชั้นที่สอง วางในตําแหนงที่อยูเกือบขอบ
ของหลังคาชั้นที่หนึ่งที่ตอมาจากผนังเรือนธาตุชั้นที่หนึ่ง ดูเหมือนไมมีที่วางระหวางชั้น
หลังคาเลย หรือมีแตนอยมาก จนอาจทําใหไมสามารถประดับเครื่องประดับบนชั้นหลังคา
ได
ที่มา : กรมศิลปากร,ปราสาทเมืองต่ํา(กรุงเทพฯ:ดอกเบี้ย,2540), 51.
107

ภาพที่ 57 เครื่องประดับมุมหลังคาที่ปราสาทบากองหลังกลาง ต.โรลวัะ จ.เสียมเรียบ กัมพูชา


แสดงใหเห็นวาเปนเครื่องประดับชั้นหลังคาที่ไดกลายรูปจากปราสาทจําลองไปเปนนาคปกแลว เปน
นาคตั้งอยูในกรอบหรือโครงสามเหลี่ยมบนฐานยอมุมที่มีความสูง มีเคารองรอยคลายกับเปนตัว
เรือนธาตุของอาคารจําลองหรือปราสาทจําลองมากอน แตทึบไมมีประตูทั้งสี่ดานมีความนาเชื่อวา
เปนการกลายรูปที่มีมากอนนาคปกที่ปราสาทหินพิมาย
108

ภาพที่ 58 ปราสาทบากองหลังกลาง (ปราสาทประธานปจจุบัน) ต.โรลวัะ จ.เสียมเรียบ กัมพูชา


ปราสาทหลังนี้พบวามีศิลปกรรมที่แตกตางไปจากปราสาทบากองสวนอื่นๆที่เปนศิลปะสมัยพระโค
และไมสามารถกําหนดอายุไดแนนอนเพราะไมพบหลักฐานที่เปนจารึกระบุไว แตจากศิลปกรรมพบวา
ที่ ในสวนของหนาบันทําเปนภาพเลาเรื่อง โดยเฉพาะทางดานทิศตะวันออกที่เชื่อวาเปนดานที่สําคัญ
ที่สุดสลักเปนรูปพระศิวะกําลังฟอนรํา ทับหลังของปราสาทแมวาจะชํารุดมาก แตยังคงเห็นรองรอยวา
ทําเปนรูปหนากาลประดับที่ดานลางทับหลัง กําลังจับยุดทอนพวงมาลัยที่วกขึ้นขางบนไปตรงกลาง
ของทับหลังแลวฉีกออกดานขางกอนที่วกกลับลงมาที่ปลายดานลางของทับหลังอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งเปน
แบบที่นิยมในศิลปะแบบบาปวน เสาประดับกรอบประตูทําเปนเสาแปดเหลี่ยม ชํารุดหักหายไปเปน
สวนใหญแตยังแสดงลักษณะที่พบวามีวงแหวนแบงที่ครึ่งของเสาและที่เสี้ยวของเสา ตรงพื้นที่วาง
ระหวางวงแหวนประดับดวยลายใบไมขนาดเล็กเปนรูปฟนปลา
109

ภาพที่ 59 ปราสาทบากองหลังกลางดานทิศเหนือ ตอเนื่องจากภาพที่ 57 แสดงหนาบันทําเปน


ภาพเลาเรื่องตอนศรนาคบาศ ทับหลังหักหลุดรวงหายไปหมด มีประตูหลอก ประดับดวยเสา
ประดับกรอบประตู เสาติดผนังที่ชํารุดแตยังสังเกตลวดลายกานตอดอกสลับกับลายกามปูที่มีเคา
ของลายแบบบันทายสรีอยู
110

ภาพที่ 60 รูปสลักสตรีประดับที่ผนังของเรือนธาตุดานทิศตะวันออกของปราสาทบากองหลัง
กลาง แสดงการนุ ง ผ า แบบนุ ง ด า นหน า ต่ํ า ด า นหลั ง สู ง กว า เป น แบบที่ นิ ย มในสมั ย บาปวน
นอกจากนี้ชายผาหอยแนบกับลําตัวลงมา ไมชักชายโคงออกแลวทิ้งลงลางแบบนครวัด ที่นา
สังเกตอีกประการหนึ่งคือซุมปราสาทที่ครอบรูปสตรีทางดานทิศตะวันออกทั้งดานเหนือและดานใต
เปนซุมทรงปราสาทที่ชั้นหลังคาทําเครื่องประดับมุมชั้นหลังคาเปนรูปคลายนาคปก ทําเอนสอบไป
ทางดานหลัง ทําใหภาพชั้นหลังคาดังกลาวเปนทรงพุม
111

ภาพที่ 61 ปราสาทนครวัด เมืองพระนคร จ.เสียมเรียบ กัมพูชา ศิลปะสมัยนครวัด อายุราวๆ


ครึ่ ง หลัง ของพุ ทธศตวรรษที่ 17 ที่ แสดงใหเ ห็นเครื่อ งบนชั้น หลัง คาที่มีลัก ษณะเปน พุมแบบ
ดอกบั ว พุม นี้สูงเพรี ย วกวา พุ ม แบบปราสาทหิน พิมาย ที่นา สังเกตุหลั งคาชั้น แรกจะมีขนาด
ใกลเคียงกันกับหลังคาชั้นที่สอง แตหลังคาชั้นที่สามมีขนาดเล็กกวาหลังคาชั้นที่สอง แตละชั้น
หลังจะมีความสูงโปรงกวาที่ปราสาทหินพิมาย
112

ภาพที่ 62 ชั้นหลังคาของปราสาทนครวัด (หลังกลาง ประธาน) เมืองพระนคร จ.เสียมเรียบ


กัมพูชาแสดงรูปนาคปกที่ประดับมุมชั้นหลังคา ตรงมุมประธาน เปนนาคปกมีสามเศียรที่อยูใน
โครงกรอบสามเหลี่ยมที่มีลวดลายคลายใบไมประดับอยูอีกชั้นหนึ่ง ตั้งอยูบนฐานที่ยกขึ้น สังเกต
วานาคปกไมสอบเอนมากเหมือนปราสาทหินพิมาย
113

ภาพที่ 63 ปราสาทธมมานนท เมืองพระนครธม จงเสียมเรียบ จ.กัมพูชา ศิลปะสมัยนครวัด


อายุ ราวๆครึ่ ง หลั ง ของพุท ธศตวรรษที่ 17 แสดงนาคปก ประดั บชั้ น หลัง คา เครื่ อ งบนชั้ น
หลังคาหแสดงความเปนพุม ลักษณะเปนดอกบัวพุมแบบปราสาทนครวัดแตปอมเตี้ยกวา
การแสดงแบบดอกบัวพุมสังเกตจากเสนรอบวงชั้นหลังคาชั้นที่หนึ่งจะเล็กกวาชั้นหลังคาชั้นที่
สอง แตชั้นที่สามกลับเล็กกวาชั้นที่สอง เรียวลงไปจนครบหาชั้น (ที่ปราสาทหินพิมาย จะ
แสดงตรงกันขาม ที่หลังคาชั้นที่หนึ่งใหญกวาชั้นที่สองและสามลดขนาดลงไปเรื่อย)
114

ภาพที่ 64 นาคปกของปราสาทธมมานนท เมืองพระนครธม จ.เสียมเรียบ กัมพูชา ตอเนื่องจาก


ภาพที่ 63 แสดงนาคปกที่ตั้งอยูในกรอบสามเหลี่ยม มีฐานเปนแทนยกขึ้น ฐานประดับลาย
ลูกประคํา นาคมีสามเศียร เหนือกรอบมีลายใบไมประดับอยู นาคปกมีขนาดไมสูงเมื่อเทียบ
กับปราสาทหินพิมาย และไมสอบเอนเทาที่ปราสาทหินพิมายเชนเดียวกัน
115

ภาพที่ 65 ปราสาทบันทายสําเหร บานประดาก เมืองพระนคร จ.เสียมเรียบ กัมพูชา ศิลปะสมัยนคร


วัด อายุราวๆครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 17 แสดงใหเห็นชั้นหลังคาที่ประดับดวยนาคปกที่สอบเอน
ไปดานหลัง ทําใหหลังคาเปนทรงพุม แตมีลักษณะเปนแบบพานพุมเหมือนปราสาทหินพิมายมากกวา
ที่ปราสาทนครวัด โดยสังเกตจากชั้นหลังคาชั้นแรกมีขนาดเทาหรือใหญกวาเล็กนอยกับหลังคาชั้นที่
สองแลวลดขนาดลงจนครบหาชั้น
116

ภาพที่ 66 นาคปกปราสาทบันทายสําเหร ตอเนื่องจากภาพที่ 65 เปนนาคปกมีสามเศียรตั้งใน


โครงกรอบสามเหลี่ยม มีแทนฐานรองรับ
117

ภาพที่ 67 เครื่องบนชั้นหลังคาปราสาทหินพิมาย อ.พิมาย จ.นครราชสีมา ศิลปะนครวัด(นักวิชาการ


บางทานเชื่อวาเปนศิลปะบาปวยตอนปลาย นครวัดตอนตน) อายุราวๆตนหรือกลางพุทธศตวรรษที่
17 แสดงเครื่องประดับที่มุมประธานแตละชั้นเปนนาคปกที่ตั้งสอบเอนไปดานหลังอยางมาก ทําให
ภาพหลังคาเปนพุม ที่สังเกตคือหลังคาชั้นที่หนึ่งจะใหญกวาหลังคาชั้นที่สองและสามลดหลั่นกันลง
ไป และตัวเรือนธาตุที่เล็กแคบกวาชั้นหลังคาชั้นที่หนึ่งมากจนเห็นไดชัด ซึ่งในศิลปะขอมสมัยกอน
หนานี้ เชนสมัยบาแคง บันทายสรี หรือบาปวนตอนตน เครื่องประดับชั้นหลังคายังเปนปราสาท
จําลอง พบวาผนังเรือนธาตุในปราสาทดังกลาวมีสัดสวนกวางใกลเคียงกับชั้นหลังคาชั้นที่หนึ่ง
กอนที่จะลดระดับลง ตางจากปราสาทหินพิมาย
118

ภาพที่ 68 นาคปกที่ขยายใหเห็นวาเปนนาคสามเศียรตั้งในกรอบสามเหลี่ยม แตเปนกรอบที่สูงชะลูด


ขึ้น ทําใหนาคยกลําตัวและสวนหัวชูสูงขึ้น นาคตัวกลางคายพวงอุบะ ลําตัวของนาควกกลับขึ้นไปทํา
หนาที่เปนกรอบที่ครอบเศียร เหนือกรอบนี้ชางยังสลักลายพันธุพฤกษา ครอบไวอีกชั้นหนึ่ง นาคปก
แสดงความสอบเอนมาก ความสอบเอนนี้ทําหนาที่เปนเสนเชื่อมระหวางชั้นหลังคาแตละชั้นที่มีขนาด
ลดหลั่นกัน ทําใหภาพหลังคาเปนพุม
119

ภาพที่ 69 ภาพขยายของเครื่องบนชั้นหลังคาปราสาทหินพิมาย ตอเนื่องจากภาพที่ 68 ที่มองเห็น


ความเปนพุมแบบพานพุม สังเกตวาชั้นหลังคาชั้นแรกจะใหญกวาหลังคาชั้นที่สองและสามลดหลั่น
กัน ตางกับปราสาทนครวัดที่หลังคาชั้นแรกเล็กกวาหรือเกือบจะใกลเคียงกับหลังคาชั้นที่สอง
120

ภาพที่ 70 ปราสาทหินเขาพนมรุง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.บุรีรัมย ศิลปะสมัยนครวัด อายุราวๆครึ่ง


หลังของพุทธศตวรรษที่ 17 รูปนี้ถายหลังจากการบูรณะแลว สังเกตเห็นชั้นหลังคาเปนพุมแบบ
พานพุมเหมือนปราสาทหินพิมาย เครื่องประดับชั้นหลังคาประดับดวยนาคปกที่สอนเอนเหมือนกัน
เพียงแตสวนยอดของปราสาทที่เปนบัวบานลูกแกวมีขนาดเล็ก จึงทําใหชั้นหลังคาที่ปราสาทหินเขา
พนมรุงมีลักษณะลีบเล็ก(อาจเกิดจากการบูรณะ?) ในภาพยังสังเกตเห็นปรางคนอยที่มีการกําหนด
อายุตามศิลปกรรมจัดอยูในสมัยบาปวน อายุราวปลายพุทธศตวรรษที่ 16 เครื่องบนชั้นหลังของ
ปรางคนอยหักหายไปเกือบหมดแลว แตที่มุมชั้นหลังคาชั้นที่หนึ่ง ยังมีนากปกประดับอยู ถามีแต
เดิมจริง จะมีสวนชวยสนับสนุนการคนพบหลักฐานใหมของสารนิพนธฉบับนี้ ที่เชื่อวานาคปกถูกทํา
มากอนเปนครั้งแรกตั้งแตสมัยบาปวน ไมใชเริ่มทําในสมัยนครวัด
ที่มา : Marilia,Albanse, Angkor splendors of the Khmer civilization(Bangkok:Asiabooks,2002), 275.
121

ภาพที่ 71 ปรางคนอย ในบริเวณปราสาทพนมรุง รูปตอเนื่องจากภาพที่ 70 สามารถ


สังเกตเห็นนาคปกที่ประดับที่มุมชั้นหลังคาชัดเจนขึ้น ปรางคนอยไดรับการบูรณะแลวพรอมกับ
ปราสาทประธาน
ที่มา : กรมศิลปากร,ปราสาทพนมรุง (กรุงเทพฯ:อัมรินรท,2531), 55.
122

ภาพที่ 72 ภาพขยายของหนาบันปรางคนอย ในบริเวณปราสาทพนมรุง ตอเนื่องจากภาพที่ 71


แสดงลวดลายพันธุพฤกษาที่นิยมในสมัยบันทายสรี สมัยคลังและสมัยบาปวน (หมอมเจาสุภัทรดิศ
ดิศกุล:2539,หนา 122) ที่ทับหลังของปรางคนอยพบทั้งที่เปนภาพเลาเรื่อง และที่เปนหนากาลคาย
ทอนพวงมาลัยแบบบาปวน นอกจากนี้นาคปลายกรอบหนาบันทําเปนาคหัวโลนที่เปนที่นิยมในสมัย
บาปวน (เหมือนที่ปราสาทเมืองต่ํา) จึงเชื่อวาปรางคนอยเปนปราสาทศิลปะแบบบาปวน
ที่มา : กรมศิลปากร,ปราสาทพนมรุง (กรุงเทพฯ:อัมรินรท,2531), 54.
123

ภาพที่ 73 สวนขยายตอเนื่องของภาพที่ 71 แสดงชุดหนาบันและทับหลังของปรางคนอย ที่ตั้งใน


บริเวณปราสาทเขาพนมรุง ที่แสดงศิลปกรรมแบบบาปวน.
ที่มา : กรมศิลปากร,ปราสาทพนมรุง (กรุงเทพฯ:อัมรินรท,2531), 87.
124

ภาพที่ 74 ปรางคนอยสมัยโบราณถายกอนที่จะมีการบูรณะ มีหลักฐานกลาววาถูกดัดแปลงเปนวัด


ในพุทธศาสนา สังเกตเห็นวาเครื่องบนหลังคาหักหายไปนานแลว อาจหายตั้งแตสมัยสรางปราสาท
หลังใหญเมื่อเการอยปกอน (ไมพบกองหินตกลงมาเมื่อตอนบูรณะปราสาท) ในภาพสังเกตไดวา
พระสงฆคงขึ้นไปทําหลังคาคลุมไวเพื่อใชเปนอาคารทางพุทธศาสนา
ที่มา : กรมศิลปากร,ปราสาทพนมรุง (กรุงเทพฯ:อัมรินรท,2531), 99.
125

ภาพที่ 75 สวนขยายของเครื่องบนชั้นหลังคาปราสาทพนมรุงหลังการบูรณะแลว ที่มุมหลังคา


ประดับดวยนาคปก นาคตั้งอยูบนฐานที่เปนแทนยกขึ้น มีกรอบสามเหลี่ยมครอบไว ลําตัวของนาค
ทําหนาที่เปนโครงกรอบสามเหลี่ยมตามระเบียบของนาคปก สอบเอนไปดานหลัง
ที่มา : กรมศิลปากร,ปราสาทพนมรุง (กรุงเทพฯ:อัมรินรท,2531),46.
126

ภาพที่ 76 ชั้นหลังคาของปราสาทบายน เมืองพระนครธม จ.เสียมเรียบ กัมพูชา ศิลปะสมัย


บายน อายุราวๆกลางพุทธศตวรรษที่18. สังเกตุเห็นไดวาหลังแบบชั้นซอนไดถูกแปลงเปนรูป
หนาบุคคลแทน รูปหนาบุคคลมีขนาดใหญ กินเนื้อที่ตรงกลางของหลังคาเกือบสองชั้น เชื่อวา
ศิลปะกรรมแบบใหมนี้มีผลกระทบตอเครื่องประดับชั้นหลังคาแบบเกา
ที่มา : Marilia,Albanse, Angkor splendors of the Khmer civilization
(Bangkok:Asiabooks,2002),238.
127

ภาพที่ 77 ซุมปราสาทบายน ตอเนื่องจากภาพที่ 76 แสดงใหเห็นถึงขนาดของใบหนาบุคคลที่


ใหญโต รูปแบบของชั้นหลังคาตองปรับเปลี่ยนจากทรงพุมของหลังคาชั้นซอนลักษณะเปนแทงมาก
ขึ้น เครื่องประดับอาจถูกปรับเปลี่ยนไปตามพื้นที่ที่เหลือนอยลง
ที่มา : Jacque,Claude,ANGKOR Cities and Temples (Bangkok:Asia Books,1997),250.
128

ภาพที่ 78 นาคปกที่ตกอยูในปราสาทตาพรหม เมืองพระนคร จ.เสียมเรียบ กัมพูชา ศิลปะบายน


อายุราวๆกลางพุทธศตวรรษที่ 18 แสดงนาคปกตั้งอยูในกรอบสามเหลี่ยมบนฐานที่เปนแทน
ลําตัวของนาควกกลับไปทําหนาที่เปนกรอบที่ครอบเศียรของนาคไว มีลายใบไมประดับเหนือกรอบ
อีกชั้นหนึ่ง
129

ภาพที่ 79 ซุมหลังคาแบบชั้นซอน ในปราสาทตาพรหม ศิลปะแบบบายน ที่ยังรักษาระเบียบ


แบบเดิม มีหลังคาหลายชั้นซอน ขนาดลดหลั่นกัน มีพื้นที่วางใหประดับเครื่องบนได เชือ่ วาตัวอยาง
นาคปกในภาพที่ 78 คงถูกวางที่มุมชั้นหลังคาแตละชั้นของซุมปราสาทแบบนี้
130

ภาพที่ 80 ภาพหลังคาซุมปราสาทบันทายฉมาร ที่มีหลักฐานทางจารึกกลาวไววาสรางในสมัยพระเจา


ชัยวรมันที่ 7 ศิลปะสมัยบายน กําหนดอายุราวๆกลางพุทธศตวรรษที่ 18 เปนซุมรูปใบหนาบุคคลขนาด
ใหญ สังเกตเห็นวาที่มุมชั้นหลังคาบางมุมยังมีรูปบุคคลนั่งอยูแทนที่นาคปกในรูปแบบของหลังคาชั้นซอน
เชื่อวาบุคคลที่นั่งคงเปนเทวดาในพุทธศาสนา ตามความเชื่อที่เคารพกันในสมัยนั้น
ที่มา : Marilia,Albanse, Angkor splendors of the Khmer civilization
(Bangkok:Asiabooks,2002),264.
131

ภาพที่ 81 ภาพของซุมประตูทางเขาของปราสาทตาสม เมืองพระนครธม จ.เสียมเรียบ กัมพูชา


ศิลปะแบบบายน อายุราวๆกลางพุทธศตวรรษที่ 18. สังเกตเห็นไดวา ใบหนาบุคคลมีขนาดใหญกิน
เนื้อที่ของชั้นหลังคาสองถึงสามชั้น คงเหลือชั้นหลังคาที่อยูเ หนือใบหนาบุคคลเพียงสองชัน้ ใหเห็น
และเปนชัน้ หลังคาทีม่ ีพนื้ ทีแ่ คบอาจไมสามารถประดับเครื่องประดับได เชนเดียวกับปราสาทบายน
ที่มา : Marilia,Albanse, Angkor splendors of the Khmer civilization
(Bangkok:Asiabooks,2002),260.
132

ภาพที่ 82 ปราสาทตาสม เมืองพระนครธม จ.เสียมเรียบ กัมพูชา ศิลปะบายน อายุราวๆพุทธศตวรรษที่


18. เปนปราสาทที่มีหลังคาเปนแบบชั้นซอนหลายชั้น แบบนี้เชื่อวาคงมีเครื่องประดับบนชั้นหลังคาเปน
นาคปกเหมือนที่พบตัวอยางที่ปราสาทตาพรหมในรูปที่ 78
ที่มา : Jacque,Claude,ANGKOR Cities and Temples (Bangkok:Asia Books,1997), 230.
133

ภาพที่ 83 ซุมประตูของปราสาทพระขรรค เมืองพระนครธม จ.เสียมเรียบ กัมพูชา ศิลปะสมัยบายน


อายุราวๆ พุทธศตวรรษที่ 18 เปนซุมทางดานทิศตะวันตก เปนแบบหลังคาชั้นซอน หลังคาแบบนี้แม
สรางในสมัยบายน แตยังรักษาระเบียบการประดับนาคปกไวที่มุมชั้นหลังคา ตามหลักฐานที่พบเปน
นาคปกตกอยูในปราสาทพระขรรค (ตามภาพที่ 84)
ที่มา : Marilia,Albanse, Angkor splendors of the Khmer civilization(Bangkok:Asiabooks,2002),251.
134

ภาพที่ 84 นาคปกพบตกที่บริเวณตัวปราสาทพระขรรค เปนนาคปก


รูปแบบศิลปะบายน เชนเดียวกับที่ปราสาทตาพรหม แสดงใหเชื่อไดวา
นาใชประดับที่ปราสาทแบบหลังคาชั้นซอน
135

ภาพที่ 85 ปราสาทนาคพัน สรางในสมัยพระเจาชัยวรมันที่ 7 ศิลปะสมัยบายน อายุราวๆพุทธ


ศตวรรษที่ 18 เป น ปราสาทที่ มี ห ลั ง คาแบบชั้ น ซ อ น ปราสาทนาคพั น นี้ ไ ด รั บ การบู ร ณะแล ว
สังเกตเห็นไดวาที่มุมชั้นหลังคามีนาคปกประดับอยู
136

ภาพที่ 86 ปรางคสามยอด อ.เมือง จ.ลพบุรี เชื่อกันวาเดิมคือปราสาทขอมแบบบายน อายุ


ราวๆพุทธศตวรรษที่ 18 สรางจากศิลาแลง มีลวดลายปูนปนประดับอยู ลวดลายปูนปนบาง
แหงอาจไดรับการบูรณะในสมัยหลัง แตยังสังเกตเห็นเคาโครงของปราสาทแบบขอมที่ล่ําเตี้ย
เครื่องบนชั้นหลังคาเปนพุม มีเครื่องประดับชั้นหลังคาที่เปนนาคปกประดับไวหลายมุม
137

ภาพที่ 87 หลังคาปรางคสามยอด จ.ลพบุรี ตอเนื่องจากภาพที่ 86 ขยายใหเห็นเครื่องบนชั้น


หลังคาที่เปนแบบชั้นซอน แตละชั้นมีเครื่องประดับวางอยูโดยเฉพาะตรงมุม จะเห็นเปนนาคปก
สลักดวยหินทรายประดับอยู
138

ภาพที่ 88 นาคปกที่ประดับบนชั้นหลังคาปรางคสามยอด ลพบุรี สวยขยายตอเนื่องจากรูปที่ 87


แสดงใหเห็นถึงนาคปกที่สลักจากหินทราย เปนนาคในกรอบสามเหลี่ยมตั้งอยูบนฐานยกขึ้น มี
กรอบโครงครอบสวนบนของนาคเขาไว เหนือกรอบเปนลายใบไม ตามระเบียบของการทํานาคปก
แบบหลังคาชั้นซอน
139

ภาพที่ 89 นาคปกที่ประดับบนชั้นหลังคาปรางคสามยอด ลพบุรี นาคปกรูปนี้ดูเหมือนถูกซอม


บูรณะโดยการพอกปูนทับไวที่เนื้อหินทราย
140

ภาพที่ 90 พระปรางควัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ศิลปะหลังสมัยบายน อายุราวๆปลายพุทธ


ศตวรรษที่ 18 ที่แสดงความเปนพุมมีเคาโครงแบบปราสาทขอมใหเห็นไดอยู เครื่องบนชั้นหลังคา
ของพระปรางคมีเครื่องประดับวางไวตามแตละชั้นหลายชิ้น
141

ภาพที่ 91 หลังคาพระปรางค วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี สวนขยายตอเนื่องจากรูปที่ 90 แสดง


ใหเห็นวา เครื่องประดับชั้นหลังคาไดถูกทําใหเปนกลีบขนุนแลว เปนกลีบขนุนที่ทําจากศิลาแลงแลวปน
ปูนทับ สังเกตกลีบขนุนที่ตรงมุมประธานที่มีขนาดใหญ ชางทําใหมีขนาดใหญตามขนาดของมุม
ประธาน ในสวนที่เปนมุมรองชางก็ทําเล็กตามขนาดของมุมรอง กลีบขนุนจึงมีขนาดไมเทากัน และหัว
ของกลีบขนุนมีลักษณะเรียว
142

ภาพที่ 92 กลีบขนุนที่มุมประธานของพระปรางควัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ตรงมุมดานทิศ


ตะวันออกเฉียงเหนือ ระหวางชั้นที่สองและชั้นที่สาม แสดงใหเห็นวาทําจากศิลาแลง มีลักษณะ
เปนสามเหลี่ยม มีรองรอยใหเห็นวาเคยมีลวดลายประดับ สังเกตโดยดูจากสวนบนที่มีรองรอยปูน
ปนเหมือนเปนกรอบหรือโครงของนาคปก สวนบนของกรอบยังมองเห็นคลายเปนลายใบไมที่
ประดับติดไว เชื่อวาแตเดิมคงเปนนาคปก แลวตอมาบูรณะเปนกลีบขนุน เหมือนตรงที่อื่นๆ แต
ชิ้นนี้บังเอิญปูนกระเทาะรอนออกมา ทําใหมองดูเหมือนเปนกรอบของนาคปกมากกวา
143

ภาพที่ 93 กลีบขนุนที่ประดับมุมชั้นหลังคาของพระปรางควัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ทิศ


ตะวันตกเฉียงใต แสดงใหเห็นเปนกลีบขนุนที่มิไดตั้งฉาก แตเอียงสอบไปทางดานหลัง คลายกัน
กับนาคปกที่ประดับชั้นหลังคา ทําใหเกิดภาพที่เปนพุม
144

ภาพที่ 94 ปรางควัดพระพายหลวง เมืองเกา จังหวัดสุโขทัย อายุราวๆครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 18


แสดงใหเห็นถึงวิวัฒนาการอีกระดับหนึ่งของปรางคแบบไทยที่กลายรูปมาจากปราสาทแบบขอม โดย
สังเกตจากเครื่องบนชั้นหลังคาที่ยืดยกสูงขึ้น มีความสูงของชั้นหลังคาโดยรวมสูงมากกวาตัวเรือนธาตุ
เครื่องประดับไดกลายรูปเปนกลีบขนุนแลว ยกเวนรูปที่อยูมุมหลังคาชั้นที่สองทางขวามือในภาพ ที่เปน
รูปนาคปูนปน แตเปนนาคที่มิไดอยูในกรอบสามเหลี่ยม เชื่อวาถูกปนมาประดับไวเมื่อคราวบูรณะใน
สมัยหลัง แตอยางนอยรูปนี้ไดแสดงใหเห็นวาชางที่ทําเมื่อตอนบูรณะคงตองรูระเบียบของการประดับ
นาคปกที่ชั้นหลังคาของปราสาทแบบขอม หรือไมก็ระเบียบของปรางคแบบไทยในยุคแรกๆ
ที่มา : สันติ เล็กสุขุม,ประวัติศาสตรศิลปะไทย (กรุงเทพฯ:ดานสุทธาการพิมพ,2544),76.
145

ภาพที่ 95 ปรางคที่วัดสม อ.เมือง จ.พระนครศรอยุธยา อายุราวๆ ปลายพุทธศตวรรษที่ 19


แสดงใหเห็นถึงการกลายรูปจากปราสาทแบบขอมมาเปนปรางคแบบไทยในยุคแรกๆ แลว
สังเกตจากรูปทรงของปรางคที่เปนแทงยืดสูงขึ้น ชั้นหลังคารวมกันมีความสูงมากกวาเรือน
ธาตุ แตละชั้นหลังคาลดขนาดเล็กลงอยางชาๆ ไมรวดเร็วเหมือนปราสาทแบบขอม
146

ภาพที่ 96 เครื่องบนหลังคาของปรางควัดสม สวนขยายตอเนื่องจากรูปที่ 95 แสดงใหเห็นวา


เครื่องประดับที่มุมไดกลายรูปเปนกลีบขนุนไปหมดแลว เปนกลีบขนุนที่มีความสูงใกลเคียงกับความ
สูงของแตละชั้นหลังคา และกลีบขนุนไดถูกประดับไวที่มุมของปรางคทุกมุมเหมือนกัน
147

ภาพที่ 97 เครื่องบนชั้นหลังคาปรางควัดสม สวนขยายตอเนื่องจากรูปที่ 95-96 แสดงใหเห็นถึง


กลีบขนุนที่มีขนาดเทากัน แมวาจะตั้งอยูที่มุมประธานหรือมุมรอง ในขณะที่มุมประธานมีขนาด
ใหญกวามุมรองเล็กนอย และสังเกตเห็นวากลีบขนุนที่นี่ไมเปนกลีบขนุนแบบเรียบ ชางไดปน
ลวดลายประดับที่ขอบของกลีบขนุนไวดวย ลายที่ประดับดูแลวทําใหนึกถึงลายประดับที่กรอบของ
นาคปกของขอม
148

ภาพที่ 98 ปราสาทตาแกว เมืองพระนคร จ.เสียมเรียบ กัมพูชา ศิลปะสมัยบันทายสรี ? หรือศิลปะ


สมัยคลัง ? อายุราวๆพุทธศตวรรษที่ 16 เปนปราสาทที่ยังสรางไมเสร็จ ทําไดเพียงแควางประกอบหิน
ไว ยังมิไดลงมือแกะสลักลวดลาย สํารวจไมพบปราสาทจําลองประดับชั้นหลังคาวางตั้งไว ถาเปน
เชนนั้นจริง อาจเปนหลักฐานสนับสนุนแนวความคิดที่วา เครื่องประดับชั้นหลังคาชางคงทําหลังสุดแลว
นํามาวางไว
ที่มา : Jacque,Claude,ANGKOR Cities and Temples (Bangkok:Asia Books,1997),117.
149

ภาพที่ 99 รูของหิน เชื่อวาชางเจาะขึ้นที่มุมของชั้นหลังคาซุมประตูปราสาทแมบุญตะวันตก ดาน


ทิศตะวันออกหลังทางดานทิศใต แสดงใหเห็นรองรอยที่ชางเจาะรูไวตรงมุม ที่เปนตําแหนงที่วาง
เครื่องประดับชั้นหลังคา สันนิษฐานวาเปนรูสําหรับใหสอดสลักกันเครื่องประดับหลังคาไมใหตกลง
มาไดงาย
150

ภาพที่ 100 รูของหินที่มุมของชั้นหลังคาซุมประตูของปราสาทแมบุญตะวันตก ดานทิศตะวันออก


หลังทางดานทิศใต แสดงใหเห็นรองรอยที่ชางเจาะรูไวหลายรูตามแนวที่เคยวางเครื่องประดับชั้น
หลังเพื่อสอดสลักกันตกเชนเดียวกัน
151

ภาพที่ 101 ปราสาทจําลอง จัดแสดงอยูที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพิมาย (ยังไมไดตรวจสอบ


แหลงที่มา) แสดงใหเห็นวาชางที่สลักปราสาทจําลองหลังนี้พยายามสลักเครื่องประดับที่มุมชั้น
หลังคาปราสาทจําลอง ตามระเบียบเหมือนปราสาทหลังใหญ แตอาจดวยเหตุผลของเทคนิคทางชาง
ที่ขนาดและพื้นที่ ตลอดจนเนื้อหินที่จํากัด จึงไมสามารถแสดงเปนปราสาทจําลองในปราสาทจําลอง
ชิ้นนี้ได จึงสลักเปนแคปุมสามเหลี่ยมใหเห็นเปนสัญลักษณเทานั้น
152

ภาพที่ 102 ปราสาทจํ า ลอง ไม ท ราบแหล ง ที่ ม า ตั้ ง แสดงอยู ที่ ศู น ย อ นุ รั ก ษ
โบราณวัตถุ เมืองพระนคร จังหวัดเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา แสดงใหเห็นวาเปน
ปราสาทจําลองที่สลักจากหินสองชิ้น เปนปราสาทจําลองที่มีลักษณะอวนเตี้ย มี
องคประกอบของปราสาทครบถวน จุดที่นาสังเกตมากคือที่มุมชั้นหลังคา ชางได
สลักเปนหินรูปสามเหลี่ยม มีลวดลายที่แสดงเหมือนกับเปนกรอบหรือโครงของนาค
ปกที่ประดับมุมชั้นหลังคาปราสาทหลังใหญ แสดงวาปราสาทหลังใหญ(หลังอื่นๆ)
ในสมัยที่ชางสลักปราสาทจําลองนี้ไดเริ่มมีการทํานาคปกแลว หรือไมชางไดคิดทํา
นาคปกประดับไวที่ปราสาทจําลองกอนแลวจึงนําไปทําประดับที่ปราสาทหลังใหญ
ตอมา แตปราสาทหลังใหญที่ปราสาทจําลองหลังนี้ประดับอยูตองไมใชนาคปก
153

ภาพที่ 103 ปราสาทจําลอง ที่ศูนยอนุรักษโบราณวัตถุเมืองเสียมเรียบ สวนขยายของ


ภาพที่ 102 แสดงใหเห็นมุมชั้นหลังคาของปราสาทจําลอง ที่สลักเปนกรอบสามเหลี่ยม
แบบนาคปกของปราสาทหลังใหญตามที่อธิบายแลวในภาพที่ 102
154

ภาพที่ 104 ปราสาทจําลองเชื่อวาเคยประดับที่มุมชั้นหลังคาปราสาท พบในพื้นที่ของภาค


ตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนใตของไทย (ยังไมไดตรวจสอบแหลงที่มา) แสดงอยูที่หนาพิพิธ
ภัณฑสถานแหงชาติพิมาย
155

ภาพที่ 105 นาคปก (ตรงกลางของรูป) ไมทราบที่มา ตั้งแสดงอยูที่ ศูนยอนุรักษโบราณวัตถุ


เมืองพระนคร จังหวัดเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา เปนนาคที่ตั้งอยูในโครงสามเหลี่ยมบนแทน
ฐานที่ยกขึ้น สังเกตเห็นไดวา ลําตัวของนาคไดกลายไปทําหนาที่เปนกรอบโครงดานบน เหนือ
กรอบดานบนมีลายใบไมประดับอยู
156

ภาพที่ 106 เศียรนาค ไมทราบที่มา ตั้งแสดงอยูที่ ศูนยอนุรักษโบราณวัตถุ เมืองพระนคร


จังหวัดเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา ทําจากหินชิ้นเดียวตั้งอยูบนฐานที่ยกเปนแทน เปน
นาคสามเศียร เศียรกลางขนาดใหญที่สุดคายพวงอุบะตกมาที่พื้น เหนือเศียรมีลายใบไม
ครอบอยู ที่นาสังเกตคือ นาคชิ้นนี้ไมมีกรอบโครงรูปสามเหลี่ยมครอบอยูดานบน ลําตัวของ
นาคไมไดวกขึ้นมาเปนกรอบ นอกจากนี้ยังพบวาลําตัวของนาคถูกปากตัวมกรคายออกมา
แมวานาคชิ้นนี้จะตั้งอยูบนแทนฐานทําจากหินชิ้นเดียว แตไมมีกรอบครอบดานบน ลําตัว
ยังออกมาจากปากมกร จึงเชื่อวาเปนนาคปลายกรอบหนาบันมากกวาเปนนาคปก
157

ภาพที่ 107 นาคปก (ตรงกลางของรูป) แสดงอยูในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติพิมาย


สังเกตเห็นนาคสามเศียรตั้งอยูบนแทนฐาน ลําตัวนาควกขึ้นไปทําหนาที่เปนกรอบโครง
ครอบเศียรนาคไว เหนือกรอบประดับดวยลายใบไม
158
ประวัติผูวจิ ัย
ชื่อ-สกุล นายสรศักดิ์ จันทรวัฒนกุล
ที่อยู 600/1311 หมูที่ 14 ต.คูคต อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี 12130
สถานที่ทํางาน บริษัทสวัสดีฮอลิเดยจํากัด 278/37 ซ.เลิศแกว 2
ถ.อโศก-หวยขวาง บางกะป หวยขวาง ก.ท.ม. 10320
ประวัติการศึกษา
พ.ศ.2515 สําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนตนจากโรงเรียนโชติรวี
จ.นครสวรรค
พ.ศ.2517 สําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนวัดบวรนิเวศน
กรุงเทพมหานคร
พ.ศ.2521 สําเร็จปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต(โบราณคดี)
กอนประวัติศาสตร คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
ประวัติการทํางาน
พ.ศ.2521-2536 มัคคุเทศกประจําบริษัทเถกิงทัวรจํากัด 15ป
พ.ศ.2536-ปจจุบัน เปนกรรมการบริหาร บริษัทสวัสดีฮอลิเดยจํากัด
อาจารยพิเศษใหกับ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ,มหาวิทยาลัยรังสิต
มหาวิทยาลัยศิลปากร,มหาวิทยาลัยเซนตจอหน
เปนวิทยากรพิเศษใหการทองเที่ยวแหงประเทศไทยเกีย่ วกับการ
อบรมมัคคุเทศก

You might also like