You are on page 1of 41

แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ ก

แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ
สาหรับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เล่มที่ ๑
ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ

นางสาวพิมพวรรณ ลิ่มสถาพร
ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ

โรงเรียนระโนดวิทยา
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๖
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ ก

คานา

แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้


ภาษาไทยเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่ช่วยให้นักเรียนเกิดทักษะในการอ่าน ซึ่งเป็น
พื้น ฐานสาคัญของการพัฒ นาผู้เรียนให้รู้จักคิดอย่างเป็นระบบ คิดอย่างมีเหตุผ ล มีวิจารณญาณ
มีก ารไตร่ตรอง มองการณ์ไกล และรู้จักนาความรู้ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันอย่างเหมาะสม เนื้อหาของแบบฝึกทักษะเป็นวิธีการเรียนรู้จากง่ายไปหายาก เป็นนวัตกรรม
ที่เร้าความสนใจของนักเรียน แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญนี้ มีทั้งหมด ๕ เล่ม ดังนี้
เล่มที่ ๑ พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจความสาคัญจากนิทาน
เล่มที่ ๓ การอ่านจับใจความสาคัญจากบทความ
เล่มที่ ๔ การอ่านจับใจความสาคัญจากข่าว
เล่มที่ ๕ การอ่านจับใจความสาคัญจากสารคดี
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญแต่ละเล่ม นักเรียนสามารถศึกษาหาความรู้ โดยฝึก
ตามลาดับขั้นตอน ผู้จัดทาขอขอบพระคุณผู้อานวยการโรงเรียน คณะครู และนักเรียนโรงเรียนระโนดวิทยา
ที่ ให้ ค วามร่ ว มมื อและสนั บ สนุ น ให้ แบบฝึ ก ทั ก ษะชุ ดนี้ ส าเร็จ สมบู รณ์ ด้ ว ยดี และขอขอบพระคุ ณ
ผู้ เชี่ ย วชาญที่ ให้ ค าแนะน าและตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของแบบฝึ กทั ก ษะด้ ว ยดี เ สมอมา จึ ง
ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้

พิมพวรรณ ลิ่มสถาพร
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ ข

สารบัญ

เรื่อง หน้า

คานา............................................................................................................................................................. ก
สารบัญ......................................................................................................................................................... ข
คาชี้แจงในการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ................................................ ค
คาแนะนาในการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ........................................................ ง
มาตรฐานการเรียนรู้................................................................................................................................ จ
ตัวชี้วัด....................................................................................................................................................... จ
จุดประสงค์การเรียนรู้............................................................................................................................. จ
แบบทดสอบก่อนเรียน......................................................................................................................... ๑
แบบฝึกทักษะที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ.......................................... ๓
ใบความรู้ที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ.......................................... ๔
กิจกรรมที่ ๑.๑ ............................................................................................................ ๘
กิจกรรมที่ ๑.๒ ............................................................................................................................. ๙
กิจกรรมที่ ๑.๓ ............................................................................................................................. ๑๐
กิจกรรมที่ ๑.๔ ............................................................................................................................. ๑๑
กิจกรรมที่ ๑.๕ ............................................................................................................................. ๑๒
แบบฝึกทักษะที่ ๒ กลวิธีการอ่านจับใจความสาคัญ......................................................... ๑๓
ใบความรู้ที่ ๒ กลวิธีการอ่านจับใจความสาคัญ........................................................... ๑๔
กิจกรรมที่ ๒.๑ ............................................................................................................. ๑๘
กิจกรรมที่ ๒.๒ ............................................................................................................................. ๑๙
กิจกรรมที่ ๒.๓ ............................................................................................................................. ๒๐
กิจกรรมที่ ๒.๔ ............................................................................................................................. ๒๑
กิจกรรมที่ ๒.๕ ............................................................................................................................. ๒๒
แบบทดสอบหลังเรียน......................................................................................................................... ๒๓
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน...................................................................................................................... ๒๕
เฉลยแบบฝึกทักษะ..................................................................................................................................... ๒๖
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน....................................................................................................................... ๓๔
บรรณานุกรม................................................................................................................................................ ๓๕
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ ค

คาชี้แจงในการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ

๑. แบบฝึกทักษะนี้เป็นแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ สาหรับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑


เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ
๒. แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ เล่มนี้ประกอบด้วย
๒.๑ ส่วนหน้า ประกอบด้วย
- ปก
- คานา
- สารบัญ
- คาชี้แจงการใช้แบบฝึกทักษะ
- คาแนะนาการใช้แบบฝึกทักษะ
- สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
- ตัวชี้วัด
- จุดประสงค์การเรียนรู้
๒.๒ ส่วนเนื้อหา ประกอบด้วย
- แบบทดสอบก่อนเรียน
- แบบฝึกทักษะที่ ๑
- ใบความรู้ที่ ๑
- กิจกรรมที่ ๑.๑-๑.๕
- แบบฝึกทักษะที่ ๒
- ใบความรู้ที่ ๒
- กิจกรรมที่ ๒.๑-๒.๕
๒.๓ ส่วนท้ายประกอบด้วย
- เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
- เฉลยกิจกรรมของแต่ละแบบฝึกทักษะ ตั้งแต่แบบฝึกทักษะที่ ๑-๒
- เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
- บรรณานุกรม
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ ง

คาแนะนาในการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ

เมื่อครูผู้สอนได้นาแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชุดนี้ไปใช้ในการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนควรปฏิบัติดังนี้
๑. ทดสอบความรู้ก่อนเรียนของนักเรียน เพื่อวัดความรู้พื้นฐานของผู้เรียน แต่ละคน
๒. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชุดนี้ควรใช้
ควบคู่กับแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
๓. ขณะปฏิบัติกิจกรรมควรแนะนานักเรียนอย่างใกล้ชิด
๔. เมื่อนักเรียนทาแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ เสร็จแล้วให้ช่วยกันตรวจ
คาตอบ จากเฉลยแบบฝึกทักษะ
๕. ให้นักเรียนซักถามเนื้อหาที่ไม่เข้าใจ แล้วครูอธิบายเพิ่มเติม
๖. ทดสอบความรู้ของนักเรียนโดยใช้แบบทดสอบหลังเรียน
๗. เก็บรวมคะแนนเพื่อดูความก้าวหน้าของนักเรียน ตรวจคาตอบ แบบฝึกทักษะในแต่ละ
กิจกรรมทั้ง ๒ แบบฝึกอีกครั้ง เพื่อประเมินความถูกต้องในการทาแบบฝึกทักษะของนักเรียน
๘. ใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ให้นักเรียนได้เรียนรู้ และซ่อมเสริมความรู้
ด้วยตนเอง
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ จ

สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

สาระที่ ๑ : การอ่าน

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาใน


การดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน

ตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ม ๑/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน
ม ๑/๒ จับใจความสาคัญของเรื่องที่อ่าน
ม ๑/๓ ระบุเหตุผลและข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ม ๑/๔ ระบุและอธิบายคาเปรียบเทียบและคาที่มีหลายความหมายในบริบทต่างๆ
จากการอ่าน
ม ๑/๕ ตีความคายากในเอกสารวิชาการ โดยพิจารณาจากบริบท
ม ๑/๙ มีมารยาทในการอ่าน

จุดประสงค์การเรียนรู้

๑. บอกความหมายและจุดมุ่งหมายของการอ่านจับใจความได้
๒. ตั้งคาถามและตอบคาถามจากการอ่านจับใจความสาคัญได้
๓. สรุปใจความสาคัญจากการอ่านจับใจความสาคัญจากเรื่องที่กาหนดให้ได้
๔. สรุปสาระสาคัญจากการอ่านจับใจความสาคัญจากเรื่องที่กาหนดให้ได้
๕. เขียนแผนผังความคิดสรุปความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญได้
๖. เขียนแผนผังความคิดสรุปกลวิธีการอ่านจับใจความสาคัญได้
๗. มีมารยาทในการอ่าน
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 1

แบบทดสอบก่อนเรียน
เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ จานวน ๑๐ ข้อ

คาชี้แจง นักเรียนอ่านคาถามแล้วเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
โดยทาเครื่องหมายกากบาท (x) ลงในช่องอักษร ก ข ค หรือ ง ลงใน
กระดาษคาตอบที่ครูแจกให้

๑. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับความหมายของใจความสาคัญ
ก. ทาให้เกิดเรื่อง
ข. เด่นเฉพาะตัว
ค. ครอบคลุมข้อความอื่นๆ
ง. ถูกทุกข้อ
๒. ข้อใดคือหลักการอ่านจับใจความสาคัญ
ก. ค้นหาข้อคิดเห็น
ข. ค้นหาสาระสาคัญ
ค. ค้นหาข้อเท็จจริง
ง. ค้นหาคาสาคัญในเรื่อง
๓. ใจความสาคัญมีลักษณะอย่างไร
ก. เป็นคา
ข. เป็นวลี
ค. เป็นกลุ่มคา
ง. เป็นประโยค
๔. ข้อใดคือจุดมุ่งหมายของการอ่านจับใจความ
ก. เมื่ออ่านแล้วสรุปหรือย่อเรื่องได้
ข. เมื่ออ่านแล้วสามารถจาคาประพันธ์ชนิดต่างๆ
ค. เมื่ออ่านแล้วสามารถปฏิบัติตามคาสั่งและคาแนะนาได้
ง. เมื่ออ่านแล้วสามารถคาดการณ์และหาความจริงแสดงข้อคิดเห็น
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 2

๕. บุคคลในข้อใดไม่มีพื้นฐานในการอ่านจับใจความ
ก. นุชไม่ชอบวรรณคดีไทยเมื่ออ่านเรื่องพระอภัยมณีไม่ค่อยเข้าใจ
ข. อรสาได้ฉายาว่า หนอนหนังสือเพราะชอบอ่านหนังสือเกือบทุกประเภท
ค. นาวินอ่านหนังสือทุกประเภทและมีการจดบันทึกความรู้จากการอ่าน
ง. แป้งอ่านเรื่องแก่นข้าวได้อย่างรวดเร็วและเข้าใจ เพราะเคยทานามาก่อน
๖. ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการอ่านจับใจความสาคัญ
ก. อ่านซ้า
ข. อ่านผ่านๆ
ค. อ่านทบทวน
ง. อ่านให้ละเอียด
๗. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักการของการอ่านจับใจความสาคัญ
ก. เข้าใจประเภท
ข. ตั้งจุดมุ่งหมาย
ค. ใช้พจนานุกรม
ง. สารวจส่วนประกอบ
๘. “ตารวจจับโจรที่ปล้นร้านทองเยาวราชในตัวเมืองจังหวัดสงขลา เมื่อวานนี้” ใจความสาคัญ
คือข้อใด
ก. ตารวจจับโจร
ข. โจรปล้นร้านทอง
ค. ร้านทองในจังหวัดสงขลา
ง. โจรปล้นร้านทองเมื่อวานนี้
๙. “ตารวจจับโจรที่ปล้นร้านทองเยาวราชในตัวเมืองจังหวัดสงขลาเมื่อวานนี้” ใจความรอง
คือข้อใด
ก. ตารวจจับโจร
ข. โจรปล้นร้านทอง
ค. ร้านทองในจังหวัดสงขลา
ง. โจรปล้นร้านทองเมื่อวานนี้
๑๐. ข้อใดไม่ใช่จุดมุ่งหมายของการอ่านจับใจความสาคัญ
ก. อ่านแล้วแสดงข้อคิดเห็นได้
ข. อ่านแล้วสามารถสรุป ย่อเรื่องได้
ค. อ่านแล้วสามารถปฏิบัติตนตามได้
ง. อ่านแล้วสามารถแต่งคาประพันธ์ได้
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 3

แบบฝึกทักษะที่ ๑
ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 4

ใบความรู้ที่ ๑
เรื่อง ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ

ความหมาย

การอ่านจับใจความสาคัญ คือ การค้นหาสาระสาคัญของเรื่องหรือของหนังสือที่อ่าน ส่วน


นั้นคือข้อความที่มีสาระครอบคลุมข้อความอื่นๆ ในย่อหน้านั้นหรือเนื้อเรื่องทั้งหมด ข้อความตอนหนึ่ง
หรือเรื่องหนึ่งจะมีใจความสาคัญที่สุดเพียงหนึ่งเดียว ซึ่งใจความสาคัญก็คือสิ่งที่เป็นสาระสาคัญของ
เรื่องนั่นเอง

จุดมุ่งหมายในการอ่านจับใจความสาคัญ

๑. เพื่อให้นักเรียนอ่านและจับใจความได้ ไม่ใช่เพียงเพื่อเรียนจบภายในชั่วโมง
เท่านั้น เพื่อให้กิจกรรมการอ่านมีความหมาย การอ่านจึงควรเป็นการอ่านจากเอกสารนอกเหนือจาก
หนังสือเรียนหนังสือไม่ควรหนามาก ควรจับเวลาให้พอเหมาะกับเนื้อเรื่อง
๒. ให้ผู้อ่านสามารถบอกรายละเอียดของเรื่องราวที่อ่านว่ามีสาระอะไรบ้าง
โดยเล่ารายละเอียดได้ชัดเจนเพื่อแสดงว่าผู้อ่านมีความเข้าใจในเรื่องที่อ่าน
๓. อ่านเพื่อปฏิบัติตามคาสั่งและคาแนะนา
๔. ฝึกการใช้สายตา นิยมอ่านเพื่อฝึกการอ่านเร็วและตอบคาถามได้ถูกต้อง
แม่นยา
๕. อ่านเพื่อสรุปหรือย่อเรื่องที่อ่านเกี่ยวกับอะไร
๖. อ่านแล้วสามารถคาดการณ์ ทานายเรื่องว่าจะลงเอยอย่างไร
๗. อ่านและทารายงานย่อสรุป มีการฝึกโน้ตย่อ
๘. อ่านเพื่อหาความจริง และแสดงข้อคิดเห็นได้
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 5

หลักการอ่านจับใจความสาคัญ

๑. ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านให้ชัดเจน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกาหนดการอ่านได้
อย่างเหมาะสมและสามารถจับใจความหรือคาตอบได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
๒. ฝึกการแบ่งจับสายตาในแต่ละบรรทัดโดยใช้สายตาจับเป็นจุดๆ พยายามแผ่ช่วงสายตา
ให้กว้าง และใช้เวลาให้น้อย แล้วเคลื่อนสายตาไปอย่างรวดเร็ว ทาซ้าๆ หลายๆ ครั้งจนเกิดความ
ชานาญ เมื่อชานาญแล้วจะใช้สายตาในการจับเนื้อความในแต่ละบรรทัดน้อยลง
๓. พยายามเก็บแต่ใจความสาคัญของข้อความ หรือเรื่องที่อ่านอย่างรวดเร็ว
๔. ขณะที่อ่านจะต้องรู้ว่าข้อความสาคัญอยู่ที่ใด โดยมีข้อสังเกตว่าใจความสาคัญส่วนมาก
จะปรากฏ ให้เห็นในบรรทัดแรก หรือบรรทัดสุดท้ายของแต่ละย่อหน้า
๕. กาหนดปริมาณของข้อความที่จะอ่านไว้ล่วงหน้า และจับเวลาทุกครั้งเมื่อเริ่มต้นอ่าน
ในแต่ละหน้า ซึ่งหากมีการฝึกหลายๆ ครั้งจะทาให้เวลาในการอ่านลดน้อยลง
๖. ขณะที่อ่านต้องพยายามบังคับสายตาให้กวาดไปตามตัวหนังสืออย่างรวดเร็ว ควร
หลีกเลี่ยง การอ่านทีละคา และควรได้รับการฝึกอ่านทีละประโยค
๗. หากเรื่องที่อ่านเป็นเรื่องที่มีความยาวและหลายย่อหน้า เมื่ออ่านจบลงทุกครั้ง ควรมี
การทดสอบ ความเข้าใจด้วยการฝึกถามตัวเองตามหัวข้อดังนี้ เป็นเรื่องอะไร ใคร ทาอะไร ที่ไหน
เมื่อไร อย่างไร และทาไม ซึ่งบางเรื่องอาจมีคาตอบไม่ครบแต่ต้องตอบเท่าที่มีอยู่ให้ครบถ้วนเพื่อจะ
จับใจความสาคัญให้ได้มากที่สุดแล้วจดลงในกระดาษ นาไปเปรียบเทียบกับเนื้อเรื่องที่อ่านมาถึง
ความถูกต้องและพยายามสารวจหรือเปรียบเทียบข้อบกพร่องเพื่อหาทางแก้ไข

แนวทางการอ่านจับใจความสาคัญ

๑. สารวจส่วนประกอบของหนังสือ เช่น ชื่อเรื่อง คานา สารบัญ ฯลฯ เพราะส่วนประกอบ


ของหนังสือจะทาให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่อง หรือหนังสือที่อ่านได้กว้างขวางและรวดเร็ว
๒. ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านเพื่อเป็นแนวทางใช้กาหนดวิธีอ่านให้เหมาะสม และจับใจความ
หรือหาคาตอบได้รวดเร็วขึ้น โดยจับใจความให้ได้ว่า ใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร แล้วนามาสรุป
เป็นใจความสาคัญ
๓. มีทักษะในการใช้ภาษาสามารถเข้าใจความหมายของคาศัพท์ต่าง ๆ มีประสบการณ์หรือ
ภูมิหลังเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน มีความเข้าใจในเรื่องที่อ่าน มีความเข้าใจ ในลักษณะของหนังสือ เพราะ
หนังสือแต่ละประเภทมีรูปแบบการแต่ง และเป้าหมายของเรื่องที่แตกต่างกัน
๔. ใช้ความสามารถในด้านการแปลความหมายของคา ประโยค และข้อความต่าง ๆ
อย่างถูกต้องรวดเร็ว
๕. ใช้ประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องที่อ่านมาประกอบจะช่วยให้เข้าใจและจับใจความได้งา่ ยขึ้น
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 6

ข้อควรปฏิบัติในการอ่านจับใจความสาคัญ

๑. อ่านผ่าน ๆ โดยตลอด เพื่อให้รู้ว่าเรื่องที่อ่านเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร มีใคร ทาอะไร


ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร
๒. อ่านให้รายละเอียดอีกครั้งหนึ่ง เพื่อทาความเข้าใจเรื่องที่อ่าน
๓. เขียนเรียบเรียงใจความสาคัญของเรื่องที่อ่านด้วยสานวนภาษาของตนเอง
๔. อ่านทบทวนเพื่อตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง

การฝึกฝนการอ่านจับใจความสาคัญ

๑. สร้างนิสัยรักการอ่านโดยพยายามฝึกอ่านข้อความ ทุกประเภท แม้แต่ป้ายประกาศต่างๆ


ก็ควรอ่าน การฝึกอ่านบ่อย ๆจะทาให้เกิดนิสัยรักการอ่าน อ่านหนังสือได้เร็ว ช่างสังเกต และจดจา
ข้อความต่าง ๆ ได้ดีขึ้น
๒. หัดใช้พจนานุกรมเมื่ออ่านแล้ว พบศัพท์ที่ไม่เข้าใจอย่าท้อถอยหรือปล่อยผ่าน การใช้
พจนานุกรมจะทาให้นักเรียนรู้คาศัพท์มากขึ้น
๓. จดบันทึกการอ่านขณะที่อ่าน ควรมีสมุดจดบันทึกเพื่อบันทึกถ้อยคาที่น่าสนใจ แปลกใหม่
มีคติ ข้อคิดความรู้ใหม่ ๆ หรือข้อความที่นักเรียนประทับใจ โดยจดบันทึกชื่อหนังสือ และผู้เขียน หาก
เป็นหนังสือที่นักเรียนต้องอ่านบ่อย ๆ ควรใช้ปากกาเน้นข้อความหรือแปะกระดาษสีคั่นหน้าที่มี
ข้อความดังกล่าว
๔. ฝึกจับใจความสาคัญทีละย่อหน้า การอ่านจับใจความนั้น ควรเริ่มต้นจากการจับใจความ
สาคัญในแต่ละย่อหน้าให้ได้ถูกต้องแม่นยาเสียก่อน เพราะงานเขียนที่ดีนั้น แม้ใจความหลายอย่างใน
หนึ่งย่อหน้ามีใจความสาคัญ ๑ ใจความเท่านั้น หากเรื่องมีหลายย่อหน้า แสดงว่ามีใจความสาคัญ
หลายใจความ เมื่อนาใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้ามาพิจารณารวมกันจะทาให้สามารถจับใจความ
สาคัญของเรื่องได้ในที่สุด
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 7

ตัวอย่างการอ่านจับใจความสาคัญ

ค้างคาว

ค้างคาวเป็น สัตว์ที่ออกหากินในเวลากลางคืน มันสามารถบินผาดโผนฉวัดเฉวียนไปมา


โดยไม่ต้องพึ่งสายตา มันอาศัยเสียงสะท้อนกลับของตั วมันเอง โดยค้างคาวจะส่งคลื่นสัญ ญาณพิเศษ
ซึ่งสั้นและรวดเร็ว เมื่อสัญญาณไปกระทบสิ่งกีดขวางด้านหน้าก็จะสะท้อนกลับเข้ามา ทาให้รู้ว่ามีอะไร
อยู่ด้านหน้า มันจะบินหลบเลี่ยงได้ แม้แต่สายโทรศัพท์ที่ระโยงระยางเป็นเส้นเล็กๆ คลื่นเสี ยงก็จะไป
กระทบแล้วสะท้อนกลับเข้าหูของมันได้ ไม่มีสัตว์ชนิดไหนที่จะสามารถรับคลื่นสะท้อนกลับไปได้ใน
ระยะใกล้ แต่ค้างคาวทาได้ และบินวนกลับได้ทันท่วงที

วิธีการสรุปใจความ

ใคร = ค้...........................
างคาว
ทาอะไร = ออกหากิน
...........................
เมื่อไร = ตอนกลางคืน
...........................
อย่างไร = โดยไม่ ใช้สายตา แต่อาศัยเสียงสะท้อนกลับของตัวมันเอง
............................................................................................
ผลเป็นอย่างไร = สามารถหลบสิ่งกีดขวาง
........................................

ใจความสาคัญของเรื่อง ค้างคาว คือ


ค้างคาวจะออกหากินในตอนกลางคืน โดยไม่ต้องอาศัยสายตา แต่จะอาศัยเสี
........................................................................................................................................ ยง
....................
สะท้อนกลับของตัวมันเอง
............................................................................................................................................................
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 8

กิจกรรมที่ ๑.๑

คาชี้แจง นักเรียนจับคู่คาถามและคาตอบให้ถูกต้อง (๑๐ คะแนน)

คาถาม คาตอบ

๑. การอ่านจับใจความสาคัญ ควรตั้งจุดมุง่ หมายในการอ่าน

การค้นหาสาระสาคัญของเรื่องหรือของ
หนังสือที่อ่าน ส่วนนั้นคือข้อความที่มีสาระ
๒. ก่อนที่จะอ่านจับใจความสาคัญ
ควรทาอย่างไร ครอบคลุมข้อความอื่นๆ

๑. เพื่อให้อ่านและจับใจความได้
๒. เพื่อบอกรายละเอียดของเรื่องราวที่อ่าน
๓. ในการฝึกอ่านจับใจความสาคัญ
๓. อ่านเพื่อปฏิบัติตามคาสั่งและคาแนะนา
ควรปฏิบัติอย่างไร
๔. ฝึกการใช้สายตา นิยมอ่านเพื่อฝึกการอ่าน
เร็วและตอบคาถามได้ถูกต้อง
๕. เพื่อสรุปหรือย่อเรื่องที่อ่านเกี่ยวกับอะไร
๖. เพื่อคาดการณ์ ทานายเรื่องว่าจะลงเอย
๔. เมื่ออ่านจบแล้ว อย่างไร
เพือ่ ช่วยให้การจาแม่นยา ๗. เพื่อทารายงานย่อสรุป มีการฝึกโน้ตย่อ
นักเรียนควรทาอย่างไร ๘. เพื่อหาความจริงและแสดงข้อคิดเห็นได้

สร้างนิสัยรักการอ่าน ฝึกใช้พจนานุกรม
๕. การอ่านจับใจความ จดบันทึก ฝึกจับใจความทีละย่อหน้า
มีจุดมุ่งหมายอย่างไร
จดบันทึก
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 9

กิจกรรมที่ ๑.๒

คาชี้แจง นักเรียนอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ แล้วตั้งคาถามพร้อมทั้ง


แสดงคาตอบที่ถูกต้อง (๑๐ คะแนน)

คาถาม คาตอบ

๑.................................................................. ๑..................................................................
................................................................... ...................................................................
.................................................................... ....................................................................

๒.................................................................. ๒..................................................................
................................................................... ...................................................................
.................................................................... ....................................................................

๓.................................................................. ๓..................................................................
................................................................... ...................................................................
.................................................................... ....................................................................

๔.................................................................. ๔..................................................................
................................................................... ...................................................................
.................................................................... ....................................................................

๕.................................................................. ๕..................................................................
................................................................... ...................................................................
.................................................................... ....................................................................
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 10

กิจกรรมที่ ๑.๓

คาชี้แจง นักเรียนทาเครื่องหมาย (/) หน้าข้อที่เป็นข้อเท็จจริงและทาเครื่องหมาย (X)


หน้าข้อที่เป็นข้อคิดเห็น (๑๐ คะแนน)

………..…... ๑. การอ่านจับใจความสาคัญเป็นการอ่านค้นหาสาระ

................. ๒. การอ่านควรไม่ควรใช้เวลานานมากเกินไป

................. ๓. ใจความสาคัญส่วนมากจะปรากฏในบรรทัดแรกหรือบรรทัดสุดท้าย

................. ๔. ชื่อเรื่อง คานา สารบัญ เป็นส่วนประกอบของหนังสือ

................. ๕. การอ่านทุกครั้งเราควรจดบันทึกความรู้จากเรื่องที่อ่าน

................. ๖. ในหนึ่งย่อหน้าจะมีใจความสาคัญที่สุดเพียงอย่างเดียว

................. ๗. การตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านเป็นแนวทางในการกาหนดการอ่าน

................. ๘. การทดสอบเป็นการตรวจสอบความเข้าใจในการอ่าน

................. ๙. ในการอ่านเราควรฝึกแบ่งการจับสายตาในแต่ละบรรทัด

................. ๑๐. หนังสือแต่ละประเภทมีรูปแบบการแต่งและเป้าหมายแตกต่างกัน


แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 11

กิจกรรมที่ ๑.๔

คาชี้แจง นักเรียนเขียนแผนผังความคิดสรุป เรื่อง ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความ


สาคัญ (๑๐ คะแนน)

ความหมาย จุดมุ่งหมาย

………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………

ความรู้พื้นฐาน
การอ่านจับใจความสาคัญ

หลักการอ่าน ข้อควรปฏิบัติ
จับใจความสาคัญ การอ่านจับใจความสาคัญ

………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 12

กิจกรรมที่ ๑.๕

คาชี้แจง นักเรียนอ่านเรื่องที่กาหนดให้แล้วสรุปใจความสาคัญให้ถูกต้อง (๑๐ คะแนน)

เตารีดไหม้เป็นปัญหาที่พบบ่อยๆ ซึ่งเมื่อนามารีดผ้าจะทาให้ฝืดรีดไม่คล่อง และที่


พื้นเตารีด ก็จะมีรอยไหม้ดาติดอยู่ วิธีการแก้ไขก็คือการใช้ยาสีฟันป้ายที่รอยไหม้ของเตารีด
แล้วใช้เศษผ้าถูแรง ๆ ให้ทั่วรอยไหม้ก็จะหายไป และนาผ้าชุบน้าทาความสะอาดอีกครั้ง
เตารีดก็จะใช้ได้ดีตามปกติ

วิธีการสรุปใจความ

ใคร = ............................................................................................
ทาอะไร = ............................................................................................
เมื่อไร = ............................................................................................
อย่างไร = ............................................................................................
ผลเป็นอย่างไร = ............................................................................................

ใจความสาคัญของเรื่อง คือ

..............................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................
..............................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 13

แบบฝึกทักษะที่ ๒
กลวิธีการอ่านจับใจความสาคัญ
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 14

ใบความรู้ที่ ๒
เรื่อง กลวิธีการอ่านจับใจความสาคัญ

ใจความสาคัญ

ใจความสาคัญ คือ แก่นของย่อหน้าที่สามารถครอบคลุมเนื้อความในประโยคอื่น ๆ ในย่อ


หน้านั้นหรือสามารถเป็นหัวเรื่องของย่อหน้านั้นๆ ได้ และสามารถเป็นประโยคเดี่ยวๆ ได้ โดยไม่ต้อง
มีประโยคอื่นประกอบ ซึ่งในแต่ละย่อหน้าจะมีประโยคใจความสาคัญเพียงประโยคเดียวหรืออย่าง
มากไม่เกิน ๒ ประโยค

ใจความรองหรือพลความ หมายถึง ใจความหรือประโยคที่ช่วยขยาย


ใจความสาคัญเป็นใจความให้ชัดเจนเช่น การอธิบายคาจากัดความ การยกตัวอย่าง
การเปรียบเทียบ การแสดงเหตุผลสนับสนุน รวมถึงการเพิ่มรายละเอียดให้แก่ประโยค
ใจความสาคัญ ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งที่กล่าวมาข้างต้น
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 15

ลักษณะของใจความสาคัญ

๑. ใจความสาคัญเป็นข้อความที่ทาหน้าที่คลุมใจความของข้อความอื่นๆ ในตอน นั้น ๆ ได้หมด


ข้อความนอกนั้นเป็นเพียงรายละเอียดหรือส่วนขยายใจความเท่านั้น
๒. ใจความสาคัญของข้อความหนึ่งๆ หรือย่อหน้าหนึ่งๆ ส่วนหนึ่งๆ ส่วนมากจะมีเพียงประการ
เดียว
๓. ใจความสาคัญส่วนมากมีลักษณะเป็นประโยค อาจจะเป็นประโยคเดียวหรือประโยคซ้อนก็
ได้ แต่ในบางกรณีใจความสาคัญไม่ปรากฏเป็นประโยค เป็นเพียงประโยคเดียวหรือประโยคซ้อนก็ได้
บางกรณีใจความสาคัญไม่ปรากฏเป็นประโยค เป็นเพียงใจความที่แฝงอยู่ในข้อความตอนนั้น ๆ
๔. ใจความสาคัญที่มีลักษณะเป็นประโยคส่วนมากจะปรากฏอยู่ต้นข้อความ เช่น ความ
แตกต่างของมนุษย์และสัตว์อีกประการหนึ่งที่เห็นเด่นชัด คือเรื่องของการใช้ภาษา มนุษย์สามารถ
ถ่ายทอดความรู้ความคิดออกมาเป็นตัวเขียน คือ เป็นภาษาหนังสือสาหรับให้ผู้อื่นอ่านและเข้าใจตรง
ตามที่ต้องการ แต่สัตว์ใช้ได้แต่เสียงเท่านั้นในการสื่อสาร แม้แต่เสียงหลายท่านก็ยังมีความเห็นว่าสัตว์
จะทาเสียงเพื่อแสดงความรู้สึก เช่น โกรธ หิว เจ็บปวด เท่านั้น เสียงของสัตว์ไม่อาจสื่อ
ความหมายได้ละเอียดลออเท่าภาษาพูดของมนุษย์

การพิจารณาตาแหน่งใจความสาคัญ

ใจความสาคัญของข้อความในแต่ละย่อหน้าจะปรากฏดังนี้
๑. ประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนต้นของย่อหน้า
๒. ประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนกลางของย่อหน้า
๓. ประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนท้ายของย่อหน้า
๔. ประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนต้นและตอนท้ายของย่อหน้า
๕. ผู้อ่านสรุปขึ้นเอง จากการอ่านทั้งย่อหน้า (กรณีใจความสาคัญหรือความคิดสาคัญ
อาจรวมอยู่ในความคิดย่อยๆ โดยไม่มีความคิดที่เป็นประโยคหลัก) หลักการอ่านจับใจความให้เข้าใจ
ง่ายและรวดเร็ว
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 16

วิธีจับใจความสาคัญ

วิธีการจับใจความสาคัญมีหลายวิธี เช่น การขีดเส้นใต้ การใช้สีต่างๆ กัน แสดงความสาคัญ


มากน้อยของข้อความ การบันทึกย่อเป็นส่วนหนึ่งของการอ่านจับใจความสาคัญที่ดี แต่ผู้ที่ย่อควรย่อ
ด้ว ยส านวนภาษา และส านวนของตนเองไม่ ควรย่อ ด้ว ยการตัด เอาข้อ ความส าคั ญ มาเรียงต่ อกั น
เพราะอาจทาให้ผู้อ่านพลาดสาระสาคัญบางตอนไปอันเป็นเหตุให้การตีความผิดพลาดคลาดเคลื่อนได้
วิธีจับใจความสาคัญมีหลักดังนี้
๑. พิจารณาทีละย่อหน้า
๒. ตัดส่วนที่เป็นรายะละเอียดออกได้ เช่น ตัวอย่าง สานวนโวหาร อุปมาอุปไมย
(การเปรียบเทียบ) ตัวเลข สถิติ ตลอดจนคาถามหรือคาพูดของผู้เขียนซึ่งเป็นส่วนขยาย
๓. สรุปใจความสาคัญด้วยภาษาของตนเอง

การสรุปสาระสาคัญการอ่านจับใจความ

สรุปสาระสาคัญการอ่าน คือ บทสรุปของเนื้อหาเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้ผู้อ่านจดจาได้


และนาไปใช้หลังอ่านจบแล้ว การสรุปสาระสาคัญคล้ายกับการย่อความ แต่มิใช่การย่อความ ซึ่งที่
อาจเรียกได้หลายคา อาทิเช่น ประเด็นสาคัญ ตะกอนความรูห้ ลักวิชา เคล็ดวิชา หรือความคิดรวบยอด
โดยการสรุปสาระสาคัญจากการอ่านเป็นข้อๆ

ตัวอย่าง
การอดนอนจัดเป็นสาเหตุอย่างหนึ่ง อาจส่งผลให้เกิดสิวได้เพราะความเครียดส่งผลต่อระบบ
ต่าง ๆ ของร่างกาย มีการเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนซึ่งส่งผลให้เกิดการเห่อของสิวได้ สังเกตได้ว่า
เด็กวัยรุ่นหลายคนพอใกล้สอบ จะมีสิวเห่อขึ้น ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากความเครียดนั่นเอง
๑. สรุปข้อเท็จจริง คือ เหตุการณ์หรือเรื่องราวที่เป็นมาหรือเป็นอยู่ตามความเป็นจริง โดยไม่
ดัดแปลงข้อความใด ๆ เลย
สิวเห่อขึ้น ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากความเครียด
๒. สาเหตุ คือ ต้นเหตุหรือเหตุเริ่มทาให้เกิดเหตุการณ์หรือเรื่องราวต่าง ๆ อาจจะแสดงให้
เห็นได้ชัดเจนหรือแฝงอยู่ต้องทาความเข้าใจให้ชัดเจน
การอดนอน
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 17

๓. ผลลัพธ์ คือ ผลที่เกิดขึ้นจากสาเหตุในเหตุการณ์หรือเรื่องราวต่าง ๆ จัดเป็นบั้นปลาย


ของเหตุการณ์หรือเรื่องราวเป็นได้ทั้งผลดีหรือไม่ดีก็ได้
เกิดการเห่อของสิว
๔. สรุปคุณค่า คือประโยชน์ที่ได้รับจากการอ่านเป็นได้ทั้งประโยชน์ทางตรง ที่ปรากฏให้
เห็นได้ชัดเจน และแฝงอยู่ในเหตุการณ์นั้นๆ
การเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมน
๕. ข้อคิดเห็น เป็นความคิดของผู้อ่านเกี่ยวกับเรื่องราวที่ชวนคิดหรือความรู้สึกความเชื่อ
แนวคิดที่นาเสนอต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งข้อคิดเห็นนั้นอาจแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับพื้นฐานและ
ประสบการณ์ของแต่ละบุคคล
การอดนอนเป็นสาเหตุที่ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนในร่างกาย
ส่งผลให้เกิดการเห่อของสิว
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 18

กิจกรรมที่ ๒.๑

คาชี้แจง นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (๑๐ คะแนน)

๑. ใจความสาคัญ หมายถึง ....................................................................................................


............................................................................................................................. .......................
....................................................................................................................................................

๒. การสรุปใจความสาคัญ ควรใช้ภาษาอย่างไร
....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................

๓. ใจความสาคัญมีลักษณะอย่างไร

....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................

๔. การสรุปคุณค่า หมายถึงอะไร
............................................................................................................................. .......................
....................................................................................................................................................

๕. ข้อเท็จจริงแตกต่างจากข้อคิดเห็นอย่างไร
....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 19

กิจกรรมที่ ๒.๒

คาชี้แจง นักเรียนทาเครื่องหมาย (/) หน้าข้อที่เป็นข้อเท็จจริงและทาเครื่องหมาย (X)


หน้าข้อที่เป็นข้อคิดเห็น (๑๐ คะแนน)

………… ๑. ใจความรองคือประโยคที่ขยายความประโยคสาคัญ

............ ๒. ใจความสาคัญทาหน้าที่คลุมใจความของข้อความอื่นๆ

............ ๓. ใจความสาคัญส่วนมากมีลักษณะเป็นประโยค

........... ๔. การสรุปสาระสาคัญควรเรียบเรียงเป็นคาพูดของตนเอง

............ ๕. ในแต่ละย่อหน้าจะปรากฏใจความสาคัญในตาแหน่งเดียว

............ ๖. การบันทึกย่อเป็นส่วนหนึ่งของการอ่านจับใจความ

............ ๗. สาเหตุคือเหตุที่ทาให้เกิดเรื่องราว

............. ๘. การสรุปสาระสาคัญคล้ายกับการย่อความ

............. ๙. ผลลัพธ์ คือ ผลที่เกิดขึ้นจากสาเหตุในเหตุการณ์หรือเรื่องราวต่างๆ

........... ๑๐. การจดบันทึกเราควรใช้คาพูดของตนเอง


แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 20

กิจกรรมที่ ๒.๓

คาชี้แจง นักเรียนขีดเส้นใต้ประโยคใจความสาคัญจากข้อความที่กาหนดให้
(คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน)

๑. ความสมบูรณ์ของชีวิตมาจากความเข้าใจชีวิตเป็นพื้นฐาน คือเข้าใจธรรมชาติ เข้าใจความเป็น


มนุษย์ และความสัมพันธ์ที่เกื้อกูลกันระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ และมนุษย์กับธรรมชาติ มีความรัก
ความเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ และธรรมชาติอย่างจริงใจ
๒. ความเครียดทาให้เพิ่มฮอร์โมนอะดรีนาลีนในเลือด ทาให้หัวใจเต้นเร็ว เส้นเลือดบีบตัว กล้ามเนื้อ
เขม็ งตึ ง ระบบย่ อ ยอาหารผิ ดปกติ และเกิ ด อาการปวดหั ว ปวดท้ อ ง ใจสั่ น แข้ งขาอ่ อ นแรง
ความเครียดจึงเป็นตัวการที่เร่งให้แก่เร็ว
๓. สารอาหารในข้าวกล้องจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง และช่วยป้องกันโรคอ้วน ข้าวกล้องมีสารเส้นใย
มากกว่าข้าวขาว ๘ เท่า ข้าวกล้องจะช่วยดูดซับไขมัน และน้าตาลในอาหาร แล้วขับออกมาเป็น
กากอาหาร ทาให้ไขมันและน้าตาลซึมเข้ากระแสเลือดน้อยลง
๔. ปลาทูจากจังหวัดสมุทรสงครามหรือแม่กลองกินอร่อยกว่าปลาทูน่านน้าอื่น เพราะเนื้อดิน และ
ระบบน้า บริเวณก้นอ่าวไทยแถบจังหวัดสมุทรสาคร และสมุทรสงครามโดยเฉพาะบริเวณปากน้า
และก้นอ่าวแม่กลองจะเป็นดินเลนร่วนซุยซึ่งมีเนื้อดินที่ทาให้ ปลาทูอร่อย
๕. คนโบราณท่านแบ่งการปกครองในบ้านไว้ดังนี้ คือ สามีเป็นใหญ่นอกบ้าน ซึ่งหมายความว่าสามี
เป็นผู้มีภาระหน้าที่ทางานภายนอกบ้านเป็นงานอาชีพหาเงินเลี้ยงครอบครัว ส่วนภริยาเป็นใหญ่
ในบ้าน ซึ่งหมายความถึงผู้รับผิดชอบในการปกครองดูแลกิจการในบ้านซึ่งเป็นพวกการบ้านงานครัว
นั่นเองหรือ “สามีเป็นผู้หา ภริยาเป็นผู้เก็บ (เงิน)” การแบ่งหน้าที่ของสามีและภริยากันเช่นนี้ทา
ให้คนแต่ก่อนอยู่ด้วยกัน อย่างสันติสุข
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 21

กิจกรรมที่ ๒.๔

คาชี้แจง นักเรียนเขียนแผนผังความคิดสรุปความรู้ เรื่อง กลวิธีการอ่านจับใจความสาคัญ


(๑๐ คะแนน)

ความหมายของใจความสาคัญ ตาแหน่งของใจความสาคัญ
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………

กลวิธีการอ่าน
จับใจความสาคัญ

ลักษณะของ การสรุปสาระสาคัญ
ใจความสาคัญ
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 22

กิจกรรมที่ ๒.๕

คาชี้แจง นักเรียนอ่านบทร้อยกรองแล้วสรุปสาระสาคัญตามหัวข้อที่กาหนด
(คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน)

นกเอ๋ยนกน้อยน้อย บินล่องลอยเป็นสุขศรี
ขนขาวราวสาลี อากาศดีไม่มีภัย
ทุกทิศเจ้าเที่ยวท่อง ฟ้าสีทองอันสดใส
มีป่าพาสุขใจ มีตน้ ไม้มีลาธาร
ผู้คนไม่มีโรค นับเป็นโชคสุขสาราญ
อากาศไร้พิษสาร สัตว์ชื่นบานดินชื่นใจ
คนสัตว์ได้พึ่งปา มารักษาป่าไม้ไทย
สิ้นป่าเหมือนสิ้นใจ ช่วยปลูกใหม่ไว้ทดแทน

สรุปข้อเท็จจริง …………………………………….……………………

สาเหตุ …………………………………….……………………

ผลลัพธ์ …………………………………….……………………

สรุปคุณค่า …………………………………….……………………

ข้อคิดเห็น …………………………………….……………………
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 23

แบบทดสอบหลังเรียน
เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ จานวน ๑๐ ข้อ

คาชี้แจง นักเรียนอ่านคาถามแล้วเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
โดยทาเครื่องหมายกากบาท (x) ลงในช่องอักษร ก ข ค ง

๑. ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการอ่านจับใจความ
ก. อ่านซ้า
ข. คัดลอก
ค. อ่านผ่านๆ
ง. อ่านให้ละเอียด
๒. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับใจความสาคัญ
ก. เข้าใจประเภท
ข. ตั้งจุดมุ่งหมาย
ค. ใช้พจนานุกรม
ง. สารวจส่วนประกอบ
๓. “ตารวจจับโจรที่ปล้นร้านทองเยาวราชในตัวเมืองจังหวัดสงขลาเมื่อวานนี้” ใจความสาคัญ
คือข้อใด
ก. ตารวจจับโจร
ข. โจรปล้นร้านทอง
ค. ร้านทองในจังหวัดสงขลา
ง. โจรปล้นร้านทองเมื่อวานนี้
๔. “ตารวจจับโจรที่ปล้นร้านทองเยาวราชในตัวเมืองจังหวัดสงขลาเมื่อวานนี้” ใจความรอง
คือข้อใด
ก. ตารวจจับโจร
ข. โจรปล้นร้านทอง
ค. ร้านทองในจังหวัดสงขลา
ง. โจรปล้นร้านทองเมื่อวานนี้
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 24

๕. ข้อใดไม่ใช่จุดมุงหมายของการอ่านจับใจความสาคัญ
ก. อ่านแล้วแสดงข้อคิดเห็นได้
ข. อ่านแล้วสามารถสรุป ย่อเรื่องได้
ค. อ่านแล้วสามารถปฏิบัติตนตามได้
ง. อ่านแล้วสามารถแต่งคาประพันธ์ได้
๖. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับใจความสาคัญ
ก. ทาให้เกิดเรื่อง
ข. เด่นเฉพาะตัว
ค. ครอบคลุมข้อความอื่นๆ
ง. ถูกทุกข้อ
๗. ข้อใดคือหลักการอ่านจับใจความสาคัญ
ก. ค้นหาสาระรอง
ข. ค้นหาข้อคิดเห็น
ค. ค้นหาข้อเท็จจริง
ง. ค้นหาใจความสาคัญ
๘. ใจความสาคัญมีลักษณะอย่างไร
ก. เป็นคา
ข. เป็นวลี
ค. เป็นข้อความ
ง. เป็นประโยค
๙. ข้อใดคือจุดมุ่งหมายของการอ่านจับใจความ
ก. เมื่ออ่านแล้วสรุปหรือย่อเรื่องได้
ข. เมื่ออ่านแล้วสามารถจาคาประพันธ์ชนิดต่างๆ
ค. เมื่ออ่านแล้วสามารถปฏิบัติตามคาสั่งและคาแนะนาได้
ง. เมื่ออ่านแล้วสามารถคาดการณ์และหาความจริงแสดงข้อคิดเห็น
๑๐. บุคคลในข้อใดไม่มีพื้นฐานในการอ่านจับใจความ
ก. นุชไม่ชอบวรรณคดีไทยเมื่ออ่านเรื่องพระอภัยมณีไม่ค่อยเข้าใจ
ข. อรสาได้ฉายาว่า หนอนหนังสือเพราะชอบอ่านหนังสือเกือบทุกประเภท
ค. นาวินอ่านหนังสือทุกประเภทและมีการจดบันทึกความรู้จากการอ่าน
ง. แป้งอ่านเรื่องแก่นข้าวได้อย่างรวดเร็วและเข้าใจ เพราะเคยทานามาก่อน
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 25

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

ข้อที่ คาตอบ
๑. ค
๒. ก
๓. ง
๔. ก
๕. ก
๖. ข
๗. ก
๘. ข
๙. ง
๑๐. ง
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 26

เฉลยแบบฝึกทักษะ
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 27

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๑

กิจกรรมที่ ๑.๑ (แนวคาตอบ)

๑. การอ่านจับใจความสาคัญ ควรตั้งจุดมุง่ หมายในการอ่าน

การค้นหาสาระสาคัญของเรื่องหรือของ
๒. ก่อนที่จะอ่านจับใจความสาคัญ หนังสือที่อ่าน ส่วนนั้นคือข้อความที่มีสาระ
ควรทาอย่างไร ครอบคลุมข้อความอื่นๆ

๑. เพื่อให้อ่านและจับใจความได้
๓. ในการฝึกอ่านจับใจความสาคัญ ๒. เพื่อบอกรายละเอียดของเรื่องราวที่อ่าน
ควรปฏิบัติอย่างไร ๓. อ่านเพื่อปฏิบัติตามคาสั่งและคาแนะนา
๔. ฝึกการใช้สายตา นิยมอ่านเพื่อฝึกการอ่าน
เร็วและตอบคาถามได้ถูกต้อง
๕. เพื่อสรุปหรือย่อเรื่องที่อ่านเกี่ยวกับอะไร
๔. เมื่ออ่านจบแล้ว ๖. เพื่อคาดการณ์ ทานายเรื่องว่าจะลงเอย
เพื่อช่วยให้การจาแม่นยา อย่างไร
นักเรียนควรทาอย่างไร ๗. เพื่อทารายงานย่อสรุป มีการฝึกโน้ตย่อ
๘. เพื่อหาความจริงและแสดงข้อคิดเห็นได้

สร้างนิสัยรักการอ่าน ฝึกใช้พจนานุกรม
๕. การอ่านจับใจความ จดบันทึก ฝึกจับใจความทีละย่อหน้า
มีจุดมุ่งหมายอย่างไร
จดบันทึก
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 28

กิจกรรมที่ ๑.๒ (แนวคาตอบ)

คาถาม คาตอบ
๑. ในหนึ่งย่อหน้ามีประโยคที่เป็นใจความสาคัญกี่ประโยค ๑. หนึ่งประโยค
๒. การสร้างแรงดึงดูดใจเพื่อฝึกอ่านใจความสาคัญให้แก่ ๒. หนังสือนิทาน
ผู้เรียน ควรอ่านหนังสือประเภทใด
๓. การเขียนโน๊ตย่อควรใช้ภาษาอย่างไร ๓. ใช้ภาษาของตนเอง
๔. การฝึกอ่านควรหลีกเลี่ยงการอ่านลักษณะอย่างไร ๔. อ่านทีละคา
๕. การอ่านเพื่อให้รู้ว่า อะไร มีใคร ๕. อ่านแบบผ่านๆ
ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร เป็นการอ่านแบบใด
อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน

กิจกรรมที่ ๑.๓

๑.  ๒.  ๓.  ๔.  ๕. 
๖.  ๗.  ๘.  ๙.  ๑๐. 
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 29

กิจกรรมที่ ๑.๔

ความหมาย จุดมุ่งหมาย

การค้นหาสาระสาคัญของเรื่องหรือ อ่านเพื่อจับใจความสาคัญและสรุป
…………………………………………………
…………………………………………………
ของหนังสือที่อ่าน
………………………………………………… เรื่องที่อ่าน
…………………………………………………

ความรู้พื้นฐาน
การอ่านจับใจความสาคัญ

หลักการอ่าน ข้อควรปฏิบัติ
จับใจความสาคัญ การอ่านจับใจความสาคัญ

ตั……………………………………………
้งจุดมุ่งหมายในการอ่าน จับใจความ อ่านคร่าวๆ ก่อนและอ่านแบบ
……………………………………………
ส……………………………………………
าคัญจากเรื่องที่อ่าน ทดสอบเพื่อทา ละเอียด เขียนเรียบเรียงเป็น
……………………………………………
ความเข้ าใจจากเรื่องที่อ่าน
…………………………………………… สานวนของตนเองและอ่านทบทวน
……………………………………………
…………………………………………… เพื่อตรวจสอบความถูกต้องทดสอบ
……………………………………………
………………….............................
เพื ่อทาความเข้าใจจากเรื่องที่อ่าน

ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 30

กิจกรรมที่ ๑.๕

วิธีการสรุปใจความ

ใคร = เตารีด............................................................................................
ทาอะไร = มีรอยไหม้ ............................................................................................
เมื่อไร = ที พ
่ น
้ ื เตารี ด
............................................................................................
อย่างไร = ใช้ยาสี............................................................................................
ฟันป้ายที่รอยไหม้ของเตารีดแล้วใช้เศษผ้าถูแรง ๆ
ให้ทั่ว และนาผ้าชุบน้าทาความสะอาด
............................................................................................
ผลเป็นอย่างไร = รอยไหม้ ก็จะหายไป
............................................................................................

ใจความสาคัญของเรื่อง คือ

เตารีดมีรอยไหม้ ที่พื้นเตารีด ใช้ยาสีฟันป้ายที่รอยไหม้ของเตารีดแล้วใช้เศษผ้าถูแรง ๆ


..............................................................................................................................
ให้ทั่ว และนาผ้าชุบน้าทาความสะอาด รอยไหม้ก็จะหายไป
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................

ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 31

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๒

กิจกรรมที่ ๒.๑

๑.ใจความสาคัญ หมายถึง ประโยคหรื อข้อความที่เป็นแก่นของเนื้อความสามารถ


....................................................................................................
........................................................................................................................................
ครอบคลุมเนื้อความในประโยคอื่นๆ
๒.การสรุปใจความสาคัญ ควรใช้ภาษาอย่างไร
ใช้ภาษาของตนเอง
....................................................................................................................................................
๓.ใจความสาคัญมีลักษณะอย่างไร
ส่วนมากเป็นประโยคความเดียว
....................................................................................................................................................
๔.การสรุปคุณค่า หมายถึงอะไร
ประโยชน์ที่ได้รับจากการอ่านเป็นได้ทั้งประโยชน์ทางตรงที่ปรากฏให้เห็นได้.......................
............................................................................................................................. ชัดเจน
และแฝงอยู่ในเหตุการณ์นั้นๆ
....................................................................................................................................
๕.ข้อเท็จจริงแตกต่างจากข้อคิดเห็นอย่างไร
ข้อเท็จจริงคือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ไม่ดัดแปลงข้อความ ข้อคิดเห็น คือ ความรู้สึกนึกคิด
....................................................................................................................................................
ของผู้อ่านที่มีต่อเหตุการณ์นั้น ๆ
............................................................................................................................. .......................

กิจกรรมที่ ๒.๒

๑.  ๒.  ๓.  ๔.  ๕. 
๖.  ๗.  ๘.  ๙.  ๑๐. 
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 32

กิจกรรมที่ ๒.๓

๑.ความสมบูรณ์ของชีวิตมาจากความเข้าใจชีวิตเป็นพื้นฐาน คือเข้าใจธรรมชาติ เข้าใจความเป็นมนุษย์


และความสัมพันธ์ที่เกื้อกูลกันระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ และมนุษย์กับธรรมชาติ มีความรักความเมตตา
ต่อเพื่อนมนุษย์ และธรรมชาติอย่างจริงใจ
๒.ความเครียดทาให้เพิ่มฮอร์โมนอะดรีนาลีนในเลือด ทาให้หัวใจเต้นเร็ว เส้นเลือดบีบตัว กล้ามเนื้อ
เขม็ ง ตึ ง ระบบย่ อ ยอาหารผิ ด ปกติ และเกิ ด อาการปวดหั ว ปวดท้ อ ง ใจสั่ น แข้ ง ขาอ่ อ นแรง
ความเครียดจึงเป็นตัวการที่เร่งให้แก่เร็ว
๓.สารอาหารในข้าวกล้องจะช่วยให้ร่างกายแข็ งแรง และช่วยป้องกันโรคอ้วน ข้าวกล้องมีสารเส้นใย
มากกว่าข้าวขาว ๘ เท่า ข้าวกล้องจะช่วยดูดซับไขมัน และน้าตาลในอาหาร แล้วขับออกมาเป็นกาก
อาหาร ทาให้ไขมันและน้าตาลซึมเข้ากระแสเลือดน้อยลง
๔.ปลาทูจากจังหวัดสมุทรสงครามหรือแม่กลองกินอร่อยกว่าปลาทูน่านน้าอื่น เพราะเนื้อดิน และ
ระบบน้า บริเวณก้นอ่าวไทยแถบจังหวัดสมุทรสาคร และสมุทรสงครามโดยเฉพาะบริเวณปากน้าและ
ก้นอ่าวแม่กลองจะเป็นดินเลนร่วนซุยซึ่งมีเนื้อดินที่ทาให้ ปลาทูอร่อย
๕.คนโบราณท่านแบ่งการปกครองในบ้านไว้ดังนี้ คือ สามีเป็นใหญ่นอกบ้าน ซึ่งหมายความว่าสามีเป็น
ผู้มีภาระหน้าที่ทางานภายนอกบ้านเป็นงานอาชีพหาเงินเลี้ยงครอบครัว ส่วนภริยาเป็นใหญ่ในบ้าน ซึ่ง
หมายความถึงผู้รับผิดชอบในการปกครองดูแลกิจการในบ้านซึ่งเป็นพวกการบ้านงานครัวนั่นเองหรือ “สามี
เป็นผู้หา ภริยาเป็นผู้เก็บ (เงิน)” การแบ่งหน้าที่ของสามีและภริยากันเช่นนี้ทาให้คนแต่ก่อนอยู่ด้วยกัน
อย่างสันติสุข
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 33

กิจกรรมที่ ๒.๔ (แนวคาตอบ)

ความหมายของใจความสาคัญ ตาแหน่งของใจความสาคัญ
ใจความสาคัญและเด่นที่สุด อยู่ตอนต้น ตอนกลางและ
…………………………………………………
…………………………………………………
ในย่อหน้า ตอนท้ายของย่อหน้า
…………………………………………………
……………………………………………

กลวิธีการอ่านจับใจความสาคัญ

ลักษณะของ การสรุปสาระสาคัญ
ใจความสาคัญ
ท…………………………………………………
าหน้าที่คลุมใจความของข้อความ บทสรุปของเนื้อหาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
…………………………………………………
อื…………………………………………………
่น ๆ ลักษณะเป็นประโยค ที่ต้องการให้ผู้อ่านจดจาได้ และ
…………………………………………………
ส่…………………………………………………
วนมาก จะปรากฎอยู่ต้นข้อความ นาไปใช้หลังอ่านจบแล้ว
…………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………

ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน

กิจกรรมที่ ๒.๕

สรุปข้อเท็จจริง ป่าไม้มีคุณค่า
สาเหตุ คนรักษาป่า
ผลลัพธ์ สิ่งมีชีวิตได้อาศัยป่า
สรุปคุณค่า ป่าไม้มีประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิต
ข้อคิดเห็น เราควรช่วยกันดูแลรักษาป่าไม้
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 34

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

ข้อที่ คาตอบ
๑. ข
๒. ก
๓. ข
๔. ง
๕. ง
๖. ค
๗. ก
๘. ง
๙. ก
๑๐. ก
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ 35

บรรณานุกรม

กรมวิชาการ. (๒๕๕๑). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑. กรุงเทพมหานคร :


ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจากัด.
จุติกาญจน์ สุวรรณธาดา. ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการอ่านที่มีต่อการพัฒนความสนใจ
ในการอ่านและความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.
(2537) .ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต (การประถมศึกษา). กรุงเทพมหานคร :
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. ถ่ายเอกสาร.
จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสาราญ. (๒๕๔๗). การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : คณะ
อักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ถวัลย์ มาศจรัส. (2540) . การเขียนหนังสือส่งเสริมการอ่านและหนังสืออ่านเพิ่มเติม.
กรุงเทพมหานคร : เลิฟแอนด์ลิฟเพรส.
สุวิทย์ มูลคา. (๒๕๔๘). กลยุทธ์การสอนคิดวิเคราะห์. กรุงเทพมหานคร : ดวงกมลสมัย.
แววมยุรา เหมือนนิล. (๒๕๕๓). การอ่านจับใจความ. กรุงเทพมหานคร : ชมรมเด็ก.
เอกรินทร์ สี่มหาสารและคณะ. (๒๕๔๖). แม่บทมาตรฐานภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : อักษร
เจริญทัศน์ อจท.

You might also like