You are on page 1of 23

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส 4.

ปรากฏการณ์ขอ้ ใดที่คายพลังงาน
ก. ทาแอลกอฮอล์บริ เวณผิวหนังแล้วรู ้สึกเย็น
1. อุณหภูมิ 52  C สาร A B และ C อยูใ่ นสภาพแก๊ส ของเหลว และของแข็ง
ข. เทไนโตรเจนเหลวบนพื้นเวทีเพื่อให้เกิดควันขาว
ตามลาดับ จุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสารทั้งสามในข้อใดเป็ นไปได้
ค. ใส่เม็ดเกลือบนน้ าแข็งในถังทาไอศกรี มทาให้อุณหภูมิต่ากว่า 0 C
จุดหลอมเหลว ( C) จุดเดือด ( C) ง. การเกิดหยดไอน้ าที่เกาะด้านนอกห้องที่เปิ ดเครื่ องปรับอากาศ
A B C A B C 5. ข้อใดเป็ นกิจกรรมหรื อผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมีท้ งั หมด(ENT-O 51)
ก. - 91 -8.8 32 98 -42 330 ก. การสังเคราะห์แสงของพืช กลิ่นหอมที่เกิดจากยาดับกลิ่น
ข. -188 32 -91 -42 330 98 ข. การเกิดหิ นงอก หิ นย้อย การเผากระดาษ
ค. -188 -91 32 -42 98 330 ค. การจุดพลุดอกไม้ไฟ เมฆรวมตัวเป็ นฝน
ง. 32 -91 -188 330 98 -42 ง. การเกิดสนิมเหล็ก การสูบลมยางล้อรถ
2. กาหนดให้ 6. ข้อใด ไม่ ใช่ ปฏิกิริยาเคมี ( O - net 56 )
ก. การเผาไหม้เชื้อเพลิง
สารไฮโดรคาร์บอน จุดเดือด ( C)
ข. การระเหิ ดของลูกเหม็น
A 121
ค. การเกิดฝนกรด
B 30
ง. การใส่ปูนขาวเพื่อแก้ปัญหาดินเปรี้ ยว
C -6.3
จ. การใช้ยาลดกรดแก้ทอ้ งอืดท้องเฟ้ อ
D -103
7. ไส้ดินสอดาและเพชรเป็ น
ข้อสรุ ปใด ผิด
ก. อันยรู ป ( หรื อรู ป ) ของคาร์บอน
ก. สาร C และ D มีสถานะเป็ นแก๊สที่ 28 C ข. ไอโซโทปของคาร์บอน
ข. สาร A มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมากที่สุด
ค. ธาตุต่างชนิดกัน
ค. สาร D อัดเป็ นของเหลวได้ง่ายที่สุด ง. สารประกอบต่างชนิดกัน
ง. ถ้านาสารทั้ง 4 ชนิดไปแช่ที่ -50 C จะมีสารอยูช่ นิดเดียวเท่านั้นที่มีสถานะที่เป็ น 8. ความแตกต่างของสิ่ งใดที่มีผลให้กามะถันมีรูปผลึก 2 แบบ
แก๊ส ก. จานวนมวลอะตอม
3. ของเหลวใดมีความร้อนแฝงของการเกิดไอสูงที่สุด ข. พลังงานจลน์
ก. น้ า ค. การจัดเรี ยงตัวของโมเลกุล
ข. เอทิลแอลกอฮอร์ ง. จานวนโมเลกุล
ค. คลอโรฟอร์
ง. มเอทิลอีเทอร์
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 1/23 หน้า 1
9. กามะถันรอมบิกและมอนอคลินิกต่างก็มีสูตรโมเลกุล S₈ แต่แตกต่างกัน เพราะเหตุใด 12. ผลึกของแข็งประเภทใดที่ระเหิ ดได้( มข.50)
ก. รู ปผลึกต่างกัน ก. ผลึกโมเลกุล
ข. จุดหลอมเหลวต่างกัน ข. ผลึกโคเวเลนต์ร่างตาข่าย
ค. ความหนาแน่นต่างกัน ค. ผลึกโลหะ
ง. การจัดเรี ยงตัวโมเลกุลต่างกัน ง. ผลึกไอออนิก
10. ปั จจัยใดต่อไปนี้ 13. ของแข็งต่อไปนี้ จัดเป็ นผลึกประเภทใด( มข.51)
1. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลว น้ าแข็งแห้ง ควอตซ์ อาร์กอน
2. ปริ มาณของของเหลวซึ่งมีสมดุลระหว่างของเหลวและไอ ก. โคเวเลนต์ โลหะ ไอออนิก
3. อุณหภูมิของของเหลว ข. โมเลกุล โคเวเลนต์ อะตอม
ข้อใดมีผลต่อความดันไอของของเหลว ค. โคเวเลนต์ โมเลกุล อะตอม
ก. 1 เท่านั้น ง. โมเลกุล โคเวเลนต์ โมเลกุล
ข. 1 2 เท่านั้น
ค. 1 3 เท่านั้น 14. พิจารณาตารางแสดงค่าความตึงผิวของของเหลวชนิดต่างๆ ที่อุณหภูมิ 25 C
ง. 1 2 3 ของเหลว สูตร มวลอะตอมหรื อมวลลโมเลกุล ความตึงผิว( N/m )
11. พิจารณาข้อสรุ ปเกี่ยวกับกามะถันมอนอคลินิกและกามะถันรอมบิก ต่อไปนี้ ปรอท Hg 200.6 0.4855
1. เป็ นผลึกโคเวเลนต์เช่นเดียวกัน น้ า H₂O 18.0 0.0720
2. ความหนาแน่นไม่เท่ากัน โบรมีน Br₂ 159.8 0.0410
3. เกิดปฏิกิริยาต่างกัน คาร์บอนเตตระคลอไรด์ CCl₄ 154.0 0.0264
4. ประกอบด้วยไอโซโทปซัลเฟอร์ต่างชนิดกัน
เฮกเซน C₆H₁₄ 86.1 0.0179
5. อะตอมซัลเฟอร์ต่อกันมีลกั ษณะเป็ นวงค์เหมือนกัน
ข้อใด ถูกต้อง ( ม.ค. 2556 ) ข้อสรุ ปใดผิด ( ม.ค. 2557)
ก. 1 และ 5 ก. สารไม่มีข้ วั ที่มีมวลโมเลกุลสูง จะมีความตึงผิวสูง
ข. 2 และ 5 ข. ปรอทเป็ นโลหะ จึงมีความตึงผิวสูงมาก
ค. 1 และ 2 ค. สารที่อนุภาคยึดเหนี่ยวกันแข็งแรง จะมีความตึงผิวของของเหลวสูง
ง. 1 2 และ 3 ง. ค่าความตึงผิวขึ้นกับมวลโมเลกุลมากกว่าแรงดึงดูดระหว่างอนุภาค
จ. 2 3 และ 4 จ. โมเลกุลของน้ ายึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะไฮโดรเจน จึงมีความตึงผิวสูง

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 2/23 หน้า 2
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 15 – 16 17. ในการกลัน่ แยกสารละลายผสมของ A B C และ D พบว่า ลาดับของสารที่กลัน่ ได้
ตารางแสดงจุดเดือดและมวลโมเลกุลของสาร เป็ นดังนี้ A B C และ D อยากทราบว่า ข้อสรุ ปใดกล่าวได้สอดคล้องกับการกลัน่
สารละลายนี้
สาร มวลโมเลกุล จุดเดือด (  C )
ก. สาร A มีความร้อนแฝงของการกลายเป็ นไอสูงที่สุด เพราะจุดเดือดต่าที่สุด
น้ า 18.0 100.0
ข. สาร D มีความร้อนแฝงของการกลายเป็ นไอสูงที่สุด เพราะความดันไอสูงที่สุด
เอทิลแอลกอฮอร์ 46.0 78.5
ค. สาร B มีความร้อนแฝงของการกลายเป็ นเป็ นไอสูงกว่าสาร D เพราะสาร B
คลอโรฟอร์ม 119.5 61.3
กลายเป็ นไอก่อนสาร D
เอทิลอีเทอร์ 74.0 34.6
ง. สาร C มีความร้อนแฝงของการกลายเป็ นไอสูงกว่าสาร A เพราะสาร A กลายเป็ น
15. ที่อุณหภูมิ 25 C ของเหลวชนิดใดมีความดันไอสูงสุด ไอก่อนสาร C
ก. น้ า 18. กาหนดค่าความดันไอของอขงเหลว A และ B ที่อุณหภูมิ 30C และ 80C ดังนี้
ข. เอทิลแอลกอฮอร์
ค. คลอโรฟอร์ม อุณหภูมิ (◦C) ความดันไอ (atm)
ง. เอทิลอีเทอร์ ของเหลว A ของเหลว B
16. กาหนดข้อมูลให้ดงั นี้ 30 0.2 0.3
สาร มวลโมเลกุล จุดเดือด (C) ที่ความดัน 1 บรรยากาศ 80 0.4 0.4
น้ า 18.0 100.0 1. ของเหลว B เดือดที่อุณหภูมิต่ากว่าของเหลว A
แอซีโตน 58.1 56.3 2. ความร้อนแฝงของการกลายเป็ นไอของของเหลว B < ของเหลว A
เมทานอล 46.0 48.5 3. แรงดึงดุดระหว่างโมเลกุลของ B < แรงดึงดุดระหว่างโมเลกุลของ A
อีเทอร์ 74.0 34.6
4. มวลโมเลกุลของ B < มวลโมเลกุลของ A
1. น้ ามีความดันไอต่ากว่า จึงมีจุดเดือดสูงสุด ข้อสรุ ปใดถูกต้อง (ENT’ มี.ค. 46)
2. น้ ามีมวลโมเลกุลต่าสุด จึงมีจุดเดือดสูงสุด ก. 1 และ 2 เท่านั้น
3. อีเทอร์มีมวลโมเลกุลสูงสุด จึงมีจุดเดือดต่าสุด
ข. 1 2 และ 3 เท่านั้น
ข้อใดกล่าว ถูกต้อง
ก. 1 ค. 1 2 และ 4 เท่านั้น
ข. 2 3 ง. 1 2 3 และ 4
ค. 1 2 3
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูกต้อง
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 3/23 หน้า 3
19. จุดเดือดปกติของสาร A สาร B และสาร C เท่ากับ 35C, 65C และ 56C ตามลาดับคา 22. ของเหลวบริ สุทธิ์ A มีจุดเดือดต่ากว่าของเหลวบริ สุทธิ์ B เมื่อนาของเหลวทั้งสองมาผสม
กล่าวในข้อใดถูกต้อง (ENT’40) กันในอัตราส่วนหนึ่งปรากฏว่าของเหลวผสมมีจุดเดือดคงที่ที่ต่ากว่าของ Aและ B
ลักษณะกราฟความดันไอของ A B และ A+B ในข้อใดเป็ นไปได้(ENT’40)
ก. ที่อุณหภูมิ 25C ความดันไอของสาร A ต่ากว่าความดันไอของสาร C
ข. ลาดับของแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของสารทั้ง 3 ชนิด เป็ นดังนี้ สาร B > สารC >

ความดันไอ ( atm )
A B A +B
สาร A
ค. ที่ความดันต่ากว่าความดันไอ ณ จุดเดือดปกติของสาร สาร B จะมีจุดเดือดสูงกว่าจุด
เดือดปกติ
ง. สามารถแยกสาร A B และ C ที่ผสมกันได้ดว้ ยการกลัน่ ก. → อุณหภูมิ (K)

20. จากข้อมูลต่อไปนี้

ความดันไอ ( atm )
B A A +B
สารประกอบ จุดหลอมเหลว (C) จุดเดือด (C)
H₂O 0 100
C₆H₆ 6 80
ข. → อุณหภูมิ (K)
ข้อใดถูกต้อง (ENT-A’52)
ก. เมื่ออยูใ่ นสถานะที่เป็ นของเหลว C₆H₆ มีแรงตึงผิวสูงกว่า H₂O

ความดันไอ ( atm )
A+B A B
ข. ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของ C₆H₆ มีค่าสูงกว่าของ H₂O
ค. เมื่ออยูใ่ นสถานะที่เป็ นของเหลว C₆H₆ มีพนั ธะไฮโดรเจนอ่อนกว่าของ H₂O
ง. เมื่ออยูใ่ นสถานะที่เป็ นของเหลว H₂O มีแรงยึดเหนี่ยวแบบระหว่างโมเลกุลเป็ น
แบบพันธะไฮโดรเจนแต่เมื่อเป็ นของแข็งจะไม่มีพนั ธะไฮโดรเจน ค. → อุณหภูมิ (K)
21. ถ้าต้องการให้ปริ มาตรของแก๊สสมบูรณ์ที่ STP เพิ่มขึ้นเป็ น 4 เท่า โดยการลดความดันลง
ความดันไอ ( atm ) A+B B
25 % จะต้องกระทาที่อุณหภูมิเท่าใด (ENT’40) A
ก. 0 C
ข. 273 C
ค. 546 C ง. → อุณหภูมิ (K)
ง. 819 C
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 4/23 หน้า 4
23. จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความดันไอและอุณหภูมิของสาร A , B และ C 25. จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ของความดันไอของของเหลว A B และ C กับอุณหภูมิ
A B ดังรู ป
C C B A
800
2.0
1.5

ความดันไอ ( atm )
760
ความดันไอ ( atm )

600 1.0

400 0.5

0 T₁ T₂ อุณหภูมิ (C)
0 20 40 60 80 100 อุณหภูมิ (C)
ข้อใดถูกต้อง ( ENT-A 49 )
ข้อใดถูกต้อง(ENT’37)
ก. ของเหลวผสม A B และ C จะมีจุดเดือดปกติที่ครึ่ งหนึ่งของ T₁ และ T₂
ก. สาร B และ C มีจุดเดือดปกติต่างกัน 52 องศาเซลเซียส
ข. ที่ความดันบรรยากาศเท่ากับ 1.5 atm ของเหลว A และ B มีจุดเดือดเท่ากัน
ข. ที่อุณหภูมิ 02 องศาเซลเซียสสารที่เดือกกลายเป็ นไอหมดคือ A และ B ค. ที่ความดันบรรยากาศสูงกว่า 1 atm ของเหลว A มีจุดเดือดต่าสุด
ค. ต้มสาร B บนภูเขาที่มีความดันบรรยากาศ 022 mmHg Bจะเดือดที่อุณหภูมิ ง. ที่ความดันบรรยากาศต่ากว่า 1 atm ของเหลวผสม C กับ B จะมีจุดเดือดต่า
ประมาณ02 องศาเซลเซียส กว่าของสาร A
ง. ที่อุณหภูมิหอ้ งสาร A มีสภาพเป็ นแก๊สเพราะมีจุดเดือดต่ากว่าอุณหภูมิหอ้ ง 26. ตัวอย่างแก๊สชนิดหนึ่งถูกอัดให้มีปริ มาตรเป็ นครึ่ งหนึ่งของปริ มาตรเริ่ มต้น และพบว่า
24. กาหนดข้อมูลเกี่ยวกับสาร A และสาร B ดังนี้ อุณหภูมิของแก๊สในหน่วยเคลวินเพิ่มขึ้น 20 % ความดันของแก๊สนี้จะเพิ่มขึ้นเท่าใด
B ก. 70 %
A
ความดันไอ ( atm )

1.0 ข. 120 %
ค. 140 %
ง. 240 %
0 100 200 อุณหภูมิ (C) 27. จะต้องใช้สดั ส่วนในข้อใดไปคูณปริ มาตรแก๊สที่ 30 C เพื่อให้เป็ นปริ มาตรที่ 60°C
สาร A และสาร B ในข้อใดเป็ นไปได้ ( ม.ค .2555 ) โดยที่ความดันคงที่ (ENT’27)
ก. A: เกลือแกง B:ปรอท 60
ก.
ข. A: เอทานอล B:การบูร 30
273
ค. A: แอซีโตน B:อีเทอร์ ข.
333
303
ง. A: ปรอท B:น้ า ค.
333
จ. A: กลีเซอรอล B:เอทานอล ง.
333
303
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 5/23 หน้า 5
28. จากกราฟความดันไอของสารต่อไปนี้ 30. จากกราฟความสัมพันธ์ของความดันไอของของเหลว A B และ C กับ อุณหภูมิ
B A A B
C
1.0 D 2.0
C

ความดันไอ ( atm )
ความดันไอ ( atm )

1.5
0.5
1.0
0.5

50 100 อุณหภูมิ (C) 80 0 40


120 160
ข้อสรุ ปใด ถูกต้อง (ENT’ ต.ค. 44) อุณหภูมิ (C)
ก. ที่อุณหภูมิ 02 C สาร C มีความดันไอต่าที่สุด 1. ที่ความดันบรรยากาศสูงกว่า 1 atm A มีจุดเดือดสูงที่สุด
ข. สาร A และ B มีจุดเดือดเท่ากัน ณ ความดันบางค่า 2. ที่ความดันบรรยากาศเท่ากับ 0.75 atm B และ C มีจุดเดือดเท่ากัน
ค. สาร B มีแรงยึดเหนี่ยวโมเลกุลสูงที่สุด 3. ที่ความดันบรรยากาศสูงกว่า 0.75 atm C มีจุดเดือดสูงกว่า B
ง. สาร B เดือดก่อนสารอื่นๆ ที่ความดัน 0.5 บรรยากาศ 4. ที่ความดันบรรยากาศสูงกว่า 0.75 atm แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
29. เมื่อความดันคงที่ C < B< A
ข้อสรุ ปใด ถูกต้อง (ม. อ. 50 )
D ก. 1 และ 2
ปริมาตรของแก๊ส

C ข. 2 และ 3
ค. 1 และ 4
A B
อุณหภูมิเคลวิน ง. 2 และ 4
31. แก๊ส X 1 โมล หนัก 70 กรัม ที่ STP ถ้า X มีปริ มาตร 300 cm³ ที่อุณหภูมิ 27 C
กราฟเส้นใดในภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาตรของแก๊สกับอุณหภูมิเคลวิน
ความดัน 0.5 atm แก๊สนี้จะหนักกี่กรัม(ENT 31 )
ก. A
ก. 0.85 กรัม
ข. B ข. 0.94 กรัม
ค. C ค. 1.03 กรัม
ง. D ง. 2.33 กรัม

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 6/23 หน้า 6
32. ภาชนะบรรจุแก๊สต่อกันดังรู ป 34. จากกราฟความดันไอของสาร A B C และ D ที่อุณหภูมิต่างๆ

0 atm 1 atm 0 atm 180 A


0.5 dm³ 1.0 dm³ 0.5 dm³
A B 160 B

อุณหภูมิ (C)
140 C
เมื่อเปิ ดลิ้น A และ B ที่สมดุลใหม่จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร (ENT 33)
120 D
ก. ความดันเพิ่มขึ้น อุณหภูมิเพิ่มขึ้น
ข. ความดันลดลง อุณหภูมิเพิม่ ขึ้น 100
ค. ความดันลดลง อุณหภูมิลดลง 80
ง. ความดันเพิ่มขึ้น อุณหภูมิลดลง 60
400 500 600 700 800 900 1,000 ความดันไอ (atm)
33. จากกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง อุณหภูมิกบั ความดันไอของของเหลว A , B และ C 1. ที่ความดันปกติ สามารถกลัน่ แยกสาร A B C และ D ออกจากกันได้
ต่อไปนี้ ( oly 50) 2. ที่ความดันต่ากว่า 700 mmHg ไม่สามารถกลัน่ แยกสาร A B C และ D ออกจาก
กันได้
C B A
3. ที่ช่วงความดันระหว่าง 700 - 900 mmHg ไม่สามารถกลัน่ แยกสาร A B C และ D
ความดันไอ ( mmHg )

ออกจากกันได้ ไม่วา่ ที่อุณหภูมิใดๆ


4. ที่ช่วงความดันปกติถึง 900 mmHg สามารถกลัน่ แยกสารบริ สุทธิ์ได้อย่างมาก 2 สาร
ข้อใด ถูกต้อง
ก. 2 เท่านั้น
ข. 4 เท่านั้น
อุณหภูมิ (C) ค. 1 และ 3
ข้อสรุ ปใด ถูกต้อง ง. 2 และ 4
ก. ของเหลว A มีจุดเดือดต่ากว่าของเหลว B และ C ตามลาดับ
ข. ของเหลว C มีความดันไอสูงสุด แสดงว่ามีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูงที่สุด
ค. ที่อุณหภูมิคงที่ เมื่อลดความดันของสิ่ งแวดล้อมลงเรื่ อยๆของเหลวAจะเริ่ มเดือดก่อน
ง. เมื่อความดันคงที่ และลดอุณหภูมิลงเรื่ อยๆ จะพบว่าแก๊ส C ควบแน่นเป็ น
ของเหลวเป็ นลาดับสุดท้าย

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 7/23 หน้า 7
35. กาหนดให้สาร X เป็ นสารบริ สุทธิ์ มีแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความดันและ 37. ของเหลวตัวอย่าง 2 ชนิด ของเหลว A และของเหลว B เมื่อนาของเหลวทั้งสองชนิด
อุณหภูมิกบั สถานะต่างๆ โดยแสดงด้วยเส้นทึบ(เส้นประตามแนวนอนบอกความดันบาง มาทดลองโดยการให้ความร้อน ในอัตราที่คงที่ ความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลง
ค่า) ดังนี้ อุณหภูมิและปริ มาณความร้อนที่ใช้โดยให้มีสเกลเดียวกันพบว่าเป็ นไปดังรู ป
1.0
ความดัน ( atm )

ของแข็ง ของเหลว

อุณหภูมิ
0.5

อุณหภูมิ
แก๊ส

-30 -10 10 30 50 70 อุณหภูมิ (C) ปริ มาณความร้อน ปริ มาณความร้อน


ข้อใดถูกต้อง (ENT –A 52)
ถ้าภาวะเริ่ มต้นของสาร X คือ อุณหภูมิ 30 C และความดัน 1 atm ข้ อความใดผิด
ก. ของเหลว A มีจุดเดือดสูงกว่าของเหลว A
ก. ที่ภาวะเริ่ มต้น สาร X เป็ นของเหลว
ข. ของเหลว B และของเหลว B เป็ นของเหลวชนิดเดียวกัน
ข. ที่ความดันต่ากว่า 0.5 atm อุณหภูมิสูงกว่า 50 C สาร X มีสถานะเป็ นแก๊ส
ค. ของเหลว A มีแรงยึดเหนียวระหว่างโมเลกุลสูงกว่าของเหลว B
ค. ถ้าลดอุณหภูมิลงให้ต่ากว่า 10 C โดยความดันไม่เปลี่ยน สาร X จะเป็ นของแข็ง
ง. ในการทดลองมีการใช้ของเหลว A ในปริ มาณมากกว่าของเหลว B
ง. ถ้าลดความดันเป็ น 0.5 atm และลดอุณหภูมิจนต่ากว่า -10 C สาร X จะเป็ น
38. ทดลองต้มของเหลว A แบบ (1) และแบบ (2) โดยที่การทดลอง (1) เป็ นการต้มที่เปิ ดฝา
ของแข็ง
ส่วนแบบ (2) เป็ นการต้มที่ปิดฝา ดังรู ป
จ. ถ้าลดความจากภาวะเริ่ มต้นเป็ น 0.5 atm โดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยน สาร X จะยังคงมี
สถานะเดิม ของเหลว ของเหลว
36. แทมมี่ทาการทดลองเก็บแก๊สออกซิเจนโดยวิธีแทนที่น้ าในห้องปฏิบตั ิการที่
อุณหภูมิ 27 C ความดัน 0.092 บรรยากาศ ได้ปริ มาตร 600 cm³ ถ้าความดันของไอ แท่งให้ความร้อน แท่งให้ความร้อน
น้ าอิ่มตัวมีค่า 0.002 บรรยากาศ ปริ มาตร ของแก๊สออกซิเจนที่ STP เป็ นกี่ลูกบาศก์
เซนติเมตร (ENT’ต.ค.47) แบบ (1) แบบ (2)
ข้อความใดต่อไปนี้ ถูกต้อง ( ENT-A 50 )
ก. จุดเดือดปกติของเหลว A จากการทดลอง (1) สูงกว่าการทดลอง (2)
ข. จุดเดือดปกติของเหลว A จากการทดลอง (1) เท่ากับการทดลอง (2)
ค. เมื่อให้ความร้อนเท่ากัน ของเหลว A ในการทดลอง (1) จะเดือดก่อนการทดลอง(2)
ง. ขณะที่ของเหลว A เดือด ความดันไอของเหลว A จากการทดลอง (1) มีค่าสูงกว่า
การทดลอง (2)
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 8/23 หน้า 8
39. ในการทดลองศึกษาผลของอุณหภูมิและความดันที่มีต่อปริ มาตรโดยเก็บแก๊สในกระบอก 41. ถ้าแยกสารละลายกรด H₂SO₄ เจือจางด้วยไฟฟ้ า จะได้แก๊ส H₂ และ O₂ ดังสมการ
ฉี ดยาซึ่งปลายปิ ดสนิท ณ อุณหภูมิหอ้ ง 2 H₂O → 2 H₂ + O₂
จากการทดลองเก็บแก๊สทั้ง 2 ไว้จนได้ H₂ 182 cm³ ที่ STP แล้วถ่ายแก๊สทั้งหมดใส่
3
ปริมาตรของแก๊ส

ุ หภูมิ 27 c ความดันในขวดแก้วจะเป็ นกี่บรรยากาศ


ขวดแก้วสุญญากาศ 2 dm³ ที่อณ
2 ก. 0.1 ข. 0.15
1
ค. 0.2 ง. 1.35 x 10⁻²
เวลา 42. ปฏิกิริยา CS₂(l) + O₂(g) → CO₂(g) + SO₂(g) (สมการยังไม่ดุล) ถ้า
ถ้าปริ มาตรเปลี่ยนแปลงตามเวลาดังกราฟ แสดงว่าขั้นตอนการทดลองน่าจะเป็ นดังข้อใด ต้องการเตรี ยมแก๊ส SO₂ ปริ มาตร 4 dm³ จะต้องใช้แก๊ส O₂ กี่ลูกบาศก์เดซิเมตร
(ช่องที่ปริ มาตรคงที่ในกราฟ คือช่องที่พกั การทดลอง) (ENT 39 ) ทาปฏิกิริยากับ CS₂ มากเกินพอ (ปริ มาตรของแก๊สทุกชนิดวัดที่ STP) และถ้าการ
ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ทดลองนี้ทาที่อุณหภูมิ 54.6 C ความดัน 2 atm แก๊ส O₂ ที่ใช้จะมีปริ มาตร กี่
ก. เพิ่มความดัน เพิ่มอุณหภูมิ เพิ่มอุณหภูมิ ลูกบาศก์เดซิเมตร (ม.ค. 55 )
ข. ลดความดัน เพิ่มอุณหภูมิ เพิ่มอุณหภูมิ ปริ มาตรO₂ ที่ใช้ ( dm³ )
ค. ลดอุณหภูมิ เพิ่มความดัน เพิ่มอุณหภูมิ ที่ STP ที่ 54.6 C , 2 atm
ง. เพิ่มความดัน ลดอุณหภูมิ ลดความดัน ก. 2.7 1.62
ข. 4.0 2.40
40. บรรจุแก๊สชนิดหนึ่งที่ความดัน 60 atm และอุณหภูมิ 27 C ลงในถังจุ 10 L ที่ทน
ค. 5.4 3.24
ความดันได้สูงสุด 70 atm อุณหภูมิ ( ในหน่วย C ) ที่ถงั ทนได้โดยยังไม่ระเบิดมีค่า
ง. 6.0 3.60
เท่าใด และถ้านาถังแก๊สนี้ไปตั้งทิง้ ไว้ในห้องเก็บของที่มีอุณหภูมิ 37 C ถังจะระเบิด จ. 12.0 7.20
หรื อไม่ ( กาหนดให้ค่า R = 0.082 L atm K mole ) ( ม.ค. 2558 ) 43. แก๊สชนิดหนึ่งหนัก 3.20 กรัม มีปริ มาตร 2.00 dm³ที่อุณหภูมิ 27 C ความดัน 0.5 atm
ก. 31.5 C ระเบิด แก๊สนี้ มีมวลโมเลกุลเท่าใด ( ENT มีค. 45 )
ข. 62.0 C ไม่ระเบิด ก. 22.4
ค. 77.0 C ไม่ระเบิด ข. 39.4
ง. 257 C ไม่ระเบิด ค. 78.8
จ. 350 C ระเบิด ง. 157.9

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 9/23 หน้า 9
44. หลอดอันหนึ่งบรรจุแก๊สอยูม่ ีปริ มาตร 100 cm³ สูบเอาแก๊สออกจนเหลือความดันเพียง 48. เด็กชาย แดง และ เด็กชาย ดา วัดความดันและปริ มาตรไออีเทอร์ที่อุณหภูมิ 80 C
1.9 x 10⁻⁴ mmHg ที่อุณหภูมิ 27 C จานวนโมเลกุลของแก๊สที่เหลืออยูใ่ นหลอดจะ เช่นเดียวกัน แดงใช้อีเทอร์ 1 หยด ส่วนดาใช้อีเทอร์ 3 หยด ปรากฏผลดังนี้
มีค่าเท่าใดโดยประมาณ(ENT 20) ผลการทดลองของ P (atm ) V(cm³ ) PV
ก. 7 x 10¹² โมเลกุล แดง 0.05 1 0.05
ข. 6 x 10¹⁴ โมเลกุล ดา x 0.5 y
ค. 6 x 10¹⁷ โมเลกุล x มีค่าเท่าใด (ENT 25 )
ง. 3 x 10¹⁹ โมเลกุล ก. 0.01 atm
45. บอลลูนลูกหนึ่งบรรจุฮีเลียมเข้าไป 0.095 mole มีปริ มาตร 1.90 dm³ ถ้าเติม ข. 0.03 atm
ไฮโดรเจนเข้าไปอีก 0.125 mole โดยให้ความดันและอุณหภูมิคงที่ บอลลูนจะมี ค. 0.1 atm
ปริ มาตรเป็ นกี่ลูกบาศก์เดซิเมตร(ENT มีค. 43 ) ง. 0.3 atm
ก. 2.5 ลูกบาศก์เดซิเมตร 49. นักเรี ยนคนหนึ่งนาไดเอทิลอีเทอร์ (C₂H₅OC₂H₅) 1 หยด ใส่ในภาชนะที่มีปริ มาตร
ข. 4.4 ลูกบาศก์เดซิเมตร 1,000 มิลิลิตร แล้วทาให้เป็ นไอทั้งหมดที่อุณหภูมิ 80 C ปรากฏว่าวัดความดันไอได้
ค. 5.0 ลูกบาศก์เดซิเมตร 38.0 mmHg ถ้าใช้ไดเอทิลอีเทอร์(C₂H₅OC₂H₅) 3 หยด ใส่ในภาชนะที่มีปริ มาตร
ง. 8.8 ลูกบาศก์เดซิเมตร
500 มิลิลิตร โดยใช้อุณหภูมิ 80 C เท่าเดิม จะวัด ความดันไอได้ กี่บรรยากาศ (PAT-2 มีค. 52)
46. ถ้าต้องการก้อนน้ าแข็งแห้งปริ มาตร 2.5 dm³ 1 ก้อน จะต้องใช้แก๊ส
ก. 0.05 atm
คาร์บอนไดออกไซด์ที่บรรจุ 50 dm³ ที่ความดัน 15 atm อุณหภูมิ 0 C จานวนกี่ ข. 0.15 atm
ถัง กาหนดความหนาแน่นของน้ าแข็งแห้งเป็ น 0.88 g/cm³ (ENT 40 ) ค. 0.30 atm
ก. 1.5 ถัง ง. 0.45 atm
ข. 1.7 ถัง
50. แก๊สในอุดมคติหนึ่งมีปริ มาตร 8.4 L ที่ความดัน 0.82 atm และอุณหภูมิ 27 C ถ้าลด
ค. 2.0 ถัง
ความดันลงครึ่ งหนึ่งโดยให้ปริ มาตรคงที่ ข้อใดเป็ นอุณหภูมิและจานวนโมลของแก๊สนี้
ง. 2.25 ถัง
(ม.ค. 57 )
47. แก๊สชนิดหนึ่งหนัก 1.0 กรัม ที่ 12 C ความดัน 1 atm มีปริ มาตร 2.0 ลิตร ถ้าแก๊ส อุณหภูมิ ( C ) จานวนโมล
ชนิดนี้หนัก 2.0 กรัมที่ 69 C ความดัน 608 mmHgจะมีปริ มาตรกี่ลิตร(PAT-2 กค. 52) ก. - 123 0.28
ข. 13.5 3.1
ก. 3.0 ลิตร
ค. 150 3.1
ข. 6.0 ลิตร
ง. - 123 2.8
ค. 7.9 ลิตร จ. 150 0.28
ง. 14.4 ลิตร
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 10/23 หน้า 10
51. กราฟปริ มาตรของอากาศในปอดคน เมื่อวัดด้วยเครื่ อง สไปโรมิเตอร์ 52. เมื่อปล่อยให้แก๊สอุดมคติในมาโนมิเตอร์ขยายตัวที่อุณหภูมิ -10 องศาเซลเซียสจนมี
ปริ มาตรสุดท้ายเป็ น 1 ลิตร และทาให้ความสูงของปรอทในมาโนมิเตอร์ต่างกัน 60
6,000 หายใจเข้าเต็มที่
มิลลิเมตร ดังรู ป 760 mmHg
ปริ มาตรของอากาศในปอด( มิลลิลิตร)

4,800

3,600 หายใจเข้าปกติ
2,900 Gas
60 mm
2,400
หายใจออกปกติ
1,100 หายใจออกเต็มที่ จานวนโมลของแก๊สเป็ นเท่าใด (PAT-2 มี.ค.’53)
อากาศที่ตกค้างในปอดเมื่อหายใจออกเต็มที่ ก. 3.35 x 10⁻³ โมล
0
เวลา ข. 3.66 x 10⁻³ โมล
ถ้าหายใจเข้า – ออกตามปกติ 1 ครั้ง ที่ 25 องศาเซลเซียส ความดัน 1 บรรยากาศ จะได้รับ ค. 4.82 x 10⁻² โมล
ปริ มาณออกซิเจนเข้าไปในปอดเท่ากับกี่โมล ถ้าอากาศมีออกซิเจนอยูร่ ้อยละ 20 โดยโมล ง. 5.00 x 10⁻² โมล
(PAT-2 ต.ค.’52)
ก. 4.0 x 10⁻³ โมล 53. ถ้านาแก๊สชนิดหนึ่งมาทาให้ความดันปริ มาตรและอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมโดย
ข. 4.5 x 10⁻³ โมล ให้มวลคงที่ ค่าคาวมดัน (P) และอุณหภูมิ (T ) ทีเกิดขึ้นใหม่ในข้อใด ไม่ถูกต้อง
ค. 1.6 x 10⁻² โมล P (atm) V (cm³) T (K)
ง. 2.0 x 10⁻² โมล ก. คงเดิม เพิม่ ขึ้นเป็ น 2 เท่า เพิม่ ขึ้นเป็ น 2 เท่า
ข. เพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่า ลดลงเป็ น เท่า
1 คงเดิม
2
ค. ลดลงเป็ น
1
เท่า เพิ่มขึ้นเป็ น 3 เท่า ลดลงเป็ น
3
เท่า
2 4
ง. ลดลงเป็ น
2
เท่า เพิม่ ขึ้นเป็ น 3 เท่า ลดลงเป็ น
1
เท่า
3 2

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 11/23 หน้า 11
54. แก๊ส X ปริ มาตร V1 และ P1 ถ้าลดปริ มาตรลงครึ่ งหนึ่ง แก๊สจะมีความดันเท่ากับ P2 56. เมื่อผสมสารละลาย HCl เข้มข้น 6.0 mol/dm³ จานวน 10.0 cm³ กับผง CaCO₃
แต่ถา้ ลดปริ มาตรลงเหลือ
1
ของปริ มาตร V1 แก๊สจะมีความดันเท่ากับ P3 2.0 กรัม ในภาชนะปิ ดสนิทจุ 560 cm³ ซึ่งเดิมเป็ นสุญญากาศ จะได้ผลิตภัณฑ์เป็ น
6
กาหนดให้การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดที่อุณหภูมิ และมวลของแก๊สคงที่ ความสัมพันธ์ CaCl₂ H₂O และ CO₂ ความดันของแก๊สในภาชนะนี้ที่ 0 C จะเป็ นกี่บรรยากาศ
ระหว่าง P1 P2 และ P3 ในข้อใด ถูกต้ อง (ENT’มี.ค.53) เมื่อปฏิกิริยาเกิดสมบูรณ์ (ให้ถือว่าปริ มาตรของของแข็งและของเหลวเป็ นศูนย์)

P1 P3
ก. =
P2 2

(𝑃₃)²
ข. P₁ x P₂ =
6
𝑃₁ 𝑃₂
ค. =
𝑃₂ 6
57. พิจารณาปฏิกิริยาที่ดุลแล้วต่อไปนี้ : 2A(s) → 2B(s) + 3C(g) สาร A 24.50 กรัม
ง. P₁ x P₃ =
3(𝑃₂)² สลายตัวให้แก๊ส C 9.60 กรัม เก็บแก๊สนี้ในภาชนะขนาด 7.38 ลิตร อุณหภูมิ 27 C
2
ความ 1 atm มวลโมกุลของสาร A และสาร B คือข้อใดตามลาดับ
55. เมื่อเติมผงอะลูมิเนียม 1.35 กรัม ลงในสารละลาย H₂SO₄ เข้มข้น 1.5 mol/dm³ (กาหนดให้ R = 0.082 L . atm . mol⁻¹.K⁻¹ ) (PAT - 2 ต.ค.’54)
ก. 24.5 14.9
จานวน 200 cm³ เก็บแก๊ส H₂ ที่เกิดขึ้นในภาชนะบรรจุ 1 dm³ เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุด
ข. 49 29.8
แบ่งแก๊สนี้ออกไปใช้ครึ่ งหนึ่ง อยากทราบว่าแก๊ส H₂ ที่เหลือจะมีความดันกี่บรรยากาศ ค. 122.5 74.5
ที่ 0 C (ENT’30) ง. 245 149
58. ฟอสจีไนท์( Phosgenite) เป็ นสารประกอบของตะกัว่ มีสูตรเป็ น Pb₂Cl₂CO₃เป็ นสารที่
พบในเครื่ องสาอางของชาวอียปิ ต์ เตรี ยมจากปฏิกิริยา ( PAT – 2 เม.ย. 57)
PbO(s) + NaCl(s) + H₂O(l) + CO₂(g) → Pb₂Cl₂CO₃(s)
ได้ผลผลิตร้อยละ 60 ในการเตรี ยม Pb₂Cl₂CO₃ หนัก 21.8 g ใช้ PbO 25 g
สารละลาย NaCl เข้มข้น 0.2 M หาความดันของแก๊ส CO₂ ในหน่วย atm ถ้าใช้แก๊สนี้
ปริ มาตร 300 cm³ ที่อุณหภูมิ 27 C และ แก๊ส CO₂ เป็ นสารกาหนดปริ มาณ
ก. 1.64
ข. 3.28
ค. 4.1
ง. 8.2
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 12/23 หน้า 12
คาชี้แจง ให้ใช้ขอ้ มูลต่อไปนี้ในการตอบคาถาม ข้อ 59 - 60 คาชี้แจง ข้อความต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 62 - 63 (ENT’25)
แก๊ส A ถูกบรรจุในภาชนะขนาด 1 dm³ อุณหภูมิ 227 C หลังจากแก๊ส A เกิด กระเปาะ A จุ 3 ลิตร กระเปาะ B จุ 2 ลิตร เชื่อมต่อกันด้วยหลอดแก้วขนาดเล็ก
การสลายตัวอย่างสมบูรณ์ให้แก๊ส B และ แก๊ส C ความดันของแก๊สจะเป็ น มาก มีลิ้นปิ ดเปิ ดแต่ละด้าน มีหน้าปั ดอ่านความดันภายใน
3 เท่าของความดันเริ่ มต้น โดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลงและถ้าเริ่ มต้นด้วยแก๊ส A
A B
160 กรัม จะสลายตัวอย่างสมบูรณ์ให้แก๊ส B 4 โมล และแก๊ส C 2 โมล 2 dm³
3 dm³
59. จากข้อมูลนี้ สมการที่ดุลแล้วของปฏิกิริยาการสลายตัวของแก๊ส A คือข้อใด (มวล
โมเลกุลของแก๊ส B = 20) (PAT – 2 มี.ค.’55) 62. ถ้ากระเปาะ A บรรจุแก๊สที่มีความดัน 1 atm ส่วนภายในกระเปาะ B เป็ นสุญญากาศ
ก. A(g) ⟶ 2B(g) + C(g) เมื่อเปิ ดลิ้นให้ต่อกัน ความดันภายในภาชนะจะเป็ นกี่บรรยากาศ
3
ข. A(g) ⟶ B(g) + 2C(g) ก.
5
ค. A(g) ⟶ 4B(g) + 2C(g)
5
ง. 5A(g) ⟶ 4B(g) + 2C(g) ข.
3
60. มวลโมเลกุลของแก๊ส A เป็ นเท่าใด (PAT – 2 มี.ค.’55) ค.
1

ก. 32 3
1
ง.
ข. 40 5
ค. 80 63. ถ้ากระเปาะ A บรรจุแก๊ส NO ที่ความดัน 1 บรรยากาศ และกระเปาะ B บรรจุแก๊ส O₂
ง. 160 ที่ความดัน 1 บรรยากาศ แล้วเปิ ดลิ้นให้ต่อกัน ความดันภายในภาชนะจะเป็ นกี่บรรยากาศ
7
61. ภาชนะ A มีปริ มาตร a dm³ บรรจุแก๊ส N₂ ความดัน b atm ที่ 25 C ภาชนะ B บรรจุ ก.
10
แก๊ส He ความดัน c atm อุณหภูมิ 25 C เมื่อต่อภาชนะ A และภาชนะ B ให้แก๊สทั้ง ข. 1
สองผสมกันพบว่าความดันสุดท้ายมีค่าเท่ากับ d atm ที่ 25 C ค.
1
B He c atm 10
A b atm 2
? dm³ ง.
N₂ a dm³ 3
ปริ มาตรของภาชนะ B มีค่ากี่ลูกบาศก์เดซิเมตร (ENT-A’52) 64. แก๊สผสมซึ่งประกอบด้วย H₂ หนัก 4 กรัม และ He หนัก x กรัม บรรจุอยูใ่ นภาชนะ

ก.
(𝑎𝑏−𝑎𝑑) ขนาด 5 dm³ ที่อุณหภูมิ 27 C มีความดันรวมเท่ากับ 24 atm x มีค่าเท่าใด
𝑑
𝑎(𝑑−𝑏) ก. 8
ข.
(𝑐−𝑑)
(𝑎𝑑−𝑎𝑏)
ข. 10
ค.
(𝑑−𝑐) ค. 12
ง.
(𝑎𝑐−𝑎𝑑) ง. 14
𝑎
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 13/23 หน้า 13
65. เมื่อนาแก๊ส SO₂ และ O₂ อย่างละ 1 โมล ในภาชนะขนาด 500 L ที่ 1500 K 67. แก๊ส H₂ 0.1 กรัม บรรจุในถังขนาด 400 มิลลิลิตร อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส แก๊ส
เกิดปฏิกิริยาดังสมการ 2SO₂ + O₂ ⇄ 2SO₃ CO₂ หนัก 0.11 กรัมบรรจุในถังอีกใบหนึ่งขนาด 200 มิลลิลิตร อุณหภูมิเท่ากัน เมื่อต่อ
ถ้าความดันที่แก๊สกระทาต่อผนังภาชนะที่บรรจุแปรผันตามจานวนโมลของแก๊สใน ท่อให้แก๊สทั้งสองชนิด ผสมกันโดยไม่เกิดปฏิกิริยาต่อกัน และหลังการผสมอุณหภูมิไม่
ภาชนะนั้นและการเปลี่ยนแปลงจานวนโมลของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์เป็ นไปตาม เปลี่ยนแปลง ความดันรวมของแก๊สผสมเป็ นกี่บรรยากาศ (PAT – 2 ก.ค.’52)
กราฟต่อไปนี้ ก. 0.934
1.0 ข. 1.541
0.8
ค. 2.152
0.6
ง. 3.634
0.4 68. นา H₂ และ O₂ อย่างละ 2 dm³ ความดัน 1 atm มาทาปฏิกิริยากันที่ 1,500 K เมื่อ
0.2
ปฏิกิริยาสมบูรณ์แล้วปรับความดันจนปริ มาตรเปลี่ยนเป็ น 1 dm³ ที่ 1,500 K ถ้าอุณหภูมิ
0.0 ลดลงเหลือ 400 K ที่ความดันคงเดิมปริ มาตรและความดันของแก๊สขณะนี้เป็ นเท่าใด
t₀ t₁ t₂ t₃ เวลา
ก. 0.27 dm³ 2 atm
ข้อใดเป็ นความดันรวม ( atm ) ที่เวลา t₀ และ t₃ ตามลาดับ ( ม.ค. 57 )
ข. 0.27 dm³ 3 atm
ก. 0.246 0.123
ค. 0.53 dm³ 2 atm
ข. 0.246 0.418
ง. 0.80 dm³ 3 atm
ค. 0.492 0.123
69. ถ้านาแก๊ส CH₄ C₂H₂ NH₃ CO และ Cl₂ มาศึกษาสมบัติการแพร่ ของ
ง. 0.492 0.418
แก๊ส แก๊สที่แพร่ ได้เร็ วที่สุดคือ (ENT’28)
66. แก๊สผสมระหว่าง O₂ กับ He มีความหนาแน่นเท่ากับ a g/dm³ ที่ 0.72 atm และ
ก. CH₄ ข. C₂H₂ ค. NH₃ ง. Cl₂
300 K ร้อยละโดยมวลของ O₂ ในแก๊สผสมมีค่าเท่าใด
96 800 𝑎
70. ในการศึกษาสมบัติการแพร่ ของแก๊ส HCl NO₂ H₂S C₂H₂ และ SO₂
ก.
7 ลาดับอัตราเร็ วการแพร่ ของแก๊สเป็ นดังข้อใด (ENT’37)
96−800 a
ข. ก. SO₂ > NO₂ > HCl > H₂S > C₂H₂
7a

ค.
800 𝑎−96 ข. NO₂ > HCl > SO₂ > C₂H₂ > H₂S
7
800 𝑎−96 ค. C₂H₂ > H₂S > HCl > NO₂ > SO₂
ง.
7a
ง. H₂S > SO₂ > C₂H₂ > NO₂ > HCl
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 14/23 หน้า 14
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 71 – 72 74. ที่สภาวะเริ่ มต้นแก๊ส NO และ O₂ ถูกเก็บแยกกัน เมื่อดึงแผ่นกั้นตรงกลางออก แก๊ส
จะผสมกันและเกิดปฏิกิริยาได้แก๊ส NO₂ ถ้าปฏิกิริยาเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์
A B
O₂ NO
ลิ้นที่ปิดเปิ ด 2.0 dm³ 2.0 dm³
ภาชนะ A และ B มีขนาดเท่ากัน ต่อถึงกันโดยลิน้ ที่ปิดเปิ ดได้ ถ้า A บรรจุแก๊ส NO 1.0 atm 1.0 atm
และ B บรรจุแก๊ส O₂ โดยให้ความดันของ แก๊สในภาชนะ A เป็ น 2 เท่าของความดันใน
300 K 300 K
ภาชนะ B ( ภายใต้อุณหภูมิเดียวกัน ) เมื่อเปิ ดลิ้นระหว่าง A กับ B แก๊สทั้งสองทา
ข้ อใดถูกต้ อง ( ม.ค. 2556 )
ปฏิกิริยา กันทันที ดังสมการ 2NO(g) + O₂(g) → 2NO₂(g)
71. เมื่อปล่อยให้เกิดปฏิกิริยาโดยสมบูรณ์ แก๊สภายในภาชนะทั้งสองมีส่วนผสมอย่างไร ก. มีแก๊ส O₂ เหลืออยู่ 0.04 mole
1. แก๊สผสมระหว่าง O₂ และ NO₂ ในอัตราส่วน 1 : 2 ข. ความดันของแก๊สในภาชนะเท่ากับ 0.66 atm
2. แก๊สผสมระหว่าง NO และ NO₂ ในอัตราส่วน 1 : 1 ค. ความดันเฉลี่ยของแก๊สในภาชนะเท่ากับ 0.75 atm
3. แก๊ส NO₂ เพียงชนิดเดียว ง. ในภาชนะมีแก๊สอยู่ 3 ชนิด และมีจานวนโมลรวมเท่ากับ 0.162
4. แก๊สผสมระหว่าง O₂ และ NO₂ ในอัตราส่วน 1 : 2 และมี NO เล็กน้อย จ. แก๊สทั้งสองทาปฏิกิริยาหมดพอดีได้ NO₂ 0.081 mole
72. หลังจากเกิดปฏิกิริยาโดยสมบูรณ์ ปิ ดลิ้นระหว่าง A กับ B ความดันใหม่ในภาชนะ B
75. แก๊ส A และแก๊ส B ทาปฏิกิริยากันในภาชนะที่มีปริ มาตรและอุณหภูมิคงที่ ได้สาร C ซึ่ง
อธิบายได้โดยข้อความใด
เป็ นของแข็งถ้าความดันเริ่ มต้นของแก๊ส A เท่ากับ 4 atm และความดันเริ่ มต้นของแก๊ส B
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงความดัน เทียบกับก่อนเกิดปฏิกิริยา
1.
เท่ากับ 4 atm หลังจากเกิดปฏิกิริยาพบว่าความดันรวมของแก๊สที่เหลือเท่ากับ 3.5 atm
ความดันเปลี่ยนไป โดยจะมีค่าเท่ากับความดันเฉลี่ยก่อนเกิดปฏิกิริยาในภาชนะทั้งสอง
2.
ความดันในภาชนะ B จะเป็ น 21 เท่าของความดันในภาชนะ A หลังปฏิกิริยา
3. และผลได้ร้อยละของสาร C เท่ากับ 75 % โดยที่แก๊ส B เป็ นสารกาหนดปริ มาณ สูตร
4.
ความดันในภาชนะ B ควรลดลง แต่ไม่สามารถคานวณได้เนื่องจากข้อมูลไม่ โมเลกุลของสาร C คือข้อใด (PAT – 2 มี.ค.’55)
เพียงพอ ก. AB
73. การเรี ยงลาดับอัตราการแพร่ ของแก๊ส ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซียส ความดัน ข. AB₂
1.0 บรรยากาศ ข้อใดถูกต้อง ( PAT – 2 ก.ค. 52 ) ค. AB₃
ก. NH₃ > CO > CO₂ ง. AB₄
ข. SO₃ > N₂O₃ > C₄H₁₀
ค. CO₂ > NO₂ > SO₂
ง. ข้อ ก และ ข้อ ค
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 15/23 หน้า 15
76. ภาชนะสองใบเชื่อต่อกัน ใบแรกมีขนาด 2 ลิตร บรรจุแก๊ส N₂ ไว้ 3 บรรยากาศ ใบ ค. Ne Ar N₂ O₂ NO
ที่สองขนาด 3 ลิตร ไว้ 5 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิคงที่ เมื่อเปิ ดวาล์วที่ก้ นั ระหว่างภาชนะ ง. Ne N₂ O₂ Ar NO
ทั้งสองจะเกิดปฏิกิริยากันจนสมบูรณ์ได้ผลิตภัณฑ์ ออกไซชนิดหนึ่งของไนโตรเจนมี 79. แก๊ส X Y และ Z มีปริ มาตรเท่ากัน ภายใต้อุณหภูมิและความดันเดียวกัน ถ้า M
ความดันเท่ากับ 1.2 บรรยากาศ โดยไม่มีสารตั้งต้นเหลืออยู่ สูตรของออกไซด์ที่เกิดขึ้น
แทนมวลโมเลกุล และ R แทนอัตราการแพร่ ของแก๊ส ข้อใดเป็ นไปได้ (ENT’36 )
คือข้อใด (PAT – 2 ก.ค. 53)
ลาดับมวลโมเลกุล ลาดับอัตราการแพร่ ของแก๊ส
ก. NO₂
ข. N₂O₃ ก. M X > MY > M Z RX > RY > RZ
ค. N₂O₄ ข. M Y > MX > M Z RZ > RY > RX
ง. N₂O₅ ค. MY > M Z > M X RX > RZ > RY
77. กระเปาะ A B และ C ต่อเชื่อมกันด้วยวาล์ว D โดยที่กระเปาะ A B และ C ง. M Z > MY > M X RZ > RY > RX
บรรจุแก๊สดังต่อไปนี้ (แก๊สทั้งสามชนิดเป็ นแก๊สในอุดมคติและอุณหภูมิแก๊สเป็ น 27 C) 80. ถ้าท่านมีแก๊สผสมของธาตุ 19 14
และ 20
Z เมื่ออัดแก๊สเหล่านี้ แล้วให้แพร่ ผา่ น
9X 7𝑌 10
1. กระเปาะ A ปริ มาตร 1 L บรรจุแก๊ส A ความดัน 1 atm รู เล็กๆ แก๊สของธาตุดงั กล่าว ควรแพร่ ดว้ ยอัตราเร็ วจากมากไปหาน้อยตามลาดับ ดังนี้
2. กระเปาะ B ปริ มาตร 2 L บรรจุแก๊ส A ความดัน 1 atm ก. Y > X > Z
3. กระเปาะ C ปริ มาตร 3 L บรรจุแก๊ส A ความดัน 1 atm ข. Z > X > Y
โดยที่แก๊ส A และ B เกิดปฏิกิริยาได้สาร C ดังสมการ (PAT - 2 ธ.ค.’56) ค. Z > Y > X
A + B → C (กาหนดให้ R = 0.082 L . atm . mol⁻¹.K⁻¹ ) ง. X > Z > Y
หลังจากเปิ ดวาล์ว D ความดันของแก๊ส A B และ C เป็ นเท่าใด ตามลาดับ
81. ในการศึกษาสมบัติการแพร่ ของแก๊ส 1 และแก๊ส 2 ที่อุณหภูมิ 30 C ได้ขอ้ มูลดังนี้
1
ก. 0 1 แก๊ส มวลโมเลกุล เวลา(s) ระยะทาง(cm)
6
1 1
ข. 0 1 X 30 a
3 2
1 1 1
ค. 2 y 30 b
6 3 2
ง.
1 1 1 ถ้าผลการทดลอง ปรากฏว่า แก๊ส 1 แพร่ ได้เร็ วกว่าแก๊สที่ 2 แล้วข้อใดถูกต้อง(ENT’39)
3 2 6
ก. a<b x<y
78. อัตราการแพร่ ของแก๊สในข้อใดที่ชา้ ลงตามลาดับ (ENT’22)
ข. a<b x>y
ก. Ne N₂ NO O₂ Ar
ค. a>b x>y
ข. Ar O₂ NO N₂ Ne
ง. a>b x<y
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 16/23 หน้า 16
82. ของเหลวใดมีค่าความร้อนแฝงของการกลายเป็ นไอสูงสุด และเมื่อเปลี่ยนสถานะเป็ น 85. เมื่อบรรจุแก๊ส 3 ชนิด แอมโมเนีย ออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ ในลูกโป่ ง 3 ใบ
แก๊สสารใดจะมีอตั ราการแพร่ สูงสุดในสภาวะเดียวกัน ( ENT’มีนาคม 42 ) ใบละชนิดโดยควบคุมให้ลูกโป่ งมีปริ มาตรเท่ากัน แล้วปล่อยให้ลกู โป่ งทั้ง 3 ใบไว้คา้ ง
ของเหลว มวลโมเลกุล จุดเดือด C คืนในห้องที่ควบคุมอุณหภูมิและความดันให้คงที่ วันรุ่ งขึ้นพบว่าลูกโป่ งทุกใบมีขนาด
A. 78.1 80.1 เล็กลง ลูกโป่ งที่บรรจุแก๊สแอมโมเนียมีขนานเล็กที่สุด ส่วนลูกโป่ งที่บรรจุแก๊ส
B. 142.6 197.5 คาร์บอนไดออกไซด์มีขนาดใหญ่ที่สุด พิจารณาข้อสรุ ปต่อไปนี้
C. 168.4 222.0 1. มีการแพร่ ของแก๊สเกิดขึ้น
D. 215.5 174.0 2. อัตราการแพร่ ของแก๊สเป็ นดังนี้ NH₃ > O₂ > CO₂
3. คาร์บอนไดออกไซด์มีมวลโมเลกุลมากจึงแพร่ ได้ชา้
ความร้อนแฝงของการกลายเป็ นไอสูงสุด อัตราการแพร่ สูงสุด
4. แอมโมเนียสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุล ปริ มาตรของแก๊สจึงลดลง
ก. A A
ข้อสรุ ปใด ถูกต้ อง (ENT’ต.ค. 46 )
ข. C B
ก. 1 และ 2 เท่านั้น
ค. D C
ข. 3 และ 4 เท่านั้น
ง. B D
ค. 1 2 และ 3
83. A B C เป็ นสารระเหยง่ายและมีกลิ่น มีสูตรโมเลกุล C₃H₁₀O₂ ม C₁₀H₈ และ ง. 1 3 และ 4
C₁₀H₁₆O ตามลาดับ บรรจุอยูใ่ นขวดปากกว้างที่ปิดไว้ ถ้าได้กลิ่นสารทั้ง 3 ชนิด 86. ธาตุ T เกิดสารประกอบคลอไรด์ มีสูตร TCl ซึ่งเมื่อผสมกับแอมโมเนียได้ควันสี ขาว TCl
พร้อมกับ จะต้องวางขวดสารห่างออกไปจากผูไ้ ด้กลิ่นเป็ นระยะทาง(d)เทียบกันอย่างไร ละลายน้ าได้ดีแต่การละลายได้จะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ข้อใดควรเป็ นสมบัติของ TCl
ก. dB > dC > dA (ENT’41)
ข. dA > dC > dB สถานะที่อุณหภูมิ จุดหลอมเหลว (  C ) ความเป็ นกรด-เบสของสารละลาย
ค. dC > dB > dA ก. ของเหลว -78 กรด
ง. dA > dB > dC ข. แก๊ส -114.8 กรด
84. แก๊สต่อไปนี้ แก๊สใดมีอตั ราการแพร่ เป็ น 3 เท่าของอัตราการแพร่ ของน้ า (ENT’31) ค. ของแข็ง 605 กลาง
ก. ฮีเลียม ง. ของเหลว -23 กลาง
ข. ไฮโดรเจน
ค. มีเทน
ง. คาร์บอนมอนอกไซด์
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 17/23 หน้า 17
87. จากข้อมูลในตาราง 90. ถ้าอัตราการแพร่ ของแก๊สชนิดหนึ่งเป็ น 1 ใน 4 เท่าของแก๊สอะเซทิลีน (C₂H₂) ภายใต้
ชนิดของแก๊ส น้ าหนัก (g) ความดัน(atm) ปริ มาตร(dm³ ) อุณหภูมิ (C) ภาวะเดียวกัน มวลของโมเลกุลของแก๊สนี้เป็ นเท่าใด (ENT’23)
1 2.73 0.51 3.0 27 ก. 416
2 0.14 0.112 1.0 0 ข. 256
3 2.73 0.70 3.2 47 ค. 104
การเรี ยงลาดับอัตราเร็ วในการแพร่ ของแก๊สทั้งสามชนิดจากมากไปน้อยเป็ นข้อใด ง. 26
ก. 1 2 3 91. ข้อใดเป็ นแก๊สที่มีอตั ราการแพร่ ผา่ นแผ่นรู พรุ นเป็ นครึ่ งหนึ่งของแก๊สนีออน( ม.ค 58)
ก. ฮีเลียม
ข. 2 1 3
ข. อาร์กอน
ค. 3 1 2
ค. คาร์บอนไดออกไซด์
ง. 2 3 1 ง. ซัลเฟอร์ไตรออกไซด์
88. ในการศึกษาสมบัติของแก๊ส 3 ชนิด ได้ผลการทดลองดังนี้ จ. เตตระออโรเอทิลีน
ชนิดของแก๊ส น้ าหนัก (g) ปริ มาตร(dm³ ) อุณหภูมิ (C) ความดัน 92. ถ้าเปรี ยบเทียบความเร็ วในการเคลื่อนที่ของแก๊สมีเทน(CH₄) และแก๊สซัลเฟอร์ได
(atm) ออกไซด์ (SO₂) เมื่อใช้เวลาเท่ากัน และทดลองที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน
A 0.16 0.20 100 0.50 ความเร็ วในการเคลื่อนที่ของแก๊ส CH₄ เป็ นกี่เท่าของ SO₂ (ENT’20)
B 22.00 20.00 T₁ P₁ ก.
1
4
C 56.00 80.00 T₁ P₁
1
ข้อสรุ ปใด ผิด (ENT’มี.ค. 44) ข.
2
ก. แก๊ส A มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 49 ค. 2
ข. แก๊ส C แพร่ ได้เร็ วกว่าแก๊ส B ง. 4
ค. แก๊ส B คือ CO₂ และแก๊ส C คือ CO 93. ถ้าแก๊ส X มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 81 เคลื่อนที่ในภาชนะได้ระยะทาง 30 cm
ง. ถ้า P₁ = 0.41 atm และ T₁ = - 73  C แก๊ส A มีมวลโมเลกุลน้อยกว่า C ในเวลา 2 วินาที แก๊ส Y มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 25 จะเคลื่อนที่ได้ระยะทางกี่เซนติเมตร
89. แก๊ส X แพร่ ได้เร็ วกว่าแก๊ส Y 3 เท่ามวลโมเลกุลของ Y ควรเป็ นกี่เท่าของแก๊ส X ในเวลา 4 วินาที (ENT’19)
ก. 108 เซนติเมตร
ก. 1
ข. 96 เซนติเมตร
ข. 3
ค. 6 ค. 75 เซนติเมตร
ง. 62 เซนติเมตร
ง. 9
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 18/23 หน้า 18
94. สารอินทรี ยช์ นิดหนึ่ง ประกอบด้วยคาร์บอนร้อยละ 64.3 ออกซิเจนร้อยละ 28.6 และ 98. ภายใต้สภาวะอุณหภูมิคงที่ แก๊ส A มีมวลโมเลกุลเป็ น 4 เท่าของแก๊ส B และแก๊ส C มี
โฮโดรเจนร้อยละ 7.1 โดยมวล มีอตั ราการแพร่ ในสถานะแก๊สเป็ นครึ่ งหนึ่งของแก๊ส มวลต่อโมลเป็ น 9 เท่าของแก๊ส B ถ้ามีการเปรี ยบเทียบระยะทางที่แก๊สแต่ละชนิด
ไนโตรเจน ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน สารอินทรี ยด์ งั กลาว มีสูตรโมเลกุลตามข้อใด เคลื่อนที่ได้ในเวลา 1 นาที เป็ นดังนี้
ก. CH₂O 1. แก๊ส A เคลื่อนที่ได้เป็ น 2 เท่าของแก๊ส B
ข. C₃H₄O 2. แก๊ส B เคลื่อนที่ได้เป็ น 3 เท่าของแก๊ส C
ค. C₅H₇O₂ 3. แก๊ส C เคลื่อนที่ได้เป็ น 3 เท่าของแก๊ส B
ง. C₆H₈O₂ 4. แก๊ส A เคลื่อนที่ได้เป็ น 1.5 เท่าของแก๊ส B
95. แก๊ส A B และ C อย่างละ 1 โมล บรรจุในภาชนะขนาด 3 ลิตร ที่อุณหภูมิ 27 °𝑐 พบว่า การเปรี ยบเทียบในข้อใด ถูกต้ อง
ความดันของแก๊สมีค่าเท่ากันคือ 8.2 atm ถ้ามีรูเล็กๆเกิดขึ้นที่ภาชนะนี้พบว่า แก๊ส A ก. 1 และ 2 ข. 1 และ 3
แพร่ ผา่ นด้วยอัตราเร็ ว RA = 4RB = 5RC ให้ RA = 200 mg/วินาที ค. 2 และ 3 ง. 2 และ 4
หลังจากปล่อยให้แก๊สรั่วเป็ นเวลา 5 นาที พบว่าแก๊ส A เหลือ 1 กรัม ข้อใดคือมวล จ. 1 และ 4
โมเลกุลของแก๊ส B และ C ตามลาดับ (PAT – 2 ต.ค.’54) 99. X มีมวลอะตอมเป็ น 2 เท่าของ Y และ A มีมวลอะตอมเป็ น 4 เท่าของ Y อัตรา
ก. 32 50 การแพร่ ของแก๊ส X₂ เป็ นกี่เท่าของแก๊ส A₂ ( Oly -50 )
ข. 16 25 ก. 0.5 ข. 1.4
ค. 64 50 ค. 1.6 ง. 2.0
ง. 32 25 100. ให้แก๊ส A และแก๊ส B เกิดการแพร่ เข้าไปในหลอดแก้วยาว 24 cm แล้วเกิดสาร C
96. ข้อใดแสดงอัตราส่วนการแพร่ ระหว่างแก๊ส 2 ชนิดได้ ถูกต้อง ( มข. 51 ) ขึ้นห่างจากปลายด้านแก๊ส B ระยะทาง 8 cm
ก.
He
= 2.5 ข.
CO
= 1.57 24 1. แก๊ส A แพร่ ได้เร็ วเป็ น 2 เท่า
Ne CO₂ C ของ แก๊ส B
O₂ CH₄
ค. = 1.22 ง. = 0.73 2. B มีมวลเป็ น 2 เท่า ของ A
O₃ C₂H₆ A B
8 1
3. √MA = √MB
2
97. แก๊ส X เคลื่อนที่ในหลอดนาแก๊สอันหนึ่งได้ระยะทาง 30.0 เซนติเมตร ใช้เวลา 2.0 วินาที
แก๊ส Y เคลื่อนที่ในหลอดนาแก๊สอันเดียวกันนี้ ได้ระยะทาง 216 เซนติเมตร
ใช้เวลา 8.0 วินาที แก๊ส X จานวน 10 โมเลกุล หนัก 1.34 x 10⁻²¹ กรัม มวลโมเลกุล การเปรี ยบเทียบในข้อใด ถูกต้ อง ( มอ. 50)
ของแก๊ส Y เป็ นเท่าใด (PAT – 2 มี.ค.’52) ก. 1 และ 2 ข. 2 และ 3
ก. 14 ข. 25 ค. 1 และ 3 ง. 1 2 และ 3
ค. 44 ง. 260

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 19/23 หน้า 19
101. ความสัมพันธ์ระหว่างน้ าหนักโมเลกุลและตัวแปรข้อใดของแก๊สที่มีความสัมพันธ์เป็ น 106. มวลอะตอมของแก๊ส A เป็ นสองเท่าของมวลอะตอมของแก๊ส B ที่อุณหภูมิเดียวกัน
สมการเส้นตรง( PAT-2 ก.ค. 53 ) ข้อความที่ ถูกต้ อง คือข้อใด (ENT’22)
ก. ความดัน ก. ผลรวมของพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ของแก๊สทั้งสองเท่ากัน
ข. ปริ มาตร ข. ความเร็ วเฉลี่ยของแก๊สทั้งสองเท่ากัน
ค. อัตราการแพร่ ค. ความเร็ วเฉลี่ยของแก๊ส A เป็ นครึ่ งหนึ่งของแก๊ส B
ง. ความหนาแน่น ง. พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สทั้งสองเท่ากัน
102. ค่าความชันของกราฟความสัมพันธ์ระหว่างน้ าหนักโมเลกุล(แกนนอน) และความ 107. เมื่อให้ความร้อนด้วยอัตราคงที่กบั สารบริ สุทธิ์ G ที่เป็ นของแข็งจานวน 1 โมล พบการ
หนาแน่น(แกนตั้ง) ของแก๊สในอุดมคติที่สภาวะ STP คือข้อใด ( PAT-2 ต.ค. 53 ) เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสาร G ดังกราฟ
ก. 273 R ข. - 273 R F
1 1 D E
ค. ง. − b
273R 273 R

อุณหภูมิ( C)
a
103. แก๊สจริ งอาจมีสมบัติใกล้เคียงกับแก๊สสมบูรณ์ เมื่ออยูใ่ นระบบที่ (ENT’22) B C
ก. ที่อุณหภูมิสูงความดันต่า A
ข. ที่อุณหภูมิต่าความดันสูง เวลา(วินาที)
ค. ที่อุณหภูมิคงที่ ข้อความใด ถูกต้ อง (ENT-A’50)
ง. อัตราเร็ วในการเคลื่อนที่ของโมเลกุลคงที่ ก. จุดหลอมเหลวของสาร G มีค่าเท่ากับ b C
104. ภายใต้อุณหภูมิและความดันใดที่แก๊สจริ งประพฤติคล้ายแก๊สสมมติ (ENT’23) ข. จากจุด E ถึงจุด F สาร G จะอยูใ่ นสถานะที่เป็ นแก๊ส
ก. ที่อุณหภูมิสูงและความดันต่า ค. จากจุด A ถึงจุด B โมเลกุลของสาร G มีพลังงานจลน์เฉลี่ยคงที่
ข. ที่อุณหภูมิต่าและความดันสูง
ง. จากจุด B ถึงจุด C เป็ นความร้อนแฝงของการกลายเป็ นไอของสาร G
ค. ที่อุณหภูมิต่าและความดันต่า
108. แก๊ส X มีความดัน PX ที่ อุณหภูมิ TX ส่วนแก๊ส Y มีความดัน PYที่ อุณหภูมิ TY
ง. ที่อุณหภูมิสูงและความดันสูง
พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สทั้งสองมีค่าเท่ากัน ถ้า VX และ VY เป็ นปริ มาตร
105. ข้อความใด ถูกต้ อง ถ้าลดปริ มาตรของภาชนะที่บรรจุแก๊ส โดยให้อุณหภูมิคงที่ Tx
ก. อะตอมของแก๊สจะชนผนังภาชนะด้วยแรงเท่าเดิม แต่ในอัตราความถี่เพิ่มขึ้น ของแก๊สคู่น้ ีในอัตราส่วน เป็ นเท่าใด (ENT’24)
Ty
ข. อะตอมของแก๊สจะชนผนังภาชนะแรงขึ้นกว่าเดิม แต่ในอัตราความถี่คงเดิม ก.
1 ข. 1
4
ค. อะตอมของแก๊สจะชนผนังภาชนะแรงขึ้นกว่าเดิม แต่ในอัตราความถี่ลดลง
ค. 2 ง. ขึ้นอยูก่ บั
Vx
ง. อะตอมของแก๊สจะชนผนังภาชนะเบากว่าเดิม แต่ในอัตราความถี่เพิ่มขึ้น Vy

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 20/23 หน้า 20
109. ในการทดลองการแพร่ ของแก๊ส A และ B โดยให้ทาปฏิกิริยากันในหลอดแก้วดังรู ป 111. เมื่อนาแก๊ส O₂ จานวน 2 x 10⁶ โมเลกุล แก๊ส N₂ 4 x 10⁶ โมเลกุล
หลอดแก้ว และ H₂ 2 x 10⁶ โมเลกุล บรรจุลงในขวดที่มีปริ มาตรเท่ากัน ที่อุณหภูมิเดียวกัน
ความดันของแก๊สในขวดใดมีค่าสูงสุด (ENT’23)
A B
ก. O₂ ข. N₂
C ค. H₂ ง. เท่ากันทุกขวด
112. แก๊ส C₂H₂ และ C₂H₆ ที่หนักเท่ากัน นาไปบรรจุในขวดที่มีปริ มาตรและอุณหภูมิ
ปล่อยให้แก๊สทั้งสองเข้าไปในหลอดแก้ วพร้อมๆกัน ปรากฏว่าได้สาร C ดังสมการ เท่ากัน พบว่า (ENT’23)
A (g) + B(g) ⟶ C(s) ก. ความดันในขวดที่บรรจุ C₂H₆ มีมากกว่าความดันในขวดที่บรรจุ C₂H₂
เมื่อวัดตาแหน่งของสาร C พบว่าเกิดอยูใ่ กล้ทางเข้าแก๊ส B มากกว่า แก๊ส A ข้อใด ผิด ข. แก๊สทั้งสองจะมีจานวนโมเลกุลเท่ากัน
ค. แก๊สทั้งสองมีความดันเท่ากัน
ก. แก๊ส A แพร่ ได้เร็ วกว่าแก๊ส B
ง. ความดันในขวดที่บรรจุ C₂H₂ มีมากกว่าความดันในวดที่บรรจุ C₂H₆
ข. แก๊ส B มีมวลโมเลกุลสูงกว่าแก๊ส A
113. ถ้าบรรจุแก๊สออกซิเจนและแก๊สไนโตรเจนมวลเท่ากัน ลงในภาชนะ 2 ใบ ที่มีปริ มาตร
ค. แก๊ส A และแก๊ส B มีพลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน เท่ากัน และอุณหภูมิเดียวกัน ข้อสรุ ปใด ถูกต้ อง (ENT’36)
ง. โมเลกุลของแก๊ส A เคลื่อนที่เข้าหาโมเลกุลของแก๊ส B โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง ก. ภายในภาชนะทั้งสองมีจานวนโมเลกุลของแก๊สเท่ากัน
ทิศทาง ข. แก๊สไนโตรเจนมีพลังงานจลน์เฉลี่ยมากกว่าแก๊สออกซิเจน
110. ที่อุณหภูมิคงที่ ภาชนะปิ ดใบหนึ่งมีขนาดเท่ากับ V ลิตร ถูกแบ่งออกเป็ น 2 ส่วนเท่าๆกัน ค. ความดันในภาชนะที่บรรจุแก๊สไนโตรเจนจะมีค่ามากกว่าความดันในภาชนะที่
(A และ B) โดยมีผนังกั้น ถ้าภาชนะส่วน A บรรจุแก๊ส X และแก๊ส Y ที่มีมวลโมเลกุล M บรรจุแก๊สออกซิเจน
และ 16 M ตามลาดับอย่างละ 10 โมล ในขณะที่ภาชนะส่วน B เป็ นสุญญากาศ หากมีรูรั่ว ง. โมเลกุลของแก๊สออกซิเจนเคลื่อนที่ได้เร็ วกว่าโมเลกุลของแก๊สไนโตรเจน
เล็กๆ ที่ผนังกั้นทาให้แก๊สทั้งสองแพร่ ไปยังภาชนะส่วน B โดยแก๊ส Y แพร่ ดว้ ย 114. การเปรี ยบเทียบสมบัติของแก๊ส He H₂ และ CH₄ ในข้อใด ถูกต้ อง (ENT’มี.ค. 48)
อัตราเร็ ว 1 โมลต่อนาที ทิ้งไว้จนระบบเข้าสู่ภาวะสมดุล พิจารณาข้อสรุ ปต่อไปนี้ ก. เมื่อมวลเท่ากัน จะมีปริ มาตรเท่ากันที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน
1. ภาชนะส่วน A มีแก๊ส X 5 โมล และแก๊ส Y 5 โมล ข. ที่อุณหภูมิเดียวกัน เมื่อมวลและปริ มาตรเท่ากัน แก๊ส H₂ จะมีความดันมากสุด
2. ภาชนะส่วน A มีแก๊ส X 2 โมล และแก๊ส Y 8 โมล ค. ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน แก๊สทั้ง 3 จะมีอตั ราการแพร่ เท่ากัน
3. พลังงานจลน์ของแก๊ส X สูงกว่าพลังงานจลน์ของแก๊ส Y ง. เมื่อนาแก๊สผสมทั้ง 3 มาลดอุณหภูมิ แก๊ส CH₄ จะควบแน่นเป็ นลาดับสุดท้าย
4. ความดันสุดท้ายของภาชนะ A เท่ากับครึ่ งหนึ่งของความดันเริ่ มต้น
115. ผลึกของแข็งประเภทใดที่สามารถระเหิ ดได้
ข้อใดถูกต้อง (ENT’มี.ค. 47)
ก. ผลึกโมเลกุล ข. ผลึกโคเวเลนต์ร่างตาขาย
ก. 1 และ 3 ข. 1 และ 4
ค. ผลึกโลหะ ง. ผลึกไอออนิก
ค. 2 และ 3 ง. 2 และ 4
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 21/23 หน้า 21
116. ภาชนะสองใบ ซึ่งมีปริ มาตรเท่ากัน บรรจุแก๊สต่างชนิดกัน ที่ความดันเดียวกัน ข้อความ 120. ขั้นตอนในการทาน้ าแข็งแห้งจากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ประกอบด้วย
ใดถูกต้อง (ENT’31) 1. ทาให้แห้งและบริ สุทธิ์
ก. ภาชะทั้งสองใบมีอุณหภูมิเท่ากัน 2. อัดผ่านรู พรุ น
ข. ภาชะทั้งสองใบมีแก๊สที่มีมวลเท่ากัน 3. เพิ่มความดันและลดอุณหภูมิ
ค. ภาชะทั้งสองใบมีจานวนโมเลกุลเท่ากัน ภาชนะทั้งสองใบจะต้องมีอุณหภูมิเท่ากัน การเรี ยงลาดับขั้นตอนตั้งแต่ตน้ จนถึงขั้นสุดท้าย ข้อใด ถูกต้อง
ง. ภาชะทั้งสองใบมีแก๊สที่มีมวลเท่ากัน ภาชะทั้งสองใบมีอุณหภูมิเท่ากัน ก. 3 2 และ 1
117. ขวดแก้วใบหนึ่งมีความจุ 30.0 dm³ ที่ 25 C และ 1.1 บรรยากาศบรรจุแก๊สคลอรี น ข. 2 1 และ 3
2.00 โมล เมื่อดูดเอาแก๊สคลอรี นออกจนหมดแล้วบรรจุแก๊สไนโตรเจนลงไปแทนที่ ค. 1 3 2 และ 3
อุณหภูมิและความดันเดียวกันจะบรรจุแก๊สไนโตรเจนได้กี่โมล (ENT’24) ง. 3 1 3 และ 2
ก. 0.79 โมล 121. ในการทดลองเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างความดันและปริ มาตรของแก๊สชนิดหนึ่ง
ข. 2.00 โมล พบว่า ถ้าเราเพิ่มความดันขึ้นเป็ น 3 เท่าของความดันเริ่ มต้น ปริ มาตรของแก๊สในระบบจะ
ค. 2.40 โมล ลดลงเป็ นครึ่ งหนึ่ง จงหาว่าอุณหภูมิของแก๊สควรจะเพิ่มขึ้นกี่เปอร์เซ็นต์
ง. 5.07 โมล ก. 0 % ข. 50 %
118. ภาชนะ 2 ใบ มีแก๊สบรรจุอยู่ ถ้าทาให้ภาชนะใบที่ 1 มีอุณหภูมิสูงกว่าใบที่ 2 ผลการ ค. 75 % ง. 150 %
ทดลองพบว่า ความเร็ วเฉลียของโมเลกุลของแก๊สทั้งสองเท่ากัน จะสรุ ปผลการทดลองนี้ 122. ของแข็งต่อไปนี้จดั เป็ นผลึกประเภทใด
อย่างไร น้ าแข็งแห้ง ควอตซ์ อาร์กอน
ก. โมเลกุลของแก๊สในภาชนะใบที่ 2 มีพลังงานจนล์เฉลี่ยมากกว่าโมเลกุลของแก๊สใน ก โคเวเลนต์ โลหะ ไอออนิก
ภาชนะใบที่ 2 ข โมเลกุล โคเวเลนต์ อะตอม
ข. โมเลกุลของแก๊สในภาชนะใบที่ 1 มีมวลรวมกันมากกว่าโมเลกุลของแก๊สใน ค โคเวเลนต์ โมเลกุล อะตอม
ภาชนะใบที่ 2 ง โมเลกุล โคเวเลนต์ โมเลกุล
ค. พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สในภาชนะทั้ง 2 ใบเท่ากัน
123. ปริ มาณความร้อนที่ทาให้น้ าแข็ง 10.9 กรัม กลายเป็ นน้ าได้หมดที่อุณหภูมิ 0 C จะ
ง. ผลการทดลองไม่ถูกต้องเพราะทฤษฎีจลน์ของแก๊สกล่าวว่าความเร็ วเฉลี่ยของแก๊สที่
สามารถทาให้เอทานอลกี่กรัม เปลี่ยนจากของแข็งเป็ นของเหลวได้หมด ณ อุณหภูมิจุด
อุณหภูมิต่างกันไม่เท่ากัน
เยือกแข็งของเอทานอล ( ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ าและเอทานอล
119. ความสัมพันธ์ระหว่างน้ าหนักโมเลกุลและตัวแปรข้อใดของแก๊สที่มีความสัมพันธ์เป็ น
เท่ากับ 335 และ 109 Jg ตามลาดับ )
สมการเส้นตรง(PAT-2 ก.ค.’53) ก. 1.09 ข. 3.35
ก. ความดัน ข. ปริ มาตร ค. 33.5 ง. 109
ค. อัตราเร็ วการแพร่ ง. ความหนาแน่น
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 22/23 หน้า 22
124. ภาชนะ A , B , C และ D ทาด้วยแก้วทนความดัน X Y และ Z เป็ นลิ้นเปิ ดปิ ด 126. พิจารณาเทคนิคการหาจุดเดือดและเหตุผลต่อไปนี้
ระหว่างภาชนะในภาชนะ A และ B บรรจุแก๊ส N₂ และ O₂ ตามลาดับ ส่วนภาชนะ C เทคนิค เหตุผล
และ D เป็ นสุญญากาศ ทาการทดลองที่ 27 C 1 atm 1. บรรจุสารตัวอย่างลงในหลอดทดลอง ไม่อาจบรรจุของเหลวในหลอดคะปิ ลลารี
ภาชนะ A ขนาดเล็กซึ่งมีหลอดคะปิ ลลารี ปลาย ได้เนื่องจากในหลอดมีความดัน
บรรจุแก๊ส N₂ ปิ ดข้างหนึ่งคว่าอยู่
ขนาด 500 cm³ ถ้าผูกเทอร์มิสเตอร์กบั หลอดคะปิ ลลารี จะ
ภาชนะ C 2. ผูกหลอดทดลองติดกับเทอร์มิสเตอร์
หลุดเพราะหลอดคะปิ ลลารี มีขนาดเล็ก
สุญญากาศ
ภาชนะ D ภาชนะ B ขนาด 2.0 dm³ 3. ให้กน้ หลอดทดลองกับกระเปาะเทอร์ เพื่อให้อ่านอุณหภูมิของจุดเดือดได้
สุญญากาศ บรรจุแก๊ส O₂ มิสเตอร์อยูใ่ นระดับเดียวกัน ถูกต้อง
ขนาด 300 cm³ ขนาด 1.0 dm³ 4. หยุดให้ความร้อนเมื่อมีฟองอากาศปุด ความดันไอภายในหลอดคะปิ ลลารี สูงกว่า
ออกมาจากหลอดคะปิ ลลารี เป็ นสาย ความดันบรรยากาศ
ข้อความใดถูกต้อง (ENT ‘ มี.ค. 45)
ก. จานวนโมเลกุลของแก๊ส N₂ ในภาชนะ A เท่ากับจานวนโมเลกุลของแก๊ส O₂ ใน เหตุผลข้อใด ถูกต้อง ( ENT 37 )
ภาชนะ B ก. (1) และ (2)
ข. เมื่อเปิ ดลิ้น X ปล่อยให้แก๊ส O₂ และแก๊ส N₂ ผสมกันอยู๋ที่อุณหภูมิ 27  C ความ ข. (2) และ (3)
ดัน 1 atmที่ภาวะสมดุลจานวนโมเลกุลของแก๊สในภาชนะทั้งสองภาชนะจะเท่ากัน ค. (3) และ (4)
ค. เมื่อเปิ ดลิ้น Z ที่อุณหภูมิ 27 C ความดันของแก๊สในภาชนะ C จะเพิ่มขึ้น ส่วนใน ง. (1) (3) และ (4 )
ภาชนะ B จะลดลง
127. แก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) ทาปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน ดังสมการ
ง. เปิ ดลิ้น Y และ Z ที่อุณหภูมิและความดันคงที่ ที่ภาวะสมดุลความหนาแน่นของแก๊ส
2NO(g) + O₂(g) ⟶ 2NO₂(g)
ในภาชนะ D จะมากกว่า C
ถ้าเริ่ มบรรจุแก๊ส NO และ O₂ แยกกันและสภาวะดังรู ป เมื่อเปิ ดท่อให้แก๊สทั้งสอง
125. ถังแก๊สใบหนึ่งบรรจุ O₂ ไว้ที่ 20 บรรยากาศ 300 เคลวิน เมื่อเปลี่ยนไปบรรจุ SO₂
เข้าทาปฏิกิริยากันที่อุณหภูมิ 25 C หลังจากปฏิกิริยาเกิดสมบูรณ์แล้ว ความดันรวมของ
แทนที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน พบว่าถังนี้มีน้ าหนักเพิ่มขึ้น 4 กิโลกรัม ถังใบนี้มี
แก๊สทั้งหมดมีค่ากี่บรรยากาศ
ปริ มาตรบรรจุประมาณกี่ลิตร ( กาหนดให้ R = 0.082 L . atm . mol⁻¹.K⁻¹ )
ก. 0.5 บรรยากาศ
ก. 0.154 ข. 0.769
ข. 1.0 บรรยากาศ
ค. 76.875 ง. 153.750
ค. 1.5 บรรยากาศ
ง. 2.0 บรรยากาศ
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com ch 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (เตรี ยมเรี ยนแพทย์)เนื้อหาหลักสูตรวิชาเคมี ระดับชั้น ม.4 - ม.6 8/30/2015 23/23 หน้า 23

You might also like