You are on page 1of 200

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๑-๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย นิราศเมืองแกลง (ประวัติผู้แต่ง ความเป็นมา และลักษณะคาประพันธ์) จานวน ๒ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา
ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๒ จับใจความสาคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน

๒. สาระสาคัญ
การอ่านเรื่อง นิราศเมืองแกลง จะต้องศึกษาความเป็นมา ประวัติผู้แต่ง และลักษณะคาประพันธ์ รวมทั้งการ
จับใจความสาคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้ (K)
๓.๑.๑ นักเรียนสามารถบอกประวัติผู้แต่งได้
๓.๑.๒ นักเรียนสามารถบอกความเป็นมาของเรื่องได้
๓.๑.๓ นักเรียนสามารถบอกลักษณะคาประพันธ์ของเรื่องได้
๓.๒ ด้านทักษะ (P)
๓.๒.๑ นั กเรีย นสามารถเขียนแผนผั งความคิดสรุปประวัติผู้ แต่ง ความเป็นมา และลั กษณ์ ค า
ประพันธ์ของนิราศเมืองแกลงได้
๓.๓ ด้านเจตคติ (A)
๓.๓.๑ นักเรียนส่งงานตรงตามเวลาที่กาหนด

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ ประวัติพระสุนทรโวหาร (ภู่)
๔.๒ ความเป็นมาของเรื่องนิราศเมืองแกลง
๔.๓ ลักษณะคาประพันธ์ นิราศเมืองแกลง

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ มีวินัย
๖.๒ ใฝ่เรียนรู้

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ แผนผังความคิดสรุปประวัติผู้แต่ง ความเป็นมา และลักษณ์คาประพันธ์ของนิราศเมืองแกลง
๗.๒ แบบฝึกหัด เรื่อง นิราศเมืองแกลง

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ตรวจแผนผังความคิด แผนผังความคิด ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
ตรวจแบบฝึ กหั ด เรื่อง นิ ราศเมือง
แบบฝึกหัด เรื่อง นิราศเมืองแกลง ร้อยละ ๘๐ ผ่านเกณฑ์
แกลง
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สั งเก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม ก าร ท างา น แบบสั งเกตพฤติ ก รรมการท างาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
-

๑๐.กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูให้นั กเรียนชมภาพพระสุนทรโวหาร (ภู่) หน้าชั้นเรียน จากนั้นครูถามนักเรียนว่า นักเรียนทราบ
หรือไม่ว่าภาพที่นักเรียนเห็นคือภาพของใคร มีความสาคัญต่อวงการวรรณคดีไทยอย่างไร
๒. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิดที่ว่า “บุคคลที่ถูกนาไปสร้างอนุสาวรีย์ควรจะมีคุณลักษณะอย่างไร”
ขั้นสอน
๓ . ค รู อ ธิ บ า ย โด ย ใช้ สื่ อ power point ป ร ะ ก อ บ ก าร ส อ น โด ย ค รู เริ่ ม ส อ น ป ร ะ วั ติ ผู้ แ ต่ ง
ความเป็นมา และลักษณะคาประพันธ์ และเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามเมื่อเกิดข้อสงสัย
๔. ครูสุ่มถามนักเรียน ๔ – ๕ คน ว่าพระสุนทรโวหาร (ภู่) มีความสาคัญอย่างไร เมื่อนักเรียนตอบคาถาม
แล้ว ครูมีหน้าที่ขยายความ หรือขยายคาตอบของนักเรียนให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
๕. ครูมอบหมายให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิด สรุปประวัติผู้แต่ง ความเป็นมา และลักษณ์คาประพั นธ์
ของนิราศเมืองแกลง ส่งท้ายคาบเรียนถัดไป
๖. ในคาบเรียนที่ ๒ ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่อง นิราศเมืองแกลง โดยครูให้คาแนะนานักเรียนอย่าง
ทั่วถึง

ขั้นสรุป
๗. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเนื้อหาที่ได้เรียนในวันนี้ โดยอาจจะมีการสุ่มถามนักเรียนเพื่อให้ท ราบว่า
นักเรียนเกิดความเข้าใจในเนื้อหาหรือไม่

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ power point ประกอบการสอนนิราศเมืองแกลง
๑๑.๒ แบบฝึกหัด เรื่อง นิราศเมืองแกลง
๑๑.๒ หนังสือวรรณคดีไทย ม.๒

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในชั้นเรียนและนอกห้องเรียน
๑.๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(.....................................................)
ตาแหน่ง..................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.......................................................
(...................................................)
ผู้สอน
.................../...................../...................

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

เกณฑ์การประเมินการเขียนแผนผังความคิด

ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
๓ ๒ ๑
๑. การสะกดคาศัพท์ สะกดคาถูกต้องทุกคา สะกดคาผิดเล็กน้อย สะกดคาผิดมาก

๒. การเลือกคา ใช้คาศัพท์สื่อความหมาย ใช้คาศัพท์สื่อความหมายไม่ ใช้คาศัพท์สื่อความหมายไม่


ตรงกัน ตรงกับเนื้อหาบางคา ตรงกับเนื้อหาหลายคา
๓. โครงสร้าง เขียนประโยคถูกต้อง เขียนประโยค เขียนประโยคผิด
ไวยากรณ์ ตามหลักไวยากรณ์ ไม่ถูกต้องตามหลัก หลักไวยากรณ์
ทุกประโยค ไวยากรณ์เล็กน้อย
๔. เครื่องหมาย ใช้เครื่องหมายวรรคตอน ใช้เครื่องหมายวรรคตอนไม่ ไม่มีเครื่องหมายวรรคตอน
วรรคตอน ถูกต้อง ถูกต้องบางประโยค
๕. เนื้อหา เขียนอธิบายเนื้อหา เขียนอธิบายเนื้อหา เขียนอธิบายเนื้อหา
ชัดเจน พอเข้าใจ ไม่ชัดเจน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไป ๑๔ – ๑๕ ดีมาก
สรุป � ผ่าน � ไม่ผ่าน ๑๑ – ๑๓ ดี
ลงชื่อ.................................ผู้ประเมิน ๘ - ๑๐ พอใช้
(.....................................) ๕ – ๗ ควรปรับปรุง

สื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ เรื่อง นิราศเมืองแกลง

บัตรภาพ


ที่มา : http://www.siamfreestyle.com/forum/index.php?showtopic=๑๖๑

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๑-๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย นิราศเมืองแกลง (การวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดี) จานวน ๒ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
และความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๑ พูดสรุปใจความสาคัญ
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย
อย่างเห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๑ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน

๒. สาระสาคัญ
การอ่านเรื่อง นิราศเมืองแกลง จะต้องวิเคราะห์วิจารณ์ อธิบายคุณค่า และสรุปข้อคิดจากเรื่องที่อ่านแล้ว
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้ (K)
๓.๑.๑ นักเรียนสามารถอธิบายคุณค่าของเรื่องได้
๓.๑.๒ นักเรียนสามารถบอกหลักการพูดสรุปใจความสาคัญได้
๓.๒ ด้านทักษะ (P)
๓.๒.๑ นักเรียนสามารถเขียนแผนผังความคิดวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดีได้
๓.๒.๒ นักเรียนสามารถพูดสรุปใจความสาคัญได้
๓.๓ ด้านเจตคติ (A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการพูด

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ การวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดี
๔.๒ หลักการพูดสรุปใจความสาคัญ
๔.๓ มารยาทในการพูด

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ มีวินัย
๖.๒ ใฝ่เรียนรู้
๖.๓ มุง่ มั่นในการทางาน

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ ใบงาน เรื่อง นิราศเมืองแกลง
๗.๒ การพูดสรุปใจความสาคัญ วิเคราะห์คุณค่าวรรณคดีนิราศเมืองแกลง

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ตรวจใบงาน เรื่อง นิราศเมืองแกลง ใบงาน เรื่อง นิราศเมืองแกลง ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
ประเมินการพูด สรุปใจความสาคัญ ก า ร พู ด ส รุ ป ใจ ค ว า ม ส า คั ญ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
วิเคราะห์คุณค่าวรรณคดีนิราศเมือง วิเคราะห์คุณค่าวรรณคดีนิราศเมือง
แกลง แกลง
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสั งเกตพฤติ ก รรมการท างาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
กลุ่ม

๙. การบูรณาการ
-

๑๐.กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูทบทวนความรู้เดิมในเรื่องนิราศเมืองแกลง โดยสุ่มถามนักเรียนเป็นรายบุคคล
๒. ครูเปิดวีดิทัศน์การพูดสรุปใจความสาคัญให้นักเรียนชม จากนั้นครูเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนในการพูด
สรุปใจความสาคัญ ในหัวข้อ การวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดี เรื่อง นิราศเมืองแกลง

ขั้นสอน
๓. ครูอธิบายโดยใช้สื่อ power point ประกอบการสอนเรื่องหลักการพูด สรุปใจความสาคัญ และมารยาท
ในการพูด โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามเมื่อเกิดข้อสงสัย จากนั้นสอบถามนักเรียนว่าหลักการพูด สรุปใจความ
สาคัญมีหลักการอะไรบ้าง และมารยาทในการพูดคืออะไร (ครูอาจสุ่มถามนักเรียนเป็นรายบุคคล)
๔. ครูให้นั กเรีย นแบ่ งกลุ่ม ๔ กลุ่ ม แบ่งเป็นเนื้อหาทั้ง ๔ ส่วน กลุ่มละประมาณ ๑๐ คน มอบหมายให้
นักเรียนทาใบงาน เรื่อง นิราศเมืองแกลง โดยแปลเนื้อหาในแต่ละส่วน และวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดีในด้านที่กลุ่ม
ตนเองได้รับมอบหมาย
๕. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดี เพื่อให้นักเรียนปรับแก้งานของตนเอง ให้
ถูกต้อง ครบถ้วน
๖. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทน ๑ คน ออกมาพูดสรุปใจความสาคัญหน้าชั้นเรียน ในส่วนเนื้อหาที่
กลุ่มของตนเองได้รับมอบหมาย รวมถึงการวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดี
ขั้นสรุป
๗. ครูสรุปและให้คาแนะนาการพูด สรุปใจความสาคัญ หน้าชั้นเรียนของนักเรียนแต่ละกลุ่ม พร้อมทั้งสรุป
เนื้อหาที่เรียน

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ วีดีทัศน์การพูดสรุปใจความสาคัญ
๑๑.๒ ใบงาน เรื่อง นิราศเมืองแกลง
๑๑.๓ หนังสือวรรณคดีไทย ม.๒

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในชั้นเรียนและนอกห้องเรียน
๑.๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(.....................................................)
ตาแหน่ง..................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.......................................................
(...................................................)
ผู้สอน
.................../...................../...................
๑๐

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
เกณฑ์การประเมินการพูดสรุปใจความสาคัญชั้นเรียน

ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน
๓ ๒ ๑
การออกเสียง ออกเสียงถูกต้องตาม ออกเสียงคา / ออกเสียงคา / ประโยค
หลักการออกเสียง ประโยค ผิดหลักการ ไม่เน้น
มีเสียงเน้นหนักในคา / ได้ถูกต้อง มีเสียง เสียงทาให้สื่อสาร
ประโยคอย่างสมบูรณ์ เน้นหนักในคา / ไม่ได้
ประโยคเป็นส่วนใหญ่
พูดสรุปใจความสาคัญ พูดสรุปใจความสาคัญได้ พูดเบี่ยงเบนเล็กน้อย พูดไม่ตรงตาม
ครบถ้วน ถูกต้อง จากใจความสาคัญ ใจความสาคัญที่
ปรากฏ
ความคล่องแคล่ว พูดต่อเนื่อง ไม่ติดขัด พูดตะกุกตะกักบ้าง พูดเป็นคา ๆ หยุดเป็น
พูดชัดเจน ทาให้สื่อสาร แต่ยังพอสื่อสารได้ ช่วง ๆ ทาให้สื่อสาร
ได้ดี ได้ไม่ชัดเจน
การแสดงท่าทาง / น้าเสียงประกอบ แสดงท่าทางประกอบ พูดโดยไม่ค่อยแสดง พูดเหมือนอ่าน
การพูด และพูดโดยใช้น้าเสียง ท่าทางประกอบ ไม่เป็นธรรมชาติ
เหมาะสมกับบทบาท น้าเสียงไม่ค่อย ยืนนิ่ง ๆ ไม่มีท่าทาง
และสถานการณ์ เหมาะสมกับบทบาท ทาให้การสื่อสาร
และสถานการณ์ ขาดความน่าสนใจ
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไป ๑๐ - ๑๒ ดี
สรุป � ผ่าน � ไม่ผ่าน ๗-๙ พอใช้
ลงชื่อ................................................ผู้ประเมิน ๔-๖ ควรปรับปรุง
(..................................................)
๑๑

ใบงาน เรื่อง นิราศเมืองแกลง

ตอนที่ ๑
คำชี้แจง ให้นกั เรียนศึกษาเรือ่ ง นิราศเมืองแกลง แล้วทากิจกรรมต่อไปนี้

๑. จากการสันนิษฐานถึงความเป็นมาของนิราศเมืองแกลง นักเรียนคิดว่าการสันนิษฐานในข้อใดเป็ นไปได้


มากทีส่ ุด เพราะเหตุใด

๒. ให้นกั เรียนสรุปการเดินทางในแต่ละช่วง
ช่วงที่ ๑

ช่วงที่ ๒

ช่วงที่ ๓

ช่วงที่ ๔

ช่วงที่ ๕

ช่วงที่ ๖

ช่วงที่ ๗

ช่วงที่ ๘
๑๒

ตอนที่ ๒
คำชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนคาศัพท์และอธิบายความหมายของคาศัพท์จากเรือ่ ง นิราศเมืองแกลง

คำศัพท์ ควำมหมำย

๑.

๒.

๓.

๔.

๕.

๖.

๗.

๘.

๙.

๑๐.
๑๓

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๑-๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย นิราศเมืองแกลง (การอ่านออกเสียงร้อยกรอง และการแต่งบทร้อยกรอง) จานวน ๒ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา
ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ
พลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๓ การแต่งบทร้อยกรอง

๒. สาระสาคัญ
การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองในวรรณคดีประเภทร้อยกรองเช่นนิราศเมืองแกลงนี้ จะช่วยเพิ่มอรรถรสใน
การเสพวรรณคดีได้อย่างลุ่มลึกมากขึ้น รวมถึงได้ศึกษาฉันทลักษณ์การประพันธ์ของวรรณคดีให้สามารถนาไปใช้ใน
การศึกษาในระดับสูงต่อไปได้เป็นอย่างดี
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนสามารถบอกหลักการอ่านร้อยกรองได้
๓.๑.๒ นักเรียนสามารถบอกหลักการแต่งคาประพันธ์ประเภทกลอนนิราศได้
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนสามารถอ่านออกเสียงบทร้อยกรองได้
๓.๒.๒ นักเรียนสามารถแต่งคาประพันธ์ประเภทกลอนนิราศได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการอ่าน

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทกลอนนิราศ
๔.๒ มารยาทในการอ่าน
๔.๓ หลักการแต่งคาประพันธ์ประเภทกลอนนิราศ
๑๔

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ มีวินัย
๖.๒ ใฝ่เรียนรู้
๖.๓ มุ่งมั่นในการทางาน

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ แบบฝึกหัดการแต่งคาประพันธ์ประเภทกลอนนิราศ
๗.๒ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง เรื่อง นิราศเมืองแกลง

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ต ร ว จ แ บ บ ฝึ ก หั ด ก า ร แ ต่ งค า แบบฝึ ก หั ด การแต่ ง ค าประพั น ธ์ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
ประพันธ์ประเภทกลอนนิราศ ประเภทกลอนนิราศ
ตรวจการอ่ า นออกเสี ย งบทร้ อ ย การอ่ า นออกเสี ย งบทร้ อ ยกรอง ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
กรอง เรื่อง นิราศเมืองแกลง เรื่อง นิราศเมืองแกลง
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สั งเก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม ก าร ท างา น แบบสั งเกตพฤติ ก รรมการท างาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
-

๑๐.กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูทบทวนเนื้อหาในชั่วโมงที่ผ่านมา เกี่ยวกับประวัติผู้แต่ง ความเป็นมา และลักษณะคาประพันธ์ เรื่อง
นิราศเมืองแกลง โดยการสุ่มถามนักเรียนเป็นรายบุคคล ประมาณ ๕-๖ คน
๒. จากนั้นครูเชื่อมโยงคาตอบจากนักเรียนเข้าสู่บทเรียนเรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยกรอง และการแต่งคา
ประพันธ์ประเภทกลอนนิราศ
๑๕

ขั้นสอน
๓. ครูทบทวนเนื้อหาเรื่องนิราศเมืองแกลงจากคาบเรียนที่แล้ว จากนั้นเริ่ม อธิบายโดยใช้สื่อ power point
การอ่านออกเสี ยงร้อยกรอง และการแต่งคาประพันธ์ประเภทกลอนนิราศประกอบการสอน และเปิดโอกาสให้
นักเรียนซักถามเมื่อเกิดข้อสงสัย
๔. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายความรู้ที่ได้ เช่น การออกเสียง ฉันทลักษณ์ ฯลฯ
๕. นั ก เรี ย นสั งเกตการอ่ า นออกเสี ย งร้ อ ยกรอง แล้ ว จั บ คู่ ฝึ ก แต่ ง ค าประพั น ธ์ ป ระเภทกลอนนิ ร าศใน
แบบฝึกหัดการแต่งกลอนนิราศ
๖. นักเรียนนากลอนนิราศที่แต่งเสร็จแล้ว จับคู่ตรวจสอบความถูกต้อง ครูสุ่มนักเรียน ๒-๓ คู่ออกมาอ่าน
หน้าชั้นเรียน นักเรียนในชั้นร่วมกันตรวจสอบและอภิปรายเพิ่มเติม ครูคอยชี้แนะ
๗. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นและสรุปความรู้เกี่ยวกับการอ่านออกเสียงร้อยกรอง
และการแต่งคาประพันธ์ประเภทกลอนนิราศ นักเรียนบันทึกความรู้ที่ได้ลงสมุด
๘. นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงร้อยกรองเนื้อหาในนิราศเมืองแกลงพร้อมกัน พร้อมทั้งอธิบายความหมาย
๙. นักเรียนจับคู่ฝึกอ่านออกเสียงร้อยกรองเนื้อเรื่องในนิราศเมืองแกลงทั้งหมด โดยผลัดกันอ่าน ผลัดกันฟัง
และชี้แนะซึ่งกันและกัน ครูสังเกตการฝึกอ่านออกเสียงของนักเรียน
๑๐. ครูสุ่มตัวอย่างนักเรียนเป็นรายบุคคล ๒-๓ คู่ มาอ่านออกเสียงร้อยกรองหน้าชั้นเรียน เพื่อน ๆ ในชั้น
ร่วมกันติ-ชม ครูคอยชี้แนะเพิ่มเติม
ขั้นสรุป
๑๑. ครูมอบหมายให้นักเรียนไปฝึกอ่านออกเสียงร้อยกรองนิราศเมืองแกลงให้คล่อง แล้วสอบอ่านกับครู
เพื่อประเมินการอ่านออกเสียงร้อยกรอง
๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ power point การอ่านออกเสียงร้อยกรอง และการแต่งคาประพันธ์ประเภทกลอนนิราศ
๑๑.๒ หนังสือวรรณคดีไทย ม.๒
๑๑.๓ แบบฝึกหัดการแต่งบทประพันธ์ประเภทกลอนนิราศ

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในชั้นเรียนและนอกห้องเรียน
๑.๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
๑๖

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(.....................................................)
ตาแหน่ง..................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.......................................................
(...................................................)
ผู้สอน
.................../...................../...................
๑๗

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

การประเมินการอ่านออกเสียงร้อยกรองจากนิราศเมืองแกลง
น้าหนักคะแนน ดี(๔) ดี(๓) พอใช้(๒) ปรับปรุง(๑) น้าหนัก/จุดเน้น
เกณฑ์คะแนน
๑. ออกเสียงได้ อ่านออกเสียงได้ อ่านออกเสียงได้ อ่านออกเสียงได้ อ่านออกเสียงได้ ๔
ถูกต้องชัดเจน ถูกต้อง ชัดเจน ถูกต้อง ชัดเจน ถูกต้อง ชัดเจน ถูกต้อง ชัดเจน
ตามอักขรวิธี ตามอักขรวิธีโดย ตามอักขรวิธีโดย ตามอักขรวิธีโดย ตามอักขรวิธีโดย
ผิดไม่เกิน ๑ คา ผิดไม่เกิน ๒ คา ผิดเกิน ๓ คา ผิดเกิน ๔ คา
ขึ้นไป ขึ้นไป
๒. อ่านเว้น อ่านเว้นวรรค อ่านเว้นวรรค อ่านเว้นวรรค อ่านเว้นวรรค ๓
วรรคตอนได้ ตอนได้ ตอนได้ ตอนได้ ตอนได้
เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม
ถูกต้อง ถูกต้องผิดไม่ ถูกต้องผิดไม่ ถูกต้องผิด ถูกต้องผิด
เกิน ๑ ครั้ง เกิน ๒ ครั้ง มากกว่า ๓ ครั้ง มากกว่า ๔ ครั้ง
ขึ้นไป ขึ้นไป
๓. การวางกิริยา การวางกิริยา การวางกิริยา การวางกิริยา การวางกิริยา ๒
ท่าทาง การถือ ท่าทาง การถือ ท่าทาง การถือ ท่าทาง การถือ ท่าทาง การถือ
หนังสือ หนังสือ หนังสือ หนังสือ หนังสือ
เหมาะสมตาม เหมาะสมตาม เหมาะสมตาม เหมาะสมตาม
มารยาทในการ ตามมารยาทใน ตามมารยาทใน ตามมารยาทใน
อ่านโดยไม่ถูก การอ่านโดยถูก การอ่านโดยถูก การอ่านโดยถูก
หักคะแนน หักคะแนน ๒ หักคะแนน หักคะแนน
คะแนน มากกว่า ๒ มากกว่า ๒
คะแนน คะแนน

เกณฑ์ประเมิน / คุณภาพ
คะแนน ๓๑ – ๔๐ คะแนน ดีมาก
๒๑ - ๓๐ คะแนน ดี
๑๑ - ๒๐ คะแนน พอใช้
๐ – ๑๐ คะแนน ปรับปรุง
๑๘

เกณฑ์การประเมินการแต่งคาประพันธ์ประเภทกลอนนิราศ

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ
ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑)
เนื้อหา การสะกดคา - เนื้อหาครบถ้วน สะกดคา - เนื้อหาครอบคลุม เกือบ - เนื้อหาไม่ถูกต้อง ไม่
ถูกต้องครบถ้วน ครบถ้วน สะกดคาผิด ๑-๓ ครบถ้วน และสะกดคาผิด
แห่ง เกิน ๓ แห่ง
ความถูกต้องของ - ถูกต้องและครบถ้วน - ผิด / ตก ๑ - ๓ แห่ง - ผิด / ตก เกินมากกว่า
ฉันทลักษณ์ ๓ แห่ง
ความสะอาดสวยงาม - ไม่มีรอยลบ หรือ ขีดฆ่า - มีรอยลบ หรือ ขีดฆ่า - มีรอยลบ หรือ ขีดฆ่า
๑ - ๓ แห่ง มากกว่า ๓ แห่ง
ทันเวลาที่กาหนด - คัดเสร็จตามเวลาที่กาหนด - ทันเวลา แต่ปริมาณงานที่ - ทันเวลา แต่ปริมาณงานที่
คัดได้ปานกลาง คัดได้น้อย
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไป ๑๐ – ๑๒ ดี
สรุป � ผ่าน � ไม่ผ่าน ๗ – ๙ พอใช้
ลงชื่อ.................................ผู้ประเมิน ๔ – ๖ ควรปรับปรุง
(.....................................)
๑๙

ใบงานเรื่อง การอ่านออกเสียงคาประพันธ์
คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านออกเสียงคาประพันธ์ที่กาหนดให้ถูกต้อง
๑.
เมื่อนั้น พันธุรัตขัดสนเป็นหนักหนา
แหงนดูลูกพลางทางโศกา ดังหนึ่งว่าชีวันจะบรรลัย
โอ้ลูกน้อยหอยสังข์ของแม่เอ๋ย กรรมสิ่งใดเลยมาซัดให้
จะร่าร้องเรียกเจ้าสักเท่าไร ก็ช่างเฉยได้ไม่ดูดี
สิ้นวาสนาแม่นี้แน่แล้ว เผอิญให้ลูกแก้วเอาตัวหนี
จะขอลาอาสัญเสียวันนี้ เจ้าช่วยเผาผีมารดา
(สังข์ทอง)

๒.
กระจงกระจิดเตี้ย วิ่งเรี่ยเรี่ยน่าเอ็นดู
เหมือนกวางอย่างตาหู มีเขี้ยวน้อยสร้อยแนมสอง
กระจงกระจิดหน้า เอ็นดู
เดินร่อยเรี่ยงามตรู กระจ้อย
เหมือนกวางอย่างตาหู ตีนกีบ
มีเคี่ยวขาวน้อยช้อย แนบข้างเคียงสอง
(กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง)
๒๐

ใบงาน เรื่อง เจ้ าบทเจ้ ากลอน


คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่งกลอนต่อไปนี้

๑. เจ้านกน้อยบินร่ อนกลางเวหา .
. .
. .
. .

๒. สักวาเมืองไทยในวันนี้ .
. .
. .
. .

๓. ภัยเอ๋ ยภัยแล้ง .
. .
. .
. .

๔. ชาวเอ๋ ยชาวนา .
. .
. .
๒๑

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนกลุ่ม


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

กำรแก้ไข
ควำม กำรแสดง
กำรรับฟัง ควำมตัง้ ใจ ปัญหำ/หรือ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ร่วมมือกัน ควำม
ควำมคิ ดเห็น ทำงำน ปรับปรุง ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน ทำกิ จกรรม คิ ดเห็น
ผลงำนกลุ่ม คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๒๒

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๒-๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย โคลงภาพพระราชพงศาวดาร (ประวัติผู้แต่ง ความเป็นมา สรุปเนื้อหา คาศัพท์) จานวน ๓ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา
ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ม ๒/๒ จับใจความสาคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย
อย่างเห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๑ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านในระดับที่ยากขึ้น
ม ๒/๕ ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

๒. สาระสาคัญ
การศึกษาเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร จะต้องจับใจความสาคัญ สรุปความ อธิ บายรายละเอียดจาก
เรื่องที่อ่าน และยังต้องรู้ความเป็นมาและประวัติผู้แต่ ง รวมถึงจะต้องสรุปเนื้อหาจากเรื่องที่อ่าน และจาเป็นต้องรู้
คาศัพท์ที่ปรากฏอยู่ในเรื่อง เพื่อจะได้เข้าใจเนื้อหาของเรื่องได้อย่างถูกต้อง
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนอ่านออกเสียงบทร้อยกรองได้
๓.๑.๒ นักเรียนจับใจความ สรุปความ และอธิบายความหมายคาศัพท์จากเรื่องที่เรียนได้
๓.๑.๓ นักเรียนวิเคราะห์และแสดงความรู้จากเรื่องที่อ่านได้อย่างมีเหตุผล
๓.๑.๔ นักเรียนท่องจาบทอาขยานได้
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนมีทักษะในการอ่านออกเสียง จับใจความ สรุปความ อธิบายความหมายคาศัพท์
วิเคราะห์แสดงความคิดเห็นได้อย่างมีเหตุผล และท่องจาบทอาขยานได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการอ่าน
๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ ประวัติผู้แต่ง ความเป็นมา เนื้อหา คาศัพท์ของเรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดาร
๔.๒ การอ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ เช่น วรรณคดีในบทเรียน
๒๓

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ มีวินัย
๖.๒ ใฝ่เรียนรู้
๖.๓ มุ่งมั่นในการทางาน
๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน
๗.๑ ใบงาน เรื่อง ความเป็นมา ประวัติผู้แต่ง สรุป และคาศัพท์ เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ตรวจใบงานเรื่ อ ง ความเป็ น มา ใบงานเรื่อง ความเป็นมา ประวัติ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
ประวั ติ ผู้ แ ต่ ง สรุ ป และค าศั พ ท์ ผู้ แ ต่ ง สรุ ป และค าศั พ ท์ เ รื่ อ ง
เรื่ อ ง โ ค ล ง ภ า พ พ ร ะ ร า ช โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
พงศาวดาร
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สั งเก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม ก าร ท างา น แบบสั งเกตพฤติ ก รรมการท างาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
๙.๑ บูรณาการกับกลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในการศึกษาหาความรู้จากห้องสมุด เพื่อหาข้อมูล มาใช้
ประกอบการเรียนและการทางานที่ได้รับมอบหมาย
๙.๒ บูรณาการกับกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ในเรื่องประวัติศาสตร์ที่จะต้องศึกษาเรียนรู้ภูมิ
หลังของชาติ และหน้าที่พลเมืองทีท่ ุกคนต้องเรียนรู้กฎหมายและปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ย วกับพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รวมถึง
งานพระราชนิพนธ์ของพระองค์
๒. ครูให้นักเรียนร่วมกันยกตัวอย่างและแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติม
๒๔

ขั้นสอน
๓. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๔ กลุ่ม ตามแถวที่นั่ง ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง โคลง
ภาพพระราชพงศาวดาร จากหนังสือเรียน ในประเด็นต่อไปนี้
๑) ความเป็นมา
๒) ประวัติผู้แต่ง
๓) ลักษณะคาประพันธ์ และคาศัพท์
๔) เรื่องย่อ
แล้วบันทึกความรู้ที่ได้จากการศึกษาลงในสมุด
๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ที่ได้จากการศึกษามาสรุปเป็นองค์ความรู้ของกลุ่ม
ตามประเด็นที่กาหนดข้างต้น จากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนาเสนอองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษา หน้าชั้น
เรียน จากนั้นครูเพิ่มเติมรายละเอียด
๕. นักเรียนแต่ละคนทาใบงาน เรื่อง ความเป็นมา ประวัติผู้แต่ง สรุป และคาศัพท์ เรื่อง โคลงภาพพระราช
พงศาวดาร เสร็จแล้วตรวจสอบความเรียบร้อยก่อนนาส่งครูตรวจ
ขั้นสรุป
๖. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ความเป็นมา ประวัติผู้แต่ง สรุป และคาศัพท์เรื่อง โคลงภาพพระ
ราชพงศาวดาร
๑๑. สือ่ การเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย วรรณคดีวิจักษณ์ ม.๒ สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์
๑๑.๒ ใบงาน เรื่อง ความเป็นมา ประวัติผู้แต่ง และสรุปเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุดโรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
๑๒.๒ ห้องปฏิบัติการทางภาษาไทย โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
๑๒.๓ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
๒๕

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(.....................................................)
ตาแหน่ง...............................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.......................................................
(...................................................)
ผู้สอน
.................../...................../...................
๒๖

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

แบบประเมินการนาเสนองาน
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการทีก่ าหนด แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ นาเสนอเนื้อหาในผลงานได้ถูกต้อง
๒ การลาดับขัน้ ตอนของเนื้อเรื่อง
๓ การนาเสนอมีความน่าสนใจ
๔ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
๕ การตรงต่อเวลา
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดั เจน ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบำงส่วน ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
* ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคะแนน ระดับคุณภาพดี
๒๗

ใบงำน เรื่อง โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร

คำชี้แจง ให้นกั เรียนสรุปและอธิบายความรูใ้ นประเด็นทีก่ าหนด

 ควำมเป็ นมำและประวัติผแ้ ู ต่งเรื่อง โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร

 รูปแบบของลักษณะคำประพันธ์และเรื่องย่อ โคลงภำพพระรำชพงศำวดำร
๒๘

 คำศัพท์สำคัญและควำมหมำย
๒๙

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๒-๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย โคลงภาพพระราชพงศาวดาร (การอธิบายคุณค่า) จานวน ๑ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย
อย่างเห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๒ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่าน พร้อม
ยกเหตุผลประกอบ
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน

๒. สาระสาคัญ
การศึกษาเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร จะต้องวิเคราะห์วิจารณ์ และอธิบายคุณค่าจากเรื่องที่อ่าน
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนสามารถอธิบายคุณค่าจากการอ่านเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ได้
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนมีทักษะในการอธิบายคุณค่าจากการอ่านเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการอ่าน

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ การวิเคราะห์คุณค่าจากวรรณคดี

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ มีวินัย
๖.๒ ใฝ่เรียนรู้
๖.๓ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๔ รักความเป็นไทย
๓๐

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ การสรุปคุณค่าจากวรรณคดี เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ตรวจสมุดเรื่องการสรุปคุณค่า เรื่อง สมุดจดงาน ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สั งเก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม ก าร ท างา น แบบสั งเกตพฤติ ก รรมการท างาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
-

๑๐.กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างวีรบุรุษและวีรสตรีไทยที่นักเรียนชื่นชอบ พร้อมบอกเหตุผลประกอบ
๒. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร และประโยชน์ของการศึกษา
วรรณคดีเรื่องนี้
ขั้นสอน
๓. นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ แล้ว) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง การวิเคราะห์คุณค่าจาก
เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ในด้านต่าง ๆ จากหนังสือเรียน
๔. สมาชิกในแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปและอภิปรายคุณค่าที่ได้จากเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร โดย
ผลัดกันอธิบายทีละคน จนสมาชิกทุกคนในกลุ่มมีความเข้าใจชัดเจนตรงกัน และสรุปเป็นคาตอบของกลุ่ม
๕. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นว่าเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร มี
ความเหมาะสมหรือขัดแย้งกัน รูปแบบคาประพันธ์เหมาะสมกับเนื้อเรื่องหรือไม่ เนื้อหาสาระของเรื่องมีคุณค่าในการ
สร้างความเพลิดเพลิน ประเทืองปัญญา สะเทือนอารมณ์ สะท้อนสังคม รวมถึงการใช้ถ้อยคา สานวนโวหารไพเราะ
คมคายหรือไม่ อย่างไร
๖. ครูให้นักเรียนเปรียบเทียบความรู้สึกที่มีต่อวีรบุรุษและวีรสตรีของชาติว่า ถ้านักเรียนเป็นพระสุริโยทัย
และพันท้ายนรสิงห์ เมื่อรู้ว่าต้องตาย นักเรียนจะทาอย่างไร เพราะเหตุใด
๗. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิจารณ์เกี่ยวกับการกระทาของพระสุริโยทัย และพันท้ายนรสิงห์ว่ามีคุณค่าใน
ด้านใดบ้าง อย่างไร
ขั้นสรุป
๘. นักเรียนร่วมกันสรุปคุณค่าที่ได้จากเรื่อง โคลงภาพพระราช-พงศาวดาร ในด้านต่าง ๆ ลงสมุดจด
๓๑

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๒ สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในชั้นเรียนและนอกห้องเรียน
๑.๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(.....................................................)
ตาแหน่ง..................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.......................................................
(...................................................)
ผู้สอน
.................../...................../...................
๓๒

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนรำยบุคคล
ชื่อ ชัน้

คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน


ช่องทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ การแสดงความคิดเห็น
๒ การยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ่นื
๓ การทางานตามหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย
๔ ความมีน้าใจ
๕ การตรงต่อเวลา
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง

* ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคะแนน ระดับคุณภาพดี
๓๓

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๒-๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย โคลงภาพพระราชพงศาวดาร (การท่องจาบทร้อยกรอง) จานวน ๑ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย
อย่างเห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๕ ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

๒. สาระสาคัญ
เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่แต่งด้วยโคลงสี่สุภาพ ควรค่า
แก่การนามาท่องจา
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนอ่านออกเสียงบทร้อยกรองได้
๓.๑.๒ นักเรียนท่องจาบทร้อยกรองได้
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนมีทักษะในการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง และท่องจาร้อยกรองได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการอ่าน
๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ มีวินัย
๖.๒ ใฝ่เรียนรู้
๖.๓ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๔ รักความเป็นไทย
๓๔

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ การท่องบทร้อยกรองหรือบทอาขยาน

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ประเมินการท่องบทร้อยกรอง แบบประเมินการท่องบทร้อยกรอง ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สั งเก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม ก าร ท างา น แบบสั งเกตพฤติ ก รรมการท างาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
-

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครู ส นทนากั บ นั กเรี ย นเรื่ อ ง การอ่ านออกเสี ยงบทร้อยกรองประเภทโคลง เพื่ อทบทวนความรู้ เดิ ม
๒. ครูยกตัวอย่างโคลงสี่สุภาพเรื่อง ลิลิตพระลอ จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันอ่านออกเสียง
๓. ครูอธิบายวิธีการอ่านที่ถูกต้อง การแบ่งวรรคตอน การทอดเสียง เน้นเสียง จากนั้นครูอ่านให้นักเรียนฟัง
เป็นตัวอย่าง ๑ รอบ
ขั้นสอน
๔. ครูให้นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่แล้ว) ร่วมกันเลือกบทร้อยกรองประเภทโคลงจาก
เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร อย่างน้อย ๒ บท เพื่อนามาฝึกท่องจา
๕. สมาชิกในแต่ละกลุ่ มเขียนลาดับขั้นตอนในการอ่านโคลง การแบ่งวรรคตอน ท่วงทานองในการอ่าน
จากนั้นร่วมกันฝึกอ่านบทโคลงที่รับผิดชอบเป็นทานองเสนาะ
๖. สมาชิกแต่ละกลุ่มจับคู่กันกับเพื่อนภายในกลุ่มเป็น ๒ คู่ แล้วผลัดกันอ่านบทโคลงเป็นทานองเสนาะให้คู่
ของตนเองฟัง จากนั้นช่วยกันตรวจสอบข้อบกพร่องในการอ่าน แล้วปรับปรุง แก้ไขให้ถูกต้อง
๗. นักเรียนรวมกลุ่มเดิม (๔ คน) แล้วร่วมกันฝึกอ่านบทโคลงเป็นทานองเสนาะจนคล่องและถูกต้องชัดเจน
จากนั้นฝึกท่องจา จนสามารถท่องจาได้โดยไม่ต้องดูบทท่อง
๘. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันท่องจาบทโคลงที่ได้ฝึกมา โดยท่องให้ถูกต้องตามทานอง และชัดเจน
ขั้นสรุป
๙. นักเรียนท่องจาบทร้อยกรองประเภทโคลงกับครูเป็นรายกลุ่ม
๑๐. ครูป ระเมิน การท่องจาของนักเรียนและติช มให้กาลั งใจ รวมถึงให้ คาแนะนาในกรณี ที่นักเรียนยังมี
ปัญหา
๓๕

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๒ สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์
๑๑.๒ เอกสารประกอบการสอน
๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุดโรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
๑๒.๒ ห้องปฏิบัติการทางภาษาไทย โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
๑๒.๓ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(.....................................................)
ตาแหน่ง...............................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงชื่อ.......................................................
(...................................................)
ผู้สอน
.................../...................../...................
๓๖

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

แบบประเมิ น กำรท่องบทร้อยกรอง
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมการท่องบทร้อยกรองของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องทีต่ รงกับ
ระดับคะแนน

ควำม
ถูกต้อง
กำรแบ่ง ออกเสียง ถูกต้อง ของ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ตำมลักษณะ
วรรคตอน ชัดเจน บท ๑๖
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน คำประพันธ์
ร้อยกรอง คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั ไิ ด้ถกู ต้อง ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั มิ ีข้อบกพร่องเล็กน้ อย ให้ ๓ คะแนน ๑๔ - ๑๖ ดีมาก
ปฏิบตั มิ ีข้อบกพร่องปำนกลำง ให้ ๒ คะแนน ๑๑ - ๑๓ ดี
ปฏิบตั มิ ีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๑๘ - ๑๐ พอใช้
ต่ากว่า ๘ ปรับปรุง
* ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคะแนน ระดับคุณภาพดี
๓๗

เอกสารประกอบการสอน

ตัวอย่ำงโคลงสี่สภุ ำพเรื่อง ลิ ลิตพระลอ

เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พีเ่ อย


เสียงย่อมยอยศใคร ทัวหล้
่ า
สองเขือพีห่ ลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่
สองพีค่ ดิ เองอ้า อย่าได้ถามเผือ
๓๘

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๓-๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย บทเสภาสามัคคีเสวก (ประวัติผู้แต่ง ความเป็นมา สรุปเนื้อหา และคาศัพท์) จานวน ๒ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา
ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ม ๒/๒ จับใจความสาคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย
อย่างเห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๑ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านในระดับที่ยากขึ้น

๒. สาระสาคัญ
การศึกษาเรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก จะต้องจับใจความสาคัญ สรุปความ
อธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน และยังต้องรู้ความเป็นมาและประวัติผู้แต่ ง รวมถึงจะต้องสรุปเนื้อหาจากเรื่องที่
อ่าน และจาเป็นต้องรู้คาศัพท์ที่ปรากฏอยู่ในเรื่อง เพื่อจะได้เข้าใจเนื้อหาของเรื่องได้อย่างถูกต้อง
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนอ่านออกเสียงบทร้อยกรองได้
๓.๑.๒ นักเรียนจับใจความ สรุปความ และอธิบายความหมายคาศัพท์จากเรื่องทีเ่ รียนได้
๓.๑.๓ นักเรียนวิเคราะห์และแสดงความรู้จากเรื่องที่อ่านได้อย่างมีเหตุผล
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนมีทักษะในการอ่านออกเสียง จับใจความ สรุปความ อธิบายความหมายคาศัพท์
และวิเคราะห์แสดงความคิดเห็นได้อย่างมีเหตุผล
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการอ่าน
๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ ประวัติผู้แต่ง ความเป็นมา เนื้อหา คาศัพท์ของเรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดาร
๔.๒ การอ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ เช่น วรรณคดีในบทเรียน
๔.๓ การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยกรอง เช่น กลอนเสภา
๓๙

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ มีวินัย
๖.๒ ใฝ่เรียนรู้
๖.๓ มุ่งมั่นในการทางาน
๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน
๗.๑ แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก
๗.๒ ใบงานเรื่อง สรุปเนื้อหาเรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ตรวจแบบทดสอบก่ อ นเรี ย น เรื่ อ ง แบบทดสอบก่ อ นเรี ย น เรื่ อ ง บท ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรร เสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา
มาและสามัคคีเสวก และสามัคคีเสวก
ตรวจใบงานเรื่ อ ง สรุ ป เนื้ อ หาเรื่ อ ง ใบงานเรื่ อ ง สรุ ป เนื้ อ หาเรื่อ ง บท ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรร เสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา
มาและสามัคคีเสวก และสามัคคีเสวก
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สั งเก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม ก าร ท างา น แบบสั งเกตพฤติ ก รรมการท างาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
๙.๑ บูรณาการกับกลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในการศึกษาหาความรู้จากห้องสมุด เพื่อหาข้อมูล มาใช้
ประกอบการเรียนและการทางานที่ได้รับมอบหมาย
๙.๒ บูรณาการกับกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ในเรื่องประวัติศาสตร์ที่จะต้องศึกษาเรียนรู้ภูมิ
หลั งของชาติ และหน้ าที่ พ ลเมื องที่ ทุกคนต้องเห็ นความส าคัญ ของหน้าที่ตนเอง รู้รักสามัคคี และจงรักภั กดีต่ อ
พระมหากษัตริย์
๙.๓ บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ในการศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับศิลปะอันเป็นเอกลักษณ์ของ
ชาติเพิ่มเติม ทั้งในด้านจิตรกรรม ประติมากรรม หัตถกรรม เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อศิลปะ
๔๐

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูให้ นั กเรีย นแต่ละคนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและ
สามัคคีเสวก
๒. ครูกาหนดจุดมุ่งหมายของการอ่านความเป็นมาและประวัติผู้แต่ง เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศว
กรรมาและสามัคคีเสวก คือ อ่านเพื่อเขียนสรุปความจากเรื่องที่อ่าน โดยมีขั้นตอนการอ่าน คือ อ่านคร่าวๆ ทาความ
เข้าใจเรื่องที่อ่าน และอ่านจับใจความสาคัญของเรื่อง
ขั้นสอน
๓. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๔ กลุ่ม ตามแถวที่นั่ง ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อ ง บท
เสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก จากหนังสือเรียน ในประเด็นต่อไปนี้
๑) ความเป็นมา
๒) ประวัติผู้แต่ง
๓) ลักษณะคาประพันธ์ และคาศัพท์
๔) เรื่องย่อ
แล้วบันทึกความรู้ที่ได้จากการศึกษาลงในสมุด
๔. นักเรียนแต่ละกลุ่ มร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ที่ได้จากการศึกษามาสรุปเป็นองค์ความรู้ของกลุ่ม
ตามประเด็นที่กาหนดข้างต้น จากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนาเสนอองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษา หน้าชั้น
เรียน จากนั้นครูเพิ่มเติมรายละเอียด
๕. นักเรียนแต่ละคนทาใบงาน เรื่อง สรุปเนื้ อหาเรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคี
เสวก
ขั้นสรุป
๖. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ความเป็นมา ประวัติผู้แต่ง สรุป และคาศัพท์ เรื่อง บทเสภา
สามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย วรรณคดีวิจักษณ์ ม.๒ สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์
๑๑.๒ ใบงาน เรื่อง ความเป็นมา ประวัติผู้แต่ง และสรุปเรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและ
สามัคคีเสวก
๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุดโรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
๑๒.๒ ห้องปฏิบัติการทางภาษาไทย โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
๑๒.๓ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
๔๑

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(.....................................................)
ตาแหน่ง...............................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.......................................................
(...................................................)
ผู้สอน
.................../...................../...................
๔๒

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

แบบประเมินการนาเสนองาน
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการทีก่ าหนด แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ นาเสนอเนื้อหาในผลงานได้ถูกต้อง
๒ การลาดับขัน้ ตอนของเนื้อเรื่อง
๓ การนาเสนอมีความน่าสนใจ
๔ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
๕ การตรงต่อเวลา
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดั เจน ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบำงส่วน ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
* ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคะแนน ระดับคุณภาพดี
๔๓

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนรำยบุคคล


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ควำมตัง้ ใจ ควำม กำรตรงต่อ ควำมสะอำด ผลสำเร็จ รวม


ลำดับ ชื่อ-สกุล
ในกำรทำงำน รับผิดชอบ เวลำ เรียบร้อย ของงำน ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน
คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
* ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคะแนน ระดับคุณภาพดี
๔๔

แบบทดสอบ ก่อนเรียน เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมาและสามัคคีเสวก๒


คำชี้แจง ให้นกั เรียนเลือกคาตอบทีถ่ ูกต้องทีส่ ุดเพียงข้อเดียว

๑. บทเสภาสามัคคีเสวกมีแนวคิดสาคัญอย่างไร ๕. แต่ชำติ ใดรุง่ เรืองเมืองสงบ


ก. ความมีอารยธรรมของชาติและความเจริญรุ่งเรือง ว่ำงกำรรบอริพลอันล้นหลำม
ของศิลปะ ย่อมจำนงศิ ลปำสง่ำงำม
ข. ความซื่อตรง การมีวนิ ยั และการรักษาเกียรติของ เพื่ออร่ำมเรืองระยับประดับประดำ
ข้าราชการ สาระสาคัญของเนื้อเรื่องตอนนี้สรุปได้อย่างไร
ค. ความงามด้านศิลปะของไทยทุกแขนงทีค่ วรส่งเสริม ก. งานศิลป์เป็ นงานทีเ่ กีย่ วข้องกับความสวยงาม
ให้คงอยู่สบื ไป ข. บ้านเมืองทีส่ งบคือเมืองทีไ่ ม่มสี งครามมาติดพัน
ง. ความสามัคคีและความจงรักภักดีของข้าราชการทีม่ ี ค. งานศิลป์จะเกิดได้ในบ้านเมืองทีส่ งบไม่มกี ารรบ
ต่อชาติและพระมหากษัตริย์ ง. งานศิลป์ซง่ึ เป็ นเรื่องของสิง่ สวยงามจะเกิดขึน้ ใน
๒. พระวิศวกรรมาเป็ นเทพเจ้าแห่งกิจกรรมใด ประเทศทีเ่ จริญรุ่งเรือง
ก. เป็ นเทพเจ้าแห่งการทาลาย ๖. ควรนึ กว่ำบรรดำข้ำพระบำท
ข. เป็ นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ล้วนเป็ นรำชบริพำรพระทรงศรี
ค. เป็ นเทพเจ้าแห่งการสร้างและการประดิษฐ์ เหมือนลูกเรืออยูใ่ นกลำงหว่ำงวำรี
ง. เป็ นเทพเจ้าแห่งความปราดเปรือ่ งด้านศิลปะทุก จำต้องมีมิตรจิ ตสนิ ทกัน
แขนง คาประพันธ์น้ใี ห้ความสาคัญในเรื่องใด
๓. วรรณศิลป์ใดทีเ่ ป็ นลักษณะเด่นทีส่ ดุ ในบทเสภา ตอน ก. ลูกเรือ
สามัคคีเสวก ข. ราชบริพาร
ก. การอุปมา ค. ความสามัคคี
ข. การหลากคา ง. พระเจ้าอยูห่ วั
ค. การเล่นเสียง ๗. แต่กรุงไทยศรีวิไลทันเพื่อนบ้ำน
ง. การใช้สญ ั ลักษณ์ จึงมีช่ำงชำนำญวิ เลขำ
๔. กวีผแู้ ต่งตอนวิศวกรรมามีทศั นะอย่างไรต่อผูท้ พ่ี ดู ดูถูก ทัง้ ช่ำงปัน้ ช่ำงเขียนเพียรวิ ชำ
ช่างศิลป์ อีกช่ำงสถำปนำถูกทำนอง
ก. เยาะเย้ยว่าเป็ นคนขีเ้ หร่ ทัง้ ช่ำงรูปพรรณสุวรรณกิ จ
ข. เหยียดหยามว่าเป็ นพวกคนปา่ ช่ำงประดิ ษฐ์รชั ดำสง่ำผ่อง
ค. โกรธแค้นทีไ่ ม่รคู้ ุณค่างานศิลป์ อีกช่ำงถมลำยลักษณะจำลอง
ง. สงสารทีไ่ ม่รจู้ กั ดูสงิ่ ทีส่ บายตาสบายใจ อีกชำ่ ชองเชิ งรัตนประกร
คาประพันธ์ขา้ งต้นมีช่างทัง้ หมดกีส่ าขา
ก. ๕ สาขา ข. ๖ สาขา
ค. ๗ สาขา ง. ๘ สาขา
๔๕

๘. คาประพันธ์ในข้อใด ไม่ได้สะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าของศิลปะ
ก. ศิลปกรรมนาใจให้สร่างโศก ช่วยบรรเทาทุกข์ในโลกให้เหือดหาย
ข. เราช่วยช่างเหมือนอย่างช่วยบ้านเมือง ได้ประเทืองเทศไทยอันไพศาล
ค. จาเริญตาพาใจให้สบาย อีกร่างกายก็จะพลอยสุขสราญ
ง. บารุงแดนดินด้วยศิลปกรรม ให้แลล้าล้วนอร่ามและงามงอน
๙. ข้อใดใช้ภาพพจน์แบบอุปมา
ั ้ นรูปเทวฤทธิ ์
ก. อนึ่งปนเป็ ดูประหนึ่งนิรมิตวิเลขา
ทัง้ รูปคนรูปสัตว์นานา ประหนึ่งว่ามีชวี ติ พิศเพลินใจ
ข. อันชาติใดไร้ศานติสขุ สงบ ต้องมัวรบราญรอนหาผ่อนไม่
ณ ชาตินนั ้ นรชนไม่สนใจ ในกิจศิลปะวิไลละวาดงาม
ค. อนึ่งเครื่องประดับสลับแก้ว วะวับแววแก้วทองสองสมาน
ช่างประดิษฐ์คดิ ประจงคงตระการ เครื่องสาราญนัยนาน่าพึงใจ
ง. สอนช่างเขียนให้เพียรเขียนวาดสี แบบกระหนกนารีศรีสมร
อีกกระบีค่ ชะสง่างอน แบบสุนทรจิตรการสมานรงค์
๑๐. คาประพันธ์ใด ไม่ได้กล่าวถึงความสาคัญของหน้าทีข่ า้ ราชการ
ก. รักษาตนเคร่งคงตรงวินยั สมานใจจงรักพระจักรี
ข. ควรเคารพยาเยงและเกรงกลัว ประโยชน์ตวั นึกน้อยหน่อยจะดี
ค. เหล่าเสวกตกทีก่ ะลาสี ควรคิดถึงหน้าทีน่ นั ้ เป็ นใหญ่
ง. แม้ต่างคนต่างเถียงเกีย่ งแก่งแย่ง นายเรือจะเอาแรงมาแต่ไหน
๔๖

สรุปเนื้ อหำเรื่อง บทเสภำสำมัคคีเสวก


ใบงาน ตอน วิศวกรรมำและสำมัคคีเสวก
คำชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนสรุปเนื้อหาเรือ่ ง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก

ตอน วิ ศวกรรมำ

ตอน สำมัคคีเสวก
๔๗

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๓-๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย บทเสภาสามัคคีเสวก (การอธิบายคุณค่า) จานวน ๑ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย
อย่างเห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๒ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่าน พร้อม
ยกเหตุผลประกอบ
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน

๒. สาระสาคัญ
การศึกษาเรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก จะต้องวิเคราะห์ วิจารณ์ และ
อธิบายคุณค่าจากเรื่องที่อ่าน
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนสามารถอธิบายคุณค่าจากการอ่านเรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา
และสามัคคีเสวก ได้
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนมีทักษะในการอธิบายคุณค่าจากการอ่านเรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรร
มาและสามัคคีเสวก ได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการอ่าน

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ การวิเคราะห์คุณค่าจากวรรณกรรม

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๔๘

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ มีวินัย
๖.๒ ใฝ่เรียนรู้
๖.๓ มุง่ มั่นในการทางาน
๖.๔ รักความเป็นไทย

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ การสรุปคุณค่าจากวรรณกรรม เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ตรวจสมุดเรื่องการสรุปคุณค่า เรื่อง สมุดจดงาน ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรร
มาและสามัคคีเสวก
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สั งเก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร ท างา น แบบสั งเกตพฤติ ก รรมการท างาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
-

๑๐.กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูจัดบรรยากาศในห้องเรียนให้รู้สึกสบาย ไม่เคร่งเครียด โดยครูยกตัวอย่างบทร้อยกรองจากเรื่อง บท
เสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาสามัคคีเสวก แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านและแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ
ขั้นสอน
๒. นักเรียนอ่านและศึกษาบทวิเคราะห์เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามั ค คี เ สวก ให้
อ่านอย่างคร่าวๆ เพื่อหาจุดสาคัญของเรื่อง
๓. ในขณะที่อ่านให้นักเรียนตั้งคาถามให้สัมพันธ์กับเรื่องราวที่กาลังอ่าน เกี่ยวกับคุณค่า ด้ า น ต่ า ง ๆ จาก
เรื่อง นักเรียนอ่านข้อความในตอนนั้น ๆ ซ้าอย่างละเอียดและในขณะเดียวกันก็ค้นหาคาตอบสาหรับคาถามที่ได้ตั้งไว้
๔. นักเรียนจดบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับคุณค่าด้านต่าง ๆ ที่ได้จากขั้นตอนที่ ๓ โดยมุ่งจดบันทึกในส่วนที่สาคัญ
และสิ่งที่จาเป็น โดยใช้ข้อความอย่างรัดกุมหรือย่อ ๆ ตามความเข้าใจของนักเรียน
๕. นักเรียนเขียนสรุปใจความสาคัญเกี่ยวกับคุณค่าของเรื่องที่ได้จากการอ่าน โดยพยายามใช้ภาษาของ
ตนเอง ถ้ายังไม่แน่ใจในบทใดหรือตอนใดให้กลับไปอ่านซ้าใหม่
๔๙

๖. นักเรียนวิเคราะห์ วิจารณ์เกี่ยวกับคุณค่าด้านต่าง ๆ ของเรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา


และสามัคคีเสวก ที่นักเรียนได้อ่านแล้วแสดงความคิดเห็นสอดคล้องหรือความคิดเห็นที่ไม่สอดคล้อง
ขั้นสรุป
๘. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับคุณค่าที่ได้จากเรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศว
กรรมา และสามัคคีเสวก พร้อมจดบันทึกลงในสมุด ครูตรวจสอบความถูกต้องในสมุดจด
๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๒ สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในชั้นเรียนและนอกห้องเรียน
๑.๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(.....................................................)
ตาแหน่ง..................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.......................................................
(...................................................)
ผู้สอน
.................../...................../...................
๕๐

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนรำยบุคคล


ชื่อ ชัน้

คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน


ช่องทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ การแสดงความคิดเห็น
๒ การยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ่นื
๓ การทางานตามหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย
๔ ความมีน้าใจ
๕ การตรงต่อเวลา
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง

* ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคะแนน ระดับคุณภาพดี
๕๑

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๓-๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย บทเสภาสามัคคีเสวก (การท่องจาบทร้อยกรอง) จานวน ๑ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย
อย่างเห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๕ ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

๒. สาระสาคัญ
เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก เป็นเรื่องราวประเภทคาสอนที่มีคุณค่า จึงได้ถูก
กาหนดให้นามาใช้เป็นบทอาขยาน
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนอ่านออกเสียงบทร้อยกรองได้
๓.๑.๒ นักเรียนท่องจาบทร้อยกรองได้
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนมีทักษะในการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง และท่องจาร้อยกรองได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการอ่าน
๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ มีวินัย
๖.๒ ใฝ่เรียนรู้
๖.๓ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๔ รักความเป็นไทย
๕๒

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ การท่องบทร้อยกรองหรือบทอาขยาน

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ประเมินการท่องบทร้อยกรอง แบบประเมินการท่องบทร้อยกรอง ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน เรื่องบท แบบทดสอบหลั ง เรี ย น เรื่ อ งบท ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
เสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา เสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา
และสามัคคีเสวก และสามัคคีเสวก
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สั งเก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม ก าร ท างา น แบบสั งเกตพฤติ ก รรมการท างาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
-

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูสนทนากับนักเรียนเรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทบทเสภา เพื่อทบทวนความรู้เดิม
๒. ครูอ่านบทอาขยานเรื่อง บทเสภาสามัค คีเสวก ตอน วิศวกรรมา ให้นักเรียนฟัง ๑ รอบ โดยให้นักเรียน
สังเกตการอ่านออกเสียงที่ถูกต้อง
ขั้นสอน
๓. ครูอ่านบทอาขยานเรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก จากหนังสือเรียน แล้ว
ให้นักเรียนอ่านตามทีละวรรคจนคล่อง
๔. สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันฝึกท่ องบทอาขยานเรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคี
เสวก โดยไม่มีแบบ จนเกิดความชานาญ
๕. นั กเรีย นท่อ งบทอาขยานเรื่ อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก กับ ครูเป็ น
รายบุคคล นอกเวลาเรียน โดยท่องได้ถูกต้องตามทานอง และชัดเจน
ขั้นสรุป
๖. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๒ สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์
๑๑.๒ แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก
๕๓

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุดโรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
๑๒.๒ ห้องปฏิบัติการทางภาษาไทย โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
๑๒.๓ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(.....................................................)
ตาแหน่ง...............................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงชื่อ.......................................................
(...................................................)
ผู้สอน
.................../...................../...................
๕๔

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

แบบประเมิ น กำรท่องบทร้อยกรอง
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมการท่องบทร้อยกรองของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องทีต่ รงกับ
ระดับคะแนน

ควำม
ถูกต้อง
กำรแบ่ง ออกเสียง ถูกต้อง ของ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ตำมลักษณะ
วรรคตอน ชัดเจน บท ๑๖
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน คำประพันธ์
ร้อยกรอง คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั ไิ ด้ถกู ต้อง ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั มิ ีข้อบกพร่องเล็กน้ อย ให้ ๓ คะแนน ๑๔ - ๑๖ ดีมาก
ปฏิบตั มิ ีข้อบกพร่องปำนกลำง ให้ ๒ คะแนน ๑๑ - ๑๓ ดี
ปฏิบตั มิ ีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๑๘ - ๑๐ พอใช้
ต่ากว่า ๘ ปรับปรุง
* ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคะแนน ระดับคุณภาพดี
๕๕

แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก


คำชี้แจง ให้นกั เรียนเลือกคาตอบทีถ่ ูกต้องทีส่ ุดเพียงข้อเดียว

๑. วรรณศิลป์ใดทีเ่ ป็ นลักษณะเด่นทีส่ ดุ ในบทเสภา ตอน ๕. กวีผแู้ ต่งตอนวิศวกรรมามีทศั นะอย่างไรต่อผูท้ พ่ี ดู ดูถูก


สามัคคีเสวก ช่างศิลป์
ก. การใช้สญ ั ลักษณ์ ก. สงสารทีไ่ ม่รจู้ กั ดูสงิ่ ทีส่ บายตาสบายใจ
ข. การหลากคา ข. โกรธแค้นทีไ่ ม่รคู้ ุณค่างานศิลป์
ค. การเล่นเสียง ค. เหยียดหยามว่าเป็ นพวกคนปา่
ง. การอุปมา ง. เยาะเย้ยว่าเป็ นคนขีเ้ หร่
๒. แต่กรุงไทยศรีวิไลทันเพื่อนบ้ำน ๖. คาประพันธ์ในข้อใด ไม่ได้สะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าของ
จึงมีช่ำงชำนำญวิ เลขำ ศิลปะ
ทัง้ ช่ำงปัน้ ช่ำงเขียนเพียรวิ ชำ ก. บารุงแดนดินด้วยศิลปกรรม
อีกช่ำงสถำปนำถูกทำนอง ให้แลล้าล้วนอร่ามและงามงอน
ทัง้ ช่ำงรูปพรรณสุวรรณกิ จ ข. จาเริญตาพาใจให้สบาย
ช่ำงประดิ ษฐ์รชั ดำสง่ำผ่อง อีกร่างกายก็จะพลอยสุขสราญ
อีกช่ำงถมลำยลักษณะจำลอง ค. เราช่วยช่างเหมือนอย่างช่วยบ้านเมือง
อีกชำ่ ชองเชิ งรัตนประกร ได้ประเทืองเทศไทยอันไพศาล
คาประพันธ์ขา้ งต้นมีช่างทัง้ หมดกีส่ าขา ง. ศิลปกรรมนาใจให้สร่างโศก
ก. ๕ สาขา ข. ๖ สาขา ช่วยบรรเทาทุกข์ในโลกให้เหือดหาย
ค. ๗ สาขา ง. ๘ สาขา ๗. บทเสภาสามัคคีเสวกมีแนวคิดสาคัญอย่างไร
๓. พระวิศวกรรมาเป็ นเทพเจ้าแห่งกิจกรรมใด ก. ความสามัคคีและความจงรักภักดีของข้าราชการทีม่ ี
ก. เป็ นเทพเจ้าแห่งความปราดเปรือ่ งด้านศิลปะทุก ต่อชาติและพระมหากษัตริย์
แขนง ข. ความงามด้านศิลปะของไทยทุกแขนงทีค่ วรส่งเสริม
ข. เป็ นเทพเจ้าแห่งการสร้างและการประดิษฐ์ ให้คงอยู่สบื ไป
ค. เป็ นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ค. ความซื่อตรง การมีวนิ ยั และการรักษาเกียรติของ
ง. เป็ นเทพเจ้าแห่งการทาลาย ข้าราชการ
๔. ควรนึ กว่ำบรรดำข้ำพระบำท ง. ความมีอารยธรรมของชาติและความเจริญรุ่งเรือง
ล้วนเป็ นรำชบริพำรพระทรงศรี ของศิลปะ
เหมือนลูกเรืออยูใ่ นกลำงหว่ำงวำรี
จำต้องมีมิตรจิ ตสนิ ทกัน
คาประพันธ์น้ใี ห้ความสาคัญในเรื่องใด
ก. ความสามัคคี ข. พระเจ้าอยู่หวั
ค. ราชบริพาร ง. ลูกเรือ
๕๖

๘. “แต่ชำติ ใดรุง่ เรืองเมืองสงบ ว่ำงกำรรบอริพลอันล้นหลำม


ย่อมจำนงศิ ลปำสง่ำงำม เพื่ออร่ำมเรืองระยับประดับประดำ”
สาระสาคัญของเนื้อเรื่องตอนนี้สรุปได้อย่างไร
ก. งานศิลป์ซง่ึ เป็ นเรื่องของสิง่ สวยงามจะเกิดขึน้ ในประเทศทีเ่ จริญรุ่งเรือง
ข. บ้านเมืองทีส่ งบคือเมืองทีไ่ ม่มสี งครามมาติดพัน
ค. งานศิลป์จะเกิดได้ในบ้านเมืองทีส่ งบไม่มกี ารรบ
ง. งานศิลป์เป็ นงานทีเ่ กีย่ วข้องกับความสวยงาม
๙. คาประพันธ์ใด ไม่ได้กล่าวถึงความสาคัญของหน้าทีข่ า้ ราชการ
ก. รักษาตนเคร่งคงตรงวินยั สมานใจจงรักพระจักรี
ข. แม้ต่างคนต่างเถียงเกีย่ งแก่งแย่ง นายเรือจะเอาแรงมาแต่ไหน
ค. เหล่าเสวกตกทีก่ ะลาสี ควรคิดถึงหน้าทีน่ นั ้ เป็ นใหญ่
ง. ควรเคารพยาเยงและเกรงกลัว ประโยชน์ตวั นึกน้อยหน่อยจะดี
๑๐. ข้อใดใช้ภาพพจน์แบบอุปมา
ก. อันชาติใดไร้ศานติสขุ สงบ ต้องมัวรบราญรอนหาผ่อนไม่
ณ ชาตินนั ้ นรชนไม่สนใจ ในกิจศิลปะวิไลละวาดงาม
ข. สอนช่างเขียนให้เพียรเขียนวาดสี แบบกระหนกนารีศรีสมร
อีกกระบีค่ ชะสง่างอน แบบสุนทรจิตรการสมานรงค์
ั ้ นรูปเทวฤทธิ ์
ค. อนึ่งปนเป็ ดูประหนึ่งนิรมิตวิเลขา
ทัง้ รูปคนรูปสัตว์นานา ประหนึ่งว่ามีชวี ติ พิศเพลินใจ
ง. อนึ่งเครื่องประดับสลับแก้ว วะวับแววแก้วทองสองสมาน
ช่างประดิษฐ์คดิ ประจงคงตระการ เครื่องสาราญนัยนาน่าพึงใจ
๕๗

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๔-๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย บทละครเรื่องรามเกียรติ์ (ประวัติผู้แต่ง ความเป็นมา สรุปเนื้อหา และคาศัพท์) จานวน ๔ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา
ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ม ๒/๒ จับใจความสาคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย
อย่างเห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๑ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านในระดับที่ยากขึ้น

๒. สาระสาคัญ
การศึ ก ษาเรื่ อ ง รามเกี ย รติ์ ตอน นารายณ์ ป ราบนนทก จะต้ อ งจั บ ใจความส าคั ญ สรุป ความ อธิ บ าย
รายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน และยังต้องรู้ความเป็นมาและประวัติผู้แต่ง รวมถึงจะต้องสรุปเนื้อหาจากเรื่องที่อ่าน
และจาเป็นต้องรู้คาศัพท์ที่ปรากฏอยู่ในเรื่อง เพื่อจะได้เข้าใจเนื้อหาของเรื่องได้อย่างถูกต้อง
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนอ่านออกเสียงบทร้อยกรองได้
๓.๑.๒ นักเรียนจับใจความ สรุปความ และอธิบายความหมายคาศัพท์จากเรื่องที่เรียนได้
๓.๑.๓ นักเรียนวิเคราะห์และแสดงความรู้จากเรื่องที่อ่านได้อย่างมีเหตุผล
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนมีทักษะในการอ่านออกเสียง จับใจความ สรุปความ อธิบายความหมายคาศัพท์
และวิเคราะห์แสดงความคิดเห็นได้อย่างมีเหตุผล
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการอ่าน
๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ ประวัติผู้แต่ง ความเป็นมา เนื้อหา คาศัพท์ของเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
๔.๒ การอ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ เช่น วรรณคดีในบทเรียน
๔.๓ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก ได้
๕๘

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ มีวินัย
๖.๒ ใฝ่เรียนรู้
๖.๓ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๔ รักความเป็นไทย

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
๗.๒ ใบงานเรื่อง สรุปเนื้อหาเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
แบ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เรี ย น เรื่ อ ง ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบก่ อ นเรี ย น เรื่ อง
รามเกี ยรติ์ ตอน นารายณ์ ปราบน
รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
นทก
ใบ งาน เรื่ อ ง ส รุ ป เนื้ อ ห าเรื่ อ ง ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานเรื่ อ ง สรุ ป เนื้ อ หาเรื่ อ ง
รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบ
รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
นนทก
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สั งเก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม ก าร ท างา น แบบสั งเกตพฤติ ก รรมการท างาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
๙.๑ บูรณาการกับกลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในการศึกษาหาความรู้จากห้องสมุด เพื่อหาข้อมูล มาใช้
ประกอบการเรียนและการทางานที่ได้รับมอบหมาย
๙.๒ บูรณาการกับกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ในเรื่องประวัติศาสตร์ที่จะต้องศึกษาเรียนรู้ภูมิ
หลั งของชาติ และหน้ าที่ พลเมื องที่ ทุกคนต้องเห็ นความส าคัญ ของหน้าที่ตนเอง รู้รักสามัคคี และจงรักภั กดีต่ อ
พระมหากษัตริย์
๙.๓ บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ในการศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับศิลปะอันเป็นเอกลักษณ์ของ
ชาติเพิ่มเติม ทั้งในด้านจิตรกรรม ประติมากรรม เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อศิลปะ
๕๙

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูให้นักเรียนแต่ละคนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
๒. ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนนึกถึงตัวละครใดในเรื่อง รามเกียรติ์ แล้วให้นักเรียนร่วมกันบรรยายลักษณะ
ของตัวละครแต่ละตัวที่นักเรียนรู้จักและบอกลักษณะเด่น ลักษณะด้อย
ขั้นสอน
๓. นั กเรียนแบ่ งกลุ่มออกเป็ น ๔ กลุ่ม ตามแถวที่นั่ง ครูให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง
รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก จากหนังสือเรียน ในประเด็นต่อไปนี้
๑) ความเป็นมา
๒) ประวัติผู้แต่ง
๓) ลักษณะคาประพันธ์ และคาศัพท์
๔) เรื่องย่อ
แล้วบันทึกความรู้ที่ได้จากการศึกษาลงในสมุด
๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ที่ได้จากการศึกษามาสรุปเป็นองค์ความรู้ของกลุ่ม
ตามประเด็นที่กาหนดข้างต้น จากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนาเสนอองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษา หน้าชั้น
เรียน จากนั้นครูเพิ่มเติมรายละเอียด
๕. นักเรียนแต่ละคนทาใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหาเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
ขั้นสรุป
๖. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ความเป็นมา ประวัติผู้แต่ง สรุป และคาศัพท์เรื่อง รามเกียรติ์
ตอน นารายณ์ปราบนนทก

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย วรรณคดีวิจักษณ์ ม.๒ สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์
๑๑.๒ ใบงาน เรื่อง ความเป็นมา ประวัติผู้แต่ง และสรุปเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุดโรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
๑๒.๒ ห้องปฏิบัติการทางภาษาไทย โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
๑๒.๓ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
๖๐

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(.....................................................)
ตาแหน่ง...............................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.......................................................
(...................................................)
ผู้สอน
.................../...................../...................
๖๑

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

แบบประเมินการนาเสนองาน
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการทีก่ าหนด แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ นาเสนอเนื้อหาในผลงานได้ถูกต้อง
๒ การลาดับขัน้ ตอนของเนื้อเรื่อง
๓ การนาเสนอมีความน่าสนใจ
๔ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
๕ การตรงต่อเวลา
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดั เจน ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบำงส่วน ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
* ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคะแนน ระดับคุณภาพดี
๖๒

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนรำยบุคคล


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ควำมตัง้ ใจ ควำม กำรตรงต่อ ควำมสะอำด ผลสำเร็จ รวม


ลำดับ ชื่อ-สกุล
ในกำรทำงำน รับผิดชอบ เวลำ เรียบร้อย ของงำน ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน
คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
* ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคะแนน ระดับคุณภาพดี
๖๓

แบบทดสอบ ก่อนเรียน เรื่อง บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก


คำชี้แจง ให้นกั เรียนเลือกคาตอบทีถ่ ูกต้องทีส่ ุดเพียงข้อเดียว
๑. ข้อใดแสดงถึงความงามของนารายณ์แปลงกายจนน ๖. กลอนบทใดเป็ นการยกย่อง
นทกหลงใหล ก. ครัน้ ถึงจึง่ ประณตบทบงสุ์ ทูลองค์พระอิศวรเรืองศรี
ก. เมื่อนัน้ พระนารายณ์ทรงสวัสดิรั์ ศมี ข. ตัวข้าก็มชี อบนัก ล้างเท้าสุรารักษ์ถงึ โกฏิปี
ข. เมื่อนัน้ นางนารายณ์เยาวลักษณ์เสน่หา ค. ว่าพระองค์เป็ นหลักธาตรี ย่อมเมตตาปราณีทวพั ั ่ กตร์
ค. ถึงโฉมองค์อคั รลักษมี พระสุรสั วดีเสน่หา ง. ผูใ้ ดทาชอบต่อเบือ้ งบาท ก็ประสาททัง้ พรแลยศศักดิ ์
ง. เป็ นโฉมนางเทพอัปสร อ้อนแอ้นอรชรเฉลิมศรี ๗. ข้อคิดใดจากเรื่อง รามเกียรติ ์ ตอน นารายณ์ปราบ
๒. ข้อความทีก่ ากับอยูท่ า้ ยคาประพันธ์แต่ละตอน เช่น นนทก ทีน่ กั เรียนสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้
ฯ ๘ คา ฯ เสมอ ฯ ๖ คา ฯ โอด หมายความว่าอย่างไร ก. การใช้อานาจ
ก. บอกท่ารา ข. แค้นนี้ตอ้ งชาระ
ข. บอกทานองเพลง ค. การอดทนอดกลัน้
ค. บอกลักษณะคาประพันธ์ ง. เวรย่อมระงับด้วยการจองเวร
ง. บอกจานวนคาทีใ่ ช้ในการแต่ง ๘. การตัดพ้อต่อว่า ตรงกับลักษณะของกลอนบทใด
๓. เหตุการณ์ใดเกิดขึน้ ก่อนเหตุการณ์อ่นื ก. ตัวข้ามีมอื แต่สองมือ หรือจะสูท้ งั ้ สีก่ รได้
ก. นนทกถูกเทวดากลันแกล้ ่ ง ข. หรือว่ากลัวนิ้วเพชรนี้ จะชีพ้ ระองค์ให้บรรลัย
ข. พระอิศวรประทานพรให้นนทก ค. ชาติน้มี งึ มีแต่สองหัตถ์ จงไปอุบตั เิ อาชาติใหม่
ค. นนทกหลงรักนางสุวรรณอัปสร ง. จึง่ มีวาจาถามไป โทษข้าเป็นไฉนให้ว่ามา
ง. นนทกทูลขอนิ้วเพชรจากพระอิศวร ๙. กลอนบทใดกล่าวถึงพระนารายณ์
๔. ข้อใดมีอุปมาโวหาร ก. ได้ฟงั องค์อมรินทรา จึง่ มีบญั ชาตอบไป
ก. เชิญไปสังหารไอ้อาธรรม์ ให้มนั สิน้ ชีพชีวา ข. รับพรพระศุลมี ยี ศ บังคมลาแล้วบทจรไป
ข. ฮึดฮัดขัดแค้นแน่นใจ ตาแดงดังแสงไฟฟ ่ ้า ค. เหาะระเห็จเตร็จฟ้าด้วยว่องไว ไปยังกระเษียรวารี
ค. กูจะเป็ นมนุษย์แต่สองกร ตามไปราญรอนชีวี ง. ว่าพระองค์เป็ นหลักธาตรี ย่อมเมตตาปรานีทวั ่
ง. จนหัวไม่มผี มติด สุดคิดทีเ่ ราจะอดกลัน้ พักตร์
๕. คาทีท่ าตัวหนาข้อใด ไม่ได้หมายถึงพระนารายณ์ ๑๐. ต้องสุบรรณเทวำนำคี ดังพิ
่ ษอสุนีไม่ทนได้
ก. ครัน้ ล้างนนทกมรณา พระจักรำผูม้ อี ชั ฌาสัย ล้มฟำดกลำดเกลื่อนลงทันใด บรรลัยไม่ทนั พริบตำ
ข. เมื่อนัน้ หัสนัยน์เจ้าตรัยตรึงศา ในบทกลอนนี้กล่าวถึงอมนุษย์กป่ี ระเภท
ค. ย้ายท่ามัจฉาชมสาคร พระสี่กรขว้างจักรฤทธิรงค์ ก. ๒ ประเภท
ง. เห็นพระองค์ทรงสังข์คทำธร เป็ นสีก่ รก็รปู้ ระจักษ์ ข. ๓ ประเภท
ใจ ค. ๔ ประเภท
ง. ๕ ประเภท

๖๔

ควำมเป็ นมำและประวัติผแู้ ต่งบทละครเรื่อง รำมเกียรต์ ิ


ใบงาน ตอน นำรำยณ์ ปรำบนนทก

ตอนที่ ๑
คำชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนบันทึกข้อมูลจากการอ่านความเป็ นมาและประวัตผิ แู้ ต่งบทละครเรือ่ ง รามเกียรติ ์
ตอน นารายณ์ปราบนนทก
๖๕

ตอนที่ ๒
คำชี้แจง ให้นกั เรียนสรุปเนื้อหาบทละครเรือ่ ง รามเกียรติ ์ ตอน นารายณ์ปราบนนท
๖๖

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๔-๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย บทละครเรื่องรามเกียรติ์ (การอธิบายคุณค่า) จานวน ๓ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย
อย่างเห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๒ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่าน พร้อม
ยกเหตุผลประกอบ
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน

๒. สาระสาคัญ
การศึกษาเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก จะต้องวิเคราะห์วิจารณ์ และอธิบายคุณค่าจากเรื่อง
ที่อ่าน
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนสามารถอธิบายคุณค่าจากการอ่านเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก ได้
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนมีทักษะในการอธิบายคุณค่าจากการอ่านเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบ
นนทก ได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการอ่าน

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ การวิเคราะห์คุณค่าจากวรรณกรรม

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ มีวินัย
๖.๒ ใฝ่เรียนรู้
๖๗

๖.๓ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๔ รักความเป็นไทย

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ การสรุปคุณค่าจากวรรณกรรม เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ตรวจสมุดเรื่องการสรุปคุณค่า เรื่อง สมุดจดงาน ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรร
มาและสามัคคีเสวก
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สั งเก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม ก าร ท างา น แบบสั งเกตพฤติ ก รรมการท างาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
-

๑๐.กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูจัดบรรยากาศในห้ องเรียนให้รู้สึกสบาย ไม่เคร่งเครียด โดยครูยกตัวอย่างบทร้อยกรองจากเรื่อง
รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านและแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ
ขั้นสอน
๒. นักเรียนอ่านและศึกษาบทวิเคราะห์เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก ให้อ่านอย่างคร่าวๆ
เพื่อหาจุดสาคัญของเรื่อง
๓. ในขณะที่อ่านให้นักเรียนตั้งคาถามให้สัมพันธ์กับเรื่องราวที่กาลังอ่าน เกี่ยวกับคุณค่า ด้ า น ต่ า ง ๆ จาก
เรื่องทั้ง ๓ ด้าน ได้แก่ คุณค่าด้านเนื้อหา คุณค่าด้านวรรณศิลป์ และคุณค่าด้านสังคม นักเรียนอ่านข้อความในตอน
นั้น ๆ ซ้าอย่างละเอียดและในขณะเดียวกันก็ค้นหาคาตอบสาหรับคาถามที่ได้ตั้งไว้
๔. นักเรียนจดบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับคุณค่าด้านต่าง ๆ ที่ได้จากขั้นตอนที่ ๓ โดยมุ่งจดบันทึกในส่วนที่สาคัญ
และสิ่งที่จาเป็น โดยใช้ข้อความอย่างรัดกุมหรือย่อ ๆ ตามความเข้าใจของนักเรียน
๕. นักเรียนเขียนสรุปใจความสาคัญเกี่ยวกับคุณค่าของเรื่องที่ได้จากการอ่าน โดยพยายามใช้ภาษาของ
ตนเอง ถ้ายังไม่แน่ใจในบทใดหรือตอนใดให้กลับไปอ่านซ้าใหม่
๖. นักเรียนวิเคราะห์ วิจารณ์เกี่ยวกับคุณค่าด้านต่าง ๆ ของเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก ที่
นักเรียนได้อ่านแล้วแสดงความคิดเห็นสอดคล้องหรือความคิดเห็นที่ไม่สอดคล้อง
๖๘

ขั้นสรุป
๘. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับคุณค่าที่ได้จากเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบ
นนทก พร้อมจดบันทึกลงในสมุด ครูตรวจสอบความถูกต้องในสมุด

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๒ สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในชั้นเรียนและนอกห้องเรียน
๑.๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(.....................................................)
ตาแหน่ง..................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.......................................................
(...................................................)
ผู้สอน
.................../...................../...................
๖๙

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนรำยบุคคล


ชื่อ ชัน้

คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน


ช่องทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ การแสดงความคิดเห็น
๒ การยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ่นื
๓ การทางานตามหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย
๔ ความมีน้าใจ
๕ การตรงต่อเวลา
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง

* ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคะแนน ระดับคุณภาพดี
๗๐

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๔-๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย บทละครเรื่องรามเกียรติ์ (การท่องจาบทร้อยกรอง) จานวน ๑ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย
อย่างเห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๕ ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

๒. สาระสาคัญ
เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก เป็นเรื่องราวประเภทคาสอนที่มีคุณค่า จึงได้ถูกกาหนดให้นามาใช้
เป็นบทอาขยาน
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนอ่านออกเสียงบทร้อยกรองได้
๓.๑.๒ นักเรียนท่องจาบทร้อยกรองได้
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนมีทักษะในการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง และท่องจาร้อยกรองได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการอ่าน
๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ มีวินัย
๖.๒ ใฝ่เรียนรู้
๖.๓ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๔ รักความเป็นไทย
๗๑

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ การท่องบทร้อยกรองหรือบทอาขยาน

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ประเมินการท่องบทร้อยกรอง แบบประเมินการท่องบทร้อยกรอง ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั งเรี ย น เรื่ อ ง ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบ รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบ
นนทก นนทก
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สั งเก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม ก าร ท างา น แบบสั งเกตพฤติ ก รรมการท างาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
-

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูสนทนากับนั กเรียนเรื่องการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทกลอนบทละครเพื่อทบทวนความรู้
๒. ครูอ่านบทอาขยานเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก ให้นักเรียนฟัง ๑ รอบ โดยให้นักเรียน
สังเกตการอ่านออกเสียงที่ถูกต้อง
ขั้นสอน
๓. ครูอ่านบทอาขยานเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ ปราบนนทก จากหนังสือเรียน แล้วให้นักเรียนอ่าน
ตามทีละวรรคจนคล่อง
๔. สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันฝึกท่องบทอาขยานเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทกโดยไม่มีแบบ
จนเกิดความชานาญ
๕. นักเรียนท่องบทอาขยานเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก กับครูเป็นรายบุคคล นอกเวลา
เรียน โดยท่องได้ถูกต้องตามทานอง และชัดเจน
ขั้นสรุป
๖. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๒ สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์
๑๑.๒ แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
๗๒

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุดโรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
๑๒.๒ ห้องปฏิบัติการทางภาษาไทย โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
๑๒.๓ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผูท้ ี่รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(.....................................................)
ตาแหน่ง...............................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงชื่อ.......................................................
(...................................................)
ผู้สอน
.................../...................../...................
๗๓

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

แบบประเมิ น กำรท่องบทร้อยกรอง
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมการท่องบทร้อยกรองของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องทีต่ รงกับ
ระดับคะแนน

ควำม
ถูกต้อง
กำรแบ่ง ออกเสียง ถูกต้อง ของ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ตำมลักษณะ
วรรคตอน ชัดเจน บท ๑๖
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน คำประพันธ์
ร้อยกรอง คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั ไิ ด้ถกู ต้อง ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั มิ ีข้อบกพร่องเล็กน้ อย ให้ ๓ คะแนน ๑๔ - ๑๖ ดีมาก
ปฏิบตั มิ ีข้อบกพร่องปำนกลำง ให้ ๒ คะแนน ๑๑ - ๑๓ ดี
ปฏิบตั มิ ีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๑๘ - ๑๐ พอใช้
ต่ากว่า ๘ ปรับปรุง
* ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคะแนน ระดับคุณภาพดี
๗๔

แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง บทละครเรือ่ งรามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก


คำชี้แจง ให้นกั เรียนเลือกคาตอบทีถ่ ูกต้องทีส่ ุดเพียงข้อเดียว
๑. การตัดพ้อต่อว่า ตรงกับลักษณะของกลอนบทใด ๖. ข้อใดแสดงถึงความงามของนารายณ์แปลงกายจนน
ก. จึง่ มีวาจาถามไป โทษข้าเป็ นไฉนให้ว่ามา นทกหลงใหล
ข. หรือว่ากลัวนิ้วเพชรนี้ จะชีพ้ ระองค์ให้บรรลัย ก. เมื่อนัน้ นางนารายณ์เยาวลักษณ์เสน่หา
ค. ชาติน้มี งึ มีแต่สองหัตถ์ จงไปอุบตั เิ อาชาติใหม่ ข. เป็ นโฉมนางเทพอัปสร อ้อนแอ้นอรชรเฉลิมศรี
ง. ตัวข้ามีมอื แต่สองมือ หรือจะสูท้ งั ้ สีก่ รได้ ค. เมื่อนัน้ พระนารายณ์ทรงสวัสดิรั์ ศมี
๒. เหตุการณ์ใดเกิดขึน้ ก่อนเหตุการณ์อ่นื ง. ถึงโฉมองค์อคั รลักษมี พระสุรสั วดีเสน่หา
ก. นนทกทูลขอนิ้วเพชรจากพระอิศวร ๗. กลอนบทใดกล่าวถึงพระนารายณ์
ข. นนทกหลงรักนางสุวรรณอัปสร ก. ว่าพระองค์เป็ นหลักธาตรี ย่อมเมตตาปรานีทวั ่
ค. พระอิศวรประทานพรให้นนทก พักตร์
ง. นนทกถูกเทวดากลันแกล้ ่ ง ข. เหาะระเห็จเตร็จฟ้าด้วยว่องไว ไปยังกระเษียร
๓. ข้อใดมีอุปมาโวหาร วารี
ก. จนหัวไม่มผี มติด สุดคิดทีเ่ ราจะอดกลัน้ ค. รับพรพระศุลมี ยี ศ บังคมลาแล้วบทจรไป
ข. ฮึดฮัดขัดแค้นแน่นใจ ตาแดงดังแสงไฟฟ ่ ้า ง. ได้ฟงั องค์อมรินทรา จึง่ มีบญ ั ชาตอบไป
ค. กูจะเป็ นมนุษย์แต่สองกร ตามไปราญรอนชีวี ๘. คาทีท่ าตัวหนาข้อใด ไม่ได้หมายถึงพระนารายณ์
ง. เชิญไปสังหารไอ้อาธรรม์ ให้มนั สิน้ ชีพชีวา ก. เห็นพระองค์ทรงสังข์คทำธร เป็ นสีก่ รก็รปู้ ระจักษ์
๔. ข้อความทีก่ ากับอยูท่ า้ ยคาประพันธ์แต่ละตอน เช่น ใจ
ฯ ๘ คา ฯ เสมอ ฯ ๖ คา ฯ โอด หมายความว่าอย่างไร ข. ย้ายท่ามัจฉาชมสาคร พระสี่กรขว้างจักรฤทธิรงค์
ก. บอกจานวนคาทีใ่ ช้ในการแต่ง ค. เมื่อนัน้ หัสนัยน์เจ้าตรัยตรึงศา
ข. บอกลักษณะคาประพันธ์ ง. ครัน้ แล้วนนทกมรณา พระจักรำผูม้ อี ชั ฌาสัย
ค. บอกทานองเพลง ๙. กลอนบทใดเป็ นการยกย่อง
ง. บอกท่ารา ก. ผูใ้ ดทาชอบต่อเบือ้ งบาท ก็ประสาททัง้ พรแลยศศักดิ ์
๕. ต้องสุบรรณเทวำนำคี ดังพิ
่ ษอสุนีไม่ทนได้ ข. ว่าพระองค์เป็ นหลักธาตรี ย่อมเมตตาปราณีทวพั ั ่ กตร์
ล้มฟำดกลำดเกลื่อนลงทันใด บรรลัยไม่ทนั ค. ครัน้ ถึงจึง่ ประณตบทบงสุ์ ทูลองค์พระอิศวรเรืองศรี
พริบตำ ง. ตัวข้าก็มชี อบนัก ล้างเท้าสุรารักษ์ถงึ โกฏิปี
ในกลอนบทนี้กล่าวถึงอมนุษย์กป่ี ระเภท ๑๐. ข้อคิดใดจากเรื่อง รามเกียรติ ์ ตอน นารายณ์ปราบน
ก. ๒ ประเภท นทก ทีน่ กั เรียนสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้
ข. ๓ ประเภท ก. เวรย่อมระงับด้วยการจองเวร
ค. ๔ ประเภท ข. การอดทนอดกลัน้
ง. ๕ ประเภท ค. แค้นนี้ตอ้ งชาระ
ง. การใช้อานาจ
๗๕

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๕-๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว จานวน ๓ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา
ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ม ๒/๘ มีมารยาทในการอ่าน

๒. สาระสาคัญ
การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ควรอ่านออกเสียงให้ถูกต้อง ร ล และคาควบกล้า รวมถึงการใช้น้าเสียง
ให้เหมาะสมกับสารแต่ละประเภท เพื่อให้สื่อความหมายไปยังผู้ฟังได้ถูกต้องและชัดเจน

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนเข้าใจความสาคัญของการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนสามารถอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วได้ถูกต้อง
๓.๓ ด้านเจตคติ (A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการอ่าน

๔. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๑. การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย
๒. บทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยายและบทพรรณนา
๓. มารยาทในการอ่าน
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
-

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๕.๒.๑ ทักษะการคิดวิเคราะห์
๕.๒.๒ ทักษะการจาแนกประเภท
๗๖

๕.๒.๓ ทักษะการคิดสร้างสรรค์
๕.๒.๔ ทักษะการนาความรู้ไปใช้
๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๕.๓.๑ กระบวนการทางานกลุ่ม
๕.๓.๒ กระบวนการปฏิบัติ

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทางาน

๗. ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลงาน
๗.๑ ใบงาน เรื่อง ฝึกอ่านออกเสียง
๗.๒ ใบงาน เรื่อง เว้นวรรคให้ถูกตอน

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
ตัวชี้วัด วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
อ่านออกเสียงร้อยแก้ว ตรวจใบงาน เรื่อง ใบงาน เรื่อง ฝึกอ่าน ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
ฝึกอ่านออกเสียง ออกเสียง
อ่านเว้นวรรคตอนได้ ตรวจใบงาน เรื่อง ใบงาน เรื่อง เว้นวรรคให้ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
ถูกต้อง เว้นวรรคให้ถูกตอน ถูกตอน
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตัวชี้วัด วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
อ่านออกเสียงถูกต้องตาม ประเมินการอ่านออก แบบประเมินการอ่าน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่าน
อักขระวิธี เสียงบทร้อยแก้ว ออกเสียงบทร้อยแก้ว เกณฑ์
กระบวนการทางานกลุ่ม สังเกตพฤติกรรมการ แบบสังเกตพฤติกรรมการ ระดับคุณภาพ ๒ ผ่าน
ทางานกลุ่ม ทางานกลุ่ม เกณฑ์
๘.๓ เกณฑ์การประเมินสภาพจริง
อ่านออกเสียงร้อยแก้วร้อยกรองได้ถูกต้องตามเกณฑ์การประเมิน
๙. การบูรณาการ
-
๗๗

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
(วิธีการสอนแบบบรรยาย วิธีการสอนโดยการปฏิบัติเป็นรายบุคคล และวิธีการสอนโดยเน้นกระบวนการ :
กระบวนการกลุ่ม)
คาบเรียนที่ ๑
๑. ครูแจกบัตรคาให้นักเรียนทุกคน แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสี ยงคาจากบัตรคาที่ได้รับ (ครูกาหนดบัตรคา
ตามความเหมาะสม) โดยครูและนักเรียนคนอื่นร่วมกันสรุปและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ การออกเสียง
ของเพื่อน
๒. ครูอธิบายความรู้เรื่อง การอ่านออกเสียง ประเภทของการอ่านออกเสียง และหลักการอ่าน ออก
เสียงที่ถูกต้อง
๓. ครูให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียง ร ล จ ช ถ ท ฝ ฟ ส และคาควบกล้า เพื่อตรวจสอบว่า นักเรียน
สามารถอ่านออกเสียงพยัญชนะได้ถูกต้องชัดเจนหรือไม่ จากนั้นครูอธิบายวิธีการอ่านออกเสียงว่า การอ่านออก
เสียงที่ถูกต้องควรทาอย่างไร
๔. ครูให้นักเรียนทาใบงาน เรื่อง ฝึกอ่านออกเสียง โดยให้นักเรียนจับคู่กันอ่านออกเสียงคาที่กาหนดให้
ถูกต้อง (ในใบงานเป็นตัวอย่างคาและข้อความที่นามาจากหนังสือ แบบฝึกออกเสียงเพื่อแก้ข้อบกพร่องในการออก
เสียงภาษาไทย ของกระทรวงศึกษาธิการ ครูสามารถปรับและนาตัวอย่างอื่น ๆ มาประกอบได้ตามความเหมาะสม)
๕. ครูอธิบายความรู้เรื่อง วิธีการอ่านออกเสียงคาและเครื่องหมายวรรคตอน พร้อมทั้งให้นักเรียนร่วมกัน
แสดงความคิดเห็นและยกตัวอย่างประกอบตามที่นักเรียนพบในชีวิตประจาวัน
๖. ครูให้นักเรียนทาใบงาน เรื่อง เว้นวรรคให้ถูกตอน โดยทาเครื่องหมายเว้นวรรคข้อความที่กาหนดให้
แล้วครูให้อาสาสมัครนักเรียน ประมาณ ๑๐-๑๕ คน ออกมาอ่านข้อความที่หน้าชั้นเรียน จากนั้นนักเรียนคนอื่น
ร่วมกันอภิปรายและให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
๗. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๖ คน ตามความสมัครใจ แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันหาบทอ่านตาม
ความสนใจ โดยครูกาหนดความยาวของบทอ่านประมาณ ๑ หน้ากระดาษ A๔ เช่น ข่าว นิทาน นวนิยาย เรื่องสั้น
บทละคร เป็นต้น โดยบทอ่านที่นามานั้นให้เป็นการบรรยายหรือพรรณนา เพื่อนามาอ่านให้เพื่อนฟังในคาบเรียน
ถัดไป
คาบเรียนที่ ๒
๑. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาบทอ่านที่กลุ่มตนเองคัดเลือกมาอ่ านให้เพื่อนฟังที่หน้าชั้นเรียน จากนั้นครู
และนักเรียนกลุ่มอื่นร่วมกันอภิปรายและให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
๒. ครูแจกบัตรคาให้นักเรียน คนละ ๑ ใบ แล้วครูเรียกนักเรียนแต่ละคนให้อ่านออกเสียงคาและข้อความ
ตามบัตรคาที่ได้รับให้ครูฟัง โดยครูให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มากยิ่งขึ้น
๓. ครูถามนักเรียนว่า การอ่านออกเสียงมีความสาคัญหรือไม่ อย่างไร และมีวิธีการอ่านออกเสียงที่ถูกต้อง
อย่างไรบ้าง เพื่อทบทวนความรู้เดิมของนักเรียน นอกจากนี้ครูควรให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญของมารยาทใน
การอ่านด้วย
๔. ครูแจกเรื่องให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม กลุ่มละ ๑ เรื่อง แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาอ่านเรื่อง
ที่ได้ให้เพื่อนฟังที่หน้าชั้นเรียน โดยครูและนักเรียนกลุ่มอื่นร่วมกันอภิปราย และให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
๕. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว เพื่อฝึกปฏิบัติในคาบเรียนถัดไป
๗๘

คาบเรียนที่ ๓
๑. ครูให้นักเรียนแต่ละคนออกมาจับสลากเพื่ออ่านเรื่องที่กาหนดให้ โดยครูให้นักเรียนแต่ละคนเตรียมตัว
คนละ ๕ นาที เพื่อออกมาอ่านออกเสียงให้ครูและเพื่อนฟังที่หน้าชั้นเรียน
๒. ครูให้นักเรียนแต่ละคนออกมาอ่านออกเสียงตามเรื่องที่ได้รับที่หน้าชั้นเรียน ครูประเมินผลและ ให้
คาแนะนาเพิ่มเติม
๓. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์
๑๑.๒ หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม
- ศึกษาธิการ, กระทรวง. แบบฝึกออกเสียงเพื่อแก้ข้อบกพร่องในการออกเสียงภาษาไทย.
พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สถาบันภาษาไทย, ๒๕๕๑.
- สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. ภาษาไทย ๒ (การประพันธ์ไทย). นนทบุรี :
สานักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๒๖.
- ราชบัณฑิตยสถาน. อ่านอย่างไรและเขียนอย่างไร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ ๑๘
(แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์, ๒๕๕๑.
๑๑.๓ บัตรคา
๑๑.๔ ใบงาน เรื่อง ฝึกอ่านออกเสียง
๑๑.๕ ใบงาน เรื่อง เว้นวรรคให้ถูกตอน

๑๒. แหล่งการเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุด
๑๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- www.royin.go.th
- www..trueplookpanya.com/true/knowledge
๗๙

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ลงชื่อ.............................................................
(.....................................................)
ตาแหน่ง...............................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................

ลงชื่อ.......................................................
(...................................................)
ผู้สอน
.................../...................../...................
๘๐

ใบงาน เรื่ อง ฝึ กอ่ านออกเสียง


คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านออกเสียงคาและข้อความต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

แบบฝึกอ่านออกเสียง ชุดที่ ๑
ลุล่วง ลีลา โลเล หลากหลาย
เหลาะแหละ ระรื่น เร่งรีบ ร้าวราน
รุ่งโรจน์ โหรงเหรง ราบลุ่ม ร่าลา
เรือนหลวง เรื่องเล่า รกโลก ล่วงรู้
ลากรถ เหล่าร้าย ลูกรอก ล้อมรั้ว
กลบเกลื่อน กลมกล่อม คลอนแคลน คลุ้มคลั่ง
เปลี่ยนแปลง ผลัวะผละ ผลีผลาม พลั้งพลาด
พลุกพล่าน กรอบแกรบ กร็อกกร๋อย ครอบครอง
ครื้นเครง ตรากตรา ปรูดปราด เพลงเพราะ
กวัดแกว่ง ขวนขวาย ขวัดแคว้ง แควกควาก

แบบฝึกอ่านออกเสียง ชุดที่ ๒
๑. กันเกรามีกันไกร
๒. ตรากตราจนตรอมตรม
๓. ธงทิวปลิวปลายเหนือเปล
๔. กล้อมแกล้มกล้ากลืนกล้วย
๕. ผึ้งพร้อมเพรียงบินพรั่งพรู
๖. คนรู้จักอาเภอฝางอย่างกว้างขวางเพราะมีบ่อน้ามัน
๗. สามล้อเลี้ยวหลบหลุมเลยลงหล่มโคลนติดล้อเลอะ
๘. เลอลักษณ์เลินเล่อเลื่อนลอยจนลื่นหลบหลีกล้อเลื่อน
๙. รอบรั้วมีตาลึงขึ้นรกรุงรังลองเก็บไปแกงเลียงลิ้มรสดูอร่อยดี
๑๐. ทหารเลิกรบแล้วรีบซ่อมแซมโรงเรียนที่พังทลายเพราะแรงลม
๑๑. รวยรินและรจเรขร่าร้องจะไปงานรื่นเริงส่งเสียงรี้ริกเรียกร้องความสนใจ
๑๒. เขาริเริ่มตั้งโรงงานประกอบรถยนต์ด้วยทุนแรกเริ่มร้อยล้านกิจการรุ่งเรืองมีกาไร
๘๑

แบบฝึกอ่านออกเสียงชุดที่ ๓
๑. พรานไพรคว้าขวานพร้อมด้วยพร้าครบครัน สูดลมปราณคลายความเครียด กวัดแกว่งขวาน
ดังขวับเควี้ยว เขาขวนขวายข้ามคลอง เหยียบโคลนตม ท่ามกลางเสียงฝนตกพรา ๆ พรานได้ยินเสียง
นกแขวกและนกคลิ้งโคลงร้องครวญคราง สักครู่นายพรานก็เคลือบแคลงว่าเสือโคร่งจะอยู่ใกล้ๆ
เมื่อใคร่ครวญดีแล้ว แกก็ไม่พรั่นพรึง ค่อยๆ คืบคลานเข้าไปไม่พรวดพราด จึงเห็นเสือโคร่งตัวหนึ่ง
กาลังคลุ้มคลั่ง ข่วนพฤกษาเสียงแควกควาก ไม่สนใจฝูงควายหรือกวางที่เดินเตร็ดเตร่อยู่แถวนั้น
พรานไพรใจกล้าตรงเข้าใกล้ๆ แล้วภาวนาคาถาอาคมขลัง โดยไม่มีความหวาดกลัวเลย พรานเหวี่ยง
ตาข่ายเชือกเส้นใหญ่ครอบคลุมเสือโคร่งไว้ เสือโคร่งดิ้นขลุกขลัก พรานจึงหยิบขลุ่ยขึ้นมาเป่าเพลง
โดยมิได้ครั่นคร้าม ปรากฏว่าเสือโคร่งที่มีอารมณ์แปรปรวนก็สงบลง หลับตาพริ้มปล่อยให้
นายพรานปลดตาข่ายออก เสือโคร่งนอนเกลือกกลิ้งอยู่สักครู่ก็ลุกขึ้นวิ่งพรวดพราดเข้าพงไพรไป
ทันที

๒. สมศรีสาวสังคมร่างสูงไม่ชอบตื่นสาย เธอสวยไม่สร่าง เมื่อตื่นนอนแล้วก็เสริมสวย เพื่อจะ


ไปส่งน้องสาวและสังสรรค์กับมิตรสหายที่สโมสร
สมศรีส่งเสริมสดใสน้องสาวซึ่งชอบศิลปะ โดยส่งเสียให้ศึกษาในคณะศิลปกรรมศาสตร์
สดใสสนุกสนานในการสร้างสรรค์ลายเส้นและสีสัน ให้เป็นภาพสวยอย่างมีศิลป์
เช้าวันศุกร์เมื่อฟ้าสาง สมศรีขับรถไปส่งน้องสาวแล้วเลี้ยวรถเข้าซอยซอกซอนไปบนเส้นทาง
อันสับสน และไปสิ้นสุดที่สวนสาธารณะอันร่มรื่นสวยงาม สกุณาส่งเสียงใส ผีเสื้อแสนสวยหลากสี
บินเชยชมมาลีและสูบน้าหวานจากเกสรอย่างสุขสาราญ ธรรมชาติช่างสดชื่นเสียนี่กระไร สมศรีพึ่ง
จะได้สัมผัสกับความงามของธรรมชาติเช่นนี้ เธอจึงซาบซึ้งในรสแห่งความสงบ เธอกลับบ้านด้วย
ความสุขสดชื่นแจ่มใส ลืมไปสังสรรค์กับมิตรสหายเสียสนิท

๓. เพราะพริ้งพร้อมแพรวพราว คราถึงคราวเขียนครบครัน
วันพระมีประชัน ประชุมกันอย่างพร้อมเพรียง
กระท่อมที่ริมไพร มีพร้าใหญ่ใครส่งเสียง
คุณครูอยู่ระเบียง เรียงมะพร้าวทุกคราวไป
น้าพริกเผ็ดเพราะพริก ลิ้นกระดิกระริกใหญ่
กะเพราขึ้นริมไพร พริ้งเพริดไปกับนายพราน
๘๒

๔. ท่วงท่าถี่ถ้วนทุ่มเถียง ทับเที่ยงถ่องแท้ไถ่ถอน
ถอบแถบถ่ายเทตัดทอน ท่องเที่ยวไม้ท่อนทองทา
เถิดเทิงท้อแท้จัณฑาล ทาท่าทนทานเชษฐา
แถวถั่งถอยทัพจุฑา ถ้าท้าถึงที่ทบทวน
ทดแทนทศทิศถดถอย ท้ายทอยเทิดทูนทั่วถ้วน
ถากถางทุบถองอ้วนท้วน ธารงธาตุรวนธุลี
ถลากไถลถลันถลา ถลึงตาถล่มถลาถลี
ถมึงทึงถมทองถบดี ถนัดถนี่ถกแถลงถ้อยธรรมฯ

๕. กินก๋วยเตี๋ยวอยู่เต็มปาก อย่าพูดมากเจี๊ยวจ้าวราวลิงจ๋อ
เสียงโว้กว้ากนั่นใครเรียกให้รอ อย่าหัวร่อรีบโน้ตจดลงไป
ที่สี่กั๊กขวักไขว่ไปด้วยรถ เสียงสบถเอะอะอ๊ะไม่ไหว
หน้าบูดเบี้ยวร้องว้ามาแต่ไกล เอ๊ะนั่นใครถอดหมวกแก๊ปกระพือลม
แม่หนูน้อยราป้อฟ้อแฟ้เฉียด แท็กซีเ่ บียดไขว่คว้าว้าติดหล่ม
วิ่งตึ้กตั้กร้องวี้ดว้ายคล้ายระบม เหยียบขนมแบนแต๊ดแต๋แย่แล้วเรา
หอบแฮ่กแฮ่กไอแค้กแค้กตาแป๊ะไล่ หนีมาได้ไม่ย่อมแพ้แม่ค้าเขา
เดินโซเซเฉกเช่นเป็นคนเมา เลยหลงเข้าร้านซ่าหริ่มคงอิ่มดี

คุณภาพผลงาน
ลาดับที่ รายการประเมิน
๓ ๒ ๑
๑ ถูกต้องตามอักขรวิธี
๒ การแบ่งวรรคตอน
๓ ออกเสียงชัดเจน
๔ การใช้น้าเสียง
รวม

ลงชื่อ..............................................................................ผู้ประเมิน
......................./.........................../........................
๘๓

ใบงาน เรื่ อง เว้ นวรรคให้ ถูกตอน

คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านออกเสียงข้อความต่อไปนี้และทาเครื่องหมายเว้นวรรคให้ถูกต้อง
๑. ข่าวในพระบรมมหาราชวัง

วันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ น. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จลง


ณ ศาลาดุ สิ ด าลั ย สวนจิ ต รลดา พระราชทานพระราชวโรกาสให้ ศาสตราจารย์ นายแพทย์
จรัส สุวรรณเวลา รองประธานมูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒ นามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา
ในพระอุ ป ถั ม ภ์ ส มเด็ จ พระเจ้ า พี่ น างเธอ เจ้ า ฟ้ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวงนราธิ ว าสราชนคริ น ทร์
น าคณะผู้ แทนศู น ย์ ส่ งเสริ มโอลิ ม ปิ กวิช าการและพั ฒ นามาตรฐานวิท ยาศาสตร์ศึ กษาทั่ วประเทศ และ
คณะผู้แทนนั กเรีย นไทยที่กลั บ จากการแข่งขั นโอลิ มปิ กวิช าการระหว่างประเทศ เฝ้ าฯ กราบบังคมทู ล
รายงานผลการแข่งขันฯ และรับพระราชทานพระราโชบายเพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินงานของมูลนิธิ
และศูนย์ส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการฯ

๒. รายการจดหมายเหตุกรุงศรี ตอนที่ ๘๘๔๒ เทศกาลสงกรานต์ “ขนมในประเพณีสงกรานต์”

เทศกาลสงกรานต์แต่ก่อนมีประเพณีทาขนมกวนไปทาบุญตักบาตร แจกจ่ายแลกเปลี่ยนรสฝีมือกัน
ที่รู้จักกันดีและยังมีผู้ทามาจนปัจจุบันบ้างคือ ข้าวเหนียวแดงและกาละแม ศาสตราจารย์พระยาอนุมาน-
ราชธนอธิบ ายการกวนขนมแจกจ่ ายญาติมิตรว่า เป็นเพราะสมัยก่อนหาซื้อได้ยากไม่มีผู้ทาขาย เมื่อมี
งานใหญ่จึงทากันคราวหนึ่ง จึงทาให้มากสาหรับแบ่งปันกัน นอกจากนี้ยังเคยนิยมทาขนมลูกแมงลักน้ากะทิ
ลอดช่ อ งน้ ากะทิ รวมทั้ ง น้ าเย็ น ตั้ ง ไว้ ที่ ร้ า นน้ าหน้ า บ้ า น ให้ ผู้ ก ระหายได้ กิ น ดื่ ม ตามอั ธ ยาศั ย
เป็นน้าใจที่มอบให้แก่กันในวันสงกรานต์ซึ่งบรรพชนไทยเคยปฏิบัติเป็นประเพณีสังคมที่มีคุณค่ายิ่ง
๘๔

ประเมินการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว

ถูกต้อง การแบ่ง ออกเสียง รวม


ลาดับ ชื่อ – สกุล การใช้น้าเสียง
ตามอักขรวิธี วรรคตอน ชัดเจน ๑๖
ที่
คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............../..................../..............

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ดีมาก = ๔ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ดี = ๓ ๑๔ – ๑๖ ดีมาก
พอใช้ = ๒ ๑๑ – ๑๓ ดี
ปรับปรุง = ๑ ๘ – ๑๐ พอใช้
ต่ากว่า ๘ ปรับปรุง
๘๕

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน
กลุ่ม
การร่วม
การแสดงความ การรับฟัง รวม การตั้งใจ
ลาดับ ความร่วมมือ ปรับปรุง
ชื่อ – สกุล คิดเห็น ความคิดเห็น ๒๐ ทางาน
ที่ ผลงานกลุ่ม
คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ..........................................................ผู้ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน ................./.................../................
ดีมาก = ๔
ดี = ๓
พอใช้ = ๒ หมายเหตุ ครูอาจใช้ วิธีการมอบหมายให้ หวั หน้ ากลุม่
ปรับปรุง = ๑ เป็ นผู้ประเมิน หรื อให้ ตวั แทนกลุม่ ผลัดกันประเมิน หรื อ
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ให้ มีการประเมินโดยเพื่อน โดยตัวนักเรี ยนเอง
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ตามความเหมาะสมก็ได้
๑๘ – ๒๐ ดีมาก
๑๔ – ๑๗ ดี
๑๐ – ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๘๖

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๖-๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง จานวน ๓ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา
ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ม ๒/๘ มีมารยาทในการอ่าน

๒. สาระสาคัญ
การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองทั้งประเภทกลอน และกาพย์ห่อโคลงที่ถูกต้องนั้นต้องมีความรู้เรื่องหลักการ
อ่านออกเสียง และมีมารยาทในการอ่าน

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนเข้าใจหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองเบื้องต้น
๓.๑.๒ นักเรียนเข้าใจหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทกลอน
๓.๑.๓ นักเรียนเข้าใจหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทกาพย์ห่อโคลง
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนสามารถอ่านออกเสียงบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
๓.๒.๒ นักเรียนอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทกลอนได้ถูกต้อง
๓.๒.๓ นักเรียนอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทกาพย์ห่อโคลงได้ถูกต้อง
๓.๓ ด้านเจตคติ (A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการอ่าน

๔. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๑. การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
๒. บทร้อยกรองประเภทกลอน และกาพย์ห่อโคลง
๓. มารยาทในการอ่าน
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
-

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๘๗

๕.๒ ความสามารถในการคิด
๕.๒.๑ ทักษะการคิดวิเคราะห์
๕.๒.๒ ทักษะการจาแนกประเภท
๕.๒.๓ ทักษะการคิดสร้างสรรค์
๕.๒.๔ ทักษะการนาความรู้ไปใช้
๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๕.๓.๑ กระบวนการทางานกลุ่ม
๕.๓.๒ กระบวนการปฏิบัติ

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ มีวินัย
๖.๒ ใฝ่เรียนรู้
๖.๓ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๔ รักความเป็นไทย

๗. ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลงาน
๗.๑ ใบงาน เรื่อง หลักการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
๗.๒ CD บันทึกการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
ตัวชี้วัด วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
อ่านออกเสียงร้อยกรอง ๑. ตรวจใบงาน เรื่อง ๑. ใบงาน เรื่อง หลักการ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
หลักการอ่านออกเสียง อ่านออกเสียงบทร้อย
บทร้อยกรอง กรอง
๒. ตรวจ CD บันทึกการ ๒. CD บันทึกการอ่าน
อ่านออกเสียงบทร้อย ออกเสียงบทร้อยกรอง
กรอง
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตัวชี้วัด วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
อ่านออกเสียงถูกต้องตาม ประเมินการอ่านออก แบบประเมินการอ่าน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่าน
อักขระวิธี เสียงบทร้อยแก้ว ออกเสียงบทร้อยแก้ว เกณฑ์
กระบวนการทางานกลุ่ม สังเกตพฤติกรรมการ แบบสังเกตพฤติกรรมการ ระดับคุณภาพ ๒ ผ่าน
ทางานกลุ่ม ทางานกลุ่ม เกณฑ์
๘๘

๘.๓ เกณฑ์การประเมินสภาพจริง
อ่านออกเสียงร้อยกรองได้ถูกต้องตามเกณฑ์การประเมิน
๙. การบูรณาการ
-

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
คาบเรียนที่ ๑
๑. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลตัวอย่างการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
๒. ครูสุ่มเลขที่นักเรียน ๑-๒ คน นาเสนอตัวอย่างการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง นักเรียนร่วมกันแสดง
ความคิดเห็นการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองของเพื่อน
๓. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง หลักการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองจากหนังสือ
เรียน
๔. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเรื่อง หลักการฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง จนมีความเข้าใจกระจ่างชัด
๕. นั กเรีย นแต่ ล ะกลุ่ ม ร่ ว มกัน ท าใบงานเรื่อง หลั ก การอ่านออกเสี ย งบทร้อ ยกรอง สมาชิก แต่ ล ะคนที่
ตรวจสอบคาตอบ ถ้าเห็นว่าคาตอบยังไม่ถูกต้องสมบูรณ์ก็ให้เขียนคาตอบเพิ่มเติม
๖. สมาชิกในแต่ล ะกลุ่ มจะได้มีโอกาสอ่านและเขียนคาตอบหมุ นเวียนกันไปเรื่อย ๆ จนเสร็จ กล่าวคือ
สามารถตอบคาถามได้ชัดเจนครบถ้วนทุกคาถาม
๗. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอคาตอบในใบงานหน้าชั้นเรียน ครูตรวจสอบความถูกต้อง
จากนั้นกล่าวชมเชยตัวแทนกลุ่มที่นาเสนอคาตอบได้ถูกต้องทุกข้อเพื่อเสริมสร้างกาลังใจ
๘. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปองค์ความรู้เรื่อง หลักการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง และแนวทางในการ
นาความรู้ไปใช้
คาบเรียนที่ ๒
๑. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนเรื่อง หลักการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
๒. ครูให้นักเรียนฟังตัวอย่างการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทกลอนจากซีดี หรือ ครูอ่านให้ฟัง แล้วให้
นักเรียนสังเกตว่า การอ่านที่ถูกต้องไพเราะน่าฟัง มีลีลาตามเนื้อหาอารมณ์นั้นทาอย่างไร
๓. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากคาบที่แล้ว) ร่วมกันฝึกอ่านบทร้อยกรองประเภทกลอน ชุดที่ ๑ ตาม
ตัวอย่างจากแผ่นบันทึกเสียง หรือจากที่ครูอ่านให้ฟังทีละวรรค จนสามารถอ่านได้ถูกต้องคล่องแคล่ว และชัดเจน
๔. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มฝึกอ่านบทร้อยกรองประเภทกลอน ชุดที่ ๒ โดยไม่มีแบบ เป็นการฝึกให้ทาเอง
ตั้งแต่ต้นจนจบ
๕. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มฝึกอ่านบทร้อยกรองประเภทกลอน ชุดที่ ๓ ให้เกิดความชานาญ
๖. นั กเรีย นทดสอบการอ่านออกเสี ยงบทร้อยกรองประเภทกลอน นอกเวลาเรียนกับครูเป็นรายบุคคล
เพื่อให้ครูประเมินผล
คาบเรียนที่ ๓
๑. ครูให้นักเรียนดูขบวนเสด็จทางชลมารคและฟังการเห่เรือ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนร่วมกัน
แสดงความคิดเห็นเรื่อง การเห่เรือ
๒. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากคาบที่ ๑) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง หลักการอ่านกาพย์ห่อโคลง จาก
หนังสือเรียน
๘๙

๓. ครูให้นักเรียนฟังแถบบันทึกเสียงการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทกาพย์ห่อโคลง สมาชิกแต่ละ
กลุ่มร่วมกันอภิปรายหลักการอ่านกาพย์ห่อโคลง แล้วเปรียบเทียบกับการอ่านตามแถบบันทึกเสียงที่ฟัง
๔. สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปวิธีการอ่านว่า การอ่านที่ถูกต้องไพเราะน่าฟัง มีลีลาตามเนื้อหาอารมณ์นั้น
ทาอย่างไร
๕. นักเรียนแต่ละกลุ่มฝึกอ่านกาพย์ห่อโคลงจากเรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง จากหนังสือเรียน
วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๒ จนสามารถอ่านได้ถูกต้อง และคล่องแคล่ว
๖. นั ก เรี ย นทดสอบการอ่ านออกเสี ยงบทร้อ ยกรองประเภทกาพย์ ห่ อ โคลง นอกเวลาเรีย นกั บ ครูเป็ น
รายบุคคล เพื่อให้ครูประเมินผล

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์
๑๑.๒ หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม
- ศึกษาธิการ, กระทรวง. แบบฝึกออกเสียงเพื่อแก้ข้อบกพร่องในการออกเสียงภาษาไทย.
พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สถาบันภาษาไทย, ๒๕๕๑.
- สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. ภาษาไทย ๒ (การประพันธ์ไทย). นนทบุรี :
สานักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๒๖.
- ราชบัณฑิตยสถาน. อ่านอย่างไรและเขียนอย่างไร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ ๑๘
(แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์, ๒๕๕๑.
๑๑.๓ บทอ่านร้อยกรองประเภทกลอน ชุดที่ ๑-๓
๑๑.๔ ใบงาน เรื่อง หลักการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
๑๑.๕ แถบบันทึกเสียงการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทกลอน และกาพย์ห่อโคลง

๑๒. แหล่งการเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุด
๑๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=๖๕๒๖๕
- http://news.bugaboo.tv/watch/๓๖๑๒๘/ประวัติขบวนเรือพยุหยาตราทางชลมารค.html
๙๐

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ลงชื่อ.............................................................
(.....................................................)
ตาแหน่ง...............................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................

ลงชื่อ.......................................................
(...................................................)
ผู้สอน
.................../...................../...................
๙๑

ใบงาน หลักกำรอ่ำนออกเสียงบทร้อยกรอง
คำชี้แจง ให้นกั เรียนอธิบายหลักการอ่านต่อไปนี้มาสัน้ ๆ พอเข้าใจ

๑. หลักการอ่านกลอนบทละคร

๒. หลักการอ่านกลอนเพลงยาว

๓. หลักการอ่านกลอนนิทาน

๔. หลักการอ่านกาพย์ห่อโคลง
๙๒

เอกสารประกอบการสอน

บทอ่ำนร้อยกรองประเภทกลอน ชุดที่ ๑
สงสารนักภัคนิ ีเจ้าพีเ่ อ๋ย เป็ นคู่เชยเคียงชิดพิสมัย
ถึงรูปชัวตั ่ วดาแต่น้าใจ จะหาไหนได้เหมือนเจ้าเยาวมาลย์
ตัง้ แต่น้มี แี ต่จะเลยลับ จนสิน้ ดับกาลาปาวสาน
จนม้วยดินสิน้ ฟ้าแลบาดาล มิได้พาลพบสมรแต่ก่อนมา
พีแ่ บ่งบุญบรรพชิตอุทศิ ให้ เจ้าจงไปสูส่ วรรค์ให้หรรษา
อันชาติน้มี กี รรมจานิรา เพื่อชาติหน้าขอให้พบประสบกัน
เป็ นมนุษย์ครุฑาเทวาธิราช อย่ารูข้ าดเสนหาจนอาสัญ
ให้สมวงศ์พงศ์ประยูรตระกูลกัน อย่าต่างพันธุผ์ ดิ เพือนเหมือนเช่นนี้

ที่มำ : พระอภัยมณี ของสุนทรภู่

บทอ่ำนร้อยกรองประเภทกลอน ชุดที่ ๒
อันความคิดวิทยาเหมือนอาวุธ ประเสริฐสุดซ่อนใส่เสียในฝกั
สงวนคมสมนึกใครฮึกฮัก จึงค่อยชักเชือดฟนั ให้บรรลัย
จับให้มนคั
ั ่ น้ หมายให้วายวอด ช่วยให้รอดรักให้ชดิ พิสมัย
ตัดให้ขาดปรารถนาหาสิง่ ใด เพียรจงได้ดงั ประสงค์ทต่ี รงดี
ธรรมดาว่ากษัตริยอ์ ตั เิ รก เป็ นองค์เอกอานาจดังราชสีห์
เสียงสังหารผลาญสัตว์ในปฐั พี เหตุเพราะมีลมปากนัน้ มากนัก
เหมือนหน่อเนื้อเชือ้ วงศ์ทอ่ี งอาจ ย่อมเปรื่องปราชญ์ปรากฏเพราะยศศักดิ ์
ผูใ้ หญ่น้อยพลอยมาสามิภกั ดิ ์ ได้พร้อมพรักทัง้ ปญั ญาบารมี
ถ้าเกียจคร้านเกียรติยศก็ถดถอย ข้าไทพลอยแพลงพลิกออกหลีกหนี
ต้องเศร้าสร้อยน้อยหน้าทัง้ ตาปี ทูลดังนี้กลัวจะเป็ นเหมือนเช่นนัน้
ด้วยไหนไหนก็ได้มาสามิภกั ดิ ์ หมายจะรักพระไปกว่าจะอาสัญ
จึงทูลความตามจริงทุกสิง่ อัน ล้วนสาคัญขออย่าให้ผใู้ ดฯ

ที่มำ : เพลงยาวถวายโอวาทของสุนทรภู่
๙๓

บทอ่ำนร้อยกรองประเภทกลอน ชุดที่ ๓

นิราศร้างห่างเหเสน่หา
ปางอิเหนาเศร้าสุดถึงบุษบา พระพายพาพัดน้องเทีย่ วล่องลอย
ตะลึงเหลียวเปลีย่ วเปล่าให้เหงาหงิม สุชลปริม่ เปี่ ยมเหยาะเผาะเผาะผอย
โอ้เย็นค่าน้าค้างลงพร่างพร้อย น้องจะลอยลมบนไปหนใด
หรือเทวัญชัน้ ฟ้ามาพาน้อง ไปไว้หอ้ งช่องสวรรค์ทช่ี นั ้ ไหน
แม้นน้องน้อยลอยถึงชัน้ ตรึงส์ตรัย สหัสนัยน์จะช่วยรับประคับประคอง
หรือไปปะพระอาทิตย์พศิ วาส ไปร่วมอาสน์เวชยันต์ผนั ผยอง
หรือเมขลาพาชวนนวลละออง เทีย่ วลอยล่องเลียบฟ้าชมสาคร
หรือไปริมหิมพานต์ชานไกรลาส บริเวณเมรุมาศราชสิงขร
โอ้ลมแดงแสงแดดจะแผดส่อง จะมัวหมองมิง่ ขวัญจะหวันไหว ่
จะดัน้ หมอกออกเมฆวิเวกใจ นี่เวรใดเด็ดสวาทให้คลาดคลาฯ

ที่มำ : นิราศอิเหนา ของสุนทรภู่


๙๔

แบบประเมิ น กำรนำเสนอผลงำน
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการทีก่ าหนด แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ เนื้อหาละเอียดชัดเจน
๒ ความถูกต้องของเนื้อหา
๓ ภาษาทีใ่ ช้เข้าใจง่าย
๔ ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการนาเสนอ
๕ วิธกี ารนาเสนอผลงาน
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดั เจน ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบำงส่วน ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๙๕

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนกลุ่ม


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน
ช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

กำรแก้ไข
ควำม กำรแสดง
กำรรับฟัง ควำมตัง้ ใจ ปัญหำ/หรือ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ร่วมมือกัน ควำม
ควำมคิ ดเห็น ทำงำน ปรับปรุง ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน ทำกิ จกรรม คิ ดเห็น
ผลงำนกลุ่ม คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๙๖

แบบประเมิ น กำรอ่ำนออกเสียงบทร้อยกรอง
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมการอ่านออกเสียงของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องทีต่ รงกับระดับ
คะแนน

ถูกต้องตำม
กำรแบ่ง ออกเสียง รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ลักษณะ กำรใช้น้ำเสียง
วรรคตอน ชัดเจน ๑๖
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน คำประพันธ์
คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั ไิ ด้ถกู ต้อง ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั มิ ีข้อบกพร่องเล็กน้ อย ให้ ๓ คะแนน ๑๔ - ๑๖ ดีมาก
ปฏิบตั มิ ีข้อบกพร่องปำนกลำง ให้ ๒ คะแนน ๑๑ - ๑๓ ดี
ปฏิบตั มิ ีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๘ - ๑๐ พอใช้
ต่ากว่า ๘ ปรับปรุง
๙๗

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนรำยบุคคล


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน
ช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ควำมมีน้ำใจ กำรรับฟัง กำรแสดง


กำรตรงต่อ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ควำมมีวินัย เอื้อเฟื้ อ ควำม ควำม
เวลำ ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน เสียสละ คิ ดเห็น คิ ดเห็น
คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๙๘

แบบประเมินแถบบันทึกเสียงกำรอ่ำนออกเสียงบทร้อยกรอง
ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วประเภทบทบรรยาย
การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วประเภทบท

พรรณนา
๓ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทกลอน
การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทกาพย์

ห่อโคลง
รวม

ลงชื่อ...................................................ผูป้ ระเมิน
............../.................../................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ดีมาก = ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ดี = ๓ คะแนน ๑๔ - ๑๖ ดีมาก
พอใช้ = ๒ คะแนน ๑๑ - ๑๓ ดี
ปรับปรุง = ๑ คะแนน ๘ - ๑๐ พอใช้
ต่ากว่า ๘ ปรับปรุง
๙๙

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๗-๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย การแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอน จานวน ๓ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษาภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัดที่ ม ๔/๑ แต่งบทร้อยกรอง

๒. สาระสาคัญ
การแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอน ต้องมีความรู้เรื่อง ฉันทลักษณ์และรู้จักสรรคามาใช้ให้เหมาะสม

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนเข้าใจหลักการอ่านแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนสามารถแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพได้ถูกต้อง
๓.๓ ด้านเจตคติ (A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๑. การแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ
๒. มารยาทในการเขียน
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
-

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๕.๒.๑ ทักษะการสังเคราะห์
๕.๒.๒ ทักษะการคิดสร้างสรรค์
๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๑๐๐

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ มีวินัย
๖.๒ ใฝ่เรียนรู้
๖.๓ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๔ รักความเป็นไทย

๗. ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลงาน
๗.๑ แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งกลอนสุภาพ
๗.๒ ใบงานเรื่อง ความรู้เกี่ยวกับบทร้อยกรองประเภทกลอน

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
ตัวชี้วัด วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
แต่งบทร้อยกรอง ๑. ตรวจตรวจ ๑. แบบทดสอบก่อน ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
แบบทดสอบก่อนเรียน เรียน เรื่อง การแต่ง
เรื่อง การแต่งกลอน กลอนสุภาพ
สุภาพ ๒. ใบงานเรื่อง ความรู้
๒. ตรวจใบงานเรื่อง เกี่ยวกับบทร้อยกรอง
ความรู้เกี่ยวกับบทร้อย ประเภทกลอน
กรองประเภทกลอน
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตัวชี้วัด วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
แต่งบทร้อยกรองถูกต้อง ประเมินการอ่านออก แบบประเมินการอ่าน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่าน
ตามฉันทลักษณ์ เสียงบทร้อยแก้ว ออกเสียงบทร้อยแก้ว เกณฑ์
กระบวนการทางานกลุ่ม สังเกตพฤติกรรมการ แบบสังเกตพฤติกรรมการ ระดับคุณภาพ ๒ ผ่าน
ทางานกลุ่ม ทางานกลุ่ม เกณฑ์
๘.๓ เกณฑ์การประเมินสภาพจริง
แต่งบทร้อยกรองได้ถกู ต้องตามเกณฑ์การประเมิน

๙. การบูรณาการ
-
๑๐๑

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูสุ่มนักเรียน ๔-๕ คน นาบทร้อยกรองประเภทกลอนที่นักเรียนชอบมาอ่านให้เพื่อนฟัง พร้อมทั้งบอก
เหตุผลที่ชอบ (ครูสั่งให้นักเรียนแต่ละคนเตรียมบทร้อยกรองประเภทกลอนที่นักเรียนชอบมาล่วงหน้า)
๒. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นถึงจุดเด่นและจุดด้อยของบทร้อยกรองประเภทกลอนที่เพื่อนอ่าน
ขั้นสอน
๓. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน โดยเรียงตามลาดับเลขที่ สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันศึ กษา
ความรู้เรื่อง ลักษณะของกลอน และลักษณะบังคับของกลอนสุภาพ จากหนังสือเรียน ห้องสมุดและแหล่งข้อมูล
สารสนเทศ
๔. สมาชิกแต่ละคนนาผลการศึกษาความรู้เรื่อง ลักษณะของกลอน และลักษณะบังคับของกลอนสุภาพ มา
ถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในกลุ่ม
๕. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทาใบงานที่เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับบทร้อยกรองประเภทกลอน เมื่อทาเสร็จแล้ว
ให้ตรวจสอบความเรียบร้อย
๖. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอคาตอบในใบงาน ครูและเพื่อนนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
รวมถึงการให้คาแนะนาในการปรับปรุงงาน
ขั้นสรุป
๗. ครูและนักเรียนร่ วมกันอภิปรายสรุปองค์ความรู้เรื่อง หลักการแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอน และ
แนวทางในการนาความรู้ไปใช้

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์
๑๑.๒ แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ ภาษาไทย ม.๒
๑๑.๓ บทร้อยกรองประเภทกลอนที่นักเรียนชอบ
๑๑.๔ ใบงาน เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับบทร้อยกรองประเภทกลอน
๑๑.๕ แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอน

๑๒. แหล่งการเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุด
๑๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://www.st.ac.th/bhatips/glon.htm
- http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/๑๖๐๕-๐๐/
๑๐๒

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ลงชื่อ.............................................................
(.....................................................)
ตาแหน่ง...............................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................

ลงชื่อ.......................................................
(...................................................)
ผู้สอน
.................../...................../...................
๑๐๓

แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การแต่ งบทร้ อยกรองประเภทกลอน


คำชี้แจง ให้นกั เรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
๑. การเรียกชื่อกลอนประเภทต่างๆ ใช้สงิ่ ใดเป็ นหลัก ๖. โอ้คดิ สิทธิมนุษยชนคนสยาม
ก. รูปแบบการแต่ง เขาละเมิดเพลิดเพลินจนเกินงาม จักเขียนความเป็นกลอนสุนทรเตือน
ข. คาคล้องจองในแต่ละบท ใครอย่าได้ทุจริตคิดละเมิด ความประเสริฐเลิศไทยใครจักเหมือน
ค. จานวนคาหรือพยางค์ในการแต่ง บทร้อยกรองนี้เป็ นกลอนเพลงประเภทใด
ง. เสียงวรรณยุกต์ในตาแหน่งของกลอน ก. กลอนเสภา ข. กลอนนิราศ
๒. ข้อใดกล่าวถึงคณะของกลอนสุภาพได้ถูกต้องทีส่ ดุ ค. กลอนนิทาน ง. กลอนเพลงยาว
ก. บทหนึ่งมี ๒ คากลอน หรือ ๔ วรรค วรรคหนึ่งมี ๘ ๗. ลักษณะบังคับของกลอนสุภาพในเรื่องใดทีไ่ ม่ได้มกี าร
คา บังคับใช้ เป็ นแต่เพียงความนิยม
ข. บทหนึ่งมี ๔ คากลอน หรือ ๒ วรรค วรรคหนึ่งมี ๘ ก. เสียงวรรณยุกต์ ข. ความยาว
คา ค. สัมผัส ง. คณะ
ค. บทหนึ่งมี ๔ คากลอน หรือ ๒ วรรค ๘. การเรียงลาดับวรรคในการแต่งกลอนสุภาพให้เรียง
วรรคหนึ่งมี ๗-๙ คา อย่างไร
ง. บทหนึ่งมี ๒ คากลอน หรือ ๔ วรรค ก. วรรคสดับ วรรครับ วรรครอง วรรคส่ง
วรรคหนึ่งมี ๗-๙ คา ข. วรรคสดับ วรรครอง วรรครับ วรรคส่ง
๓. กลอนในข้อใดต่างประเภทจากกลอนอื่นๆ ค. วรรคสดับ วรรครับ วรรคส่ง วรรครอง
ก. กลอนเสภา ข. กลอนสักวา ง. วรรคสดับ วรรคส่ง วรรครับ วรรครอง
ค. กลอนเพลงยาว ง. กลอนดอกสร้อย ๙. ข้อความใดมีสมั ผัสอักษรมากทีส่ ดุ
๔.  เมือ่ นัน้ นางประแดะหูกลวงดวงสมร ก. ชีวติ นี้ไม่มอี ะไรดอก
ครัน้ รุ่งเช้าท้าวประดู่ภธู ร เสด็จจรจากเวียงไปเลีย้ งวัว ข. ยุรยาตรย่างยามงามสง่า
โฉมเฉลาเนาในทีไ่ สยา บรรจงหันกั
่ ญชาไว้ท่าผัว ค. หมันฝ ่ กั ใฝไ่ ตร่ตรองมองมรรคผล
แล้วอาบน้ าทาแป้งแต่งตัว หวีหวั หาเหาเกล้าผมมวย ง. องค์อ่อนช้อยลอยเลื่อนเคลื่อนกายา
ข้อความนี้เป็ นกลอนขับร้องประเภทใด ๑๐. บัดนี้ได้รจู้ ติ คิดสงบ น้อมเคารพกาลเวลาฝา่ กระแส
ก. กลอนนิทาน ข. กลอนบทละคร เปิดโลกและชีวติ จิตลับแล ด้วยกุญแจใจตนดลบันดาล
ค. กลอนเพลงยาว ง. กลอนดอกสร้อย คาสุดท้ายของวรรครับใช้เสียงใด
๕. จาเรียงคาจาพรากจากเมืองหลวง ก. เอก ข. โท
ทุกข์เพราะจากพรากรักแสนหนักทรวง ค. ตรี ง. จัตวา
จาจากดวงหทัยน้าใจงาม
ข้อความนี้เป็ นกลอนเพลงประเภทใด
ก. กลอนเสภา ข. กลอนนิราศ
ค. กลอนนิทาน ง. กลอนเพลงยาว
๑๐๔

ใบงาน ควำมรู้เกี่ยวกับบทร้อยกรองประเภทกลอน
คำชี้แจง ให้นกั เรียนอธิบายลักษณะบังคับของกลอนสุภาพต่อไปนี้

บันลือลันบรรเลงเพลงปี
่ ่ พาทย์ รัวระนาดกราดเกรีย้ วเกรียวกราวห้อง
ตุม้ ตุม้ ตุม้ ตึงตึงอึงอลกลอง มงมงฆ้องหม่งหม่งวงดนตรี
อ้อยอีอ๋ อ้ ยสอดสร้อยร้อยเรียงเสียง อ้อยอีอ๋ อ้ ยร้อยเรียงเสียงเพลงปี่
ฉิ่งฉาบฉับฉิ่งฉับฉิ่งฉาบตี ร่ายวลีบรรเลงเพลงลีลา
ที่มำ : นิตยสารสกุลไทย ฉบับที่ ๓๐๒๙

๑. คณะ

๒. สัมผัส

๓. เสียงวรรณยุกต์
๑๐๕

แบบประเมิ น กำรนำเสนอผลงำน
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการทีก่ าหนด แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ ความถูกต้องของเนื้อหา
๒ ความคิดสร้างสรรค์
๓ วิธกี ารนาเสนอผลงาน
๔ การนาไปใช้ประโยชน์
๕ การตรงต่อเวลา
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดั เจน ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบำงส่วน ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๐๖

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนรำยบุคคล


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน
ช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ควำมมีน้ำใจ กำรรับฟัง กำรแสดง


กำรตรงต่อ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ควำมมีวินัย เอื้อเฟื้ อ ควำม ควำม
เวลำ ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน เสียสละ คิ ดเห็น คิ ดเห็น
คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๐๗

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนกลุ่ม


ชื่อกลุ่ม ชัน้

คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง


ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ การแบ่งหน้าทีก่ นั อย่างเหมาะสม
๒ ความร่วมมือกันทางาน
๓ การแสดงความคิดเห็น
๔ การรับฟงั ความคิดเห็น
๕ ความมีน้าใจช่วยเหลือกัน
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๐๘

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๘-๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย การเขียนคัดลายมือ จานวน ๒ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน
รูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่าง
มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๑ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด

๒. สาระสาคัญ
การคัดลายมือให้ถูกต้องและสวยงาม ช่วยให้การสื่อสารไปยังผู้อ่านเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิด
ประโยชน์สูงสุด ซึ่งรูปแบบการคัดลายมือที่สวยงาม มีหลายแบบแตกต่างกันออกไป

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ สามารถบอกหลักการคัดลายมือที่ถูกต้องได้
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้ถูกต้องสวยงามตามหลักการ
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย
-
๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๓ มีวินัย
๑๐๙

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ ใบงานเรื่อง การคัดลายมือ

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ตรวจใบงานเรื่อง การคัด ใบงานเรื่อง การคัดลายมือ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
ลายมือ
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ประเมินการคัดลายมือตัว แบบประเมินการคัดลายมือตัวบรรจง ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
บรรจงครึ่งบรรทัด ครึ่งบรรทัด
แบบสังเกตพฤติกรรมการ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ทางานรายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
-

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูสุ่มเรียกตัวแทนนักเรียน ๒ – ๓ คน ออกมาที่หน้าชั้นเรียน แล้วให้นักเรียนแต่ละคนคัดลายมือบน
กระดานตามประโยคที่ครูบอก
๒. ครู ให้ เพื่อนในชั้น เรี ย นช่วยกัน แสดงความคิดเห็ น ว่า การคัดลายมือของตัวแทนนักเรียนทั้ง ๓ คน มี
ลักษณะอย่างไร
๓. ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อน แล้วช่วยกันอ่านและวิเคราะห์คาประพันธ์ “ลูกผู้ชาย ลายมือนั้นคือยศ” แล้ว
ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนเห็นด้วยกับคาประพันธ์หรือไม่ อย่างไร
“ลูกผู้ชายลายมือนั้นคือยศ
ค่าจะหมดจะมีอยู่ที่เขียน
จะคัดส่งเขี่ยส่งจงให้เนียน
เพราะความเพียรถูกอักษรสะท้อนคน”
ขั้นสอน
๔. ครูนาตัวอย่างการคัดลายมือในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ ตัวอักษรประเภทหัวเหลี่ยม และตัวอักษรประเภทหัว
กลม มาให้นักเรียนดู แล้วถามนักเรียนว่า เคยเห็นลายมือในรูปแบบดังกล่าวหรือไม่ แล้วเคยเห็นที่ไหนบ้าง โดยครู
คอยกระตุ้นให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการตอบคาถาม
๕. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง หลักการคัดลายมือ ในหนังสือเรียน โดยครูเปิด โอกาสให้นักเรียนที่มีข้อ
สงสัยหรือไม่เข้าใจซักถามเพิ่มเติม
๑๑๐

๖. ครูอธิบายว่า การจะคัดลายมือให้ถูกต้องและสวยงามนั้น จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในหลักการคัดลายมือ


และหมั่นฝึกฝนอย่างสม่าเสมอ จากนั้นครูสุ่มถามนักเรียนตามเลขที่ ว่าหลักการคัดลายมือมีอะไรบ้าง
ขั้นสรุป
๗. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง รูปแบบตัวอักษร ในหนังสือเรียน เมื่อศึกษาจบแล้วให้นักเรียนทาใบงาน
เรื่อง การคัดลายมือ โดยให้นาเอาวรรคทองในวรรณคดีที่นักเรียนชื่นชอบ มา ๑ บท ฝึกคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง
บรรทัดในรูปแบบที่ครูกาหนด ทาเป็นการบ้าน และนามาส่ง ในชั่วโมงเรียนต่อไป

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒
๑๑.๒ ตัวอย่างการคัดลายมือแบบต่าง ๆ
๑๑.๓ ใบงาน เรื่อง การคัดลายมือ

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุด
๑๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
๑๑๑

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(..........................................................)
ตาแหน่ง.......................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.......................................................
(....................................................)
ผู้สอน
................/...................../...................
๑๑๒

ตัวอย่างการคัดลายมือแบบต่าง ๆ
ตัวอักษรแบบหัวเหลี่ยม
๑๑๓

ตัวอักษรแบบกระทรวงศึกษาธิการ

ตัวอักษรแบบคณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
๑๑๔

เกณฑ์การประเมินการคัดลายมือ

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ
ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑)
การเว้นช่องไฟ - ระยะห่างของตัวอักษร - ระยะห่างของตัวอักษร - ระยะห่างของตัวอักษร
และเว้นวรรค สม่าเสมอ เหมาะสม และ เหมาะสม และเว้นวรรค เหมาะสม และเว้นวรรค
เว้นวรรคถูกต้อง ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
ความถูกต้อง - ถูกต้องและครบถ้วน - ผิด / ตก ๑ - ๓ แห่ง - ผิด / ตก เกินมากกว่า
๓ แห่ง
ความสะอาด - ไม่มีรอยลบ หรือ ขีดฆ่า - มีรอยลบ หรือ ขีดฆ่า - มีรอยลบ หรือ ขีดฆ่า
สวยงาม ๑ - ๓ แห่ง มากกว่า ๓ แห่ง
ทันเวลาที่กาหนด - คัดเสร็จตามเวลาที่กาหนด - ทันเวลา แต่ปริมาณงานที่ - ทันเวลา แต่ปริมาณงานที่
คัดได้ปานกลาง คัดได้น้อย
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไป ๑๐ – ๑๒ ดี
สรุป � ผ่าน � ไม่ผ่าน ๗ – ๙ พอใช้
ลงชื่อ.................................ผู้ประเมิน ๔ – ๖ ควรปรับปรุง
(.....................................)
๑๑๕

ใบงานเรื่อง การคัดลายมือ
คาชี้แจง ให้นักเรียนนาเอาวรรคทองในวรรณคดีที่นักเรียนชื่นชอบ มา ๑ บท ฝึกคัดลายมือตัวบรรจง
ครึ่งบรรทัดในรูปแบบที่ครูกาหนด
การคัดลายมือตัวอักษรแบบหัวเหลี่ยม
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
๑๑๖

การคัดลายมือตัวอักษรแบบกระทรวงศึกษาธิการ
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
๑๑๗

การคัดลายมือตัวอักษรแบบคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
___________________________________________________________________
_
(พิจารณาตามผลงานของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
๑๑๘

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน
รายบุคคล
ชื่อ-นามสกุล………………………………………………………….………..ชั้น…….….……….เลขที่………….……
ลาดับ คุณภาพการปฏิบัติ
พฤติกรรม
ที่ ๔ ๓ ๒ ๑
๑ การแสดงความคิดเห็น
๒ การยอมรับฟังคนอื่น
๓ ทางานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔ ความมีน้าใจ
๕ การเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี

ลงชื่อ..............................................................ผู้ประเมิน
(................................................................)
................./................../...............

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ ๔ คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ ๒ คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ ๑ คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
๑๘ - ๒๐ ดีมาก
๑๔ - ๑๗ ดี
๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๑๙

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๙-๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย การสร้างคา จานวน ๒ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษาภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๑ สร้างคาในภาษาไทย

๒. สาระสาคัญ
การศึกษาหลักภาษาไทยต้องมีความรู้เรื่องการสร้างคาโดยวิธีต่าง ๆ

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ สามารถอธิบายการสร้างคาในภาษาไทยได้
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ สร้างคาในภาษาไทยโดยวิธีต่าง ๆ ได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ การสร้างคาในภาษาไทย
-
๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๓ มีวินัย
๖.๔ รักความเป็นไทย
๑๒๐

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ ใบงานเรื่อง การสร้างคาในภาษาไทย
๗.๒ ใบงานเรื่อง การวิเคราะห์การสร้างคาในภาษาไทย
๗.๓ ใบงานเรื่อง การสังเคราะห์ความรู้การสร้างคาในภาษาไทย

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน

วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน


ตรวจใบงานเรื่อง การสร้างคาในภาษาไทย ใบงานเรื่อง การสร้างคาในภาษาไทย ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานเรื่อง การวิเคราะห์ การสร้างคา ใบงานเรื่อง การวิเคราะห์การสร้างคาใน ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
ในภาษาไทย ภาษาไทย
ตรวจใบงานเรื่อง การสังเคราะห์ความรู้การ ใบงานเรื่อง การสังเคราะห์ ความรู้การ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
สร้างคาในภาษาไทย สร้างคาในภาษาไทย
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
-

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๔ คน คละกันตามความสามารถ จากนั้นให้สมาชิกแต่ละกลุ่มแบ่งหัวข้อ
ศึกษาเรื่อง การสร้างคา จากหนังสือเรียน ห้องสมุด และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
๒. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มทาความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและวิธีการสร้า งคา แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อ
สรุปองค์ความรู้
ขั้นสอน
๓. นั กเรียนแต่ล ะกลุ่ มร่วมกัน ทาใบงานเรื่อง การสร้างคาในภาษาไทย โดยให้ สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มหา
คาตอบด้วยตนเองจนครบทุกข้อ จากนั้นจับคู่กับเพื่อนในกลุ่มผลัดกันอธิบายคาตอบให้คู่ของตนเองฟัง
๔. นั ก เรี ย นรวมกลุ่ ม ๔ คน ให้ แ ต่ ล ะคู่ ผ ลั ด กั น อธิบ ายค าตอบให้ เพื่ อ นอี ก คู่ ห นึ่ งในกลุ่ ม ฟั ง เพื่ อ ช่ ว ยกั น
ตรวจสอบความถูกต้อง
๕. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทาใบงานเรื่อง การวิเคราะห์การสร้างคาในภาษาไทย
๑๒๑

๖. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นถึงความจาเป็นที่จะต้องสร้างคาขึ้นมาใช้ในภาษาไทย
๗. นักเรียนแต่ละคนทาใบงาน เรื่อง การสังเคราะห์ความรู้การสร้างคาในภาษาไทย เมื่อทาเสร็จแล้วให้นาส่ง
ครูตรวจ
ขั้นสรุป
๘. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความรู้ที่ได้จากการศึกษาเรื่อง การสร้างคา และการนาความรู้ไปใช้ให้
เป็นประโยชน์ต่อไป

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ สานักพิมพ์วัฒนาพานิช
๑๑.๒ ใบงานเรื่อง การสร้างคาในภาษาไทย
๑๑.๓ ใบงานเรื่อง การวิเคราะห์การสร้างคาในภาษาไทย
๑๑.๔ ใบงานเรื่อง การสังเคราะห์ความรู้การสร้างคาในภาษาไทย

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุด
๑๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://buka.freeoda.com/?p=๑๗
- http://netdao๒๔๑๕.blogspot.com/
- http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=
๑๖๑๗๓
๑๒๒

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(..........................................................)
ตาแหน่ง.......................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.......................................................
(....................................................)
ผู้สอน
................/...................../...................
๑๒๓

ใบงาน กำรสร้ำงคำในภำษำไทย
คำชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้

๑. เหตุใดจึงมีการสร้างคาในภาษาไทย

๒. คาประสมมีลกั ษณะอย่างไร มีวธิ กี ารสร้างอย่างไร

๓. คาซ้อนมีลกั ษณะอย่างไร มีวธิ กี ารสร้างอย่างไร

๔. คาซ้ามีลกั ษณะอย่างไร มีวธิ กี ารสร้างอย่างไร

๕. คาสมาสมีลกั ษณะอย่างไร มีวธิ กี ารสร้างอย่างไร

๖. คาสมาสทีม่ สี นธิมลี กั ษณะอย่างไร มีวธิ กี ารสร้างอย่างไร

๗. คาซ้อนเพื่อเสียงมีลกั ษณะอย่างไร มีวธิ กี ารสร้างอย่างไร

๘. จากการศึกษาเรือ่ งคาสมาส นักเรียนได้รบั ความรูเ้ รือ่ งใดบ้างนอกจากเรือ่ งการสร้างคา


๑๒๔

ใบงาน กำรวิเครำะห์กำรสร้ำงคำในภำษำไทย
คำชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนอธิบายการสร้างคาลงในตาราง

คำ ควำมหมำย วิ ธีกำรสร้ำงคำ โครงสร้ำง


(ตัวอย่าง) ตาขาว แสดงอาการขลาดกลัว คาประสม ตา+ขาว
๑. สองหัว
๒. ดีด๊ ี
๓. เกียรติคุณ
๔. ขอทาน
๕. สีเทาๆ
๖. ปฐมวัย
๗. ได้เสีย
๘. เสือ้ ผ้า
๙. มนุษยธรรม
๑๐. หน้าตา
๑๑. กลมๆ
๑๒. คณิตศา
๑๓. น้อยหน
๑๔. ตอนเช้า
๑๕.ห่อหมก
๑๖. ถ้วยชาม
๑๒๕

ใบงาน กำรสังเครำะห์ควำมรู้กำรสร้ำงคำในภำษำไทย
คำชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนบทสนทนาเพื่ออธิบายการสร้างคา ตามทีก่ าหนด
(ตัวอย่าง) บทสนทนาระหว่างนักเรียนกับครู
นักเรียน : ครูครับ ผมอยากทราบว่า คาว่า มดแดง เป็ นคาประสมใช่หรือเปล่าครับ
ครู : ใช่จ๊ะ เพราะเป็ นคามูลทีม่ คี วามหมายต่างกัน มารวมกันเป็ นคาเดียวและมีความหมายใหม่
เกิดขึ้น

๑. คาประสม

๒. คาซ้อน

๓. คาซ้า

๔. คาสมาส
๑๒๖

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนรำยบุคคล


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน
ช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ควำมตัง้ ใจ ควำม กำรตรงต่อ ควำมสะอำด ผลสำเร็จ รวม


ลำดับ ชื่อ-สกุล
ในกำรทำงำน รับผิดชอบ เวลำ เรียบร้อย ของงำน ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน
คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๒๗

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนกลุ่ม


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน
ช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

กำรแก้ไข
ควำม กำรแสดง
กำรรับฟัง ควำมตัง้ ใจ ปัญหำ/หรือ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ร่วมมือกัน ควำม
ควำมคิ ดเห็น ทำงำน ปรับปรุง ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน ทำกิ จกรรม คิ ดเห็น
ผลงำนกลุ่ม คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๒๘

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๐-๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ การอ่านเพื่อวิเคราะห์ จานวน ๒ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ
ดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๒ จับใจความสาคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน

๒. สาระสาคัญ
การอ่านจับใจความสาคัญจากสื่อต่าง ๆ ต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องหลักการอ่านจับใจความสาคัญ

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักการอ่านจับใจความสาคัญ
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนอ่านจับใจความสาคัญจากบทอ่านได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการอ่าน

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ การอ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ เช่น บทความ
-
๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๓ มีวินัย
๑๒๙

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ ใบงาน เรื่อง การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ
๗.๒ ใบงาน เรื่อง การอ่านจับใจความสาคัญจากบทความ

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ตรวจใบงาน เรื่อง การอ่านเพื่อจั บ ใจความ ใบงาน เรื่อ ง การอ่ านเพื่ อ จั บ ใจความ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
สาคัญ สาคัญ
ตรวจใบงาน เรื่อง การอ่านจับใจความสาคัญ ใบงาน เรื่อง การอ่านจับใจความสาคัญ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
จากบทความ จากบทความ
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์

๙. การบูรณาการ
-

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูสนทนากับนักเรียนเรื่องการจับใจความสาคัญ เพื่อทบทวนความรู้ที่นักเรียนเคยเรียนมาแล้ว
๒. ครูให้นักเรียนเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับข้อผิดพลาดในการอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ
ขั้นสอน
๓. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔ คน โดยเรียงตามลาดับเลขที่ แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษา
ความรู้เรื่อง การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญจากหนังสือเรียน และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
๔. สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันอธิบายความรู้ที่ได้ศึกษามาเพื่อทาความเข้าใจเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
๕. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทาใบงาน เรื่อง การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ เมื่อทาเสร็จแล้วให้นาส่งครูตรวจ
๖. ครูให้นักเรียนค้นคว้าบทความที่นักเรียนสนใจ คนละ ๑ เรื่อง แล้วมานาเสนอให้เพื่อนในกลุ่มฟัง โดยให้
เจ้าของบทความชี้แนะถึงคุณประโยชน์และความน่าสนใจของบทความที่เลือกมา
๗. นักเรียนแต่ละกลุ่มคัดเลือกบทความที่สมาชิกนาเสนอ เพื่อนามาประกอบการทาใบงาน เรื่อง การอ่าน
จับใจความสาคัญจากบทความ
๘. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอการจับใจความสาคัญจากบทความในใบงานหน้าชั้นเรียน
ขั้นสรุป
๙. ครูตรวจสอบความถูกต้อง รวมถึงการให้คาแนะนาในการพัฒนางาน
๑๓๐

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ สานักพิมพ์วัฒนาพานิช
๑๑.๒ ใบงาน เรื่อง การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ
๑๑.๓ ใบงาน เรื่อง การอ่านจับใจความสาคัญจากบทความ

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุด
๑๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://kunkrunongkran.wordpress.com/ภาษาไทย-ม-๒/การอ่านจับใจความ/

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(..........................................................)
ตาแหน่ง.......................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.......................................................
(....................................................)
ผู้สอน
................/...................../...................
๑๓๑

ใบงาน กำรอ่ำนเพื่อจับใจควำมสำคัญ
คำชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้

๑. การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ มีลกั ษณะอย่างไร

๒. การอ่านจับใจความสาคัญ มีความสาคัญอย่างไร

๓. นักเรียนสามารถนาเรือ่ งการอ่านจับใจความสาคัญไปใช้ประโยชน์ในการศึกษาวิชาต่างๆ ได้อย่างไร

๔. การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ มีหลักการอย่างไร

๕. นักเรียนคิดว่า หลักการอ่านจับใจความสาคัญมีความสัมพันธ์กบั การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน


อย่างไร
๑๓๒

ใบงาน กำรอ่ำนจับใจควำมสำคัญจำกบทควำม
คำชี้แจง ให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มคัดเลือกบทความ ๑ เรือ่ ง นามาติดลงในกรอบ แล้วจับใจความสาคัญ

(ติดบทความ)
๑๓๓

จากบทความเรือ่ ง สรุปใจความสาคัญได้ดงั นี้


๑. จับใจความสาคัญในแต่ละย่อหน้า
ย่อหน้าที่ ๑

ย่อหน้าที่ ๒

ย่อหน้าที่ ๓

ย่อหน้าที่ ๔

๒. เขียนเรียบเรียงใหม่
๑๓๔

แบบประเมิ น กำรนำเสนอผลงำน
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการทีก่ าหนด แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ เนื้อหาละเอียดชัดเจน
๒ ความถูกต้องของเนื้อหา
๓ ภาษาทีใ่ ช้เข้าใจง่าย
๔ ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการนาเสนอ
๕ วิธกี ารนาเสนอผลงาน
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดั เจน ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบำงส่วน ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๓๕

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนกลุ่ม


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน
ช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

กำรแก้ไข
ควำม กำรแสดง
กำรรับฟัง ควำมตัง้ ใจ ปัญหำ/หรือ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ร่วมมือกัน ควำม
ควำมคิ ดเห็น ทำงำน ปรับปรุง ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน ทำกิ จกรรม คิ ดเห็น
ผลงำนกลุ่ม คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๓๖

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๐-๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ การอ่านเพื่อวิเคราะห์ จานวน ๒ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ
ดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๔ อภิปรายแสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน

๒. สาระสาคัญ
การอ่านจั บ ใจความจากสื่ อต่ าง ๆ ให้ อภิ ป รายแสดงความคิ ดเห็ น และข้อโต้ แย้ง วิเคราะห์ และจาแนก
ข้อเท็จจริง ข้อมูลสนับสนุน และข้อคิดเห็น ระบุข้อสังเกตการชวนเชื่อ การโน้มน้าว หรือความสมเหตุสมผลของงาน
เขียน

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักการอ่านเพื่อการวิเคราะห์
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ อภิปรายแสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านได้
๓.๒.๒ วิเคราะห์และจาแนกข้อเท็จจริง ข้อมูลสนับสนุน และข้อคิดเห็นจากบทความที่อ่านได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการอ่าน

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ การอ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ เช่น งานเขียนหรือบทความแสดงข้อเท็จจริง
-
๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๑๓๗

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๓ มีวินัย

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ ใบงาน เรื่อง การวิเคราะห์บทความแสดงข้อเท็จจริง

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ตรวจใบงาน เรื่ อ ง การวิ เคราะห์ บ ทความ ใบงาน เรื่ อ ง การวิ เคราะห์ บ ทความ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
แสดงข้อเท็จจริง แสดงข้อเท็จจริง
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์

๙. การบูรณาการ
-

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูสนทนากับนักเรียนเรื่อง การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ เพื่อทบทวนความรู้เดิม
๒. ครู แ จ้ งให้ นั ก เรี ย นทราบว่ า นั ก เรีย นจะต้อ งศึ ก ษาเรื่อ ง การอ่ านเพื่ อการวิ เคราะห์ เพื่ อ น าความรู้ไป
วิเคราะห์สื่อต่าง ๆ
ขั้นสอน
๓. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ แล้ว) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง การอ่านเพื่อการ
วิเคราะห์ จากหนังสือเรียน
๔. ครูและนั กเรี ยนร่วมกัน อภิป รายสรุปหลั กการอ่านเพื่อการวิเคราะห์ เพื่อให้ นักเรียนได้เลือกใช้ในการ
วิเคราะห์สื่อต่าง ๆ
๕. นักเรียนแต่ละกลุ่ มเลือกบทความแสดงข้อเท็จจริง มากลุ่มละ ๑ เรื่อง แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็ น
เกี่ยวกับเหตุผลที่เลือกบทความเรื่องดังกล่าวมาวิเคราะห์
๖. นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปหลักการที่จะนามาใช้วิเคราะห์บทความแสดงข้อเท็จจริง
๗. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน ทาใบงาน เรื่อง การวิเคราะห์บทความแสดงข้อเท็จจริง เมื่อทาเสร็จแล้วให้
ร่วมกันตรวจสอบความเรียบร้อย
๑๓๘

๘. ครูขออาสาสมัครตัวแทนนักเรียน ๑-๒ กลุ่ม ออกมานาเสนอการวิเคราะห์บทความแสดงข้อเท็จจริงใน


ใบงานหน้าชั้นเรียน
ขั้นสรุป
๙. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง และแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ สานักพิมพ์วัฒนาพานิช
๑๑.๒ บทความแสดงข้อเท็จจริง
๑๑.๓ ใบงาน เรื่อง การวิเคราะห์บทความแสดงข้อเท็จจริง

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุด
๑๓๙

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(..........................................................)
ตาแหน่ง.......................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.......................................................
(....................................................)
ผู้สอน
................/...................../...................
๑๔๐

ใบงาน กำรวิเครำะห์บทควำมแสดงข้อเท็จจริง
คำชี้แจง ให้นกั เรียนเลือกบทความแสดงข้อเท็จจริง ๑ เรือ่ ง ติดลงในกรอบ แล้ววิเคราะห์เรือ่ งตาม
หลักการวิเคราะห์

(ติดบทความ)
๑๔๑

การวิเคราะห์เรือ่ ง
๑. รูปแบบของเรือ่ ง

๒. ใจความสาคัญของเรือ่ ง

๓. ข้อเท็จจริง

๔. ความคิดของผูเ้ ขียน

๕. การเรียงลาดับเหตุการณ์

๖. การใช้สานวนภาษา
๑๔๒

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนกลุ่ม


ชื่อกลุ่ม ชัน้

คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง


ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ การแบ่งหน้าทีก่ นั อย่างเหมาะสม
๒ ความร่วมมือกันทางาน
๓ การแสดงความคิดเห็น
๔ การรับฟงั ความคิดเห็น
๕ ความมีน้าใจช่วยเหลือกัน
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๔๓

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๑-๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย หลักการฟังและดูสื่อ จานวน ๑ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู การพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึก
ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๒ วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และความน่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่อต่าง ๆ
ม ๒/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

๒. สาระสาคัญ
การวิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่ฟังและดู และการวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ต้องมีความรู้พื้นฐาน และมี
มารยาทในการฟังและการดู

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนมีความรู้ความรู้พื้นฐานในการฟังและดูสื่อ
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนอธิบายความรู้พื้นฐานในการฟังและดูสื่อได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการฟัง และการดู

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ การพูดวิเคราะห์และวิจารณ์จากเรื่องที่ฟังและดู
๔.๒ มารยาทในการฟัง การดู

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๑๔๔

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๓ มีวินัย

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ ใบงานเรื่อง ความรู้พื้นฐานในการฟังและดูสื่อ

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ตรวจใบงานเรื่ อง ความรู้พื้ น ฐานในการฟั ง ใบงานเรื่ อ ง ความรู้ พื้ น ฐานในการฟั ง ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
และดูสื่อ และดูสื่อ
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์

๙. การบูรณาการ
-

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูสนทนากับนักเรียนเรื่องการสื่อสาร จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสาคัญ
ของการสื่อสารในยุคปัจจุบัน
ขั้นสอน
๒. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๔ คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปาน
กลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน
๓. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ความรู้พื้นฐานในการฟังและดูสื่อ จากหนังสือเรียน
๔. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเรื่อง ความรู้พื้นฐานในการฟังและดูสื่อ จนมีความเข้าใจกระจ่างชัด
๕. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทาใบงาน เรื่อง ความรู้พื้นฐานในการฟังและดูสื่อ สมาชิกแต่ละคนที่ตรวจสอบ
การเขียนข้อความในตาราง ถ้าเห็นว่าไม่ถูกต้องให้เสนอแนะหรือให้คาแนะนา แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง
๖. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอคาตอบในใบงาน ครูและเพื่อนนักเรี ยนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
แล้วกล่าวชมเชยนักเรียนกลุ่มที่นาเสนอคาตอบได้ถูกต้องครบทั้ง ๒ ตอน เพื่อเสริมสร้างกาลังใจ
๑๔๕

ขั้นสรุป
๗. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปองค์ความรู้เรื่อง ความรู้พื้นฐานในการฟังและดูสื่อ

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ สานักพิมพ์วัฒนาพานิช
๑๑.๒ ใบงานเรื่อง ความรู้พื้นฐานในการฟังและดูสื่อ

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุด

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(..........................................................)
ตาแหน่ง.......................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.......................................................
(....................................................)
ผู้สอน
................/...................../...................
๑๔๖

ใบงาน ควำมรู้พนื้ ฐำนในกำรฟังและดูสื่อ


ตอนที่ ๑
คำชี้แจง ให้นกั เรียนนาข้อความต่อไปนี้ เขียนลงในตารางให้เนื้อหามีความสัมพันธ์กนั

๑) ฟงั และดูขา่ วการเมือง ๕) ฟงั การบรรยายธรรม ๙) ฟงั การอ่านบทกวี


๒) ฟงั และดูรายการหนี้แผ่นดิน ๖) ดูรายการส่องโลก ๑๐) ฟงั พระบรมราโชวาท
๓) ฟงั และดูมวิ สิควิดโี อ ๗) ดูรายการธรรมปริทศั น์ ๑๑)ดูรายการสนทนาปญั หาอาเซียน
๔) ดูรายการชีวติ สดใส ๘) ดูละครโทรทัศน์ ๑๒) ดูรายการคบเด็กสร้างบ้าน

ช่วยให้มีควำมสนุกสนำน
ช่วยพัฒนำด้ำนสติ ปัญญำ ช่วยพัฒนำด้ำนสังคม ช่วยพัฒนำจิ ตใจ
เพลิ ดเพลิ นใจ

ตอนที่ ๒
คำชี้แจง ให้นกั เรียนนาพยัญชนะ ก-ฉ หน้าข้อความมาเติมลงในช่องว่างให้ใจความมีความสัมพันธ์กนั

ก. วางใจเป็ นกลาง ค. ฟงั และดูอย่างตัง้ ใจและอดทน จ. การซักถาม


ข. มีจดุ มุง่ หมายในการฟงั ง. ตอบสนองผูพ้ ดู ฉ. ไม่รบกวนสมาธิผอู้ ่นื

๑) ใช้วจิ ารณญาณในการฟงั
๒) มีสมาธิในการฟงั
๓) แสดงความสนใจในเรือ่ งทีฟ่ งั
๔) ไม่ทาให้มเี สียงอื่นแทรกในขณะทีก่ าลังฟงั
๕) กาหนดว่าต้องการฟงั เพื่ออะไร ฟงั ทาไม
๖) ให้กระทาเมือ่ เกิดข้อสงสัย ไม่มเี จตนาทดสอบผูพ้ ดู
๗) มีจติ ใจจดจ่อกับเรือ่ งทีฟ่ งั
๘) อดทนต่ออุปสรรคทีข่ ดั ขวางการฟงั และดู
๑๔๗

แบบประเมิ น กำรนำเสนอผลงำน
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการทีก่ าหนด แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ เนื้อหาละเอียดชัดเจน
๒ ความถูกต้องของเนื้อหา
๓ ภาษาทีใ่ ช้เข้าใจง่าย
๔ ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการนาเสนอ
๕ วิธกี ารนาเสนอผลงาน
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดั เจน ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบำงส่วน ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๔๘

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนกลุ่ม


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน
ช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

กำรมี
กำรแสดง กำรทำงำน
กำรยอมรับ ส่วนร่วมใน รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ควำม ตำมที่ได้รบั ควำมมีน้ำใจ
ฟังคนอื่น กำรปรับปรุง ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน คิ ดเห็น มอบหมำย
ผลงำนกลุ่ม คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๔๙

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๑-๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย หลักการฟังและดูสื่อ (สื่อในชีวิตประจาวัน) จานวน ๑ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู การพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึก
ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๒ วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และความน่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่อต่าง ๆ
ม ๒/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

๒. สาระสาคัญ
การวิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผลเพื่อนาข้อคิดมาใช้ในชีวิตประจาวัน ต้องมีความรู้เกี่ยวกับ
สื่อต่าง ๆ วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และความน่าเชื่อถือของข่าวสาร และมีมารยาทในการฟังและการดู

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสื่อในชีวิตประจาวัน
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนอธิบายความรู้เกี่ยวกับสื่อในชีวิตประจาวันได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการฟัง และการดู

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ การพูดวิเคราะห์และวิจารณ์จากเรื่องที่ฟังและดู
๔.๒ มารยาทในการฟัง การดู

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๑๕๐

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๓ มีวินัย

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ ใบงาน เรื่อง สื่อในชีวิตประจาวัน

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ตรวจใบงาน เรื่อง สื่อในชีวิตประจาวัน ใบงาน เรื่อง สื่อในชีวิตประจาวัน ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์

๙. การบูรณาการ
-

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูสนทนากับนักเรียนเรื่องสื่อที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
๒. ครูถามนักเรียนว่า สื่อชนิดใดใช้ง่ายและมีราคาย่อมเยา และสื่อชนิดใดที่นาเสนอข่าวสารต่าง ๆ ได้อย่าง
รวดเร็ว
๓. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเรื่อง การสื่อสารในยุคคอมพิวเตอร์
ขั้นสอน
๔. นั ก เรี ย นแต่ ล ะกลุ่ ม (กลุ่ ม เดิ ม จากแผนการจั ด การเรี ย นรู้ ที่ แ ล้ ว ) ร่ ว มกั น ศึ ก ษาความรู้ เรื่ อ ง สื่ อ ใน
ชีวิตประจาวันจากหนังสือเรียน
๕. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเรื่อง สื่อในชีวิตประจาวัน จนมีความเข้าใจกระจ่างชัด
๖. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทาใบงาน เรื่อง สื่อในชีวิตประจาวัน สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มหมุนเวียนเปลี่ยน
หน้าที่กันในการตอบคาถามแต่ละข้อในใบงานจนเสร็จครบทุกข้อ แล้วนาส่งครูตรวจ
ขั้นสรุป
๗. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง สื่อในชีวิตประจาวัน แล้วเขียนบันทึกลงในสมุด
๑๕๑

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ สานักพิมพ์วัฒนาพานิช
๑๑.๒ ใบงาน เรื่อง สื่อในชีวิตประจาวัน

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุด

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(..........................................................)
ตาแหน่ง.......................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.......................................................
(....................................................)
ผู้สอน
................/...................../...................
๑๕๒

ใบงานที่
๕.๒ สื่อในชีวิตประจำวัน
คำชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้

๑. สื่อสิง่ พิมพ์ หมายถึงอะไร

๒. หนังสือพิมพ์รายวันให้ข่าวสารทางด้านใด

๓. ข้อดีของหนังสือพิมพ์ คืออะไร

๔. วิทยุ โทรทัศน์จดั เป็นสื่อประเภทใด

๕. จุดเด่นของสื่อวิทยุโทรทัศน์ คืออะไร

๖. ข้อดีของการฟงั และดูรายการทางสื่อวิทยุโทรทัศน์ทม่ี คี ุณค่า คืออะไร

๗. ประโยชน์ของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต คืออะไร

๘. ข้อดีของคอมพิวเตอร์ คืออะไร
๑๕๓

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนกลุ่ม


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน
ช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

กำรแก้ไข
ควำม กำรแสดง
กำรรับฟัง ควำมตัง้ ใจ ปัญหำ/หรือ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ร่วมมือกัน ควำม
ควำมคิ ดเห็น ทำงำน ปรับปรุง ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน ทำกิ จกรรม คิ ดเห็น
ผลงำนกลุ่ม คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๕๔

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๑-๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย หลักการฟังและดูสื่อ (หลักการฟังและการดูสื่ออย่างมีประสิทธิภาพ) จานวน ๒ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู การพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึก
ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๒ วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และความน่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่อต่าง ๆ
ม ๒/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

๒. สาระสาคัญ
การวิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่ฟังและดู และการวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ต้องมีความรู้เรื่องหลักการฟัง
การดู และมีมารยาทในการฟังและการดู

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเกีย่ วกับหลักการฟังและการดูสื่อ
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนอธิบายความรู้เกี่ยวกับหลักการฟังและการดูสื่อได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการฟัง และการดู

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ การพูดวิเคราะห์และวิจารณ์จากเรื่องที่ฟังและดู
๔.๒ มารยาทในการฟัง การดู

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๑๕๕

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๓ มีวินัย

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ ใบงาน เรื่อง หลักการฟังและการดูสื่ออย่างมีประสิทธิภาพ

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ตรวจใบงาน เรื่อง หลักการฟังและการดูสื่อ ใบงาน เรื่อง หลักการฟังและการดูสื่ อ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างมีประสิทธิภาพ
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทางาน แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล
สังเกตการพูดวิเคราะห์ข่าวที่สนใจ แบบประเมินการพูดวิเคราะห์ข่าวที่ ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
สนใจ

๙. การบูรณาการ
-

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูนาข่าวการใช้ภาษาอังกฤษของไทย มาแจกให้นักเรียนอ่าน นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า ข่าวนี้
เป็นที่เชื่อถือได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
๒. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า การที่จะบอกถึงความน่าเชื่อถือของข่าวได้นั้น นักเรียนจะต้องมี
ความสามารถในการวิเคราะห์ข่าว ซึ่งเกิดจากการฟังและดูข่าวอย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นสอน
๓. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ แล้ว) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง หลักการฟังและ
การดูสื่ออย่างมีประสิทธิภาพ จากหนังสือเรียน และห้องสมุด
๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายสรุปความรู้เรื่อง หลักการฟังและการดูสื่ออย่างมีประสิทธิภาพ
๑๕๖

๕. นักเรียนทาใบงาน เรื่อง หลักการฟังและการดูสื่ออย่างมีประสิทธิภาพ เป็นรายบุคคล เมื่อทาเสร็จแล้วให้


นาส่งครูตรวจ
๖. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกฟังและดูข่าวเกี่ยวกับเศรษฐกิจของไทย จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศ แล้ว
ร่วมกันวิเคราะห์ข่าว
๗. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาพูดวิเคราะห์ข่าวเกี่ยวกับเศรษฐกิจของไทย หน้าชั้นเรียน
๘. ครูให้นักเรียนกลุ่มอื่นพูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข่าวของเพื่อน
ขั้นสรุป
๙. ครูตรวจสอบและประเมินการพูดวิเคราะห์ข่าวของนักเรียน แต่ละกลุ่ม รวมถึงการให้คาแนะนาเพิ่มเติม

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ สานักพิมพ์วัฒนาพานิช
๑๑.๒ ข่าวการใช้ภาษาอังกฤษของไทย และข่าวเกี่ยวกับเศรษฐกิจของไทย
๑๑.๓ ใบงาน เรื่อง หลักการฟังและการดูสื่ออย่างมีประสิทธิภาพ

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุด
๑๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://www.thairath.co.th/eco
- http://paidoo.net/q.php?s=เศรษฐกิจไทย&orderby=&date=&owner=&section=ข่าวด่วน
๑๕๗

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(..........................................................)
ตาแหน่ง.......................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.......................................................
(....................................................)
ผู้สอน
................/...................../...................
๑๕๘

ตัวอย่างข่าว

ข่ำวกำรใช้ภำษำอังกฤษของไทย
ผลวิจยั ต่างประเทศเผยสวีเดนคว้าแชมป์เป็ นประเทศทีใ่ ช้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาที่ ๒ ได้ดที ส่ี ดุ –ไทยใช้
ภาษาอังกฤษแย่ รัง้ อันดับรองสุดท้าย
เมื่อวันที่ ๓๐ ตุลาคม บริษทั เอดูเคชันเฟิ ่ รส์ ต์ได้เปิ ดเผยผลการวิจยั จัดอันดับความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษ
ในกลุ่มประเทศทีไ่ ม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาแม่ จานวน ๕๔ ชาติ โดยสุม่ ตัวอย่างประชากรประมาณ ๑.๗ ล้าน
คน ทัวโลก ่ ซึง่ ผลปรากฏว่า
กลุ่มประเทศ ๕ อันดับทีใ่ ช้ภาษาอังกฤษได้ดที ส่ี ดุ ได้แก่
๑. สวีเดน ๒. เดนมาร์ก
๓. เนเธอร์แลนด์ ๔. ฟินแลนด์
๕. นอร์เวย์
ส่วนประเทศ ๕ อันดับทีม่ คี วามสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษต่าทีส่ ดุ ได้แก่
๑. โคลัมเบีย อันดับที่ ๕๐ ๒. ปานามา อันดับที่ ๕๑
๓. ซาอุดอี าระเบีย อันดับที่ ๕๒ ๔. ไทย อันดับที่ ๕๓
๕. ลิเบีย อันดับที่ ๕๔
ทัง้ นี้การวิจยั นี้ยงั ได้สรุปด้วยว่า ความสามารถด้านการสือ่ สารภาษาอังกฤษของประชากรในชาติเป็ นปจั จัย
สาคัญต่อการค้านวัตกรรม และรายได้ของชาตินนั ้ ๆ ถ้าหากการใช้ภาษาอังกฤษค่อนข้างต่าศักยภาพของประเทศใน
ด้านต่างๆ ก็จะกระทบตามไปด้วย
นอกจากนี้ ผลการวิจยั ของเอดูเคชันเฟิ ่ รส์ ต์ยงั ตัง้ ข้อสังเกตว่า ส่วนใหญ่แล้วผูห้ ญิงใช้ภาษาอังกฤษได้ดกี ว่า
ผูช้ าย ซึง่ ช่องว่างระหว่างทัง้ สองเพศในการใช้ภาษาอังกฤษนี้เห็นได้ชดั เจนทีส่ ดุ ในประเทศแถบทวีปแอฟริกาเหนือ
และภูมภิ าคตะวันออกกลาง

ที่มำ : http://education.kapook.com/view๔๙๙๕๓.html
๑๕๙

ใบงาน หลักกำรฟังและกำรดูสื่ออย่ำงมีประสิทธิภำพ
คำชี้แจง ให้นกั เรียนอธิบายข้อความต่อไปนี้มาพอสังเขป

๑. หลักการฟงั และการดูส่อื

๒. การวิเคราะห์องค์ประกอบของการสื่อสาร

๓. การวิเคราะห์ขอ้ เท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรือ่ งทีฟ่ งั และดู


๑๖๐

แบบประเมินกำรพูดวิเครำะห์ข่ำวที่สนใจ
ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
การวิเคราะห์ขอ้ เท็จจริง ข้อคิดเห็น และความ

น่าเชื่อถือของข่าว
การวิเคราะห์และวิจารณ์ขา่ วอย่างมีเหตุผล เพื่อ

นาข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวติ
๓ มีมารยาทในการพูด
รวม

ลงชื่อ...................................................ผูป้ ระเมิน
............../.................../................

เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ
เกณฑ์กำรให้คะแนน
ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ดีมาก = ๔ คะแนน
ดี = ๓ คะแนน ๑๑ - ๑๒ ดีมาก
พอใช้ = ๒ คะแนน ๙ - ๑๐ ดี
ปรับปรุง = ๑ คะแนน ๖-๘ พอใช้
ต่ากว่า ๖ ปรับปรุง
๑๖๑

แบบประเมิ น กำรนำเสนอผลงำน
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการทีก่ าหนด แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ ความถูกต้องของเนื้อหา
๒ ความคิดสร้างสรรค์
๓ วิธกี ารนาเสนอผลงาน
๔ การนาไปใช้ประโยชน์
๕ การตรงต่อเวลา
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดั เจน ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบำงส่วน ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๖๒

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนรำยบุคคล


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน
ช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ควำมตัง้ ใจ ควำม กำรตรงต่อ ควำมสะอำด ผลสำเร็จ รวม


ลำดับ ชื่อ-สกุล
ในกำรทำงำน รับผิดชอบ เวลำ เรียบร้อย ของงำน ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน
คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๖๓

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนกลุ่ม


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน
ช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

กำรแก้ไข
ควำม กำรแสดง
กำรรับฟัง ควำมตัง้ ใจ ปัญหำ/หรือ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ร่วมมือกัน ควำม
ควำมคิ ดเห็น ทำงำน ปรับปรุง ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน ทำกิ จกรรม คิ ดเห็น
ผลงำนกลุ่ม คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๖๔

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๒-๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย ประโยคและการสื่อสาร (ประโยคในภาษาไทย) จานวน ๒ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๒ วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซ้อน

๒. สาระสาคัญ
การศึกษาเรื่องประโยคในภาษาไทย ต้องวิเคราะห์โครงสร้างประโยคให้ถูกต้อง

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงสร้างประโยคในภาษาไทย
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนวิเคราะห์โครงสร้างประโยคในภาษาไทยได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ ลักษณะของประโยคในภาษาไทย
๔.๒ มารยาทในการเขียน

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๓ มีวินัย
๑๖๕

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


-

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
- - -
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทางาน แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
-

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูนาพาดหัวข่าวหนังสือพิมพ์รายวัน ๒-๓ ฉบับ มาให้นักเรียนอ่าน นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า
ข้อความที่เป็นพาดหัวข่าวหนังสือพิมพ์นั้นเป็นประโยคหรือไม่
ขั้นสอน
๒. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่แล้ว) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ความหมายของ
ประโยค และส่วนประกอบของประโยค จากหนังสือเรียน ห้องสมุด และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
๓. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มนาเสนอผลการศึกษาความรู้เรื่องความหมายของประโยค และส่วนประกอบของ
ประโยคมาถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในกลุ่ม
๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายสรุปความรู้จากการถ่ายทอดของสมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม
๕. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทาผังมโนทัศน์เรื่องความหมายของประโยค และส่วนประกอบของประโยค
๖. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานการทาผังมโนทัศน์ หน้าชั้นเรียน
ขั้นสรุป
๗. ครูตรวจสอบและประเมินผลการทาผังมโนทัศน์เรื่อง ความหมายของประโยค และส่ วนประกอบของ
ประโยคของนักเรียนแต่ละกลุ่ม รวมถึงการให้คาแนะนาเพิ่มเติม
๑๖๖

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ สานักพิมพ์วัฒนาพานิช
๑๑.๒ หนังสือพิมพ์รายวัน

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุด
๑๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://www.oknation.net/blog/print.php?id=๓๗๙๔๑
- http://prayok-prayok-๑๕๔.exteen.com/๒๐๑๐๐๘๑๖/entry-๑

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(..........................................................)
ตาแหน่ง.......................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.......................................................
(....................................................)
ผู้สอน
................/...................../...................
๑๖๗

แบบประเมิ น กำรนำเสนอผลงำน
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการทีก่ าหนด แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ เนื้อหาละเอียดชัดเจน
๒ ความถูกต้องของเนื้อหา
๓ ภาษาทีใ่ ช้เข้าใจง่าย
๔ ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการนาเสนอ
๕ วิธกี ารนาเสนอผลงาน
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดั เจน ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบำงส่วน ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๖๘

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนรำยบุคคล


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน
ช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ควำมตัง้ ใจ ควำม กำรตรงต่อ ควำมสะอำด ผลสำเร็จ รวม


ลำดับ ชื่อ-สกุล
ในกำรทำงำน รับผิดชอบ เวลำ เรียบร้อย ของงำน ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน
คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๖๙

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนกลุ่ม


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน
ช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

กำรแก้ไข
ควำม กำรแสดง
กำรรับฟัง ควำมตัง้ ใจ ปัญหำ/หรือ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ร่วมมือกัน ควำม
ควำมคิ ดเห็น ทำงำน ปรับปรุง ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน ทำกิ จกรรม คิ ดเห็น
ผลงำนกลุ่ม คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๗๐

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๒-๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย ประโยคและการสื่อสาร (ชนิดของประโยคแบ่งตามโครงสร้าง) จานวน ๒ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๒ วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซ้อน

๒. สาระสาคัญ
การศึกษาเรื่องชนิดของประโยค ต้องวิเคราะห์โครงสร้างของประโยคแต่ละชนิดได้

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงสร้างประโยคในภาษาไทย
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนวิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซ้อนได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ ลักษณะของประโยคในภาษาไทย
๔.๒ มารยาทในการเขียน

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๓ มีวินัย
๑๗๑

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ ใบงาน เรื่อง ชนิดของประโยคแบ่งตามโครงสร้าง

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ตรวจใบงาน เรื่อง ชนิดของประโยคแบ่งตาม ใบงาน เรื่อง ชนิดของประโยคแบ่งตาม ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
โครงสร้าง โครงสร้าง
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทางาน แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
-

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูทบทวนเรื่องประโยคที่เคยเรียนไปแล้ว จากนั้นซักถามนักเรียนเรื่อง ส่วนประกอบของประโยคว่า มี
ส่วนประกอบใดบ้าง ส่วนประกอบภาคประธานและภาคแสดงมีลักษณะอย่างไร
๒. ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่อง ชนิดของประโยคแบ่งตามโครงสร้าง แล้วตั้งข้อสังเกต วิเคราะห์ข้อมูล ทาความ
เข้าใจในสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ และตั้งคาถามเพื่อแสวงหาคาตอบ
ขั้นสอน
๓. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันตั้งคาถามในประเด็นต่าง ๆ ของประโยคแบ่งตามโครงสร้าง และช่วยกันวางแผน
กาหนดแนวทางค้นหาคาตอบ
๔. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ แล้ว) ร่วมกันค้นคว้าเพื่อตอบคาถามในประเด็น
ต่าง ๆ จากหนังสือเรียน และห้องสมุด ตามแผนปฏิบัติงานที่กลุ่มวางไว้
๕. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาความรู้ที่ค้นคว้ามารายงานในกลุ่ม จากนั้นร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูล
๖. นักเรียนพิจารณาสาระความรู้ที่ทุกคนช่วยกันค้นคว้ามารายงาน แล้วร่วมกันสรุปสาระสาคัญ
๗. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทาใบงาน เรื่อง ชนิดของประโยคแบ่งตามโครงสร้าง
๘. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียน ๒-๓ กลุ่ม นาเสนอคาตอบในใบงาน ครูตรวจสอบความถูกต้อง
ขั้นสรุป
๙. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุปความรู้เรื่อง ชนิดของประโยคแบ่งตามโครงสร้าง
๑๗๒

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ สานักพิมพ์วัฒนาพานิช
๑๑.๒ ใบงาน เรื่อง ชนิดของประโยคแบ่งตามโครงสร้าง

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุด

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(..........................................................)
ตาแหน่ง.......................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.......................................................
(....................................................)
ผู้สอน
................/...................../...................
๑๗๓

ใบงาน ชนิดของประโยคแบ่งตำมโครงสร้ำง
คำชี้แจง ให้นกั เรียนแต่งประโยคชนิดต่างๆ ต่อไปนี้

๑. ประโยค ๑.๑ ประโยคสามัญ


สามัญ ทีม่ กี ริยาวลีเดียว
๑.๒ ประโยคสามัญ
ทีม่ หี ลายกริยาวลี
๒. ประโยคซ้อน ๒.๑ ประโยคซ้อน
ทีม่ นี ามานุ ประโยค
๒.๒ ประโยคซ้อน
ทีม่ คี ุณานุประโยค
๒.๓ ประโยคซ้อน
ทีม่ วี เิ ศษณานุ ประโยค
๓. ประโยครวม ๓.๑ ประโยครวมจากประโยค
สามัญ
และประโยคสามัญ
๓.๒ ประโยครวมจากประโยค
สามัญ
และประโยคซ้อน
๓.๓ ประโยครวมจากประโยคซ้อน
และประโยคสามัญ
๓.๔ ประโยครวมจากประโยคซ้อน
และประโยคซ้อน
๑๗๔

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนกลุ่ม


ชื่อกลุ่ม ชัน้

คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง


ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ การแบ่งหน้าทีก่ นั อย่างเหมาะสม
๒ ความร่วมมือกันทางาน
๓ การแสดงความคิดเห็น
๔ การรับฟงั ความคิดเห็น
๕ ความมีน้าใจช่วยเหลือกัน
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๗๕

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๒-๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย ประโยคและการสื่อสาร (ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา) จานวน ๑ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๒ วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซ้อน

๒. สาระสาคัญ
การศึกษาเรื่องชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ต้องวิเคราะห์โครงสร้างของประโยคให้ถูกต้อง

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงสร้างประโยคในภาษาไทย
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนวิเคราะห์โครงสร้างวิเคราะห์โครงสร้างของประโยคแบ่งตามเจตนาได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการเขียน

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ ลักษณะของประโยคในภาษาไทย
๔.๒ มารยาทในการเขียน

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๓ มีวินัย
๑๗๖

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


-

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
- - -
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์

๙. การบูรณาการ
-

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูสนทนากับนักเรียนโดยใช้ประโยคชนิดต่าง ๆ แบ่งตามเจตนา ๒-๓ ประโยค
๒. นักเรียนสังเกตว่า การที่ครูใช้ประโยคนั้น ๆ ครูมีเจตนาอย่างไร
๓. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่า ในการเรียนชั่วโมงนี้ ให้นักเรียนศึกษาเรื่อง ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา
แล้วบอกความหมายของการแบ่งประโยคตามเจตนา วิธีแบ่งออกเป็นชนิดต่าง ๆ และลักษณะของประโยคแต่ละชนิด
ขั้นสอน
๔. ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนดความมุ่งหมายของการทางานและวิธีการทางานในแต่ละกลุ่ม
๕. ครูเสนอแนะแหล่งวิท ยาการที่ใช้ค้นคว้าหาความรู้ ได้แก่ หนังสือเรียน หนังสือชุดบรรทัดฐานภาษาไทย
เล่ม ๓ ของสถาบันภาษาไทย กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ และห้องสมุด
๖. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่แล้ว) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ชนิดของประโยค
แบ่งตามเจตนา และปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๗. สมาชิกแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันภายในกลุ่ม จากนั้นให้
นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้
๘. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานผลการปฏิบัติงานและนาเสนอองค์ความรู้เรื่อง ชนิดของประโยคแบ่ง
ตามเจตนา หน้าชั้นเรียน
ขั้นสรุป
๙. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการศึกษาความรู้เรื่อง ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา และแนวทางใน
การพัฒนาปรับปรุงการทางาน
๑๗๗

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ สานักพิมพ์วัฒนาพานิช
๑๑.๒ หนังสือชุดบรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม ๓ ของสถาบันภาษาไทย กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุด

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(..........................................................)
ตาแหน่ง.......................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.......................................................
(....................................................)
ผู้สอน
................/...................../...................
๑๗๘

แบบประเมิ น กำรนำเสนอผลงำน
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการทีก่ าหนด แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ นาเสนอเนื้อหาในผลงานได้ถูกต้อง
๒ การลาดับขัน้ ตอนของเนื้อเรื่อง
๓ การนาเสนอมีความน่าสนใจ
๔ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
๕ การตรงต่อเวลา
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดั เจน ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบำงส่วน ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๗๙

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนกลุ่ม


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน
ช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

กำรแก้ไข
ควำม กำรแสดง
กำรรับฟัง ควำมตัง้ ใจ ปัญหำ/หรือ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ร่วมมือกัน ควำม
ควำมคิ ดเห็น ทำงำน ปรับปรุง ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน ทำกิ จกรรม คิ ดเห็น
ผลงำนกลุ่ม คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๘๐

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๓-๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย การพูดสรุปความจากสื่อที่ฟังและดู จานวน ๒ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู การพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึก
ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

๒. สาระสาคัญ
การพูดที่ดีผู้พูดต้องมีความรู้เกี่ยวกับการพูด และมีมารยาทในการพูด

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพูด
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนบอกความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพูดได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการพูด

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ มารยาทในการฟัง การดู และการพูด

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๓ มีวินัย
๑๘๑

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ ใบงาน เรื่อง ความรู้พื้นฐานในการพูด

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
ตรวจใบงาน เรื่อง ความรู้พื้นฐานในการพูด ใบงาน เรื่อง ความรู้พื้นฐานในการพูด ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทางาน แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
-

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูสนทนากับนักเรียนโดยใช้ประโยคชนิดต่าง ๆ แบ่งตามเจตนา ๒-๓ ประโยค
๒. นักเรียนสังเกตว่า การที่ครูใช้ประโยคนั้น ๆ ครูมีเจตนาอย่างไร
๓. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่า ในการเรียนชั่วโมงนี้ ให้นักเรียนศึกษาเรื่อง ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา
แล้วบอกความหมายของการแบ่งประโยคตามเจตนา วิธีแบ่งออกเป็นชนิดต่าง ๆ และลักษณะของประโยคแต่ละชนิด
ขั้นสอน
๔. ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนดความมุ่งหมายของการทางานและวิธีการทางานในแต่ละกลุ่ม
๕. ครูเสนอแนะแหล่งวิทยาการที่ใช้ค้นคว้าหาความรู้ ได้แก่ หนังสือเรียน หนังสือชุดบรรทัดฐานภาษาไทย
เล่ม ๓ ของสถาบันภาษาไทย กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ และห้องสมุด
๖. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่แล้ว) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ชนิดของประโยค
แบ่งตามเจตนา และปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๗. สมาชิกแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันภายในกลุ่ม จากนั้นให้
นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้
๘. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานผลการปฏิบัติงานและนาเสนอองค์ความรู้เรื่อง ชนิดของประโยคแบ่ง
ตามเจตนา หน้าชั้นเรียน
๑๘๒

ขั้นสรุป
๙. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการศึกษาความรู้เรื่อง ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา และแนวทางใน
การพัฒนาปรับปรุงการทางาน

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ สานักพิมพ์วัฒนาพานิช
๑๑.๒ หนังสือชุดบรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม ๓ ของสถาบันภาษาไทย กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุด

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(..........................................................)
ตาแหน่ง.......................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.......................................................
(....................................................)
ผู้สอน
................/...................../...................
๑๘๓

ใบงาน ควำมรู้พนื้ ฐำนในกำรพูด


ตอนที่ ๑
คำชี้แจง ให้นกั เรียนนาพยัญชนะ ก-ง หน้าข้อความมาเติมลงในช่องว่างให้ใจความสัมพันธ์กนั

ก. ความหมายของการพูด ค. คุณสมบัตขิ องผูพ้ ดู


ข. องค์ประกอบของการพูด ง. มารยาทในการพูด

๑) การถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความต้องการของผูพ้ ดู ไปยังผูร้ บั สาร


๒) มีความประพฤติดี มีคุณธรรม
๓) เนื้อเรือ่ งทีจ่ ะถ่ายทอดต้องมีความถูกต้อง ชัดเจน
๔) รับผิดชอบต่อคาพูดของตน
๕) มีความเชื่อมันในความรู
่ ค้ วามคิดของตน
๖) ผูร้ บั สารทีผ่ พู้ ดู ถ่ายทอดมาให้ ซึง่ ผูฟ้ งั ต้องตัง้ ใจฟงั อย่างมีสมาธิ
๗) นังหรื
่ อยืนตัวตรง สง่าผึง่ ผาย
๘) ต้องรูจ้ กั ผูฟ้ งั
๙) รูจ้ กั ควบคุมอารมณ์ของตนเองให้เป็นปกติอยูเ่ สมอ
๑๐) ผูท้ ต่ี อ้ งการแสดงความสามารถในการถ่ายทอดความรูไ้ ปสู่ผฟู้ งั

ตอนที่ ๒
คำชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้

 นักเรียนคิดว่าคุณสมบัตขิ องผูพ
้ ดู ข้อใดสาคัญทีส่ ุด จงอธิบายและยกเหตุผลประกอบ
๑๘๔

แบบประเมิ น กำรนำเสนอผลงำน
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการทีก่ าหนด แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ เนื้อหาละเอียดชัดเจน
๒ ความถูกต้องของเนื้อหา
๓ ภาษาทีใ่ ช้เข้าใจง่าย
๔ ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการนาเสนอ
๕ วิธกี ารนาเสนอผลงาน
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดั เจน ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบำงส่วน ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๘๕

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนรำยบุคคล


ชื่อ ชัน้

คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง


ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ การแสดงความคิดเห็น
๒ การยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ่นื
๓ การทางานตามหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย
๔ ความมีน้าใจ
๕ การตรงต่อเวลา
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๘๖

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนกลุ่ม


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน
ช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

กำรมี
กำรแสดง กำรทำงำน
กำรยอมรับ ส่วนร่วมใน รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ควำม ตำมที่ได้รบั ควำมมีน้ำใจ
ฟังคนอื่น กำรปรับปรุง ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน คิ ดเห็น มอบหมำย
ผลงำนกลุ่ม คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๘๗

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๓-๒ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย การพูดสรุปความจากสื่อที่ฟังและดู จานวน ๒ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู การพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึก
ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๑ พูดสรุปใจความสาคัญของเรื่องที่ฟังและดู
ม ๒/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

๒. สาระสาคัญ
การพูดสรุปใจความจากสื่อ ต้องมีความรู้เรื่องหลักการฟัง การดู และการพูด และมีมารยาทในการฟัง การดู
และการพูด

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพูดสรุปใจความจากสื่อที่ฟังและดู
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนพูดสรุปใจความจากสื่อที่ฟังและดูได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการพูด

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ การพูดสรุปความจากเรื่องที่ฟังและดู
๔.๒ มารยาทในการฟัง การดู และการพูด

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๑๘๘

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๓ มีวินัย

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ พูดสรุปความพรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
- - -
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์

๙. การบูรณาการ
บูรณาการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่แล้ว) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง หลักการพูดสรุป
ความจากสื่อ จากหนังสือเรียน
ขั้นสอน
๒. ครูกาหนดให้นักเรียนแต่ละกลุ่มฟังและดูวีดิทัศน์สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี แล้วสรุป
ความ เพื่อนามาพูดหน้าชั้นเรียน
๓. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี แล้วให้นักเรียนร่วมกันแสดง
ความคิดเห็น
๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนสืบค้นสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
๕. สมาชิกแต่ละกลุ่มสืบค้นรายการเกี่ยวกับสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรีจากแหล่งข้อมูล
สารสนเทศ ตามแผนปฏิบัติงานที่ได้วางแผนไว้
๖. สมาชิกแต่ละกลุ่ มฟังและดูรายการเกี่ยวกับสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี แล้ วสรุป
ใจความสาคัญของเรื่อง เช่น จุดหมายของเรื่อง ความสาคัญ ประโยชน์ การอนุรักษ์
๑๘๙

๗. นักเรียนแต่ละกลุ่มสังเคราะห์ข้อความที่ได้จากการสืบค้นมาเรียบเรียงเนื้อหาใหม่ให้มีความกระชับชัดเจน
สละสลวย
๘. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มพูดสรุปใจความสาคัญจากเรื่องที่ฟังและดูหน้าชั้นเรียน
ขั้นสรุป
๙. ครูประเมินการพูดสรุปใจความสาคัญของนักเรียนแต่ละกลุ่ม

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ สานักพิมพ์วัฒนาพานิช
๑๑.๒ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุด
๑๒.๒ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
๑๙๐

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(..........................................................)
ตาแหน่ง.......................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.......................................................
(....................................................)
ผู้สอน
................/...................../...................
๑๙๑

แบบประเมิ น กำรนำเสนอผลงำน
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการทีก่ าหนด แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ นาเสนอเนื้อหาในผลงานได้ถูกต้อง
๒ การลาดับขัน้ ตอนของเนื้อเรื่อง
๓ การนาเสนอมีความน่าสนใจ
๔ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
๕ การตรงต่อเวลา
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดั เจน ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบำงส่วน ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๙๒

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนกลุ่ม


ชื่อกลุ่ม ชัน้

คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง


ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ การแบ่งหน้าทีก่ นั อย่างเหมาะสม
๒ ความร่วมมือกันทางาน
๓ การแสดงความคิดเห็น
๔ การรับฟงั ความคิดเห็น
๕ ความมีน้าใจช่วยเหลือกัน
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๙๓

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๓-๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ชื่อเรื่อง/หน่วย การพูดสรุปความจากสื่อที่ฟังและดู จานวน ๒ คาบเรียน
วิชา ภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้สอน นางสาวจริยา พ่วงจีน
๑. สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู การพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึก
ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวชี้วัดที่ ม ๒/๓ วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล เพื่อนาข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการ
ดาเนินชีวิต
ม ๒/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

๒. สาระสาคัญ
การพูดวิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่ฟังและดู เพื่อนาข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต ต้องมีความรู้
เรื่องหลักการฟัง การดู และการพูด และมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้(K)
๓.๑.๑ นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพูดวิเคราะห์วิจารณ์จากสื่อที่ฟังและดู
๓.๒ ด้านทักษะ(P)
๓.๒.๑ นักเรียนพูดพูดวิเคราะห์วิจารณ์จากสื่อที่ฟังและดูได้
๓.๓ ด้านเจตคติ(A)
๓.๓.๑ มีมารยาทในการพูด

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ การพูดวิเคราะห์วิจารณ์จากสื่อที่ฟังและดู
๔.๒ มารยาทในการฟัง การดู และการพูด

๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒ ความสามารถในการคิด
๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๑๙๔

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ ใฝ่เรียนรู้
๖.๒ มุ่งมั่นในการทางาน
๖.๓ มีวินัย

๗. ชิ้นงาน / ภาระ / ผลงาน


๗.๑ พูดสรุปความพรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี

๘. การวัดและประเมินผล
๘.๑ การวัดพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
- - -
๘.๒ การวัดสมรรถนะ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีวัดประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การตัดสิน
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทางาน แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบุคคล

๙. การบูรณาการ
-

๑๐. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่แล้ว) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง การพูดวิเคราะห์
วิจารณ์จากสื่อที่ฟังและดู จากหนังสือเรียน
ขั้นสอน
๒. ครูกาหนดประเด็นปัญหาให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกฟัง พระธรรมเทศนาจากแหล่งข้อมูลสารสนเทศ กลุ่ม
ละ ๑ เรื่องเพื่อวิเคราะห์วิจารณ์
๓. นักเรียนแต่ละกลุ่มฟังและดูเรื่องที่จะวิเคราะห์อย่างตั้งใจ แยกแยะข้อมูลอย่างละเอียด พิจารณาว่าส่วนใด
เป็นประโยชน์ในการนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต
๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันจัดระบบความคิดแล้วนาเสนอผลการวิเคราะห์วิจารณ์ โดยยกเหตุผลประกอบ
ให้ชัดเจน
๕. นักเรียนแต่ละกลุ่มทานาย หรือพยากรณ์วิธีการนาข้อคิดไปแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นว่า เมื่อเกิดแล้วผลเป็น
อย่างไรและแก้ไขอย่างไร
๖. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปข้อคิดที่ได้จากการวิเคราะห์วิจารณ์ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต
๑๙๕

ขั้นสรุป
๗. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอข้อคิดที่ได้จากการวิเคราะห์วิจารณ์ ครูและนัก เรียนกลุ่มอื่นร่วมกัน
ตรวจสอบและแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม

๑๑. สื่อการเรียนการสอน
๑๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๒ สานักพิมพ์วัฒนาพานิช

๑๒. แหล่งเรียนรู้
๑๒.๑ ห้องสมุด
๑๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://www.fungdham.com/sound/vorvachiramete.html
- http://www.watpathumkongka.com/html/sound_wachiramedhi.html
- http://www.trueplookpanya.com/true/ethic_list.php?cms_category_id=๘๐
- http://www.phuttha.com/สื่อธรรมะ/พระธรรมเทศนา/รวมธรรมะฟังสบาย-โดย-พระ
อาจารย์ประสงค์-ปริปุณฺโณ
๑๙๖

๑๓. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หรือฝ่ายวิชาการ / หรือผู้ที่รับมอบหมาย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.............................................................
(..........................................................)
ตาแหน่ง.......................................................

๑๔. บันทึกผลหลังสอน
๑๔.๑ ผลการวัดผลและประเมินผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๒ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๔.๓ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ.......................................................
(....................................................)
ผู้สอน
................/...................../...................
๑๙๗

แบบประเมิ น กำรนำเสนอผลงำน
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการทีก่ าหนด แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รำยกำรประเมิ น
๔ ๓ ๒ ๑
๑ ความถูกต้องของเนื้อหา
๒ ความคิดสร้างสรรค์
๓ วิธกี ารนาเสนอผลงาน
๔ การนาไปใช้ประโยชน์
๕ การตรงต่อเวลา
รวม

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดั เจน ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบำงส่วน ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมำก ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๙๘

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนรำยบุคคล


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน
ช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ควำมตัง้ ใจ ควำม กำรตรงต่อ ควำมสะอำด ผลสำเร็จ รวม


ลำดับ ชื่อ-สกุล
ในกำรทำงำน รับผิดชอบ เวลำ เรียบร้อย ของงำน ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน
คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๑๙๙

แบบสังเกตพฤติ กรรม กำรทำงำนกลุ่ม


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงใน
ช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

กำรแก้ไข
ควำม กำรแสดง
กำรรับฟัง ควำมตัง้ ใจ ปัญหำ/หรือ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ร่วมมือกัน ควำม
ควำมคิ ดเห็น ทำงำน ปรับปรุง ๒๐
ที่ ของผู้รบั กำรประเมิน ทำกิ จกรรม คิ ดเห็น
ผลงำนกลุ่ม คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

ลงชื่อ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์กำรให้คะแนน เกณฑ์กำรตัดสิ นคุณภำพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่ำงสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ ๑ คะแนน ๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
๒๐๐

You might also like