You are on page 1of 78

วรรณคดี

สมัยอยุธยาตอนปลาย
พ.ศ.2231-2310
การปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย คือ
ตั้งแต่ พ.ศ.1991 ในสมัยของสมเด็จ
พระบรมไตรโลกนาถ ถึงเสียกรุงศรีอยุธยา
พ.ศ.2310 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
ครองราชย์ พระองค์ได้ปฏิรูปการปกครองเสียใหม่
การปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย คือ
ตั้งแต่ พ.ศ.1991 ในสมัยของสมเด็จ
พระบรมไตรโลกนาถ ถึงเสียกรุงศรีอยุธยา
พ.ศ.2310 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
ครองราชย์ พระองค์ได้ปฏิรูปการปกครองเสียใหม่
สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั บรมโกศ
๑ . โคลงชะลอพุทธไสยาสน์
เจ้าฟ้าอภัย
๒ . โคลงนิราศเจ้าฟ้าอภัย
เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐ์สุริยวงศ์
๓. นันโทปนันทสูตรคาหลวง
๔. พระมาลัยคาหลวง
๕. กาพย์เห่เรือ
๖. กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง
๗. กาพย์หอ่ โคลงนิราศ
๘. เพลงยาวเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
เจ้าฟ้ากุณฑล
๙. บทละครเรือ่ งดาหลัง
เจ้าฟ้ามงกุฎ
๑๐. บทละครเรือ่ งอิเหนา
พระมหานาควัดท่าทราย
๑๑. ปุณโณวาทคาฉันท์
๑๒. โคลงนิราศพระบาท
หลวงศรีปรีชา
๑๓. กลบทสิรวิ บิ ุลกิติ
*บทละครนอก ๑๓ เรื่อง และละครใน ๓ เรื่อง*
โคลงนิราศเจ้าฟ้าอภัย เป็นงานพระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าอภัย พระราชโอรสในสมเด็จ
พระเจ้าอยูห่ วั ท้ายสระ แห่งกรุงศรีอยุธยา ตับฉบับโคลงเรือ่ งนี้รวมอยูใ่ นหนังสือสมุดไทย
เลขที่ ๙ มัดที่ ๑๓ ตู้ ๑๑๔ ชั้น ๒/๕ เรื่องโคลงกวีโบราณ ลักษณะตัวอักษรทีใ่ ช้
บันทึกเป็นตัวอักษรเส้นรง ในตอนต้นสมุดไทยมีขอ้ ความว่า
“ข้าพระพุทธเจ้า พญาตรัง จ่าโคลงบุราณไว้ได้ถวาย”
ผู้แต่ง เจ้าฟ้าอภัย ( โอรสของพระเจ้าอยูห่ วั ท้ายสระ )
ลักษณะการแต่ง โคลงสีส่ ภุ าพ
วัตถุประสงค์ บันทึกการเดินทาง
เรื่องย่อ กล่าวถึงการจากกรุงศรีอยุธยาไปลพบุรี
คุณค่า โคลงนิราศเจ้าฟ้าอภัยแม้จะมีเหลืออยู่น้อยบท แต่เท่าที่มีอยู่
แสดงให้เห็นว่ามีความไพเราะในลักษณะของนิราศให้ความรู้ทางประวัติศาสตร์
ว่าเมื่อสิ้นรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแล้ว เมืองลพบุรีไม่ได้เป็น
เมืองหลวงที่ ๒ ของกรุงศรีอยุธยาอีกต่อไป
วรรณคดีเรื่องกาพย์เห่เรือ

ผู้แต่ ง เจ้ าฟ้ าธรรมธิเบศรไชยเชษฐสุ ริยวงศ์ (เจ้ าฟ้ าุุ้ง)


เป็ นโอรสของพระเจ้ าอยู่หัวบรมโุศพระราช
มารดาคือพระพันวสาใหญ่
รู ปแบบการประพันธ์

ุาพย์ เห่ เรื อมีคาประพันธ์ ๒ ชนิด คือ

๑. โคลง ๔ สุ ภาพ

๒. ุาพย์ ยานี ๑๑
ุาพย์ ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
บทนาเรื่ อง

ุาพย์ ห่อโคลงประพาสธารทองแดงเป็ นพระราชนิพนธ์ ของ


เจ้ าฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐ์ สุริยวงค์ (เจ้ าฟ้าุุ้ง) รู ปแบบคา
ประพันธ์ เป็ นุาพย์ ห่อโคลง คือ แต่ งุาพย์ ยานี 1 บท สลับุับ
โคลงสี่ สุภาพ 1 บท โดยมีเนื้อความเช่ นเดียวุัน
คาว่ า “ธารทองแดง” เป็ นชื่ อลานา้ ในบริเวณพระพุทธบาท
จังหวัดสระบุรี โดยมีเนื้อหาเล่ าเรื่ องุารเดินทางไปพระพุทธบาท
ที่มีธรรมชาติสวยงาม
⬗ พระพุทธบาทสระบุรี ประดิษฐานอยูท่ ี่เขาสุ วรรณบรรพต อาเภอพุทธบาท
จังหวัดสระบุรี ตามคติของชาวลังกาทวีป ถือว่าเป็ นบริ โภคเจดีย ์ เนื่องจากเชื่อ
ว่าเป็ นรอยพระพุทธบาทที่พระพุทธเจ้าได้เสด็จมาเหยียบไว้บนเขาสุวรรณ
บรรพต พบในสมัยพระเจ้าปราสาททองแห่งกรุ งศรี อยุธยา โดยพรานบุญเป็ น
ผูไ้ ปพบเห็นความศักดิ์สิทธิ์ ที่สามารถทาให้เนื้อที่บาดเจ็บจากการยิงธนูของ
ตน หายจากบาดเจ็บได้และตัวพรานบุญเองเมื่อนาน้ าจากรอยพระบาท
มาลูบตัว ก็ทาให้กลากเกลื้อนที่ตนเป็ นอยูห่ ายได้
เนื้อเรื่ องย่ อ
ุล่ าวถึงุารเดินทางและชมธรรมชาติมีบทชมริ้วขบวนุาร
เดินทาง บทชมสั ตว์ บุ บทชมนุ บทชมไม้ บทชมสั ตว์ นา้ ลง
ท้ ายด้ วยุารบอุจุดประสงค์ ของุวี มีจานวนุาพย์ ท้งั สิ้น ๑๐๘
บท โคลง ๑๑๓ บท เนื้อเรื่ องทาให้ ได้ ร้ ู จุั ธรรมชาติและุารใช้
ชีวติ ของสั ตว์ ซึ่งอธิบายลัุษณะของสั ตว์ ต่างๆได้ ตรงตาม
ข้ อเท็จจริง
เที่ยวเล่ นเป็ นเุษมสุ ข แสนสิ่ งสนุุปลุุใจหวัง
เร่ ร่ายผายผาดผัง หัวริุรื่ นชื่ นชมไพร
สนุุเุษมเปรมหน้ าเหลือบ ลืมหลัง
แสนสนุุปลุุใจหวัง วิง่ หรี้
เดินร่ ายผายผันยัง ชายป่ า
หัวร่ อรื่ นชื่ นชี้ ส่ องนิว้ ชวนแล

ถอดคาประพันธ์ ุาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
ุาร เทีย่ วเล่ นในครั้งนีช้ ่ างมีความสุ ข สนุุสนานเหลือเุิน เดินอย่าง
รวดเร็วเข้ าไปในป่ า หัวเราะุระซิุุันอย่างสดชื่ นรื่ นเริง โดยุารชี้ชวนให้ ชม
ธรรมชาติต่าง ๆ
งูเขียวรัดตุุ๊แุ ตุุ๊แุแุ่ คางแข็งขยัน
ุัดงูงูยงิ่ พัน อ้ าปาุง่ วงล้ วงตับุิน
งูเขียวแลเหลือ้ มพ่น พิษพลัน
ตุุ๊แุคางแข็งขยัน คาบไว้
ุัดงูงูเร่ งพัน ขนดเครียด
ปาุอ้ างูจึงได้ ลาุล้ วงตับุิน

ถอดคาประพันธ์ ุาพย์ ห่อโคลงประพาสธารทองแดง


งูเขียวตัวเป็ นเงามันแต่ ไม่ มีพษิ ถูุตุุ๊แุคาบไว้ ใน
ขณะเดียวุันงูเขียวุ็รัดตุุ๊แุจนต้ องอ้าปาุ และเข้ าไปล้วงตับตุุ๊แุ
ุินเป็ นอาหาร
งู เขียวกินตับตุก
๊ แก
ดูหนูสู่ รูงู งูสุดสู้ หนูสู้ งู
หนูงูสู้ ดูอยู่ รู ปงูทู่หนูมูทู
ดูงูข่ ูฝูดฝู้ พรู พรู
หนูสู่ รูงูงู สุ ดสู้
งูสู้ หนูหนูสู้ งูอยู่
หนูรู้ งูงูรู้ รู ปถู้มูทู

ถอดคาประพันธ์ ุาพย์ ห่อโคลงประพาสธารทองแดง


งูข่ ูหนูฟู่ ๆ เพราะหนูจะเข้ าไปในรูงู งูจึงสู้ ุบั หนู หนูุส็ ู้ ุบั งู
สั ตว์ ท้งั สองต่ างุ็รู้เชิงซึ่งุันและุัน โดยทาเป็ นมู่ทู่ใส่ ุนั
งู กน
ิ หนู
งู ก ับหนู
กาพย์ห่อโคลงนิราศ
(กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก / นิราศพระบาท)
กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก พระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศ
ทรงพระนิพนธ์คราวเดียวกับ กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
เมื่อครั้งตามเสด็จสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศไปทรงนมัสการ
และสมโภชรอยพระทุทธบาท สระบุรี เดิมเรียกกาพย์ห่อโคลงนี้ว่า
นิราศพระบาท ต่อมาจึงเปลี่ยนเป็น กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก
เพื่อให้คล้องกับกาพย์ห่อโคลงนิราศธารทองแดง
รูปแบบคาประพันธ์
กาพย์ห่อโคลงจานวน ๑๕๒ บท ขึ้นต้นด้วยโคลง ๔ สุภาพ ๒ บท
เนื้อเรื่อง
เนื้อหาเริ่มต้นด้วยการพรรณนาความงามแต่ละส่วนของนาง ได้แก่ ผม ไร
ผม ผิว หน้าผาก คิ้ว ดวงตา จมูก ริมฝีปาก ฟัน หู คอ บ่า ทรวงอก แขน นิ้ว เอว ท้อง
ขา ปลีน่อง เท้า จากนั้นกวีพรรณนาถึงความรักที่มีต่อนาง ความคิดถึงที่ต้องพลัด
พรากจากกัน โดยพรรณนาไปตามลาดับเวลาตั้งแต่เช้าไปจนค่า คร่าครวญตามลาดับ
วัน เดือน ฤดูกาล และ ปี ราพันตั้งแต่เวลาเช้าย่าฆ้องจบถึงตีสิบเอ็ด จากวันอาทิตย์
ถึงวันเสาร์ เดือนห้าถึงเดือนสี่ ฤดูคิมหันต์ถึงเหมันต์ และปีชวดถึงปีกุน ลักษณะ
การคร่าครวญผ่านเวลาเช่นนี้คล้ายคลึงกับการคร่าครวญในโคลงทวาทศมาส
คุณค่า
- มีความงามด้านสุนทรียภาพ การใช้คาสานวนต่างๆทาให้
ผู้อ่านได้อรรถรสมากขึ้น
- เรียนรู้ถึงวัฒนธรรม ประเพณีของคนไทย ประเพณีการเสด็จ
ทางชลมารค
- เห็นถึงสภาพความเป็นอยู่ของคนในสมัยนั้น และการแต่งกาย
เพลงยาวเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กลอนเริ่มมีความเจริญเป็นที่นิยมในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บรมโกศ เพลงยาวเป็นกลนที่ใช้เป็นสือ่ ความรักระหว่างชายกับหญิง
เป็นที่นิยมเล่นในบรรดาเจ้านายข้าราชบริพาร ตลอดจนคนทั่วไป
เพลงยาวของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรมีเหลืออยูเ่ พียง ๓ บท เท่านั้น บทหนึ่ง ๆ
มีประมาณ ๔0 คากลอน พิมพ์อยู่ในหนังสือประชุมเพลงยาว ซึ่งหอพระสมุด
รวบรวมและจัดพิมพ์ มีผู้สันนิษฐานว่าเพลงยาวของเจ้าธรรมธิเบศรคงจะทรง
นิพนธ์ถึงเจ้าฟ้านิ่มและเจ้าสังวาล
ลักษณะการแต่ง แต่งด้วยกลอนเพลง คือขึ้นต้นด้วยวรรคที่ ๒ ของคากลอน
วัตถุประสงค์ แสดงความรักผ่านตัวอักษร
เรื่องย่อ แสดงความรักที่มีต่อนาง ราพึงความต่าต้อยของตนที่อาจเอื้อมใฝ่ปองนางซึ่งสูงศักดิ์กว่า
เปรียบตนเป็นกระต่าย เปรียบนางเป็นจันทร์
ดาหลัง
(อิเหนาใหญ่)
ผู้แต่ง
ผ้ ูแต่ ง
เจ้าฟ้าหญิงกุณฑล (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ)
ลัุษณะคาประพันธ์
กลอนบทละคร
ดาหลัง เป็นวรรณคดีสาคัญเรื่องหนึ่งของไทยจัดอยู่ในประเภทบทละครใน
ดาหลัง และ อิเหนา นั้นมีต้นเค้ามาจากนิทานปันหยีของทางชวา
เหมือนกัน แต่ความนิยมในดาหลังนั้นมีน้อยมาก อันจะสังเกตได้ว่าแทบไม่มีผู้ใดคิด
จะหยิบมาอ่านหรือนามาศึกษาอย่างจริงจังอาจเพราะด้วยเนื้อหานั้นค่อนข้างรุนแรง
กว่าอิเหนา ภาษานั้นไม่ไพเราะลื่นไหลน่าอ่านเท่ากับอิเหนาฉบับรัชกาลที่ 2 และ
เนื้อเรื่องที่ได้ตีพิมพ์ออกมานั้นไม่จบตอน ขาดในส่วนของตอนจบไป จึงไม่มีใครทราบ
ว่าเรื่องดาหลังนั้นแท้จริงแล้วจบอย่างไร จากสาเหตุข้างต้นจึงน่าจะเป็นเหตุให้
วรรณคดีเรื่องนี้ถูกมองข้ามไปโดยปริยาย
อิเหนา
(อิเหนาเล็ก)
ผู้แต่ง
ผ้ ูแต่ ง
เจ้าฟ้าหญิงมงกุฎ (พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย)
ลัุษณะคาประพันธ์
กลอนบทละคร
ปุณโณวาทคาฉันท์
(บุณโณวาทคาฉันท์)
ผู้แต่ง พระมหานาค วัดท่าทราย
ลักษณะการแต่ง
•แต่งด้วยฉันท์ จานวน ๓๐๖ บท ได้แก่ อินทรวิเชียรฉันท์ โตฎกฉันท์ วสันตดิลกฉันท์ มาลินี
ฉันท์ สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ และสัทราฉันท์
•ส่วนคาประพันธ์อื่นๆ ได้แก่ กาพย์ฉบัง กาพย์สุรางคนางค์ ร่าย โคลงกระทู้ และโคลงสี่สุภาพ
ความมุ่งหมาย เพื่อพรรณนาความรู้สึก และสิ่งที่พบเห็นในโอกาสที่ได้ไปนมัสการพระพุทธบาท
สระบุรีระหว่างที่มีการสมโภชครั้งสาคัญในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
สาระสาคัญ
•ต้นเรื่อง กล่าวคาบูชาพระรัตนตรัย เทวดา พระมหากษัตริย์
•ดาเนินเรื่องตามแบบปุณโณวาทสูตร แต่เปลี่ยนรายละเอียดบางอย่าง
เพื่อให้เข้ากับประวัติการปฏิสังขรณ์ และสมโภชพระพุทธบาทสระบุรี
คุณค่า ให้ความรู้เกี่ยวกับการละเล่น ศิลปกรรม และการสมโภชพระ
พุทธบาท
โคลงนิราศพระบาท
กลบลสิริวิบุลกิติ
กลบทนาคบริพนั ธ์
จาก "กลบทศิริวบิ ุลกิตติ"์ โดยหลวงศรีปรีชา (เซ่ง)

๐ กรุ งกระษัตริยช์ ัดคาโหรทานาย


โหรทานูนทูลหมายอาไลยสูญ
อาไลยเสียงเหลียวหลังให้ค่งั คูน
ให้ค่งั แค้นแน่นหนูนด้วยดวงจันทร์

You might also like