บทที่ 4

You might also like

You are on page 1of 7

42

บทที่ 4
วิธีและการประเมินผลกระทบสิ่ งแวดล้ อมด้ านเสี ยง
4.1 วิธีประเมินผลกระทบ
เป็ นการประเมินค่าระดับของผลกระทบต่อความปลอดภัยของผูป้ ระกอบอาชีพคือคนงานและ
คนในไซด์งานรวมไปถึงความปลอดภัยของชาวบ้านที่อยูร่ อบๆอีกด้วย ทั้งในระยะก่อสร้างและระยะดาเนิน
โครงการ ด้วยวิธีกระบวนการประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment) ซึ่ งพิจารณาจากลักษณะการดำเนิน
กิจกรรมและสภาพแวดล้อมของการก่อสร้างและดาเนินการในทุกขั้นตอน โดยจะใช้สูตรและเกณฑ์ดงั ต่อไป
นี้
สู ตรคำนวณระดับของความเสี่ยง
พิจารณาได้จากองค์ประกอบ
(A) โอกาส/ความเป็ นไปได้ของการเกิดอันตราย
(B) ความรุ นแรงของความเป็ นอันตราย
ระดับของความเสี่ยง = (A) x (B)
เกณฑ์ การพิจารณาค่าระความเสี่ยง
(A)โอกาส/ความเป็ นไปได้ ของการเกิดอันตราย
ตารางที่ 4.1-1 ตารางเกณฑ์ โอกาส/ความเป็ นไปได้ ของการเกิดอันตราย

(A)ระดับความรุนแรงของความเป็ นอันตราย
ตารางที่ 4.1-2 ตารางเกณฑ์ ระดับความรุ นแรงของความเป็ นอันตราย
43

FACULTY OF SCIENCE AND ENGINEERING


KASETSAtl UNIVERSITY

การกำหนดค่าความเสี่ยง
ตารางที่ 4.1-3 ตารางการกำหนดค่าความเสี่ยง

การจัดการควบคุมความสี่ยง

ความเสี่ ยงเล็กน้ อย (1) อาจไม่ตอ้ งดำเนินการโดๆ

ความเสี่ ยงที่ยอมรับได้ (2) ควรมีการเฝ้ าคุมความเสี่ ยง


44

ความเสี่ ยงปานกลาง (3,4) ควรมีการควบคุมและเฝ้ าคุมความเสี่ ยง

ความเสี่ ยงสู ง (6) จำเป็ นต้องมีการจัดการความเสี่ ยง และทำการ เฝ้ าคุมความเสี่ ยง

ความเสี่ ยงที่ยอมรับไม่ได้ (9) จำเป็ นต้องมีการจัดการความเสี่ ยงที่มีประสิ ทธิ ภาพ


4.2 การประเมินผลกระทบ
เราจะประเมินความเสี่ ยงของผลกระทบจากการทำงานที่ทำให้เกิดเสี ยงของไซต์งานก่อสร้างซึ่ งเรา
จะเลือกบางกรณี เท่านั้นที่เกิดขึ้นอยูบ่ ่อยครั้งโดยจะแบ่งการประเมินเป็ นสองช่วงคือในช่วงของระยะการ
ก่อสร้างและในช่วงการดำเนินงานดังนี้
ในระยะการก่ อสร้ าง
ตารางที่ 4.2-1 ตารางการประเมินความเสี่ยงในช่ วงระยะการก่ อสร้ าง
ความเสี่ยง = คะแนนของโอกาสที่เกิ ด ความรุนแรงของความเป้นอั นตราย (B)
อั นตราย(A) × คะแนนของความเป็น อั นตรายเล็ กน้อย อั นตรายปานกลาง อั นตรายมาก
อั นตราย(B) (1) (2) (3)
ความเสี่ยงที่ยอมรั บได้ (2) ความเสี่ยงปานกลาง (3)
โอกาสเกิดขึ้นได้ น้อยมาก
เสียงที่เกิดจากเครื่องจั กรที่ อั นตรายที่จากความประมาท
(1)
ขาดการบำรุงรั กษา ของพนักงาน
โอกาสของการ
โอกาสเกิดขึ้นได้ ปาน
เกิ ดอั นตราย
กลาง (2)
(A)
ความเสี่ยงยอมรั บไม่ได้ (9)
โอกาสเกิดขึ้นได้ มาก/
อั นตรายจากเสียงการตอก
บ่อยครั้ง (3)
เสาเข็ ม

คำอธิบายของการประเมินผลกระทบ
1.เสี ยงที่เกิดจากเครื่องจักรที่ขาดการบำรุ งรักษา
-ระดับความเป็ นอันตราย ปานกลาง (2) เนื่องจากเสี ยงที่เกิดอาจทำให้หูอ้ือแต่ไม่ถึงกับสู ญเสี ยการได้ยนิ
-โอกาสเกิดอันตราย เกิดน้อย (1) เนื่องจากมีการตรวจเช็คจากพนักงานเสมอ
-ระดับความเสี่ ยง ความเสี่ ยงที่ยอมรับได้ (2) ควรมีการตรวจเช็คสภาพเครื่ องจักรเป็ นประจำ
2.อันตรายจากความประมาทของพนักงาน
45

-ระดับความเป็ นอันตราย มาก (3) เนื่องจากเสี ยงที่เกิดจากการทำงานอาจทำให้กบั สู ญเสี ยการได้ยนิ ได้


-โอกาสเกิดอันตราย เกิดน้อย (1) เนื่องจากมีการตรวจเช็คอุปกรณ์ของพนักงานในทุกเช้า
-ระดับความเสี่ ยง ความเสี่ ยงปานกลาง (3) ควรมีมาตรการการควบคุมและเฝ้ าระวังความเสี่ ยง
3.อันตรายจากเสียงของการตอกเสาเข็ม
-ระดับความเป็ นอันตราย มาก (3) เนื่องจากเสี ยงที่เกิดจากการทำงานอาจทำให้กบั สู ญเสี ยการได้ยนิ ได้
-โอกาสเกิดอันตราย มาก (3) เนื่องจากในช่วงการขึ้นโครงสร้างการตอกเสาเข็มจะมีการทำตลอดทุกวันเวลา
การทำงาน
-ระดับความเสี่ ยง ยอมรับไม่ได้ (9) ควรมีมาตรการการควบคุมและเฝ้ าระวังความเสี่ ยงอย่างมาก
4.2-2 การประเมินผลกระทบทางด้ านเสียงช่ วงระยะการก่ อสร้ าง
กิจกรรมและแหล่งกำเนิดเสี ยง
-การเตรี ยมพื้นที่ ระดับเสี ยง 84 dBA
-การขุดเจาะ ระดับเสี ยง 88 dBA
-การขึ้นโครงสร้าง ระดับเสี ยง 79 dBA
-การเก็บงานและตกแต่ง ระดับเสี ยง 84 dBA

หมู่บา้ นและชุมชนที่อยูใ่ นรัศมีของการศึกษาได้แก่


1.โรงเรี ยนแก้งคำประชาสามัคคี อยูห่ ่างจากแหล่งกำเนิดเสี ยง 2.5 กิโลเมตร
2.หมู่บา้ นบ้านโคกสะอาด อยูห่ ่างจากแหล่งกำเนิดเสี ยง 4.2 กิโลเมตร
3.หมู่บา้ นบ้านสนามบิน อยูห่ ่างจากแหล่งกำเนิดเสี ยง 3.0 กิโลเมตร
คำนวณได้ จากสู ตร
SPL2 = SPL1-20 log (r – α – 2 )
• เมื่อ SPL2 = ระดับเสี ยงที่ระยะทาง r จากแหล่งกำเนิดเสี ยง (dBA)
• SPL1 = ระดับเสี ยงจากแหล่งกำเนิดเสี ยง dBA)
• α = Coefficient of Adsorption (air grass and tree)
46

• = 0.2 dBA/เมตร
จากข้อมูลแหล่งกำเนิดเสี ยงที่มีความดังมากที่สุดคือการขุดเจาะ ระดับเสี ยง 88 dBA
ดังนั้น
1.โรงเรี ยนแก้งคำประชาสามัคคี อยูห่ ่างจากแหล่งกำเนิดเสี ยง 2.5 กิโลเมตร
จากสู ตรจะได้
SPL2 = 88-20 log ( 2500 – (2500×0.2) – 2 )
= 21.988 dBA
2.หมู่บา้ นบ้านโคกสะอาด อยูห่ ่างจากแหล่งกำเนิดเสี ยง 4.2 กิโลเมตร
จากสู ตรจะได้
SPL2 = 88-20 log ( 4200 – (4200×0.2) – 2 )
= 17.478 dBA
3.หมู่บา้ นบ้านสนามบิน อยูห่ ่างจากแหล่งกำเนิดเสี ยง 3.0 กิโลเมตร
จากสู ตรจะได้
SPL2 = 88-20 log ( 3000 – (3000×0.2) – 2 )
= 20.403 dBA

จากการคำนวณระดับเสี ยงจากการทำการขุดเจาะของโครงการ ที่อาจมีผลกระทบต่อบ้านเรื อน


ประชาชนและชุมชนที่ใกล้เคียง ได้แก่
1.โรงเรี ยนแก้งคำประชาสามัคคี อยูห่ ่างจากแหล่งกำเนิดเสี ยง 2.5 กิโลเมตร เท่ากับ 21.988 dBA
2.หมู่บา้ นบ้านโคกสะอาด อยูห่ ่างจากแหล่งกำเนิดเสี ยง 4.2 กิโลเมตร เท่ากับ 17.478 dBA
3.หมู่บา้ นบ้านสนามบิน อยูห่ ่างจากแหล่งกำเนิดเสี ยง 3.0 กิโลเมตร เท่ากับ 20.403 dBA
เมื่อเปรี ยบเทียบกับระดับเสี ยงที่ยอมรับได้ตามมาตรฐานของ ISO และตามประกาศของคณะกรรมการสิ่ ง
แวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2540) กำหนดไว้คือไม่เกิน 70 dBA พบว่า ระดับความดังของเสี ยงที่
คำนวณได้มีค่าไม่เกินมาตรฐานที่ยอมรับได้ ดังนั้น โดยภาพรวมแล้ว จึงสรุ ปได้วา่ ในระยะก่อสร้างจะไม่มี
ผลกระทบ (0) ต่อระดับเสี ยง

ในช่ วงดำเนินการ
ตารางที่ 4.2-3 ตารางการประเมินความเสี่ยงในช่ วงดำเนินการ
47

ความเสี่ยง = คะแนนของโอกาสที่เกิ ด ความรุนแรงของความเป้นอั นตราย (B)


อั นตราย(A) × คะแนนของความเป็น อั นตรายเล็ กน้อย อั นตรายปานกลาง อั นตรายมาก
อั นตราย(B) (1) (2) (3)

โอกาสเกิดขึ้นได้ น้อย ความเสี่ยงที่ยอมรั บได้ (2) ความเสี่ยงปานกลาง (3)


มาก (1) เสียงจากเครื่องจั กรในโรงงาน เสียงจากรถบรรทุกอ่อย

โอกาสของการ โอกาสเกิดขึ้นได้ ปาน


เกิดอันตราย (A) กลาง (2)

โอกาสเกิดขึ้นได้ มาก/
บ่อยครั้ง (3)

คำอธิบายของการประเมินผลกระทบ
1.เสี ยงที่เกิดจากเครื่องจักรในโรงงาน
-ระดับความเป็ นอันตราย ปานกลาง (2) เนื่องจากเสี ยงที่เกิดอาจทำให้หูอ้ือแต่ไม่ถึงกับสู ญเสี ยการได้ยนิ
-โอกาสเกิดอันตราย เกิดน้อย (1) เนื่องจากมีการตรวจเช็คจากพนักงานเสมอ
-ระดับความเสี่ ยง ความเสี่ ยงที่ยอมรับได้ (2) ควรมีการตรวจเช็คสภาพเครื่ องจักรและควบคุม เสมอ
2.เสี ยงที่เกิดจากรถบรรทุกอ่อย
-ระดับความเป็ นอันตราย ปานกลาง (2) เนื่องจากเสี ยงที่เกิดอาจทำให้เกิดความรำคานแต่ไม่ถึงกับสู ญเสี ยการ
ได้ยนิ
-โอกาสเกิดอันตราย เกิดน้อย (1) เนื่องจากมีการตรวจเช็คจากพนักงานขับรถเสมอ
-ระดับความเสี่ ยง ความเสี่ ยงที่ยอมรับได้ (2) ควรมีการตรวจเช็คสภาพรถบรรทุกและควบคุมเสมอ
48

You might also like