You are on page 1of 48

RC FLAT SLAB

Building Design
RC Flat Slab
RC Flat Slab
RC Flat Slab
RC Flat Slab
 ACI ได้เสนอวิธีออกแบบ 2 วิธี
 DirectDesign Method,DDM วิธีการคํานวณออกแบบโดยตรง
 Equivalent Frame Method,EFM วิธีโครงข้อแข็งเทียบเท่า

 การออกแบบทั้ง 2 วิธี ต้องทําการแบ่งพื้ นทางด้านสั้นและด้านยาวอออก


เป็ น แถบออกแบบ(design strip) ที่เสมือนคานกว้าง
Design Strip
โมเมนต์ดดั ประลัยแบบสถิตย์ท้งั หมดในช่วงแผ่นพื้ น

M0=(1/8)wl1l22
l1

B F D MBD

l2 G H MGH

MAC
A E C

MEF
M0=(1/8)wl2l12
MAB MCD
โมเมนต์ดดั ประลัยแบบสถิตย์ท้งั หมดในช่วงแผ่นพื้ น
 พิจารณารูปถ้าพิจารณาด้านยาวเท่ากับ l1 ด้านกว้างรือด้านสั้นเท่ากับ l2
ถ้าพิจารณาแผ่นพื้ นตามแนวกลางจะได้แถบออกแบบ(design strip) ถ้า
นํ้าหนักบรรทุกเท่ากับ w จะได้โมเมนต์ดดั ตามแนวยาว l1 เท่ากับ
1 1
M ab  M cd   M ef  wl2 l12  M 0
2 8
 โมเมนต์ดดั ตามแนวยาว l2 เท่ากับ
1 1
M ac  M bd   M gh  wl1 l22  M 0
2 8
 M0 โมเมนต์ดดั แบบสถิตย์ท้งั หมด (total static moment)
 ซึ่งต้องแบ่งเป็ นโมเมนต์ลบและโมเมนต์บวกและต้องกระจายสู่แถบย่อยคือ
แถบเสา(column strips)และแถบกลาง(middle strips)
Column Strips and Middle Strips
 Column Strips แถบออกแบบในแต่ละข้างของศูนย์กลางเสาเท่ากับค่า
น้อยของ 0.25l1 หรือ 0.25l2
 Middle
l
Strips
l
แถบออกแบบที ่ ข นาบแถบเสาทั
้ ง 2 ข้
า ง
2 2 l2 l2
l2/4 l2/4 l2/4 l1/4 l1/4 l1/4
แถบเสาภายนอก
แถบเสาภายใน

แถบเสาภายนอก
แถบกลาง

แถบเสาภายใน

แถบกลาง
l1 l1

l2l1 l2>l1
ความหนาตํา่ สุดของแผ่นพื้ นไร้คาน

ไม่มีแป้ นหัวเสา มีแป้ นหัวเสา


กําลังจุดคราก
ช่วงพื้ นภายนอก ช่วงพื้ น ช่วงพื้ นภายนอก ช่วงพื้ น
fy , ksc
ไม่มีคานขอบ มีคานขอบ ภายใน ไม่มีคานขอบ มีคานขอบ ภายใน
3000 ln/33 ln/36 ln/36 ln/36 ln/40 ln/40
4000 ln/30 ln/33 ln/33 ln/33 ln/36 ln/36
Direct Design Method : DDM
 วิธีการคํานวณออกแบบแผ่นพื้ นโดยตรง มีขอ้ จํากัดดังนี้
 แผ่นพื้ นในแต่ละทิศทางต้องมีความต่อเนื่ องอย่างน้อย 3 ช่วง
 แผ่นพื้ นที่เป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าความยาวด้านยาวไม่เกิน 2 เท่าของความยาว
ด้านสั้น
 ความยาวของแผ่นที่ต่อเนื่ องกันต้องต่างกันไม่เกิน 1/3 ของช่วงที่ยาวกว่า

 ศูนย์เสาเยื้ องได้ไม่เกิน 10% ของความยาวในทิศที่มีการเยื้ อง

 แผ่นพื้ นรับนํ้าหนักที่เกิดจากแรงโน้มถ่วง(gravity load) และสมํา่ เสมอ


กระจายเต็มพื้ นโดยที่ LL  3DL
 แผ่นพื้ นที่มีคานรองรับต้องมีค่า 0.21l22/2l125.0

 ไม่อนุ ญาติให้วเิ คราะห์โดย Moment Distribution


Direct Design Method : DDM
l1 l2 l3
 Three continuous spans in each
direction, minimum
l4  Rectangular panals with aspect ratio
 2.0 e.g. l6/l1  2.0
 Span lengths differ by 1/3 or less
of longer span e.g. l5/l6 > 0.67
l5
 Column offset a maximum at 10%
e.g. A  0.1l6
A
 Gravity load only,uniformly
B distributed load, not lateral loads
l6
 Live load  3(dead load)
 Beam stiffness 0.21l22/2l125.0
 No moment distribution
Direct Design Method : DDM
 โมเมนต์ดดั ประลัยแบบสถิตย์ท้งั หมดในแถบบออกแบบ
MC

M0=(1/8)wl2ln2
MA
MB

ln
 ระยะ ln เป็ นระยะจากขอบของเสา หมวกหัวเสา แป็ นหูชา้ ง กําแพงซึ่งต้องไม่
น้อยกว่า 0.65 l1
 ถ้าเป็ นเสากลมมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ c จะมีคา่ ln= l1-(2/3)c
Direct Design Method : DDM
 การแบ่งโมเมนต์ดดั ประลัยแบบสถิตย์ท้งั หมด
 โมเมนต์ดดั ประลัย M0 จะถูกแบ่งเป็ นโมเมนต์บวกและโมเมนต์ลบดังนี้
0.35M 0
 พื้ นช่วงใน (Interior Spans)
 โมเมนต์ลบที่ขอบเสา =0.65M0 0.65M0
0.65M0
 โมเมนต์บวกระหว่างเสา =0.35M0
 พื้ นช่วงนอก (Exterior or End Spans)
ขอบนอกไม่มี ขอบนอกมีการ
มีคานรองรับทุกด้าน ไม่มีคานขอบ มีคานขอบ
การยิดรั้ง ยึดรั้ง
โมเมนต์ลบที่ขอบในแรก 0.75 0.70 0.60 0.70 0.65
โมเมนต์บวก 0.63 0.57 0.52 0.50 0.35
โมเมนต์ลบที่ขอบนอก 0 0.16 0.26 0.30 0.65
การแบ่งโมเมนต์ดดั ประลัยแบบสถิตย์ท้งั หมด
0.63M0
Int
 exterior edge unrestrained Ext
0.75M0

0.57M0
Int
 slab with beams between all supportsExt
0.16M0 0.70M0
0.52M0
Ext Int
 slab with out beams
0.26M0 0.70M0
0.50M0
Ext Int
 slab with edge beam0.30M 0.70M0
0

0.35M0
Ext Int
 exterior edge fully restrained
0.65M0 0.65M0
การกระจายโมเมนต์ออกไปทางขวาง
 ในการกระจายโมเมนต์ตอ้ งพิจารณา
 อัตราส่วนระหว่างด้านสั้นต่อด้านยาวของแผ่นพื้ น(l2/l1)

 สติฟเนสการดัดระหว่างคานต่อแผ่นพื้ น(1=EcbIb/EcsIs)
 x  x3y
 ค่าของ t=EcbC/2EcsIs เมื่อ c   1  0.63 
y 3

การกระจายโมเมนต์ออกไปทางขวาง
 โมเมนต์ลบในแถบเสา (Column Strip Moment)
 โมเมนต์ลบภายในช่วงพื้ นภายใน (Interior Panels)
l2/l1 0.5 1.0 2.0
1(l2/l1)=0 75 75 75
1(l2/l1)1.0 90 75 45

 โมเมนต์ลบในพื้ นช่วงนอก (Exterior Panels)


l2/l1 0.5 1.0 2.0
t=0 100 100 100
1(l2/l1)=0
t2.5 75 75 75
t=0 100 100 100
1(l2/l1)1.0
t2.5 90 75 45
การกระจายโมเมนต์ออกไปทางขวาง
 โมเมนต์บวกในแถบเสา
l2/l1 0.5 1.0 2.0
1(l2/l1)=0 60 60 60
1(l2/l1)1.0 90 75 45

 โมเมนต์ลบและโมเมนต์บวกในแถบกลาง (Middle Strip Moment)


 โมเมนต์ลบและบวกที่ไม่ได้แบ่งเข้าสู่แถบเสาให้นํามาแบ่งเข้าครึ่งหนึ่ งของแถบ
กลาง (haft middle strips) ของด้านที่สอดคล้องกัน
 ผลรวมของโมเมนต์ครึ่งหนึ่ งจากแถบกลางทั้งสองด้าน จะเป็ นโมเมนต์ที่กระทําบน
แถบกลางนั้น
 แถบกลางที่รองรับโดยกําแพงจะต้องรับโมเมนต์เป็ นสองเท่าของโมเมนต์ที่ได้จาก
ครึ่งแถบกลางของด้านที่สอดคล้องกับที่รองรับภายในแรก
การเสริมเหล็กรับแรงดัดในพื้ นไร้คาน

0.30ln 0.30ln 0.33ln 0.33ln


0.20ln 0.20ln 0.20ln 0.20ln
3” max
At least 2 bars continuous or anchored as required

6” Max. 0.125l1 24 bar dia. Or 12” min all bars 6”


Max. 0.125l1

0.22ln 0.22ln 0.22ln 0.22ln

6”
Max. 0.15l Max. 0.15l Max. 0.125l1 6”
6”
c1 Clear span ,ln c1 Clear span ,ln c1
Face of support Face of support
Ext. Center to center span ,l Int. Center to center span ,l Ext.
กําลังต้านทานแรงเฉือนของแผ่นพื้ น
 Punching Shear เกิดที่ระยะ d/2 จากขอบเสา
 โดยที่ Vu<Vc d/2 d/2

 Vc เลือกค่าน้อยสุดจาก d h
45
 β c  2 ; Vc  1.06 f c' b 0 d
 4 '
β
 c  2 ; V c  0.27 
 2   f c b 0 d
β
 α s d  ' c 
 Vc  0.27
 b  2  f c b 0 d
 0 
 เมื่อ c คืออัตราส่วนด้านสั้นต่อด้านยาวของเสา s = 40 ,30 ,20
สําหรับเสาต้นใน เสาต้นริม เสามุม
กําลังต้านทานแรงเฉือนของแผ่นพื้ น
 ถ้าVu> Vc คํานวณกําลังต้านทานแรงเฉือนของเหล็กจาก
 Vs=Vu-Vc โดยที่ Vc  0.53 f c' b 0 d และ Vn  1.06 f c' b 0 d

 ซึ่งเหล็กเสริมในพื้ นจะประกอบไปด้วย
 เหล็กปลอกเดี่ยว ซึ่งพื้ นต้องหนาไม่นอ
้ ยกว่า 25 cm คํานวณจาก
A v f y d d
 s 
Vu  Vc 2
 เหล็กคอม้า ที่ทาํ มุม คํานวณจาก
V   Vc
 Av  u
 f ysinα
การถ่ายแรงเฉือน-โมเมนต์ที่จุดต่อระหว่างแผ่นพื้ นกับเสา

 ในกรณีที่พื้นรับนํ้าหนักไม่สมํา่ เสมอ หรืดต้องรับแรงด้านข้างจะทําให้หน่ วย


แรงเฉือนในหน้าตัดวิกฤตไม่สมํา่ เสมอทําให้จุดต่อต่างๆต้องรับโมเมนต์ดว้ ย

Vu
T
Mu
C

 พิจารณาจากรูป โมเมนต์ที่เกิดขึ้ นทําให้หน่ วยแรงเฉือนด้านขวาเพิ่มขึ้ น และ


ด้านซ้ายลดลง
การถ่ายแรงเฉือน-โมเมนต์ที่จุดต่อระหว่างแผ่นพื้ นกับเสา

 ACI ได้กาํ หนดส่วนของโมเมนต์ดดั ทัไ่ ม่สมดุลย์ เท่ากับ fMu ให้ส่งถ่าย


โดยการดัด ส่วนที่เหลือเท่ากับ fMu ให้ส่งถ่ายโดยการเฉือน โดยพิจารณา
 Mub = fMu และ Muv = vMu
1
 โดยที่ γf  ; γ v  1  γf
2
1 b1/b 2
3
b2 =c2+d เป็ นความกว้างหน้าตัดวิกฤตด้านที่รบั โมเมนต์ดดั
 เมื่อ

 b1 =c1+d สําหรับเสาภายใน และ b1 =c1+d/2 สําหรับเสาภายนอก

 สําหรับเสามุม b1 =c1+d/2 และ b2 =c2+d/2


การถ่ายแรงเฉือน-โมเมนต์ที่จุดต่อระหว่างแผ่นพื้ นกับเสา

 การถ่ายโมเมนต์ดดั (Mub) กระทําผ่านวามกว้างของแผ่นพื้ นซึ่งเป็ นความ


กว้างของหน้าเสารวมกับระยะยืน่ อีก 1.5 เท่าของความหนา (h) ซึ่งจะได้
ความกว้างประสิทธิผลเท่ากับ C2+2(1.5h) ซึ่งต้องเรียงเหล็กเสริมที่รบั
โมเมนต์
c
2
Mub ให้อยูใ่ นความกว้างนี้
c1
c2

c2+2(1.5h)

h
การถ่ายแรงเฉือน-โมเมนต์ที่จุดต่อระหว่างแผ่นพื้ นกับเสา

 การกระจายของหน่ วยแรงเฉือนที่หน้าตัดวิกฤติซึ่งเกิดจาก Vu และ Muv


ซึ่งสามารถหาหน่ วยแรงเฉือนได้จาก
Vu M uv c AB
R ; v u(AB)  Ac

Jc
Vu M uv c CD
L ; v u(CD)  
Ac Jc
 เมื่อ Ac = 2[(c1+d)+(c2+d)]d สําหรับเสาภายใน

 = 2[(c1+d/2)+(c2+d)]d สําหรับเสาต้นริม
 cAB และ cCD ระยะศูนย์ถ่วงของหน้าตัดวิกฤติไปยังด้านซ้ายและด้านขวา

 Jc =Polar moment inertia


2d c1  d  2c1  d d 3
3 2
c d
    2d c 2  d  1  สําหรับเสาภายใน
12 12  2 
2c1  d/2 d 3 2d 3
 
12

3
 
c AB  c 3CD  d c 2  d c AB 
2
สําหรับเสาต้นริม
การถ่ายแรงเฉือน-โมเมนต์ที่จุดต่อระหว่างแผ่นพื้ นกับเสา

 ซึ่งค่า vu < vn=(Vc+Vs)/(b0d)


c1+d Vu
D A
vAB
vCD
c2+d

Muv

C B
cCD cAB
c1+d/2 Vu
A vAB
D vCD

Muv
c2+d

C B
cCD cAB
ช่องเปิ ดในแผ่นพื้ น
 ปกติควรหลีกเลี่ยงช่องเปิ ดในบริเวณเสาเพราะส่งผลกระทบกับกําลังรับแรง
เฉือนและการถ่ายแรง B

ตรวจสอบกําลัง ไม่ควารเกิน
ของคานรูปตัวที B/8 สําหรับบริเวณ 3
B/4 สําหรับบริเวณ 2
ไม่จาํ กัดสําหรับบริเวณ 1 OPEN
1 2 1 3 2 3

2 3 2 2 1 2

1 2 1 3 2 3
เหล็กเสริมบริเวณช่องเปิ ด
พื้ น คสล. มีคาน พื้ น คสล. ไร้คาน
ช่องเปิ ดในแผ่นพื้ น
 ACI ได้ให้ขอ้ พิจารณาในการทําช่องเปิ ดซึ่งไม่สง่ ผลต่อกําลังของแผ่นพื้ น
ดังนี้
 ช่องเปิ ดอยูใ่ นแถบกลางสองแถบที่ตด
ั กันยังคงใช้ปริมาณเหล็กเท่ากับในกรณีไม่มี
ช่องเปิ ด
 ช่องเปิ ดแถบเสาสองแถบที่ตด ั กันความกว้างช่องเปิ ดไม่เกิน 1/8 ของความกว้าง
แถบเสาและยังคงใช้ปริมาณเหล็กเท่ากับในกรณีไม่มีชอ่ งเปิ ด
 ช่องเปิ ดที่อยูต
่ ดั กันระหว่างแถบกลางและแถบเสาความกว้างช่องเปิ ดไม่เกิน
1/4 ของความกว้างแถบเสาและยังคงใช้ปริมาณเหล็กเท่ากับในกรณีไม่มีชอ่ ง
เปิ ด
ช่องเปิ ดในแผ่นพื้ น
 ACI ให้ขอ้ พิจารณาช่องเปิ ดที่มีผลกระทบต่อแรงเฉือนดังนี้
 เมื่อแผ่นพื้ นไม่มีเหล็กหมวกหัวเสารับแรงเฉือนส่วนของเส้นรอบรูปหน้าตัดวิกฤต
ที่ได้จากศูนย์กลางเสาไปถึงขอบช่องเปิ ดให้ถือว่ารับแรงเฉือนไม่ได้
 เมื่อแผ่นพื้ นมีเหล็กหมวกหัวเสารับแรงเฉือนส่วนของเส้นรอบรูปหน้าตัดวิกฤตที่
ได้จากศูนย์กลางเสาไปถึงขอบช่องเปิ ดให้ถือว่ารับแรงเฉือนไม่ได้ให้ถือว่ามีค่า
ครึ่งหนึ่ ง
Example
 ออกแบบพื้ นไร้คานโดยวิธี DDMดังรูป โดยพื้ นรับ LL=200 ksm
;SDL=50 ksm
 กําหนด fc’=250 ksc ‘ fy=4000 ksc
N

0.50 0.50
0.45 0.50

6.00

8.00
Example
 ตรวจสอบว่าสามารถออกแบบโดยวิธี DDM ได้หรือไม่
8/6=1.22 OK.
 อัตราส่วนระหว่างด้านยาวต่อด้านสั้นเท่ากับ

 สมมติพื้นหนา 25 cm ได้ wd=(0.252400)+50=650 ksm

 wl = 200 ksm < 3wd OK.

 หาความหนาตํา่ สุด
 E-W : ln1 =8.0-(0.45/2)-(0.50/2) =7.525 m
 N-S : ln2 =6.0-(0.50/2)-(0.50/2) =5.50 m

 h =ln/30 =0.251 m USE h=27 cm ; d=25 cm


Example

 Ultimate load
 wu=1.4((0.282400)+50)+1.7(200)=1351 ksm
 Check Punching Shear
 Interior Column
 b0 =754=300 cm

 Vu =1351[(86)-(0.750.75) = 64090 kg
 อัตราส่วนด้านยาวต่อด้านสั้นของเสา c =50/50=1.0

 c 2 ; Vc  1.06 f c' b 0d  125700 kg


 αsd  '
 s=40 ; Vc  0.27  2  f c b 0 d  170763 kg
 b0 
 Vc=0.85(125700)=106850>Vu OK.
Example

 Check Punching Shear


 Exterior column
 b0 =2(57.5)+75 =190 cm

 Vu =1351[(64.225)-(0.5750.75)]=33670 kg
 อัตราส่วนด้านยาวต่อด้านสั้นของเสา c =50/45=1.11

 c 2 ; Vc  1.06 f c b 0d  79610 kg


'

 αsd  '
 s=30 ; Vc  0.27  2  f c b 0 d  120600 kg
 b0 
 Vc=0.85(79610)=67670 >Vu OK.
Example

 total static moment


 E-W : ln1 =7.525 m >0.65 l1
 M0 =wul2ln12/8 =57376 kg-m

 N-S : ln2 =5.50 m >0.65 l2

 แถบภายใน M0 =wul1ln22/8 =40868 kg-m

 แถบภายใน M0 =wul1’ln22/8 =21583 kg-m


Example

 Positive & Negative Moment


 E-W
 โมเมนต์ที่ขอบเสาต้นริมMu-=0.26M0=14918 kg-m
 โมเมนต์ที่กลางช่วง Mu+=0.52M0=29835 kg-m

 โมเมนต์ที่ขอบเสาต้นใน Mu-=0.70M0=40163 kg-m

 N-S
Interior Strip Edge Strip
Moment
M0=40868 kg-m M0=21583 kg-m
ขอบเสา ;Mu-=0.65M0 26564 kg-m 14030 kg-m

กลางช่วง ;Mu+=0.35M0 14304 kg-m 7554 kg-m


Example
 กระจายโมเมนต์ลบและโมเมนต์บวกสู่แถบเสาและแถบกลาง
 ไม่มีคานขอบรองรับ ฉะนั้น Ib=0 นั้นคือ =0
E cb C  x  x 3
y
 βt  โดยที ่ C  1  0.63 
2E cs I s  y 3
 E-W
600  283
Is   1097600 cm 4
 12
 28  283  50 
 C  1  0.63    236790 cm 4
 50  3 
 t =0.11

 N-S
800  283
 I s   1463470 cm 4

12
 28  283  45 
C  1  0.63    200200 cm 4
 45  3 
 t =0.07

 เห็นได้วา่ ค่า t มีค่าน้อยมากจึงพิจารณาให้เท่ากับ ศูนย์


Example
 โมเมนต์ในทิศ E-W l2/l1=6/8=0.75 ,1(l2/l1)=0 ,t=0
M-ช่วงนอก M+ M-ช่วงใน
Mu(kg/m) 14918 29835 40163
ตัวคูณประกอบ(%) 100 60 75
โมเมนต์ในแถบเสา(kg/m) 114918=14918 0.629835=17901 0.7540163=30122
โมเมนต์ในแถบกลาง(kg/m) 0 11934 10041

 โมเมนต์ในทิศ N-S l2/l1=8/6=1.33 ,1(l2/l1)=0 ,t=0


M-แถบใน M+แถบใน M-แถบริม M+แถบริม
Mu(kg/m) 26564 14304 14030 7554
ตัวคูณประกอบ(%) 75 60 100 60
โมเมนต์ในแถบเสา(kg/m) 19923 8582 14030 4532
โมเมนต์ในแถบกลาง(kg/m) 6641 5722 0 3022
8.00

Example 1.725 2.50 2.50 1.50 1.50

1.50
-14918/2 +17901/2 -30122/2 N

1.50 -14918/2 +17901/2 -30122/2

1.50 0 +11934/2 -10041/2

6.00

1.50 0 +11934/2 -10041/2

1.50 -14918/2 +17901/2 -30122/2

1.50 -14918/2 +17901/2 -30122/2


6.00

1.50
1.50
1.50
1.50
1.50
1.50

-14030 +4532 -14030


1.725
Example

0 +3022 0
2.50
8.00

+5722/2 -6641/2
-6641/2
2.50

-19923/2 +8582/2 -19923/2


1.50
1.50

-19923/2 +8582/2 -19923/2


N
Example
 ตรวจสอบการถ่ายแรงเฉือนขโมเมนต์ที่เสาต้นริม ทิศ E-W
 M-ต้นริม=14918 kg-m ; M-ต้นในแรก=14918 kg-m
Vu=3360 kg
 รวมแรงเฉือนที่ได้จากโมเมนต์จได้
40163  14918
 Vu  33670   30310 kg
8  0.45  0.50 /2
 หาตําแหน่ งศูนย์ถ่วงของหน้าตัดวิกฤติ
 d c1  d/2  c1  d/2  c 2  d x  17.4 cm

 เมื่อ c1=45cm ,c2=50cm ,d=25cm


 ระยะเยื้ องศุนย์ g=17.4-(25/2)=5cm=0.005 m
Example
 โมเมนต์ดดั ที่ไม่สมดุลย์ Mu=14918+30310(0.05)=16434 kg-m
 โมเมนต์ที่ส่งถ่ายโดยการเฉือน
1
 M uv  γ v M u  1  M u  0.37M u
2 b1
1
3 b2

 เมื่อ b1=c1+d/2=57.5 cm ,b2=c2+d =75cm


Vu M uv c
 vu  
Ac Jc
 Ac =b0d =(257.5+75)(25) =4750 cm2
 C=x= 17.4 cm
Example

 Jc=I1+I2=1879900 cm4
 c 1  d/2 d 3  c 1  d/2 
2
d c 1  d/2  
3

 I1  2   c 1  d/2 d   x    1312226cm
4

 12  2  12 
 I 2  c 2  d d x 2  567675cm 4
Vu M uv c
 vu    12ksc  1.06 f c'  14.25 ksc OK
Ac Jc
Example
 ออกแบบเหล็กเสริมที่หน้าเสาให้รบั โมเมนต์ดดั ไม่สมดุลย์
 Mub=fMu=(1-0.37)(16434)=10353 kg-m
 ความกว้าง =50+2(1.228) =134 cm
 Mub=Rubd2 Ru=13.74 ksc
0.85250   2 13.74 
 ρ req  1  1    0.00355
4000   0.85250  

 As =0.00355(134)(25) =11.90 cm2


 USE 4-DB20 (ผ่านหน้าเสากว้าง 50 cm)
Example
 ออกแบบเหล็กเสริม E-W
Column Strip M-ขอบนอก M+กลางช่วง M-ขอบใน
Mu ,kg-m 14918 17901 30122
แถบกว้าง Strip ,m 3.0 3.0 3.0
d ,cm 25 25 25
Mu/strip ,kg-m/m 4973 5967 10041

Ru ,ksc 8.80 10.56 17.77

req 0.00225 0.0027 0.00465


As/strip ,cm2/m 5.63 6.75 11.63
Ast ,cm2/m 5.04 5.04 5.04
USE Steel 15-DB12@0.20 18-DB12@0.16 31-DB12@0.095
Example
 ออกแบบเหล็กเสริม E-W
Middle Strip M-ขอบนอก M+กลางช่วง M-ขอบใน
Mu ,kg-m 0 11934 10041
แถบกว้าง Strip ,m 3.0 3.0 3.0
d ,cm 25 25 25
Mu/strip ,kg-m/m 0 3978 3347

Ru ,ksc 0 7.072 5.95

req 0 0.0018 0.0015


As/strip ,cm2/m 0 4.50 3.75
Ast ,cm2/m 5.04 5.04 5.04
USE Steel 15-DB12@0.20 15-DB12@0.20 15-DB12@0.20
Example
 ออกแบบเหล็กเสริม N-S
Column Strip M-แถบใน M+แถบใน M-แถบริม M+แถบริม
Mu ,kg-m 19923 8582 14030 4532
แถบกว้าง Strip ,m 3.0 3.0 1.725 1.725
d ,cm 23.8 23.8 23.8 23.8
Mu/strip ,kg-m/m 6641 2861 8133 2627

Ru ,ksc 13.03 5.61 15.95 5.15

req 0.0034 0.0014 0.0042 0.0013


As/strip ,cm2/m 8.01 3.38 9.88 3.10
Ast ,cm2/m 5.04 5.04 5.04 5.04
USE Steel 22-DB12@0.14 15-DB12@0.20 16-DB12@0.11 8-DB12@0.20
Example
 ออกแบบเหล็กเสริม N-S
Middle Strip M-แถบใน M+แถบใน M-แถบริม M+แถบริม
Mu ,kg-m 6641 5722 0 3022
แถบกว้าง Strip ,m 5.0 5.0 2.5 2.5
d ,cm 23.8 23.8 23.8 23.8
Mu/strip ,kg-m/m 1328 1144 0 1209

Ru ,ksc 2.61 2.24 0 2.37

req 0.00066 0.0006 0 0.0006


As/strip ,cm2/m 1.56 1.34 0 1.42
Ast ,cm2/m 5.04 5.04 5.04 5.04
USE Steel 25-DB12@0.20 25-DB12@0.20 12-DB12@0.20 12-DB12@0.20
8.00

Example 1.725 5.00 1.50 1.50

16-DB12@0.11

25-DB12@0.20

22-DB12@0.14
1.50

15-DB12@0.20 18-DB12@0.16 31-DB12@0.0.095

1.50

25-DB12@0.20

15-DB12@0.20
8-DB12@0.20

6.0015-DB12@0.20
3.00 15-DB12@0.20 15-DB12@0.20

1.50
16-DB12@0.11

25-DB12@0.20

22-DB12@0.14
15-DB12@0.20 18-DB12@0.16 31-DB12@0.0.095

1.50

You might also like