You are on page 1of 2

ใบความรู้

สานวน สุ ภาษิต คาพังเพย

แนวคาตอบข้ อ 2.1
1. สำนวน คือ ถ้อยคำหรื อข้อควำมที่กล่ำวสื บต่อกันมำช้ำนำนมีควำมหมำยไม่ตรงตำมตัวอักษรหรื อ
มีควำมหมำยอื่นแฝงอยู่
2. สุ ภำษิต คือ ถ้อยคำที่กล่ำวแนะนำ สั่งสอน เตือนสติ ด้วยหลักควำมจริ ง ส่ วนมำกเป็ นคำคล้อง
จอง มีกำรสื บทอดมำแต่โบรำณ
3. คำพังเพย คือ กำรกล่ำวเปรี ยบเทียบ (อุปมำ) ต่อเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้น มีที่มำจำกคำกล่ำวต่อ ๆ กันมำ
ช้ำนำน จำกเหตุกำรณ์ในวิถีชีวติ ของคนรุ่ นก่อนๆ ซึ่ งมีควำมหมำยแฝง
4. สำนวน สุ ภำษิต คำพังเพย สัมพันธ์กนั อย่ำงไร เป็ นถ้อยคำที่กล่ำวสื บต่อกันมำแต่โบรำณใช้กล่ำว
แนะนำ เปรี ยบเทียบ สัง่ สอน
แนวคาตอบข้ อ 2.2
สำนวนนั้นเกิดจำกมูลเหตุต่ำง ๆ เป็ นต้นว่ำเกิดจำกธรรมชำติ เกิดจำกกำรกระทำ เกิดจำก
เครื่ องแวดล้อม เกิ ดจำกอุบตั ิเหตุ เกิ ดจำกแบบแผนประเพณี เกิ ดจำกลัทธิ ศำสนำ เกิ ดจำกควำม
ประพฤติ เกิดจำกกำรเล่น เกิดจำกเรื่ องแปลกๆ ที่เกิดขึ้น เกิดจำกนิยำยหรื อนิทำนตำนำน ตลอดจน
พงศำวดำรหรื อประวัติศำสตร์ และอะไรต่ออะไรอื่น ๆ อีกมำกมำยแล้วแต่สมัยเวลำ มูลเหตุต่ำง ๆ
ดังกล่ำว ใครช่ำงคิดช่ำงนึ กช่ำงสังเกตและเป็ นคนมีโวหำรก็นำเอำแต่ใจควำมมำพูดสั้น ๆ เป็ นกำร
เปรี ยบบ้ำงเทียบบ้ำงเปรยบ้ำง กระทบบ้ำงประชดประชันบ้ำง พูดเล่นสนุ กๆ ก็มีพูดเตือนสติให้คิด
ก็มีต่ำง ๆ กันที่เกิดจำกธรรมชำติก็ เช่น “ตื่นแต่ ไก่ โห่ ” คือธรรมชำติของไก่ยอ่ มขันในเวลำเช้ำมืด
เสมอ ตื่นแต่ไก่โห่ก็คือตื่นแต่ไก่ขนั หมำยถึงตื่นแต่เช้ำยันมืด ที่เกิดจำกกำรกระทำก็เช่น “ไกลปื น
เทีย่ ง” คือเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๓o ในรัชกำลที่ ๕ เริ่ มยิงปื นใหญ่เวลำ ๑๒. oo นำฬิกำ ในพระนครให้รู้
ว่ำเป็ นเวลำเที่ ยงวัน คนในพระนครได้ยิน คนอยู่ไกลออกไปก็ไม่ได้ยิน จึ งเกิ ดเป็ นสำนวนพูด
หมำยไปถึ งข่ำวครำวต่ำง ๆ ที่เกิ ดในพระนคร คนอยู่ไกลไม่ได้ยินได้ฟังไม่รู้เลยว่ำ “อยู่ไกลปื น
เที่ยง” และหมำยเลยไปถึ งว่ำเป็ นคนบ้ำนนอกคอกนำที่เกิ ดจำกเครื่ องแวดล้อม เช่น “ก้ นหม้ อไม่
ทันดา” คือกำรหุ งข้ำว กว่ำก้นหม้อจะติดเขม่ำดำก็กินเวลำนำน โบรำณผัวเมียอยูด่ ว้ ยกันก็ตอ้ งมี
ครัวมีเครื่ องครัวใหม่ เช่น หม้อสำหรับหุ งข้ำวกิน บำงคู่หุงข้ำวกินก้นหม้อไม่ทนั มีเขม่ำจับดำก็เลิก
กัน จึงเกิดเป็ นสำนวนพูดหมำยถึงว่ำเลิกกันง่ำย คืออยูก่ ินด้วยกันไม่ทนั ก้นหม้อดำก็เลิกกันแล้ว ที่
เกิ ดจำกอุ บตั ิ เหตุ เช่ น “ตกกระไดพลอยโจร” คนหนึ่ งตกกระได คนที่ อยู่ในที่ น้ นั ด้วยก็ ม กั จะ
กระโจนเข้ำไปช่ วย หรื อเมื่อรู ้ ว่ำจะตกกระได แต่มีสติดีอยู่ก็รีบโจนไปให้มีท่ำทำงจึ งเรี ยกว่ำ ตก
กระไดพลอยโจน ที่เกิ ดจำกระเบียบแบบแผนประเพณี เช่ น “ฝักรกฝังราก” มำจำกพิธีทำขวัญ
ทำรกเกิดได้สำมวัน เอำรกกับมะพร้ ำวแทงหน่ อไปฝั งดิ น ที่เกิดจำกลัทธิ ศำสนำ เช่น “ขนทราย
เข้ าวัด” มำจำกทำบุญก่อพระทรำยที่ วดั ที่เกิ ดจำกควำมประพฤติ เช่ น “กินข้ าวร้ อนนอนสาย”
หมำยถึงมีชีวติ อยูส่ บำย เหล่ำนี้เป็ นต้น
แนวคาตอบข้ อ 2.1
คำพูดของมนุ ษย์ที่เป็ นสำนวนดังกล่ำวเชื่ อได้วำ่ มีมำแต่ครั้งโบรำณดึกดำบรรพ์และเกิ ดขึ้น
ตำมยุคตำมสมัยที่เหตุกำรณ์ บำ้ นเมืองเปลี่ยนแปลงมำ สำนวนเก่ำที่สูญไปก็คงมำก ที่คงอยู่ก็มีไม่
น้อย ที่กำลังเกิดขึ้นใหม่ก็มีมำเรื่ อย ๆ คงจะเป็ นดังนี้เหมือนกันหมดทุกชำติทุกภำษำ

…………………………………………..

You might also like