You are on page 1of 69

พืชเศรษฐกิจกับการค้าของประเทศไทย

2305106 PLANTS/HUMANITY
วันพุธ ที 4 กันยายน 2556

โดย
ผศ.ดร.จูน เจริ ญเสี ยง และ รศ.ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร
คณะเศรษฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1
หัวข้อการบรรยาย
 สถานภาพปั จจุบนั ของภาคการเกษตร
 ข้อจํากัดต่อการพัฒนาภาคการเกษตร
 พืชเศรษฐกิจทีสําคัญ
 การพัฒนาภาคการเกษตรของไทย
 อุตสาหกรรมอาหารกับการค้าระหว่างประเทศ
 มาตรการการกีดกันทางการค้าทีมิใช่ภาษี
 มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช
 มาตรการอุปสรรคเทคนิคทางการค้ า
 ระบบ มาตรฐานการผลิต การแปรรูปทีผู้ประกอบการไทยใช้
 การบรรยายจะครอบคลุมตัวอย่างสินค้ า เช่นผลไม้ ข้ าว ปาล์ม และยางพาราเป็ นหลัก

2
สถานภาพปั จจุบนั ของภาคการเกษตร

3
รายได้จากภาคการเกษตรและนอกภาคการเกษตรของไทย
4,500.0

4,000.0

3,500.0

3,000.0

2,500.0

2,000.0

1,500.0

1,000.0

500.0

0.0
1979 1981 1983 1985 1987 1989 1991 1993 1995 1997 1999 2001 2003 2005

ภาคเกษตร นอกภาคเกษตร

ปี 2006-2008 สัดส่วนรายได้จากภาคเกษตร อยูท่ ี ร้อยละ 8.97 8.7 และ 8.91 ตามลําดับ 4


การจ้างงานในภาคการผลิตต่างๆ
= 1,000,000 employed persons
50.0%

40.0% Agriculture
% of total employment in 2001

30.0%

20.0%
Services
Wholesale & Retail
10.0%
Transport Transportation
(Manufacturing) Food
0.0%
-40.0% -30.0% -20.0% -10.0% 0.0% 10.0% 20.0%
CAGR of employment, 1997-2001
Remark: Total employed persons as of the third quarter in 2001 = 33.5 million people
Source : National Statistical Office, Office of the Prime Minister & NESDB 5
จํานวนแรงงานทังประเทศ แรงงานภาคเกษตร แรงงานในการ
ผลิตข้ าวและสัดส่ วนเปรี ยบเทียบ ของแรงงาน ปี 2516-2549

ช่วงปี แรงงาน แรงงานเกษตร แรงงานผลิตข้าว


ทังหมด จํานวน สัดส่วน จํานวน สัดส่วน
(ล้านคน) (ล้านคน) (ร้อยละ) (ล้านคน) (ร้อยละ)
2516-2520 22.8 15.3 67.0 10.8 47.5
2531-2535 32.3 19.4 60.0 11.8 36.4
2546-2549 36.3 15.3 42.2 9.8 27.1

หมายเหตุ : แรงงานผลิตขาวคํ
้ านวณจากการใช้สั ดส่วนของครัวเรือนทีป
่ ลูกขาวต
้ อ่
ครัวเรือนเกษตรทัง้ หมดแลวคู
้ ณดวยจํ
้ านวนแรงงานเกษตร จากฐานขอมู ้ ลของศูนย ์
สารสนเทศการเกษตร สํ านักงานเศรษฐกิจการเกษตร
(ทีม
่ า : สมพร อิศวิลานนท,์ 2553)
6
เนือทีถือครองทําการเกษตร จําแนกตามการใช้ประโยชน์ทีดิน
ประเทศไทยมีพืนทีทางการเกษตรกว่า 130 ล้านไร่
120
5.0 ทีอืนๆ
100 3.3 6.0
0.4 1.1 1.2 0.9 ทุง่ หญ้ าเลียงสัตว์
1.4 1.2
18.8 19.1 19.7 ทีปลูก พืชผัก สมุนไพร
80
และไม้ ดอกไม้ ประดับ
10.6 10.5
11.7 ทุง่ หญ้ าเลียงสัตว์
ร้อยละ

60 9.4 ทุทีงปลู ก พืาเลี


่ หญ้ ชไร่ยงสัตว์
8.6 12.1 ทีปลูก พืชไร่
ทีปลูก พืชยืนต้ น
40
ไม้ ผล และสวนป่ า
56.1 52.3 50.6
20 ทีปลูก ยางพารา
ทีปลูก ข้ าว
0
2541 2546 2551
(ทีมา : สํานักงานสถิติแห่งชาติ, 2551) 7
ประเทศไทยเป็ นประเทศเกษตรกรรม มีพนที ื ทีเหมาะสมแก่
การทําการเกษตรทีหลากหลาย พืนทีกว่า 149.2 ล้ านไร่ หรื อประมาณ 45% of ถูกใช้
ในการเกษตรและสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหาร
การใช้ พนที
ื เกษตรในประเทศไทย ปี 2554
ภาคตอ/น
ภาคเหนือ
นา
นา Loei Sakon
nakorn
พืชไร่

พืชไร่ Kalasin
ไม้ยนื ต้น
ไม้ยนื ต้น
Maha
Sara Roi-et สวนผัก
kham

สวนผัก อืนๆ
Surin
อืนๆ

ภาคกลาง
ภาคใต้
นา
พืชไร่ นา

ไม้ยนื ต้น พืชไร่

สวนผัก ไม้ยนื ต้น

อืนๆ สวนผัก
อืนๆ

ทีมา สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
http://www.oae.go.th/download/use_soilNew/soiNew/landused2554.html
จํานวนผูถ้ ือครองทําการเกษตร จําแนกตามขนาดเนือทีถือครอง
โดยส่ วนใหญ่จะเป็ นทีดินขนาดเล็ก
กล่าวคือ กว่าร้อยละ 80 ของเกษตรกรจะมี
120 ขนาดการถือครองทีดินอยูร่ ะหว่าง 2-39 ไร่
0.4 0.5 0.5
100
9.0 10.8 9.2
80 140 ไร่ขึนไป
51.6 40-139 ไร่
ร้อยละ

60 57.5 51.1
10-39 ไร่
40
14.0 14.1 6-9 ไร่
14.0
20 ตํากว่า 6 ไร่
19.1 23.6 24.6
0
2541 2546 2551
ทีมา : สํานักงานสถิติแห่งชาติ, 2551
9
ประสิ ทธิภาพการผลิตข้อมูลปี 2547 และ 2550
ข้าว ประเทศ ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่ ) มันสําปะหลัง ประเทศ ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่ )
ไทย 424 481 ไทย 3,244 3668
เวียดนาม 768 779 บราซิล 2,177 2247
อินเดีย 468 513 ไนจีเรี ย 1,526 1901

ยางพารา ประเทศ ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่ ) สับปะรด ประเทศ ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่ )


ไทย 231 273 ไทย 3616 3702
มาเลเซีย 147 145 ฟิ ลิปปิ นส์ 5729 6070
อินโดนีเซีย 101 128 บราซิล 5938 6599

อ้อย ประเทศ ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่ ) ปาล์มนํามัน ประเทศ ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่ )


ไทย 10,429 10194 ไทย 2,678 2399
ออสเตรเลีย 14,360 13714 มาเลเซีย 2,967 3280
บราซิล 11,688 12255 อินโดนีเซีย 2,772 2725
10
ทีมา สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ข้อจํากัดต่อการพัฒนาภาคการเกษตรไทย
 ทีดิน
 ปั ญหาการถือครองทีดิน
 ความเสื อมโทรมของคุณภาพดินและสิ งแวดล้อม
 เกิดจากเหตุธรรมชาติ
 เกิดจากการใช้ดินอย่างผิดพลาด
 การบุกรุ กทําลายป่ า ทําให้สภาพแวดล้อมเสื อมโทรม
 นํา
 การนําเทคโนโลยีใหม่ๆมาใช้

11
ระบบตลาดทีทําให้เกษตรกรเสี ยเปรี ยบ

100%

90%

80%

70%

60%

50%

40%

30%

20%

10%

0%
2539 2543

ผู ้บรโิ ภคโดยตรง พ่อ ค ้าในหมู่บ ้าน พ่อ ค ้านอกหมู่บ ้าน พ่อ ค ้าเร่ โรงงานแปรรูป ตลาดกลาง สหกรณ์/กลุ่ม

ทีมา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 12


ความผันแปรจาก
ปัญหาของเกษตรกร ธรรมชาติ
ขาดแคลนทีดินทํากิน ขาดองค์ กรทีพึงได้ ทาง สังคม ตลาด

ขาดทุนรอนทีใช้ ทาํ กิน ขาดระบบตลาดทีไม่ ทาํ ให้


ขาดทักษะการบริหารเงิน เกษตรกรเสียเปรียบ

ขาดการจัดการสิงอํานวย
ความสะดวกพืนฐาน
ปรัชญาของ
ราคาผลผลิตตํา
เศรษฐกิจพอเพียง
แต่ ต้นทุนแพงขึน
ประสิ ทธิภาพตํา
ตกอยู่ในวงจรทียากต่ อการพัฒนา
13
พืชเศรษฐกิจ: การค้าระหว่างประเทศ

14
ความเกียวโยงกับภาคเศรษฐกิจอืน
อุตสาหกรรมอาหาร
•การถนอมอาหาร
ภาคการเกษตร •การเพิมมูลค่ าด้ วยวิธีต่างๆ
ข้ าว พืชไร่ พืชสวน ผัก ผลไม้ •การแปรรู ป

อุตสาหกรรมอืน
เช่ น พลังงานทดแทน
แฟชัน ยางต่ างๆ ฯลฯ

15
ดุลการค้า สิ นค้าเกษตรและสิ นค้านอกการเกษตร

ทีมา สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

16
การส่ งออกสิ นค้าเกษตรของไทย ล้านบาท

ทีมา สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 17


มูลค่าการค้าสิ นค้าเกษตร ปี 2554
ล้านบาท
300000

250000

200000

ส่งออก
150000
นําเข้า
ดุลการค้า
100000

50000

0
จีน ญีปุ่ น สหรัฐอเมริ กา สหภาพยุโรป อาเซียน

18
การค้าพืชเศรษฐกิจทีสําคัญ
 ข้าว
 ไทยส่งออกข้าวมากเป็ นอันดับหนึงของโลกมานานกว่า 20 ปี ติดต่อกัน
 ไทยมีส่วนแบ่งการตลาดประมาณร้อยละ 30 ของปริ มาณการค้าข้าวของโลก คู่แข่งทีสําคัญของไทย คือ
เวียดนาม จีนและสหรัฐอเมริ กา ตามลําดับ
 มีตลาดข้าวทีสําคัญ คือ ประเทศแถบเอเชียและตะวันออกกลาง โดยมีประเทศคู่คา้ ทีสําคัญ คือ
อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ จีน อิหร่ าน และซาอุดิอะราเบีย
 มันสําปะหลัง
 เป็ นพืชทีมีความสําคัญเป็ นอันดับ 7 ของโลก ไทยส่งออกมากทีสุ ดในโลก
 ผลผลิต ใช้เป็ นอาหารเสริ มในรู ปหัวมันสด เป็ นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่อเนือง เช่น อุตสาหกรรมแป้ ง
มันสําปะหลัง อุตสาหกรรมขนม อุตสาหกรรมทํากระดาษ ทอผ้า ทําโฟม ผงชูรส สาคู แอลกอฮอล์
อุตสาหกรรมเครื องดืม(เบียร์) หรื ออาหารสัตว์ เป็ นต้น
 ประเทศคู่คา้ สําคัญ ได้แก่ มันสําปะหลังอัดเม็ด ไปยัง สเปน เนเธอร์แลนด์ มันสําปะหลังทําเป็ นฝอย ไป
ยัง จีน สตาร์ชทําจากมันสําปะหลังไปยังไต้หวัน
ทีมา สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อมูลปี 2547 19
การค้าพืชเศรษฐกิจทีสําคัญ (ต่อ)
 ยางพารา
 ผลผลิตยางธรรมชาติของโลกประมาณร้อยละ 70 ได้จากแหล่งผลิตสําคัญ คือ ไทย
(ประมาณร้อยละ 30) อินโดนีเซีย และมาเลเซีย
 มีการแปรรู ปเป็ น ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง ถุงมือยาง เป็ นต้น แต่ส่วนใหญ่เป็ นเพียง
การแปรรู ปอย่างง่าย มูลค่าเพิมยังไม่สูง
 ตลาดสําคัญได้แก่มาเลเซีย จีน ญีปุ่ น สหรัฐอเมริ กา เกาหลีใต้
 นําตาล
 เกษตรกรนิยมปลูกเพราะดูแลง่าย ทนทานและเก็บเกียวได้หลายครัง มีปริ มาณผลผลิต
เป็ นอันดับ 4 ของโลก รองจากบราซิล อินเดีย และจีน (1 ใน 5 ของบราซิล)
 ตลาดส่ งออกสําคัญ อินโดนีเซีย ญีปุ่ น มาเลเซีย บังคลาเทศ ไต้หวัน กัมพูชา

ทีมา สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อมูลปี 2547 20


การค้าพืชเศรษฐกิจทีสําคัญ (ต่อ)
 ทุเรี ยน
 การตลาดยังอาศัยพ่อค้าท้องถินและพ่อค้าคนกลาง
 ประเทศทีนําเข้าทุเรี ยนสดมากทีสุ ดคือ ไต้หวัน รองลงมาคือ ฮ่องกง มาเลเซียและสิ งค์
โปร์ ทุเรี ยนแช่แข็ง คือ สหรัฐฯ ออสเตรเลีย และ แคนาดา ตลาดทุเรี ยนกวน คือ สิ งค์
โปร์ ฮ่องกง และออสเตรเลีย มูลค่ารวมประมาณ 2,226 ล้านบาท
 ลําไย
 ปลูกมากในภาคเหนือของประเทศ มีราคาผันผวนเนืองจากผลผลิตไม่แน่นอน
เกษตรกรพยายามเร่ งให้ลาํ ไยออกดอกติดผล โดยการใช้สารโซเดียมคลอเรต
 ผลผลิตอยูใ่ นรู ป ลําไยแห้ง ลําไยแช่แข็ง ลําไยกระป๋ อง ตลาดต่างประเทศสําคัญ ได้แก่
ฮ่องกง อินโดนีเซีย สิ งค์โปร์ แคนาดา มาเลเซีย สหรัฐฯ สหราชอาณาจักร ฝรังเศส
เกาหลีใต้ เป็ นต้น
 มูลค่า ลําไยสดหรื อแช่เย็นจนแข็ง 2,193 ล้านบาท ลําไยแห้ง 1,540 ล้านบาท
ทีมา สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อมูลปี 2547 21
การค้าพืชเศรษฐกิจทีสําคัญ (ต่อ)
 สับปะรด
 ไทยผลิตได้มากทีสุ ดในโลก แต่ผลผลิตต่อไร่ ตาเนื ํ องจากความสมบูรณ์ของดินเสื อม
ลงทําให้มีการใช้ปุ๋ยเคมีเพิมขึน
 สับปะรดบรรจุภาชนะอัดลมมูลค่า 11,165 ล้านบาท นําสับปะรด 4,582 ล้านบาท
สับปะรดแปรรู ปเป็ นขนม เช่น สับปะรดกวน สับปะรดเชือมและขนมอืนๆ 1,014
ล้านบาท สับปะรดสดหรื อแช่แข็ง 152 ล้านบาท
 คู่คา้ สําคัญได้แก่ สหรัฐอเมริ กา เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี สเปน ญีปุ่ น เป็ นต้น
คู่แข่งสําคัญได้แก่ ฟิ ลิปปิ นส์ บราซิล อินเดีย
 มะม่วง
 มีการส่ งออกมะม่วงสดมูลค่า 173 ล้านบาท โดยมีผนู้ าํ เข้าสําคัญ ได้แก่ ญีปุ่ น มาเลเซีย
สิ งค์โปร์

ทีมา สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อมูลปี 2547 22


การค้าพืชเศรษฐกิจทีสําคัญ (ต่อ)
 มังคุด
 มีการส่ งออกทังในรู ปมังคุดสดและมังคุดแช่แข็ง ผูน้ าํ เข้ามังคุดสดสําคัญได้แก่
ไต้หวัน ญีปุ่ น สิ งค์โปร์ สหรัฐอเมริ กา แคนาดา ประเทศผูน้ าํ เข้ามังคุดแช่แข็งสําคัญ
ได้แก่ ญีปุ่ น ไต้หวัน ฮ่องกง ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริ กา
 พืชผัก
 เป็ นสิ นค้าทีมีศกั ยภาพในการขยายตลาดทังในและต่างประเทศ โดยเฉพาะการส่ งออก
ผักแช่เย็นและผักกระป๋ อง มูลค่าการส่ งออก พืชสวนผักและผลิตภัณฑ์ประมาณ
18,987ล้านบาท
 ตลาดส่ งออกทีสําคัญได้แก่ สหรัฐอเมริ กา ประชาคมยุโรป ญีปุ่ น ฮ่องกง และสิ งค์โปร์
 พันธุ์พืชทีนําเข้าจากต่างประเทศและได้รับการพัฒนาจนเพาะปลูกในประเทศได้
คุณภาพตามต้องการได้แก่ มันฝรัง กระเทียม หอมหัวใหญ่ หน่อไม้ฝรัง กระเจียบเขียว
มะเขือเทศ เป็ นต้น
ทีมา สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อมูลปี 2547 23
การพัฒนาภาคการเกษตร

24
เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
ความพอดี (dynamic optimum) ทีไม่มาก
ไม่นอ้ ยเกินไปในมิติของการกระทํา เช่นกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจ(การผลิตและการบริ โภค) ทีอยูใ่ นระดับ
ความพอประมาณ พอประมาณเพือนําไปสู่ ความสมดุลต่อการรองรับการ
(Moderation) เปลียนแปลง

เกียวกับระดับของความพอประมาณในมิติต่างๆนัน
ความพอดี จะต้องเป็ นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจาก เหตุ
ปั จจัย และข้อมูลทีเกียวข้อง ตลอดจนผลทีคาดว่าจะ
(dynamic optimum) เกิดขึนจากการกระทํานันๆ อย่างรอบคอบ

การภูมคิ ุ้มกันในตัวทีดีพอสมควร เพือเตรี ยมตัวพร้อมรับผลทีคาดว่าจะเกิดขึนจาก


(Self-Immunity) การเปลียนแปลงด้านต่างๆ

25
เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
 เศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ
 ความพอประมาณ (Moderation)
 ความพอดี (dynamic optimum) ทีไม่มากไม่นอ้ ยเกินไปในมิติของการกระทํา เช่นกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจ(การผลิตและการบริ โภค) ทีอยูใ่ นระดับพอประมาณเพือนําไปสู่ความสมดุลต่อการรองรับการ
เปลียนแปลง
 ความพอดี (dynamic optimum) ทีไม่มากไม่นอ้ ยเกินไปในมิติของการกระทํา เช่น
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ(การผลิตและการบริ โภค) ทีอยูใ่ นระดับพอประมาณเพือนําไปสู่ ความ
สมดุลต่อการรองรับการเปลียนแปลง)
 การตัดสิ นใจเกียวกับระดับของความพอประมาณในมิติต่างๆนัน จะต้องเป็ นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา
จาก เหตุ ปัจจัย และข้อมูลทีเกียวข้อง ตลอดจนผลทีคาดว่าจะเกิดขึนจากการกระทํานันๆ อย่างรอบคอบ
 การมีภูมิคุม้ กันในตัวทีดีพอสมควร (Self-Immunity)
 เพือเตรี ยมตัวพร้อมรับผลทีคาดว่าจะเกิดขึนจากการเปลียนแปลงด้านต่างๆ เนืองจาก เศรษฐกิจพอเพียงเป็ น
ปรัชญาทีมองโลกเชิงระบบทีมีลกั ษณะพลวัตร การกระทําทีจะสามารถเรี ยกได้วา่ พอเพียง (systematic
and dynamic optimum) นัน จึงไม่ใช่แต่จะคํานึงถึงเหตุการณ์และผลในปัจจุบนั เท่านัน แต่ตอ้ ง
คํานึงถึงความเป็ นไปได้ในสถานการณ์ต่างๆ ทีคาดว่าจะเกิด ภายใต้ขอ้ จํากัดของความรู ้ทีมีอยูแ่ ละสร้าง
ภูมิคุม้ กันในตัวให้พอเพียงพร้อมรับต่อการเปลียนแปลงนันๆ ได้ 26
เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
 เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นเพียงปรัชญาหรื อกรอบแนวคิดทีชีบอกหลักการและ
แนวทางปฏิบตั ิของทฤษฎีใหม่
 ทฤษฎีใหม่เป็ นตัวอย่างภาคปฏิบตั ิของเศรษฐกิจพอเพียงโดยเฉพาะอย่างยิงใน
ภาคเกษตร
 เกษตรทฤษฎีใหม่เป็ นเกษตรยังยืนรู ปแบบหนึงนอกเหนือจากเกษตร
ผสมผสาน วนเกษตร เกษตรอินทรี ยแ์ ละเกษตรธรรมชาติ ซึ งเน้นการ
จัดระบบการผลิตทางการเกษตรทีสามารถคงอัตราการผลิตระดับสูงให้ได้ใน
ระยะยาว โดยใช้ทรัพยากรทีมีอยูอ่ ย่างเหมาะสมและเกิดประโยชน์สูงสุ ด
พร้อมกับคํานึงถึงดุลยภาพของสิ งแวดล้อม นอกจากนียังให้ความสําคัญกับ
การผลิตทีไม่เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ อันจะนําไปสู่การผลิตทียังยืนและรักษา
อาชีพเกษตรกรรมให้เป็ นอาชีพทีมันคงสําหรับเกษตรกรต่อไป

27
เกษตรทฤษฎีใหม่
 แนวพระราชดําริ “พอมีพอกินเป็ นขันทีหนึง ขันต่อไปให้มีเกียรติยืนได้ดว้ ย
ตนเอง ขันทีสามให้นึกถึงผูอ้ ืน”
พึงตนเอง การรวมกลุ่มกัน สร้ างความเข้ มแข็งระดับประเทศ

 ขันที 1 เลียงตัวเองได้อย่างพอเพียง
 ขันที 2 มีการรวมกลุ่มกันเพือดําเนินกิจกรรมต่างๆ เช่น การตลาด สวัสดิการ
การศึกษา เพือให้ชุมชนเข้มแข็ง
 ขันที 3 สร้างความเข้มแข็งระดับประเทศ โดยติดต่อร่ วมมือกับแหล่งเงิน
แหล่งพลังงาน แหล่งตลาด เป็ นต้น นําไปสู่การลดต้นทุน และการพัฒนา
คุณภาพชีวิต
 ภูมิปัญญาท้องถิน + เทคโนโลยีสมัยใหม่
จากกรอบแนวคิดทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มีนาคม282546
การพัฒนาการเกษตร (แผนยุทธศาสตร์ของประเทศ)
1. การปรับเปลียนจากฐานการผลิตทีเน้นใช้ทรัพยากรก้าวเป็ นฐานการผลิตจากองค์
ความรู ้
Resource Base Knowledge Base
2. การเพิมผลตอบแทน การสร้างมูลค่า
3. การพัฒนาปรับปรุ งคุณภาพจากไร่ นาถึงโต๊ะอาหาร (From Farm to Table)
 ระดับไร่ นา Good Agricultural Practice (GAP), Thailand Quality
Management System in Agriculture: TQA, Code of Conduct: CoC
 ระดับโรงงาน Good Manufacturing Practice (GMP), Hazard Analysis
Critical Control Point (HACCP)
 ระบบตรวจสอบรับรองคุณภาพและความปลอดภัยของสิ นค้า

29
เกษตรอินทรี ย ์ (Organic Farming)
การผลิตสิ นค้าเกษตรอินทรี ยน์ นมี
ั หวั ใจสําคัญคือต้องไม่มีการใช้สารเคมีใดๆในขันตอนการผลิต

บริ โภคหรื อ
การเตรียมดิน การปลูก การบํารุ งรั กษา การเก็บเกียว
แปรรู ป

•เป็ นพืนทีทีไม่เคย •เมล็ดพันธุ์ ห้ามใช้พืชทีมีการตัดแต่งทาง ตลาดทีสําคัญคือ


ทําการเกาตรทัวๆไป พันธุกรรม สหรัฐอเมริ กา สหภาพยุโรป
ทีมีการใช้สารเคมีมา •ห้ามใช้ ปุ๋ ยเคมี ยาฆ่าหญ้า ยากําจัดศัตรู พืช (โดยเฉพาะ เยอรมัน สหราช
ไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี และฮอร์โมนสังเคราะห์ อาณาจักร และฝรังเศส
•อยูห่ ่ างจากโรงงาน
อุตสาหกรรม
•อยูห่ ่ างจากแปลงที
ใช้สารเคมีและ มีมาตรฐานการผลิตและการตรวจสอบรับรองจากสํานักมาตรฐาน
ปุ๋ ยเคมี เกษตรอินทรี ย ์ กรมวิชาการเกษตรและหน่วยงานระหว่างประเทศ
•มีแหล่งนําปลอด
สารพิษ 30
หมายเหตุ
 สิ นค้ าเกษตรไร้ สารพิษหรือสิ นค้ าเกษตรปลอดสารพิษ
 ด้านปัจจัยการผลิตสามารถใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมีกาํ จัดเชือราและฮอร์โมนสังเคราะห์ได้
แต่ตอ้ งไม่ใช้สารเคมีในการกําจัดแมลงและสารเคมีในการกําจัดวัชพืช อย่างไรก็ตาม
ไม่ระบุถึงการห้ามใช้สินค้าตัดแต่งพันธุกรรม เน้นความปลอดภัยของผูบ้ ริ โภคเป็ น
หลัก
 สิ นค้ าเกษตรปลอดภัยจากสารพิษหรือสิ นค้ าเกษตรอนามัย
 ด้านปัจจัยการผลิตไม่ได้ระบุถึงการห้ามใช้สินค้าตัดต่างพันธุกรรม ปุ๋ ยเคมี ยาฆ่าหญ้า
และยาป้ องกันกําจัดศัตรู พืช แต่คาํ นึงถึงความปลอดภัยต่อผูบ้ ริ โภคเป็ นหลัก ผลผลิตี
เก็บเกียวได้ยงั มีสารพิษตกค้างไม่เกินปริ มาณทีกําหนดไว้ตามประกาศกระทรวง
สาธารณสุ ข
 มีกรมวิชาการเกษตรเป็ นผูต้ รวจสอบ

31
GMO
genetically modified organism

 การดัดแปลงพันธุ์พืชและสัตว์ดว้ ยกรรมวิธีตดั ต่อดัดแปลงสารพันธุกรรม จะ


ทําให้ได้พืชและสัตว์พนั ธุ์ดีตรงตามความต้องการของตลาด ต้านทานศัตรู พืช
ได้ดี ไม่วา่ จะอยูใ่ นภาวะแวดล้อมใด
 ปัญหา
 ความชัดเจนว่าอาหารเหล่านีจะไม่เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ
 ผลต่อสภาพแวดล้อม
 ความเป็ นเจ้าของผลงาน
 ประเทศทียอมรับ: USA, Argentina, Canada, China, South Africa, India
 ประเทศทีไม่ยอมรับ: กลุ่มสหภาพยุโรป ญีปุ่ น

32
อุตสาหกรรมอาหารกับการค้าระหว่ างประเทศ

33
อุตสาหกรรมอาหารกับการค้าระหว่างประเทศ
Nation Standards
WTO 1. White Paper on Food Safety (EU)
2. USFDA (USA)
1. Rules of Origin 3. Food Sanitation Law
2. Preshipment Inspection 4. JAS standard
3. Valuation for Customs Purposes 5. Quarantine Law (Japan)
4. Import Licensing Procedures 6. Standard Food Code (Australia)
5. TBT 7. Canadian’s FDA (Canada)
6. SPS etc.
Codex Alimentarius International Other Barriers
Commission (Codex)
Example : HACCP, GMP, Food Trade •The Farm Bill 2002 (USA)
•CAP (EU)
GAP etc. etc.

International Office of Other Regulations


Epizootics (IOE)
•Halal
•Animal Welfare
International Plant •Green dot
Protection Convention etc.
(IPPC)

34
หน่วยงานสากลด้านมาตรฐานความปลอดภัยอาหาร

 ด้านความปลอดภัยทางอาหาร (Codex Alimentarius Commission)


โดยคณะกรรมาธิการมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ
 ด้านความปลอดภัยของสุขอนามัยสัตว์: International Office of
Epizootics (IOE) โดย สํานักโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ
 ด้านสุขอนามัยพืช: International Plant Protection Convention
(IPPC) โดยอนุสญ ั ญาการคุม้ ครองพืชระหว่างประเทศ

35
องค์การการค้าโลก (World Trade Organization)
 จัดตังเมือ 1 มกราคม 2538
 มีวตั ถุประสงค์ คือ ต้องการให้การค้าระหว่างประเทศเป็ นไปอย่างเสรี
ปราศจากอุปสรรคและข้อกีดกันทางการค้าเพือให้การใช้ทรัพยากรซึ งมีอยู่
อย่างจํากัดเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยวางกฎเกณฑ์เกียวกับการค้าสิ นค้า
และบริ การ ทรัพย์สินทางปัญญา มาตรการลงทุนทีเกียวเนืองกับการค้า
ตลอดจนกระบวนการในการระงับข้อพิพาท
 ประเทศสมาชิก 147 ประเทศ
 ประเทศไทยเป็ นสมาชิกลําดับที 59

36
WTO และความตกลงเกียวกับการนําเข้าและการส่ งออก
อาหารระหว่างประเทศ
1. Rules of Origin ความตกลงว่าด้วยกฎเกียวกับแหล่งกําเนิดสิ นค้า
2. Preshipment Inspection ความตกลงว่าด้วยการตรวจสอบก่อนส่ งออก
3. Valuation for Customs Purposes ความตกลงว่าด้วยการประเมินราคาเพือการศุลกากร
4. Import Licensing Procedures ความตกลงว่าด้วยวิธีดาํ เนินการออกใบอนุญาตนําเข้า
5. Technical Barriers to Trade ความตกลงว่าด้วยอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า
6. Sanitary and Phytosanitary Measures ความตกลงว่าด้วยการบังคับใช้มาตรการ
สุ ขอนามัยและสุ ขอนามัยพืช

37
เขตการค้าเสรี (Free Trade Area)
 FTA เป็ นความตกลงระหว่างประเทศจะเป็ น 2 ประเทศหรื อมากกว่านัน
ทีมีวตั ถุประสงค์เพือจะลดอุปสรรคทางการค้าระหว่างกันให้เหลือน้อย
ทีสุ ด เพือให้เกิด ‘Free Trade’ หรื อการค้าเสรี ระหว่างประเทศคู่สัญญา
ถือเป็ นรู ปแบบพืนฐานของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
 AFTA (Asean Free Trade Area) เขตการค้าเสรี อาเซียน AEC
 NAFTA
 ปั จจุบนั ประเทศต่างๆหันมาใช้ FTA เป็ นเครื องมือในการเปิ ดเสรี
เนืองจาก FTA นัน เจรจาง่ายกว่า WTO ซึ งใช้หลักฉันทามติในการเจรจา
นันคือประเทศสมาชิก WTO ทัง 147 ประเทศ

38
สิ นค้าเกษตรกับ FTA
 เนืองจากภาคการเกษตรเป็ นภาคการผลิตทีเกียวข้องกับคนจํานวนมาก รวม
กับราคาสิ นค้าเกษตรมีความอ่อนไหวสูงเนืองจากเป็ นสิ นค้าทีมีระยะเวลาเก็บ
รักษาจํากัด ไม่สามารถปรับเปลียนปริ มาณผลผลิตได้ในระยะเวลาอันสัน
 เพือเป็ นการปกป้ องไม่ให้ราคาพืชผลเกษตรภายในประเทศตกตํา ประเทศ
ต่างๆจึงมักใช้ภาษีศุลกากรเพือเกราะป้ องกันสิ นค้าเกษตรจากการแข่งขันใน
ตลาดโลก
 การเจรจาทํา FTA จึงต้องมีความระมัดระวังในการเจรจาเป็ นพิเศษ โดยกรอบ
การลดอัตราภาษีโดยทัวไปจะยาวนานกว่าสิ นค้าชนิดอืนๆ รวมทังมีการใช้
มาตรการโควตา มาตรการปกป้ องพิเศษ ซึ งจะมีการขึนภาษีอตั โนมัติเมือมี
การนําเข้าสิ นค้าเกษตรชนิดใดชนิดหนึงอย่างรวดเร็ วจนอาจส่ งผลกระทบต่อ
เกษตรกรในประเทศ

39
ยุทธศาสตร์การทํา FTA สําหรับสิ นค้าเกษตร
 เน้นสิ นค้าเกษตรทีไทยมีศกั ยภาพการแข่งขันสูง เช่น ข้าว ผลไม้เมืองร้อน ยางพารา
และอาหารแปรรู ปชนิดต่างๆ เช่น อาหารแช่แข็งและอาหารสําเร็ จรู ป
 กําหนดให้มีระยะเวลาในการปรับตัวทีนานเพียงพอสําหรับสิ นค้าเกษตรทีมีความ
อ่อนไหว
 ให้มีการเจรจาเพือแก้ปัญหาสุขอนามัย ความปลอดภัยของอาหารและสิ งแวดล้อม
ขณะเดียวกันยังให้มีความร่ วมมือกันในเรื องการอํานวยความสะดวกทางการค้า
โดยจัดทําความตกลงมาตรฐานสิ นค้าซึงกันและกัน (Mutual Recognition
Arrangement: MRA) รวมทังการถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างกัน
 ให้มีการกําหนดมาตรฐานสิ นค้าเกษตรนําเข้าเพือความปลอดภัยแก่ผบู ้ ริ โภคชาว
ไทย

40
มาตรการทีมิใช่ภาษี

รองศาสตราจารย์ ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร


41
ขอบเขตการบรรยาย

 มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช
 มาตรการอุปสรรคเทคนิคทางการค้ า

 ระบบ มาตรฐานการผลิต การแปรรู ปทีผู้ประกอบการไทยใช้

 ระบบ มาตรฐานการผลิต การแปรรู ปทีผู้นําเข้ าต่างประเทศใช้

รองศาสตราจารย์ ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร 42


มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช
(Sanitary and Phytosanitary Standard :SPS)

 มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and


Phytosanitary Standard :SPS) หมายถึงมาตรการด้ านความ
ปลอดภัยในสินค้ าเกษตรและอาหารทีบังคับใช้ ภายใต้ กฎหมาย
กฎระเบียบ ประกาศ คําสังต่างๆ เพือปกป้องอันตรายและความ
เสียงทีจะเกิดขึนต่อชีวิต หรื อสุขอนามัยของคนสัตว์ (รวมทัง
สัตว์นํา) หรื อพืช

รองศาสตราจารย์ ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร 43


มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (ต่ อ)
(Sanitary and Phytosanitary Standard :SPS)

 ตามหลักเกณฑ์ขององค์การการค้ าโลก (World Trade Organisation –


WTO) ว่าด้ วยความตกลงด้ านสุขอนามัย (Sanitary and
Phytosanitary Agreement – APSA) ปี 1994 ในเจรจาการค้ ารอบ
Uruguay Round ซึงอนุญาตให้ ประเทศสมาชิก WTO สามารถออก
มาตรการ SPS ทีจําเป็ นในการควบคุมการนําเข้ าสินค้ าเกษตรและ
อาหารโดยวัตถุประสงค์เพือป้องกันความเสียงหรื ออันตรายทีจะเกิด
ขึนกับคน สัตว์ หรื อพืชในประเทศของตนเองได้

รองศาสตราจารย์ ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร 44


มาตรการทีเกียวข้ องกับพืขในส่วนทีเกียวข้ องกับสุขอนามัยและ
สุขอนามัยพืชครอบคลุมสุขภาพพืชและสารอารักขาพืช ดังต่อไปนี
 สุขภาพพืช เป็ นกระบวนการเพือป้องกันการนําเข้ าของสิงมีชีวิตทีเป็ น
ศัตรู พืช อันจะเป็ นอันตรายต่อระบบการผลิตพืชจากประเทศหนึงสูอ่ ีก
ประเทศหนึง ในการนําเข้ าจึงมีข้อกําหนดทีเกียวข้ องกับสุขภาพพืชทีต้ อง
ปฏิบตั ิ อาทิเช่น ใบรับรองปลอดศัตรู พืช การระบุแหล่งทีมาซึงปราศจากโรค
พืชทีเป็ นพืชต้ องห้ าม การจดทะเบียนผู้นําเข้ า การแจ้ งล่วงหน้ าเพือการ
นําเข้ า เป็ นต้ น
 สารอารั กขาพืช เป็ นผลของความพยายามของมนุษย์ทีจะปกป้องพืชทีปลูก
ให้ ปลอดภัยจากการทําลายของศัตรู พืชทังมวล ซึงประเทศผู้นําเข้ าพืชจะมี
การอนุญาตและเพิกถอนสารอารัขาพืช เช่น ในสหภาพยุโรป ใช้ หลักการ
Hazard-based Regime
45
มาตรการอุปสรรคเทคนิคทางการค้ า

 มาตรการอุปสรรคเทคนิคทางการค้ า (Technical Barriers


to Trade: TBT) หมายถึงกฎเกณฑ์ทีเกียวข้ องกับเทคนิค และ
มาตรฐานตามความสมัครใจ ซึงส่งผลต่อคุณลักษณะต่างของ
ผลิตภัณฑ์ อาทิเช่น ขนาด รูปร่าง การออกแบบ ตลอดจนการ
ติดฉลาก การบรรจุหีบห่อก่อนเข้ าสู่ตลาด ตลอดจนขันตอน
กระบวนการซึงจะสามารถทําให้ เกิดความมันใจได้ ว่าผลิตภัณฑ์
นัน ๆ บรรลุกฎเกณฑ์ และมาตรฐานทีถูกวางไว้

รองศาสตราจารย์ ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร 46


มาตรฐานการส่ งออกผักผลไม้ สด

 มาตรฐานการส่งออกของหน่วยงานภายในประเทศ

 มาตรฐานระหว่างประเทศทีเป็ นทีนิยม

 มาตรฐานการส่งออกเพิมเติมทีกําหนดโดยภาคเอกชนใน
บางประเทศ

47
มาตรฐานการส่ งออกของหน่ วยงาน
ภายในประเทศมาตรฐานทีบังคับใช้ โดย
ภาครั ฐของไทย: มาตรฐาน GAP หรื อ Q-GAP

 มาตรฐานการปฏิบตั ิทางการเกษตรทีดี (Good Agricultural


Practice) จากกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ เป็ นหน่วยงานรับรองสินค้ าเกษตร ซึงภาครัฐของ
ไทยกําหนดขึนเพือควบคุมคุณภาพการส่งออกและมาตรฐาน
สินค้ าเกษตรไทยในระดับฟาร์ มหรื อแปลงเพาะปลูก

48
มาตรฐานทีบังคับใช้ โดยภาครัฐของไทย: มาตรฐาน GAP
หรื อ Q-GAP
 ทังนีข้ อกําหนดและเกณฑ์การตรวจประเมินระบบการจัดการ
คุณภาพการปฏิบตั ทิ างการเกษตรทีดี มี 8 ข้ อ ได้ แก่
 แหล่งนํา
 พืนทีปลูก

 การใช้ วต
ั ถุอนั ตรายทางการเกษตร
 การเก็บรักษาและขนย้ ายผลผลิตภายในแปลง

 การบันทึกข้ อมูล

 การผลิตให้ ปลอดจากศัตรู พิช

 การจัดกระบวนการผลิตเพือให้ ได้ ผลผลิตคุณภาพ

 การเก็บเกียว/การปฏิบต ั ิหลังการเก็บเกียว 49
 เมือเกษตรกรปฏิบตั ิตามทัง 8 ข้ อดังกล่าว จะได้ ใบรับรอง
มาตรฐาน GAP ภายใต้ สญ ั ลักษณ์ Q
 กรมวิชาการเกษตรยังให้ บริ การตรวจพืชเพือรับรองการปลอด
ศัตรูพืชให้ ได้ มาตรฐานทางด้ านสุขอนามัยพืชทีสอดคล้ องกับ
ความตกลงว่าด้ วยการใช้ มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช
ภายใต้ WTO และออกใบรับรองปลอดศัตรูพืช (Phytosanitary
Certificate:PC) ให้ กบั พืชและผลิตผลพืชทีจะส่งออกไปยัง
ประเทศต่าง ๆ ตามข้ อกําหนด และเงือนไขการนําเข้ าของ
ประเทศผู้นําเข้ า
50
มาตรฐานภาคเอกชนของไทย: มาตรฐาน ThaiGAP
 มาตรฐาน ThaiGAP เน้ นการปฏิบตั ิในสามองค์ประกอบหลัก คือ ความ
ปลอดภัย (Food Safety) สภาพแวดล้ อม (Environment) ความปลอดภัย
และสวัสดิภาพของผู้ปฏิบตั ิงาน (Worker Health Safety & Welfare)
 วิธีการปฏิบตั ิเพือเข้ าสูก่ ารรับรองระบบ ฯ โดยเฉพาะผักผลไม้ นนั เกษตรกร
จะต้ องใช้ ระบบการบริ หารและจัดการความเสียงในการผลิตอย่างครบวงจร
 มาตรฐาน ThaiGAP ได้ รับการรับรองให้ มีคณ ุ ภาพเทียบเท่ามาตรฐาน
GlobalGAP

51
มาตรฐานระหว่างประเทศทีเป็ นทีนิยม

 มาตรฐาน Codex

 มาตรฐาน IPPC

 มาตรฐาน HACCP

 มาตรฐาน GMP

 มาตรฐาน GlobalGAP

52
มาตรฐาน Codex

 คณะกรรมาธิการโครงการมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ (Codex
Alimentarius Commission) ทําหน้ าทีกําหนดมาตรฐานอาหาร (Codex
Standard) และแนวทางปฏิบตั ิอืน ๆ เพือให้ ประเทศสมาชิกทัวโลกนําไปใช้
เป็ นเกณฑ์ปฏิบตั ิ มุง่ เนนความปลอดภัยและสุขอนามัยของผู้บริ โภค

53
Pesticide US CODEX EU AUS JPN NZ Tha

Azoxystrobin 2 - 0.2 0.5 2 - -


Benomyl 3 2 - 5 2 2 2
Ferbam 7 2 - - 2 2 2
Glyphosate 0.2 - 0.1 0.05 0.2 - -
Imidacloprid 1 0.2 - - 1 0.2 0.2
Inorganic bromide resulting from fumigation 20 - 0.05 - 20 - -
Malathion 8 - 0.5 - 8 - -
Mefenoxam 0.4 - - 0.4 1 - -
Methidathion 0.05 - - 2 0.2 - -
Methoxyfenozide 0.5 - - - 2 - -
Phosphine 0.01 - - - 0.01 - -
Piperonyl butoxide 8 - - - 8 - -
Pyraclostrobin 0.1 0.05 0.05 - - 0.05 0.05
Pyrethrins 1 - 1 - 1 - -
Pyridaben 0.1 - - - 1 - -
Pyriproxyfen 1 - - - 1 - -
Spinosad 0.3 - - - 0.3 - -
54
Thiabendazole 10 5 5 - 3 5 5
กรณี ตวั อย่าง: สหภาพยุโรป

 สหภาพยุโรปได้ ออกกําหนดระเบียบเกียวกับสารปนเปื อนในผักและผลไม้ ที


นําเข้ าจากประเทศนอกสหภาพยุโรป โดยอ้ างอิงข้ อมูลของมาตรฐาน Codex
ได้ แก่ การกําหนดระดับสารปนเปื อนประเภทยาปราบศัตรู พืชในผักผลไม้ และ
ผลิตภัณฑ์จากพืชอืน ๆ หรื อการกําหนดค่าปริ มาณสารตกค้ างสูงสุด (ค่า
MRLs: Maximum Residue Limits) สารปนเปื อน 4 ประเภท ได้ แก่ ไนเตรท
อัลฟาทอกซิน โลหะหนัก และ สารพิษ 3-monochloropropane-1 และ
กําหนดว่าวัสดุทีใช้ สมั ผัสอาหารจะต้ องมีความปลอดภัยและไม่แพร่ สาร
อันตรายจากบรรจุภณ ั ฑ์ไปยังอาหารเกินปริ มาณทีกําหนด หรื อส่งผลให้ ผลิต
ภัณฑอาหารมีรสชาติ หรื อกลินทีเปลียนไป

55
มาตรฐาน IPPC

 อนุสญ
ั ญาว่าด้ วยการอารักขาพืชระหว่างประเทศ (International Plant
Protection Convention: IPCC) ส่งผลให้ เกิดมาตรฐาน IPPC ซึงเป็ น
มาตรฐานทางด้ านสุขอนามัยทีเกียวข้ องกับพืช อยู่ในความรับผิดชอบของ
FAO เน้ นการดําเนินมาตรการเพือป้องกันศัตรู พืชจากประเทศหนึงมิให้ แพร่
ระบาดไปยังอีกประเทศหนึง รวมทังการควบคุมวัสดุตา่ ง ๆ ทีมีโอกาสเป็ น
พาหะของศัตรู พืช เช่น ดิน ภาชนะบรรจุ ตู้เก็บ การขนถ่ายสินค้ า เป็ นต้ น

56
มาตรฐาน HACCP

 ระบบการวิเคราะห์อนั ตรายและจุดวิกฤตทีต้ องควบคุมในการผลิตอาหาร


(Hazard Analysis and Critical Control Point System) เป็ นมาตรฐานการ
ผลิตทีมีมาตรการป้องกันอันตรายทีผู้บริ โภคอาจได้ รับจากการบริ โภคอาหาร
ผู้ผลิตจะต้ องนําระบบ HACCP ไปประยุกต์ใช้ ในกระบวนการผลิตอาหาร
ตังแต่การเตรี ยมวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การบรรจุ การเก็บรักษา การ
กระจายสินค้ า และการจัดจําหน่าย จนถึงมือผู้บริ โภค
 ผู้ผลิตจะต้ องสร้ างระบบการควบคุมการผลิตเพือกําจัดหรื อลดสาเหตุทีจะ
ก่อให้ เกิดอันตรายต่อผู้บริ โภคตลอดห่วงโซ่การผลิต

57
มาตรฐาน GMP
 หลักเกณฑ์วิธีการทีดีสําหรับการผลิต (GMP) เป็ นระบบการจัดการโรงงาน
ขันพืนฐาน เพือลดความเสียงของการปนเปื อนทางด้ านเคมี จุลนิ ทรี ย์ และ
กายภาพในอาหาร ซึงเป็ นแนวทางปฏิบตั ิเกียวกับกระบวนการผลิตในโรงงาน
GMP ทีนํามาเป็ นมาตรการบังคับใช้ เป็ นกฏหมายนันได้ นําแนวทางข้ อกําหนด
เป็ นไปตาม Codex ซึงเป็ นทียอมรับของสากล แต่มีการปรับรายละเอียดเป็ นบาง
ประเด็นหรื อเป็ นการปรับให้ งา่ ยขึนเพือให้ เหมาะสมกับศักยภาพของผู้ผลิตอาหาร
ในประเทศ
 ข้ อกําหนด GMP มีเกียวกับ
 สุขลักษณะของสถานทีตังและอาคารผลิต

 เครื องมือ เครื องจักร อุปกรณ์การผลิตทีสัมผัสกับอาหาร


 การควบคุมกระบวนการผลิต

 การสุขาภิบาล
 การบํารุ งรักษาและการทําความสะอาด

 บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบต ัิ
58
มาตรฐาน GlobalGAP

 มาตรฐาน GlobalGAP เป็ นมาตรฐานการปฏิบตั ิทางการเกษตรทีดีอย่าง


ยังยืนทีได้ รับการยอมรับทัวโลก เป็ นมาตรฐานสินต้ าอาหารแบบสมัครใจที
สําคัญมากในสหภาพยุโรป จัดทําโดยกลุม่ ผู้ค้าปลีกเอกชนในยุโรป ส่วนใหญ่
อ้ างอิงข้ อกําหนดของสหภาพยุโรป แต่มีข้อกําหนดบางประการเข้ มงวดกว่า

59
มาตรฐานการส่ งออกเพิมเติมทีกําหนดโดยภาคเอกชนใน
บางประเทศ
 มาตรฐาน RBC
 มาตรฐาน IFS
 มาตรฐาน Tesco Nature’s Choice
 มาตรฐาน Field to Fork

60
ข้ อกําหนดเกียวกับการแปรรูป
สหรั ฐฯ สหภาพฯ ญีปุ่ น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์
สารเจือปนใน สารเจือปนในอาหาร สารเจือปนในอาหาร สารเจือปนในอาหาร สารเจือปนในอาหาร
อาหาร สีทใช้
ี ใน สีทใช้
ี ในอาหาร สีทใช้
ี ในอาหาร สารให้ สีทใช้
ี ในอาหาร สีทใช้
ี ในอาหาร
อาหาร สารให้ ความ สารให้ ความหวาน ความหวาน สารปนเปื อน สารให้ ความหวาน สารให้ ความหวาน
หวาน สาร สารปนเปื อน สารตกค้ าง ตัวอย่ าง สารปนเปื อน สารปนเปื อน
ปนเปื อน สาร สารตกค้ าง: 1) กําหนดระดับปนเปื อน สารตกค้ าง สารตกค้ าง
ตกค้ างตัวอย่ าง ตัวอย่ าง สูงสุดของสารเจือปน เช่น ตัวอย่ าง ตัวอย่ าง
1) กําหนดระดับ 1) กําหนดระดับปนเปื อน Potassium Pyrosulfite, 1) กําหนดระดับปนเปื อน 1) กําหนดระดับปนเปื อน
ปนเปื อนสูงสุดของ สูงสุดของดีบกุ ในผักและ Sodium Hydrosulfite, สูงสุดของสารเจือปน Sorbic สูงสุดของสารเจือปน เช่น
สาร Erytharbic acid ผลไม้ กระป๋ องไม่เกิน 150 Sodium Pyrosulfite, acid, sodium, potassium Sorbic acid, sodium,
หรือ Ascorbic acid ppm. Sodium Sulfite, Sodium และ calcium sorbate ของ potassium และ calcium
ในผลไม้ กระป๋ องไม่ 2) กําหนดปริมาณสูงสุด Dioxide ในผลไม้ แห้ ง ไม่เกิน ผลไม้ แห้ งไม่เกิน 1 g/kg และ sorbate ของผลไม้ แห้ งไม่
เกิน 100 ppm. และ (MRLs) ของไนเตรด 2.0 g/kg sulphur dioxide, sodium เกิน 1 g/kg และ sulphur
สาร Dimethy สารพิษจากเชือรา โลหะ 2) MRL สาร Chlorpyrifos และ potassium sulfites ไม่ dioxide and sodium and
Polysilixane ไม่เกิน หนัก (ได้ แก่ ตะกัว ไม่เกิน 0.05 ppm. เกิน 3 g/kg potassium sulfites ไม่เกิน
10 ppm. ทองแดง ดีบกุ แคดเมียม) 2) อาหารต้ องปลอดจากสาร 2) กําหนดระดับปนเปื อน 3 g/kg
2) กําหนดมาตรฐาน MCPD และไดออกซิน antibiotics วัตถุดิบทีนํามา สูงสุดของสารเจือปน 2) กําหนดระดับปนเปื อน
ตรวจสอบโรงงาน แปรรูปหรือประกอบใน Sulphur dioxide, sodium สูงสุดของสารเจือปน
ประเภท Low acid กระบวนการแปรรูปต้ องผ่าน และ potassium sulfites ของ Sulphur dioxide, sodium
canned food ภายใต้ การฆ่าเชือโรค มะพร้ าวแห้ งไม่เกิน 50 และ potassium sulfites
ระเบียบ 21 CFR 3) กําหนดระดับปนเปื อน mg/kg ของมะพร้ าวแห้ งไม่เกิน 50
part 108, 113 and สูงสุดของสาร cadmium mg/kg
114 เพือป้องกันเชือ และ cadmium compound
โรค Clostridium ในข้ าวไม่เกิน 0.9 ppm
61
Botulinum
ข้ อกําหนดเกียวกับบรรจุภณ
ั ฑ์และการติดฉลาก

ทุกประเทศกําหนดหลักเกณฑ์ในการปิ ดฉลาก โดยระบุชือสินค้ า


ผู้ผลิต/ผู้นําเข้ า ประเทศผู้ผลิต วัตถุดิบและปริมาณทีใช้ วิธีการ
ผลิต

รองศาสตราจารย์ ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร 62


สหรัฐฯ สหภาพฯ ญีปุ่ น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์
บรรจุภณ ั ฑ์ และการติดฉลาก: บรรจุภณ ั ฑ์ และการติดฉลาก: บรรจุภณ ั ฑ์ และการติดฉลาก: บรรจุภณ ั ฑ์ และการติดฉลาก: บรรจุภณ ั ฑ์ และการติดฉลาก:
1) กําหนดให้ ผ้ คู ้ าปลีกต้ องปิ ด 1) กําหนดหลักเกณฑ์ในการติด 1) กําหนดหลักเกณฑ์ในการปิ ด 1) กําหนดเกณฑ์ในการติดฉลาก 1) กําหนดเกณฑ์ในการติด
ฉลาก โดยระบุถงึ ฉลากและรายละเอียด ฉลาก โดยระบุชือสินค้ า โดยระบุชือสินค้ า ผู้ผลิต ฉลาก โดยระบุชอสิ ื นค้ า
แหล่งกําเนิดสินค้ า เพือ บนฉลากของอาหาร ผู้ผลิต/ผู้นําเข้ า ประเทศ ประเทศผู้ผลิต วัตถุดบิ ผู้ผลิต ประเทศผู้ ผลิต
เป็ นข้ อมูลประกอบการ ประเภทต่างๆ ผู้ผลิต วัตถุดิบและ และปริ มาณทีใช้ ข้ อมูล วัตถุดิบและปริ มาณทีใช้
ตัดสินใจซือสินค้ า 2) กําหนดนําหนักโดยรวมของ ปริ มาณทีใช้ วิธีการผลิต nutrition คําแนะนําและ ข้ อมูล nutrition
2) กําหนดว่าก่อนนําวัสดุไม้ มา สารตะกัว แคดเมียม ข้ อมูลโภชนาการ สารปรุง วิธีการใช้ / คําเตือนในการ คําแนะนําและวิธกี ารใช้
ทําเป็ นบรรจุภณ ั ฑ์เพือ ปรอท โครเมียมในบรรจุ แต่งทีใช้ และวิธีการใช้ ใช้ วันผลิต วันหมดอายุ / คําเตือนในการใช้ วัน
ส่งสินค้ าเข้ าสหรัฐฯ จะ ภัณฑ์ทกุ ชนิดทีวาง คําแนะนําและวิธีการใช้ / สินค้ าทีนําเข้ า ต้ องมีการ ผลิต วันหมดอายุ สินค้ า
ต้ องอบไม้ ด้วยความ จําหน่าย รวมทังขยะ คําเตือนในการใช้ วันผลิต ติดฉลากระบุประเทศ ทีนําเข้ า ต้ องมีการติด
ร้ อนจน อุณหภูมิทแก่ ี น บรรจุภณ ั ฑ์ให้ ไม่เกิน วันหมดอายุ มีข้อกําหนด แหล่งกําเนิดสินค้ าอาหาร ฉลากระบุประเทศ
ไม้ ถงึ 56 องศา 100 ppm. เกียวกับการติดฉลาก และมีข้อกําหนดเกียวกับ แหล่งกําเนิดสินค้ า
เซลเซียส นาน 30 นาที 3) กําหนดให้ บรรจุภณ ั ฑ์ไม้ ต้อง สินค้ า GMO การติดฉลากสินค้ า GMO อาหารและมีข้อกําหนด
หรือใช้ วิธี รมควันด้ วย ผ่าน treatment ต่างๆ 2) กําหนดปริมาณสาร lead, 2) กําหนดว่า บรรจุภณ ั ฑ์ไม้ เกียวกับการติดฉลาก
methyl bromide ตาม เพือป้องกันศัตรูพชื Cadmium, Bisphenol, รวมถึงฟางทีใช้ รองสินค้ า สินค้ า GMO
สัดส่วนทีกําหนดในห้ อง 4) สําหรับวัสดุบรรจุอาหารและ Diphenyl-carbonate กันกระแทกต้ องปราศจาก 2) กําหนดว่า บรรจุภณ ั ฑ์ไม้
ที ปิ ดมิดชิดนาน อย่าง บรรจุภณ ั ฑ์ต้องมี และสีของภาชนะบรรจุ เปลือกไม้ เนืองจาก รวมถึงฟางทีใช้ รอง
น้ อย 16 ชัวโมง และทํา สัญลักษณ์บง่ ชีทีชัดเจน ต้ องไม่ใช่ synthetic เปลือกไม้ เป็ นแหล่งของ สินค้ ากันกระแทกต้ อง
เครื องหมายไว้ บนไม้ ใน ว่าเป็ นวัสดุและบรรจุ chemical colour แมลงและศัตรูพชื ปราศจากเปลือกไม้
จุดทีเห็นได้ ชดั เจน ระบุ ภัณฑ์ทใช้ ี ในการบรรจุ 3) กําหนดมาตรฐานในการบรรจุ นอกจากนัน บรรจุภณ ั ฑ์ เนืองจากเปลือกไม้ เป็ น
รหัสประเทศที เป็ น อาหาร เช่น มาตรฐานเรื อง ดังกล่าวต้ องผ่าน แหล่งของแมลงและ
สถานทีจัดการไม้ โดย pressure-resistance, กระบวนการอบด้ วยความ ศัตรูพชื นอกจากนัน
ระบุด้วย ISO Code bursting strength, ร้ อนทีอุณหภูมิ 56c เป็ น บรรจุภณ ั ฑ์ดงั กล่าวต้ อง
และระบุหมายเลขที piercing strength, เวลา 30 นาที และติด ผ่านกระบวนการอบ
National Plant sealing test, acid เครื องหมายของ ISPM 15 ด้ วยความร้ อนที
Protection resistant, heat resistant อุณหภูมิ 56c เป็ นเวลา
Organization ออกให้ 30 นาที และติด
เครื องหมายของ ISPM
63
15
ญีปุ่ น
กฎระเบียบการนําเข้ าผักและผลไม้

รองศาสตราจารย์ ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร 64


ญีปุ่ น
กฎระเบียบการนําเข้ าผักและผลไม้

65
ญีปุ่ น
การนําเข้าข้าว

66
ญีปุ่ น
การนําเข้ าอาหารแปรรูป

67
การนําเข้ าผลไม้ ของญีปุ่ น
หน่วย ล้ านเหรี ยญสหรัฐ ฯ

68
69

You might also like