You are on page 1of 15

การตอบสนองของพืช

ต่อสิ่งเร้า
พวงชมพู
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้า
• การตอบสนองที่มีทิศทางสัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า
• การตอบสนองที่มีทิศทางไม่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้า
• การตอบสนองที่มีทิศทางสัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า
สามารถพบได้โดยทั่วไป คือ
- การเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นจากการเจริญเติบโตของพืช
- มีทิศทางเข้าหาหรือออกจากสิ่งเร้าก็ได้

ตัวอย่าง
1) การเบนตามแสงของปลายยอดพืช (Phototropism)
2) การเบนเนื่องจากความโน้มถ่วง (Gravitropism)
3) การตอบสนองต่อการสัมผัสสิ่งเร้า (Thigmotropism)
Phototropism: การเบนตามแสงของปลายยอดพืช
ปลายยอดพืชเจริญในทิศทางเข้าหาแสง
Gravitropism: การเบนเนื่องจากความโน้มถ่วง
พืชตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วงของโลก
Gravitropism: การเบนเนื่องจากความโน้มถ่วง
• ปลายยอดพืชเจริญในทิศทางตรงกันข้ามกับแรงโน้มถ่วงของโลก
• ปลายรากพืชเจริญในทิศทางเดียวกับแรงโน้มถ่วงของโลก
Thigmotropism: การตอบสนองต่อการสัมผัสสิ่งเร้า
• Thigmo = touch
• การเลื้อยพันหลักของต้นพืชซึ่งเป็นการตอบสนองต่อการสัมผัสที่เข้าหาสิ่งเร้า
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้า
• การตอบสนองที่มีทิศทางไม่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า
เป็นการเคลื่อนไหวของพืช ซึ่งมักเกิดจาก
- การเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้้าภายในเซลล์ / ท้าให้เซลล์ขยายตัวได้ชั่วคราว

ตัวอย่าง
1) การหุบของใบของต้นจามจุรีในเวลากลางคืน
2) การหุบของใบไมยราบเมื่อถูกสัมผัส
3) การหุบและการบานของดอกบัวที่ตอบสนองต่อแสง
การหุบเวลากลางคืนในพืชวงศ์ถั่ว
ex. จามจุรี กระถิน แค ผักกระเฉด ถั่วต่าง ๆ
- เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกที่เป็นแสง / มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงของความเข้มแสง

• พลบค่้า = ใบหุบ
• รุ่งเช้า = กางใบออก
การหุบเวลากลางคืนในพืชวงศ์ถั่ว
ex. จามจุรี กระถิน แค ผักกระเฉด ถั่วต่าง ๆ
- เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกที่เป็นแสง / มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงของความเข้มแสง

การกางใบในเวลากลางวัน การหุบใบในเวลากลางคืน

ลักษณะใบของต้นจามจุรีในแต่ละช่วงเวลา
การหุบของใบไมยราบ
(Seismonasty / Thigmonasty)
• เกิดจากการเปลี่ยนแปลง
ของแรงดันเต่งภายในเซลล์
Pulvinus:
เป็นเซลล์ผนังบางขนาดใหญ่อยู่บริเวณโคนก้าน
ใบ มีลักษณะพองออกเป็นออกเป็นกระเปาะ

Pulvinus
Side of
pulvinus with
flaccid cells
Side of
pulvinus with
turgid cells
Unstimulated state Stimulated state
การหุบและการบานของดอกบัวที่ตอบสนองต่อแสง
• กลุ่มเซลล์ด้านนอกและด้านในของกลีบดอกไม้มีการขยายขนาดไม่เท่ากัน
ดอกไม้ในสภาพปกติ

กลางคืน
แผนภาพแสดงการหุบและบานของดอกไม้
ก: กลุ่มเซลล์ด้านนอกขยายขนาดมากกว่าด้านใน = ดอกไม้หุบ
ข: กลุ่มเซลล์ด้านในขยายขนาดมากกว่าด้านนอก = ดอกไม้บาน

กลางวัน
Venus flytrap: กาบหอยแครง
• มีกลุ่มเซลล์ที่ไวต่อสิ่งเร้าอยู่ทางด้านในของใบ

You might also like