You are on page 1of 9

หน้า ๓

แบบฝึกทักษะที่ ๓.๑ ...เรื่อง การอ่านตีความ ...

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๓/๙ การอ่านตีความและประเมินคุณค่าและแนวคิดที่ได้เพื่อนาไปใช้แก้ไขปัญหาในชีวิต


จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. ตีความจากการอ่านเพื่อนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตได้

ตอนที่ ๑ พิจารณาบทประพันธ์ต่อไปนี้ แล้วตีความตามประเด็นที่กาหนดให้


คลื่นใหญ่และคลื่นน้อย ต่างทยอยซัดเข้ามา
อุปสรรคคอยขวางหน้า ต้องใจกล้าฝ่าฟันไป
หวังสู้เพื่ออยู่รอด คลื่นฟองฟอดหาหวั่นไม่
ตื่นเต้นตระหนกตกใจ คลื่นลูกใหม่ใหญ่กว่าเดิม
เราต้องเผชิญภัย ปลุกหทัยให้ฮึกเหิม
อย่ามัวคิดเคลิบเคลิ้ม หวังสงบหลบคลื่นลม
เมื่อไรที่ร่างกาย ฝั่งสุดท้ายถึงหรือจม
นั่นแหละจึงจะสม สุขสงบจบสิ้นเอย

ปสรรค ง..........................
ตีความตามเนื้อหา .................. ให เ ก และ

เรา อง าไป เ อ ใจใ เ มแ ง กเ ม


......................................................................
อ รอด
ความ

อ า ห ง เ ยง แ สบาย
......................................................
จะ อง พ ยา ยา ใ ง ด
...................
ไ า ผล พ เ น เ นไร ตาม
..................................................................................
จะ

พยายามใ
ตีความตามน้าเสียง ................. ง ด
.......................
.................................................................................
ไ อ อ อ ปสรรค เ า
......................................................................
มา

.........................................................................
..................................................................................
.................................................................................
มีทั้
อุ
ฝ่
ต้
ทำ
ฮึ
ต้
ที่
ถึ
ก็
ที่
ถึ
ย่
ที่
อุ
ต่
ข้
ช่
ข้
พี
พื่
ป็
ล็
ม่
ย่
วั
ยู่
ม่
ต่
สุ
สุ
ห้
ห้
ห้
ท้
ว่
ลั
ญ่
หิ
ข็
ธ์
หน้า ๔
ตอนที่ ๒ เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด โดยทาเครื่องหมาย x หน้าตัวเลือก
๑. ข้อใดสอดคล้องกับสาระในข้อความต่อไปนี้มากที่สุด
"คนที่ประสบความสาเร็จนั้นคือคนที่ไม่เพี ยงแต่เพลิดเพลินชื่นชมกับความคิดของตน
หากแต่ถลกแขนเสื้อลงลุยงานอยางแท
่ จริ
้ งด้วย"
๑. ความสาเร็จเกิดจากความฝัน ๓. ความสาเร็จเกิดจากการปฏิบัติจริง
๒. ความสาเร็จเกิดจากการคิดและทาจริง
✗ ๔. ความสาเร็จเกิดจากความพอใจและความมุ่งมั่น

๒. สาระของข้อความต่อไปนี้ตรงตามข้อใด
"เราไมอาจสอนให
่ เด็
้ กรักธรรมชาติได้ด้วยการบอกใหท ้ องจ
่ า แต่เด็กจะรักธรรมชาติได้ถาหากเด็
้ กได้มี
โอกาสสัมผัสและเขาใจได
้ ้เป็ นส่วนหนึ่งของธรรมชาติจริงๆ ความรักและความหวงแหนจึงจะบังเกิดขึน ้
อยางจี
่ รังยั่งยืน"
๑. สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น ๓. ให้รักจึงจักได้รักตอบ
๒. การกระทายังยืนกว่าคาพูดร้อยพันเท่า ๔. การเรียนรู้ที่แท้จริงเกิดจากการปฏิบัติ

๓. ข้อความต่อไปนี้ให้ข้อคิดในเรื่องใดชัดเจนทีส่ ุด
สังเวชวัดธารมาที่อาศัย ถึงสร้างใหม่ชื่อยังทารมาหมอง
เหมือนทุกขพี
์ ่ถึงจะมีจินดาครอง มงกุฎทองสรอยสะอิ
้ ้งมาใส่กาย
อันตัวงามยามนี้ก็ตรอมอก แสนวิตกมาตามแควกระแสสาย
๑. เงินทองทาให้เกิดทุกข์ ๓. เงินทองซื้อความสุขไม่ได้
๒. เงินทองไม่ใช่สิ่งสาคัญที่สุดในชีวติ ๔. เงินทองเป็นของนอกกายหาใหม่ได้เสมอ
อ ดเ น
๔. " ผู้เขียนข้อความนี้แสดงทรรศนะเรื่องใด
“หากจะสรางเทคโนโลยี
้ ขน
ึ้ เพื่อใหท
้ างานแทนต้นไม้ ๑ ต้น ในแต่ละปี เขาใจว
้ าจะต
่ ้องสิ้นคาใช
่ จ้ าย

นับแสนบาท แต่ที่เงินมากมายกวาจ
่ านวนนี้ แมเพี
้ ยงเสี้ยวของอณูคนเราก็สรางไม
้ ่ ได้"
๑. มูลค่าของเทคโนโลยี ๓. ธรรมชาติของมหัศจรรย์ของต้นไม้
๒. คุณค่าอย่างยิ่งของธรรมชาติ ๔. ความสามารถด้านเทคโนโลยีของมนุษย์

๕. เหตุในข้อความต่อไปนี้น่าจะทาให้เกิดปัญหาใดมากที่สุด
"งานกอสร
่ างของประเทศไทยก
้ าวหน
้ ้าเร็วเกินควร
ในขณะที่พัฒนาการทางด้านกฎหมายคุ้มครองความปลอดภัยยังก้าวไปชามาก

อีกทั้งคนงานกอสร
่ างก็
้ มไิ ด้มีประสบการณ์
เพราะส่วนมากมักเป็ นชาวนาชาวไร่ที่หันมาทางานก่อก่อสร้างในฤดูว่างงานเกษตรกรรม"
๑. การใช้แรงงานไร้ฝีมือ ๓. การอพยพแรงงานจากชนบท
๒. อุบัติเหตุในการก่อสร้าง ๔. การจ้างแรงงานที่ไม่ยตุ ิธรรม
คิ
ข้
ห็
หน้า ๖

แบบฝึกทักษะที่ ๓.๒ ...เรื่อง การประเมินคุณค่าจากเรื่องที่อ่าน ...

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๓/๙ การอ่านตีความและประเมินคุณค่าและแนวคิดที่ได้เพื่อนาไปใช้แก้ไขปัญหาในชีวิต


จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. ประเมินคุณค่าและแนวคิดทีไ่ ด้เพื่อนาไปใช้แก้ไขปัญหาในชีวิตได้
ตอนที่ ๑ พิจารณาคาประพันธ์ต่อไปนี้ แล้วระบุว่าบทประพันธ์มีคุณค่าและแนวคิดอย่างไร
ถ้าทุกคนได้ทุกอย่างดังที่คิด สิ้นชีวิตจะเอาของกองที่ไหน
ได้อย่างเสียอย่างช่างประไร ขอแต่ใจสงบสบสุขเทอญ
ไ ใครไ ก อ าง ใน ง
คุณค่าและแนวคิดที่ได้จากการอ่าน………………………………………………………………………………………………………………..
องการ ตาม ตน เอง พ ตน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………
ตอนที่ ๒ เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด โดยทาเครื่องหมาย x หน้าตัวเลือก
๑. ข้อใดเป็นแนวความคิดของข้อความต่อไปนี้
"การบารุงพ่อแม่ไมต
่ ้องรอจนพ่อแมแก
่ เฒ
่ าประพฤติ
่ ตัวดีไมท
่ าใหพ
้ ่ อแมเดื
่ อดรอนหรื
้ อหนักใจ
ตรงกันขาม
้ นาความปลื้มปี ติมาสู่ พ่อแม่ แคนั
่ ้ นก็ถือได้วาเป็
่ นการบารุ งพ่อแม่ได้อยางหนึ
่ ่งคือบารุ งหัวใจ"
๑. ความภูมิใจของพ่อแม่ ๓. ความรับผิดชอบของลูก

÷
๒. การตอบแทนพระคุณของพ่อแม่ ๔. การแสดงความเคารพรักบุพการี
๒. ข้อใดเป็นแนวคิดของผู้เขียนข้อความต่อไปนี้
"ถ้าหากคาพยากรณ์เกี่ยวกับการขยายตัวของประชากรโลกเป็ นความจริงและพฤติกรรมของมนุษย์
ไม่เปลี่ยนแปลง ทั้งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก็ไม่อาจช่วยให้สภาพความเสื่ อมโทรมของสิ่ งแวดล้อมฟื้ นตัว
กลับคืนมาได้ หรือแมแต
้ ่ความยากจนทีเ่ กิดขึน
้ กับคนส่วนใหญ่ในโลก ก็คงไมเปลี
่ ่ยนแปลงในทางที่ดีขน
ึ้ "
๑. อนาคตของโลกกาลังถดถอยเพราะประชากรเพิ่มมากขึ้น ๓. สิ่งแวดล้อมและความยากจนเป็นปัญหาที่แก้ไม่ได้
๒. อนาคตเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าคนเราปรับเปลี่ยนการกระทา ๔. เราไม่สามารถหลีกเลี่ยงปัญหาสิ่งแวดล้อมได้ในอนาคต
๓. ข้อความต่อไปนี้มีสาระสาคัญตรงกับข้อใด
"อดีตเป็ นสิ่งทีเ่ ราเปลี่ยนแปลงไม่ได้แล้ว แต่ชวงขณะที
่ ่ยังเป็ นปัจจุ บันเป็ นความจริงและรอการกระทาของเรานั้น ทาไม
จึงไม่ได้ไตร่ตรองให้รอบคอบเสี ยก่อนแล้วคอยทาลงไป มันอาจยากลาบากในขณะนั้น ที่ก็คุ้มคาที
่ ่จะฝื นใจ ขมใจ
่ ฝึ กดัด
ใหตั
้ วเองเป็ นคนรอบคอบ ต่อไปจะไมต
่ ้องวกคิดถึงเรื่องที่ผ่านไปแล้วทาให้ใจทอแท
้ "้
๑. ช้า ๆ ได้พร้าเล่มงาม ๒. คิดใคร่ครวญก่อนลงมือทา ๓. ไม่ควรคิดย้อนกลับถึงอดีต ๔. ลาบากก่อนจะสบายในภายหลัง
๔. ข้อความต่อไปนี้เสนอแนวคิดเรื่องใด
การคบหาสมาคมกับเพื่ อน การรวมงานกั
่ นในหมูคณะ
่ ยอมมี
่ การกระทบกระทั่งกันบาง
้ ทาสิ่ งที่สราง

ความไมสบายใจแก
่ กั
่ นและกันบาง
้ ถาต
้ ่างฝ่ายต่างแข็งไมยอมลงให
่ แก
้ กั
่ น โต้ตอบกันแบบไมลดราวาศอก

ก็มีแต่จะแตกหักกันไป ถ้ารอให้ใจเย็นลงแล้วค่อย ๆ ปรึกษาหารือกันก็ย่อมผานป
่ ั ญหาต่าง ๆ ได้ด้วยดี
๑. การยอมแพ้ ๒. การให้อภัย ๓. การประนีประนอม ๔. การป้องกันความขัดแย้ง
๕. ข้อความต่อไปนี้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับเรื่องใด
ผูที
้ ่ทาคุณงามความดีไวแก
้ เราก
่ อน
่ ภายหลังเขาจะทาหรือไมท
่ าใหอี
้ กก็ตาม เขาก็คควรแก
ู่ การบู
่ ชาตลอดไป
๑. ความถูกต้อง 0๒. ความกตัญญู ๓. ความยุติธรรม ๔. ความเสมอภาค
มี
ทุ
มี
ที่
สิ่
ต้
ที่
ม่
ย่
ด้
หน้า ๘

แบบฝึกทักษะที่ ๓.๓ ...เรื่อง การประเมินความถูกต้องจากเรื่องที่อ่าน...

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๓/๖ การประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนในเรื่องที่อ่าน


จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. ประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนในเรื่องที่อ่านได้
คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านบทความต่อไปนี้ แล้วประเมินความถูกต้องจากเรื่องที่อ่านตามหัวข้อที่กาหนดให้

ชี้ไขมันทรานส์ตัวร้าย ไม่มองข้ามไขมันอิ่มตัวแฝง เสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง


แพทย์หญิ งอั ม พร เบญจพลพิ ทั ก ษ์ รองอธิ บดี ก รมอนามั ยและโฆษกกระทรวงสาธารณสุ ข กล่ าวว่า ตาม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข เลขที่ ๓๘๘ พ.ศ.๒๕๖๑ ให้น้ามันที่ผ่านกระบวนการเติมไฮโดรเจนบางส่วนและอาหารที่
มีน้ ามันที่ผานกระบวนการเติ
่ มไฮโดรเจนบางส่วนเป็ นส่วนประกอบเป็ นอาหารที่หามผลิ
้ ต นาเขาหรื
้ อจาหน่าย ประกาศ
ฉบับนี้ ใหบั
้ งคับใชเมื
้ ่อพ้นกาหนด ๑๘๐ วัน นั บแต่ วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป ณ วันที่ ๑๓ มิ.ย. ๒๕๖๑
ปรากฏหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ที่ชัดเจนว่า กรดไขมันทรานส์ (Trans Fatty Acids) จากน้ามันที่ผ่านกระบวนการ
เติ มไฮโดรเจนบางส่วน (Partially Hydrogenated Oils) ส่งผลต่อการเพิ่ มความเสี่ ยงของการเกิดโรคหัวใจและ
หลอดเลื อด ซึ่ งสอดคล้องกับองค์การอนามัยโลกที่รณรงค์ให้ลดและเลิ กการใช้ไขมันทรานส์ ภายในปี ค.ศ. ๒๐๒๓
(พ.ศ. ๒๕๖๖) เพื่ อลดอัตราการเสี ยชีวิตของโรคหัวใจและหลอดเลือด เพราะเชื่อว่าจะลดจานวนผูป
้ ่ วยที่ต้องเสี ยชีวิต
จากโรคหัวใจได้ ๕๐๐,๐๐๐ รายต่อปี ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่ งของเป้าหมายการพั ฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ
ประชาคมโลก ที่ได้ให้ความสาคัญกับการลดความตายก่อนวัยอันควร จาก ๑ ใน ๓ ของโรคที่ไม่ติ ดต่อเรื้อรังภายในปี
พ.ศ.๒๕๗๓ ซึ่งการกาจัดไขมันทรานส์ที่ผลิ ตในอุ ตสาหกรรมเป็ นส่วนหนึ่ งจะช่วยให้บรรลุ เป้าหมายนี้ ได้ เพราะไขมัน
ทรานส์ทาใหเสี
้ ่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด อัมพฤกษ์ อัมพาต เนื่องจากรางกายก
่ าจัดไขมันทรานส์ได้ยาก
ท าให้มีก ารอั ก เสบของผนั งหลอดเลื อด ซึ่ งเป็ นปัจจั ยเสี่ ยงของโรคไม่ ติ ด ต่อเรื้อรั ง นอกจากนี้ ยัง ส่ งผลให้ เสี่ ยงต่อ
จอประสาทตาเสื่อม โรคนิ่ วในถุงน้ าดี และยังเกี่ยวของกั
้ บการเกิดโรคอัลไซเมอร์อีกด้วย
ทางด้านแพทยหญิ
์ งนภาพรรณ วิริยะอุ ตสาหกุล ผูอ
้ านวยการสานั กโภชนาการ กล่าววา่ องคการอนามั
์ ยโลก
แนะนาว่า ควรรับประทานกรดไขมันอิ่มตัวน้อยกว่า ๑๐ เปอร์เซ็นต์ หรือน้อยกว่า ๒๒ กรัมต่อวัน ยิ่งถ้าเป็ นกลุ่ มเสี่ ยง
ต่อโรคไมติ
่ ดต่อเรื้อรังอยู ่แล้ว ควรรับประทานไขมันอิ่มตัวน้อยกวาร
่ อยละ
้ ๗ หรือน้อยกวา่ ๑๕.๕ กรัมต่อวัน นอกจาก
ขนมอบ เบเกอรี ฟาสต์ฟูด อาหารทอดน้ ามันทวม
่ ที่กล่าวมาแล้วจะมีไขมันอิ่มตัวสู ง อาหารอื่นที่มีไขมันอิ่มตัวสู ง ได้แก่
ไขมัน ที่ ม าจากสั ตว์ เช่ น เนื้ อสั ตว์ หนั ง ไก่ สะโพกไก่ มัน หมู เนื้ อติ ด มั น เนย ชีส และไขมัน ที่ ม าจากพื ช เช่ น น้ า มั น
มะพร้าว น้ ามันปาล์ม ครีมเทียม ลดอาหารที่มีไขมันอิ่มตัว จึงควรเลื อกรับประทาน เลี่ยงไขมันทรานส์และไขมันอิ่มตัว
โดยการลดอาหารทอด เลี่ ยงฟาสต์ฟูด อาหารทอดน้ ามันท่วม คุมการกินขนมอบและเบเกอรี ใช้น้ ามันที่ปรุ งอาหารให้
หลากหลายในปริมาณที่พอเหมาะไม่เกิน ๖ ช้อนชาต่อวัน อ่านฉลากโภชนาการทุกครั้งก่อนซื้อผลิ ตภัณฑ์อาหาร และ
เพิ่มการกินผักและผลไม้หลากหลายชนิ ดเป็ นประจา เพื่ อสุ ขภาพที่ดีและลดความเสี่ ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ที่มา :https://www.anamai.moph.go.th/ewt_news.php?nid=๑๒๓๕๒
หน้า ๙
ตอบคาถามตามจากเรื่อง ตามแนวทางการอ่านแบบ SQ๔R
๑. ขั้นสารวจ - Survey (S) - อ่านเรื่องที่กาหนดอย่างคร่าว ๆ เพื่อหาจุดสาคัญของเรื่อง
๒. ขั้นตั้งคาถาม - Question (Q) – ตั้งคาถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน จานวน ๒ ข้อ
กา ใด าง วย ห อ ดไข น
ลด แกน ใน างกาย
๑) .........................................................................................................................................................
อาหาร ประเภทใด าง ทาน แ ว ไ ไข น
จะ ทาน ห อ ป มาณ อย
๒) ............................................................................................................................................. ............
๓. ขั้นอ่านอย่างรอบคอบ - Read (R) - ค้นหาคาตอบสาหรับคาถามที่ได้ตั้งไว้
๔. ขั้นการจดบันทึก - Record (R) - จดบันทึกข้อมูลต่าง ๆ โดยมุ่งจดบันทึกในส่วนที่สาคัญและสิ่งที่จาเป็น
ไข น เ ด า น าน เ มไฮโดรเจน เ าไป ใ เ ดโรค เ อ ง างๆ..............................................
.............................................................................................................................
ทราบ จาก กระบวน การ พบ มาก ในไข น ต เนย

อาหาร ทอด ขนม ปา ส ค


...........................................................................................................................................................................
๕. ขั้นเขียนสรุปใจความสาคัญ - Recite (R) - เขียนสรุปใจความสาคัญจากเรื่องที่อ่าน
ไข น แกน ง ใ เ ด เ ย อ างกาย
...........................................................................................................................................................................
ผล ผล

...........................................................................................................................................................................
๖. ขั้นทบทวน - Reflect (R) - ประเมินความถูกต้องจากเรื่องที่อ่านแล้วแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ
๑) จากบทอ่าน ไขมันทรานส์มีลักษณะแตกต่างจากไขมันทั่วไปอย่างไร
ไข น าน เ มไฮโดรเจน วน
..............................................................................................................................................................
กระบวน การ บาง

..............................................................................................................................................................
๒) ใช้บทอ่านข้างต้น พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่า จริง หรือ ไม่จริง โดยทาเครื่องหมาย X
ข้อความ จริง ไม่จริง
๑. ไขมันทรานส์พบมากในผลิตภัณฑ์อาหารจากสัตว์ เช่น เนย ชีส ✗
๒. ผู้ที่ชอบรับประทานขนมอบและเบเกอรีเสี่ยงต่อการได้รับไขมันทรานส์ในปริมาณสูง ✗
๓. ไขมันทรานส์เสี่ยงต่อการเป็นโรคผิวหนังอักเสบตามร่างกาย ✗
๔. อาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูงจะมีไขมันทรานส์ปริมาณมาก ✗

๓) จุดประสงค์ของผู้แต่งต้องการสื่อสิ่งใดให้กับผู้อ่าน
ใ าน ทราบ งโทษ ไข น
..............................................................................................................................................................
ของ ทาน

..............................................................................................................................................................
๔) ประโยชน์และข้อคิดที่สามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
ควร ห กเ ยง บประทาน อาหาร ไข น
..............................................................................................................................................................
การ กราน ง

..............................................................................................................................................................
๕) บทความนี้มีประโยชน์หรือไม่ อย่างไร
ประโยช โดย ใ าน ทราบ ง นตราย ไข น ของ ทราบ อาหาร ประเภทไหน ไข น
..............................................................................................................................................................
ทราบ

..............................................................................................................................................................
มีวิ
ที่ช่
บ้
กำ
ที่
บ้
ร่
ส์
มี
ส์
มี
น้
ส์
ที่ผ่
มั
นํ้
ทํ
ต่
สั
ส์ส่
ร่
ต่
ที่ผ่
ส่
ถึ
ผู้อ่
ส์
ที่มี
รั
มี
ส์สู
ทำ
อั
ถึ
ผู้อ่
ที่มี
ส์
ส์สู
ข้
กิ
สี
กิ
ติ
ติ
รื้
กิ
ธี
ม่
รื
ต์
รื
ล้
ริ
ลี
ห้
ห้
ห้
ห้
มั
มั
มั
มั
มั
มั
จั
มั
มั
มั
ว์
มั
ฟู
รั
ลี่
น์
หน้า ๑๑
แบบฝึกทักษะที่ ๓.๔ ...เรื่อง การวิเคราะห์ วิจารณ์และประเมินเรื่อง
โดยใช้กลวิธีเปรียบเทียบ...

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๓/๕ วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรื่องที่อ่านโดยใช้กลวิธีการเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้อ่าน


เข้าใจได้ดีขึ้น
จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรื่องที่อ่านโดยใช้กลวิธีการเปรียบเทียบได้
ตอนที่ ๑ พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ว่าปรากฏการใช้กลวิธีการเปรียบเทียบแบบใด และข้อความที่เปรียบเทียบหมายถึง
สิ่งใด
๑. เธอเหมือนแสงสวางที
่ ่คอยส่องนาทางในชีวิตของฉั น
โดย
กลวิธีการเปรียบเทียบ ...............................
ตรง
คาว่า .............
แสง เ าหมาย วย
ส าง หมายถึง ..................................................
ทาง

๒. บนทางเดินที่มีขวากหนาม ถ้าเธอคร้ามถอยไปฉั นคงเก้อ


โดย ย
กลวิธีการเปรียบเทียบ ............................... คาว่า ............. ปสรรค
ขวากหนาม หมายถึง ..................................................

๓. สองคนยลตามชอง
่ คนหนึ่งมองเห็นโคลนตม
อีกคนตาแหลมคม มองเห็นดาวอยู ่พราวแพรว
โดย ย
กลวิธีการเปรียบเทียบ ...............................
คาว่า โคลนตม ง ไ า
............. หมายถึง ..................................................
_ คาว ง า/
คาว่า ............. หมายถึง ..................................................
สวยงาม

๔. หลวงพ่อเจ้าขา ช่วยแผ่เมตตาลู กหน่อยได้ไหม ลู กนี้ อาภัพอับโชคหรือไร มีรักครั้งใด หัวใจ


เหมือนไฟรอนรน

โดย ตรง
กลวิธีการเปรียบเทียบ ............................... คาว่าไป............. ก
ขน
อนรน หมายถึง ..................................................
ความ มา ณ

๕. เพราะวาเธอคื
่ อของขวัญที่สวรรค์ใหมา ้ และฉั นจะเก็บรักษามันเอาไว้ใหนาน ้
โดย ตรง
กลวิธีการเปรียบเทียบ ............................... ง า
ของข ญ หมายถึง ..................................................
คาว่า .............
ที่
สิ่
นั
อุ
นั
นำ
ที่ช่
ทุ
ร้
ที่มีค่
สิ่
มีค่
ล้ำ
สิ่
ป้
ม่
ว่
ค่
วั
หน้า ๑๓

ตอบคาถามจากเรื่อง “เด็กชายกับไอศกรีม” ตามแนวทางการอ่านแบบ SQ๔R


๑. ขั้นสารวจ - Survey (S) - อ่านเรื่องที่กาหนดอย่างคร่าว ๆ เพื่อหาจุดสาคัญของเรื่อง
๒. ขั้นตั้งคาถาม - Question (Q) – ตั้งคาถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน จานวน ๒ ข้อ
ไหน าง เ บ จะ

ไ ความ ไป
๑) .........................................................................................................................................................
ตลอด

ไหน ส าง ใ ไ าง
๒) .........................................................................................................................................................
จะ ความ คน เรา

๓. ขั้นอ่านอย่างรอบคอบ - Read (R) - ค้นหาคาตอบสาหรับคาถามที่ได้ตั้งไว้


๔. ขั้นการจดบันทึก - Record (R) - จดบันทึกข้อมูลต่าง ๆ โดยมุ่งจดบันทึกในส่วนที่สาคัญและสิ่งที่จาเป็น
เ ก อย พยายาม จะเ บ กษา ข เ ยง เ ก อยใ
ค .
ดนาน เขา เอาแ สนใจ
...................................................................................................................... จะ คง สภาพ ของ ค .

.....................................................

จน ม ก ง วง เวลา แ ง ข ไ ม
...........................................................................................................................................................
ค .
รส
................
๕. ขั้นเขียนสรุปใจความสาคัญ - Recite (R) - เขียนสรุปใจความสาคัญจากเรื่องที่อ่าน
ความ ไ อ คง ตลอด
ไป เ ยง แ คงอ อไป แ อม ก น
เรา เรา เอง จะ อง ไป เ น น
...........................................................................................................................................................................
ข หาย

............................................................................................................................. ..............................................
๖. ขั้นทบทวน - Reflect (R) - วิเคราะห์ วิจารณ์ ตีความ และประเมินคุณค่าจากเรือ่ งที่อ่านแล้วแสดงความคิดเห็นใน
ประเด็นต่าง ๆ
๑) จากบทอ่าน เมื่อตีความคาว่า “ไอศกรีม” จะหมายถึงสิ่งใด
..............................................................................................................................................................
ความ

..............................................................................................................................................................
๒) จุดประสงค์ของผู้แต่งต้องการสื่อสิ่งใดให้กับผู้อ่าน
ความ ไ ไ อ

ไป
..............................................................................................................................................................
ตลอด

..............................................................................................................................................................
๓) ประโยชน์และข้อคิดที่สามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
ไ เ ยงแ ต ไ งใด อ ไป
..............................................................................................................................................................
ความ ของ ตลอด

..............................................................................................................................................................
๔) บทความนี้มีประโยชน์หรือไม่อย่างไร
ใ คน ตระห ก ง ไ แ นอน ต เ ด อม อง
..............................................................................................................................................................
รอ ความ ของ มา ตาย

..............................................................................................................................................................
มีวิ
ที่
บ้
สุ
วิ
ที่
สุ
ที่
น้
บ้
สุ
ที่
ช่
ถึ
นึ
ลื
นั้
สุ
ที่
ที่
สุ
สุ
ลิ้
มี
ที่
ต่
สุ
สุ
กั
ต้
ก็
ที่
วั
มีสั
ก็ย่
มี
ชี
มีสิ่
มี
ผู้
ถึ
ชี
ต้
ย่
พี
ด็
ช่
พี
ล็
ก็
ก็
กิ
ที่
ด้
ต่
ห่
ยู่
ต่
ค่
ธี
ยู่
ยู่
ด้
ร้
สุ
ม่
ธี
วิ
ม่
ม่
วิ
ด้
น่
ม่
ด้
ม่
ห้
ห้
ห้
น้
รั
ยู่
นั
ท้
หน้า ๑๕

แบบฝึกทักษะที่ ๓.๕ ...เรื่อง การวิเคราะห์และวิจารณ์เพื่อแสดงความคิดเห็น...

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๓/๘ การวิเคราะห์เพื่อแสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน


ท ๒.๑ ม.๓/๖ เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็นและโต้แย้งอย่างมีเหตุผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. วิเคราะห์และเขียนแสดงความคิดเห็นโต้แย้งจากเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผลได้
ตอนที่ ๑ อ่านสถานการณ์ต่อไปนี้ แล้วเขียนแสดงความคิดเห็นโต้แย้งตามประเด็นที่กาหนด

“ชุ มชนหมู่บ้านรัง สิ ตวิไลซ์ เป็ นชุ มชนเก่าแก่ในย่านรัง สิ ต และถือ ได้ว่าเป็ นชุ มชนแห่งเดี ย วที่ยัง คง
สภาพวิถีชีวิตริมฝั่งคลองได้อย่างดี ประกอบทั้งฝั่งตรงข้ามคลองมีสวนสาธารณะอันเป็ นพื้ นที่สีเขียวที่ใหญ่
ที่สุดเพี ยงแห่งเดียวในย่านรังสิ ตที่ประชาชนจะได้ออกกาลังกายและทากิจกรรมครอบครัวร่วมกันในวันหยุ ด
แต่แล้ววันหนึ่ งได้มีนายทุนใหญ่มาติ ดต่อซื้อขายที่ดินดั ง กล่าวในราคาหลายพั นล้านบาท เพื่ อแลกกับความ
ทันสมัยในยุ คปัจจุ บันจากการสรางห
้ างสรรพสิ
้ นคา”

หากนักเรียนเป็นผู้นาชุมชนหมู่บ้านรังสิตวิไลซ์ นักเรียนจะเขียนแสดงความคิดเห็นโต้แย้งอย่างมีเหตุผลอย่างไร
เพื่อไม่ให้มีการสร้างห้างสรรพสินค้า
ส าง างสรรพ น า อาจ อใ เ ด ญหา การ จราจร ดด รวม อาจ ษ อากาศ ง ง เ ย อ ขภาพ
ง เ ด มล.....................................................................
.............................................................................................................................
การ ทาง ผล ของ คน รอบ

ใ ประชาชน น ขาด น เ ยว ต งเ ม ของ คน ใน มชน จะ หาย ไป ง ไ ม า น บ
อาจ ความ น ส ย ง ก าว
.......................................................................................................................................................................................... ........
..................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................

ตอนที่ ๒ เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด โดยทาเครื่องหมาย x หน้าตัวเลือก


๑. ข้อใดเป็นการเขียนแสดงความเห็นโต้แย้งประเด็นที่ขีดเส้นใต้ได้อย่างมีเหตุผล
“การเปลี่ยนชีวิตไมต
่ ้องถามใคร ใหถามใจเราดู
้ วายน
่ ้าไมเป็
่ นเปลี่ยนสระก็ชวยไม
่ ่ ได้ รักไมเป็
่ น
เปลี่ยนแฟนก็ดูแลไม่ได้ ทางานไมเป็
่ นเปลี่ยนงานก็กาวหน
้ ้าไม่ได้ เรียนรูไม
้ เป็
่ นเปลี่ยนครูก็แก้ไม่ได้ เรา
เป็ นต้นเหตุของทุกเรื่อง จะเปลี่ยนทุกอย่าง สาคัญที่สุดจะต้องเปลี่ยนแปลงตัวเรา”
๑. การเปลี่ยนแปลงจะประสบความสาเร็จต้องร่วมมือกัน
o
๒. การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องง่ายแต่เราไม่พยายามเปลี่ยนเอง
๓. การเปลี่ยนแปลงใด ๆ จะไม่เกิดขึ้นถ้าเราไม่คิดจะเปลี่ยน
๔. การเปลี่ยนแปลงต้องเริ่มจากการรู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา
ห้
ก่
ติ
ปั
ถึ
ส่
ซึ่
ทำ
ผุ้
สุ
ต่
พื้
นั้
วิ
สี
ชี
ดั้
ซึ่
ก็
ชุ
ผุ้
ทั
กั
กั
ค่
คุ้
ดั
ขี
สี
กิ
กิ
วิ
ถี
ม่
มั
ล่
ร้
ห้
ห้
ที่
พิ
ขั
ดิ
สิ
ค้
หน้า ๑๖
๒. ข้อความต่อไปนี้เป็นข้อโต้แย้งของข้อใด
"การตัดต่อพันธุกรรมพืชมีปัญหาอยู ไม
่ น
่ ้อย ทั้งปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหาด้านสุ ขภาพและปัญหา
ด้านเศรษฐกิจ ถึงแม้จะมีขอบ
้ ่งชี้ไม่ชัดทั้งหมด แต่ก็สร้างความหวาดระแวงได้มาก"
๑. ปัญหาที่เกิดจากการตัดต่อพันธุกรรมพืชเป็นเรื่องที่แก้ไขได้เสมอ
๒.
o การปรับปรุงพันธุ์พืชเป็นวิทยาการที่น่าพอใจและมีประโยชน์มาก
๓. การปรับปรุงพันธุ์พืชแสดงความก้าวหน้าทางวิทยาการสมัยใหม่ในตะวันตก
๔. เทคโนโลยีการตัดต่อพันธุกรรมพืชเป็นสิ่งที่ต้องตามให้ทันและรู้เท่าทัน

๓. ข้อใดไม่อาจสรุปความได้จากข้อความต่อไปนี้
"ฟั งแล้วอยาฟั
่ งเปล่า นาเอาสิ่งที่ได้ฟั งมาคิดด้วย ตอนฟั งแล้วคิดนี่แหละจะทาใหมี
้ เรื่องได้โต้ตอบ
แลกเปลี่ยนกัน การฟั งได้ประโยชน์แกตนเองด
่ ้านเดียวไมเหมื
่ อนพูดที่ต้องเสี่ ยงกับ
การเสียประโยชน์ตนอยู ด
่ ้วย"
๑. บางครัง้ การพูดอาจทาให้ผู้ฟังไม่พอใจหรือเข้าใจผิด
o
๒. การพูดอาจทาให้เสียประโยชน์ เราควรเลือกฟังอย่างเดียว
๓. ไม่ว่าเรื่องนั้นจะน่าสนใจหรือไม่ เราก็ควรฟังอย่างสนใจและคิดตาม
๔. การสนทนาจะดาเนินไปด้วยดี ถ้าเราคิดให้สัมพันธ์กับเรื่องที่กาลังฟัง
๔. ข้อใดเป็นประเด็นสาคัญของข้อความต่อไปนี้
การเที่ยวชมธรรมชาติในถ้าเป็ นกิจกรรมที่น่าตื่นเต้น ผูเข
้ าชมได
้ ้เรียนรูเกี
้ ่ยวกับ ธรณีวิทยา หินงอก
หินยอย
้ และประวัติศาสตรจากภาพเขี
์ ยนสี ถ้าส่วนใหญสามารถเที
่ ่ยว ชมได้ตลอดปี
ถ้าบางประเภทที่มีน้าไหล หรือลาธารลอด ควรเที่ยวเฉพาะฤดูรอนเท
้ านั
่ ้น ถ้าที่ติดทะเลบางแหงจะ

เที่ยวได้เฉพาะชวงน
่ ้าลง หากต้องไปเที่ยวควรศึกษาขอมู
้ ลเพื่อความปลอดภัย เชน
่ ประวัติดินถล่ม
น้าทวม
่ ไมควรเที
่ ่ยวถ้าทีย
่ ังไมมี
่ การสารวจ
๑. ประเภทต่าง ๆ ของถ้า ๓. ประโยชน์ของการเที่ยวชมถ้า
0 ๒. คาแนะนาในการเที่ยวชมถ้า ๔. ลักษณะของถ้าที่เป็นอันตราย
๕. ข้อใดเป็นประเด็นโต้แย้งของข้อความต่อไปนี้
ภูกระดึงเป็ นอุ ทยานแห่งชาติที่มีธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายในระบบนิเวศ
การมีนักทองเที
่ ่ยวจานวนมากเขามาในพื
้ ้นที่จะเกิดการทาลายระบบนิเวศ
หากมีกระเช้าลอยฟ้าขึน
้ ภูกระดึง จะเกิดอะไรขึน
้ นอกจากนักท่องเที่ยวจะเพิ่มขึน
้ แล้ว
รานค
้ าร
้ านอาหารก็
้ จะเต็มไปหมด
๑. ภูกระดึงมีความสวยงามมากจริงหรือ o๓. ควรสร้างกระเช้าลอยฟ้าขึ้นภูกระดึงหรือไม่
๒. ควรจากัดจานวนนักท่องเที่ยวบนภูกระดึงหรือไม่ ๔. ควรจากัดร้านค้าบนภูกระดึงหรือไม่
...การอ่านเป็นจุดเริม
่ ต้นของทุกสิง่ ในชีวติ …

You might also like