You are on page 1of 8

เรือ

่ งนิราศภูเขาทอง

จัดทำโดย

เด็กหญิงไปรยา รัตนเวคิน

ั ้ มัธยมศก
ชน ึ ษาปี ท ี่ 1 ห ้องม.1/4 เลขที3่ 7

เสนอ
ครูสภ
ุ ญ
ิ ญา นาคศรีสข

รายงานนีเ้ ป็ นสว่ นหนึง่ ของการเรียนวิชา ภาษาไทย

ึ ษา 2562
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศก

โรงเรียนมารดานฤมล
คำนำ
รายงานเล่มเป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาภาษาไทยเพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู ้ในเรื่ องกาพย์ยานี๑๑และ
ได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็ นประโยชน์กบั การเรี ยน

ผูจ้ ดั ทำหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์กบั ผูอ้ ่านหรื อนักเรี ยนที่กำลังหาข้อมูล


เรื่ องนี้อยูห่ ากมีขอ้ แนะนำหรื อข้อผิดพลาดประการใด ผูจ้ ดั ทำขอน้อมรับไหว้และขออภัย
มา ณ ที่น้ ี ดว้ ยค่ะ ผูจ้ ดั ทำ

เด็กหญิงไปรยา รัตนเวคิน
12 สิ งหาคม 2562
คณะ
กาพย์ยานี ได้ชื่อว่ายานี ๑๑ เพราะ จำนวนพยางค์ใน ๒ วรรค หรื อ ๑ บรรทัด
รวมได้ ๑๑ พยางค์
๑ บท มี ๔ วรรค วรรคหน้า ๕ พยางค์ วรรคหลัง ๖พยางค์
สั มผัสระหว่ างวรรค
ใน ๑ บท มีสมั ผัส ๒ คู่ สังเกตจากแผนผังและตัวอย่าง

เพราะครู ผนำ
ู้ ทาง           ใช่เรื อจ้ างรับเงินตรา
พุม่ พานจึงนำมา             กราบบูชาพระคุณครู

สั มผัสระหว่ างบท
พยางค์สุดท้ายของบทต้น สัมผัสกับพยางค์สุดท้ายของวรรคที่ ๒ของบทถัดไป
ตัวอย่าง
เพราะครู ผนำ
ู้ ทาง            ใช่เรื อจ้างรับเงินตรา
พุม่ พานจึงนำมา              กราบบูชาพระคุณครู
หญ้าแพรกแทรกดอกไม้    พร้อมมาลัยอันงามหรู
เข็มดอกออกช่อชู            จากจิตหนูผรู้ ู ้คุณ
ลักษณะบังคับของกาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ยานี ๑๑ เป็ นคาประพันธ์ประเภทกาพย์มีลกั ษณะบังคับ
ดังต่อไปนี้ ๑ สัมผัสสระหรื อสัมผัสบังคับ มีลกั ษณะ ดังนี้
1) คณะ คณะบังคับของกาพย์ยานีใน ๑ บท มี ๒ บาท บาทที่ ๑ เรี ยกว่าบาทเอก บาทที่ ๒ เรี ยกว่า
บาทโท บาทหนึ่ง มี ๒ วรรค วรรคหน้า มี ๕ คํา วรรคหลังมี ๖ คํา รวมเป็ น ๑๑ คํา จึงเรี ยกว่า
กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ยานี ๑๑ หนึ่งบทมี ๔ วรรค เท่ากับ ๑ บท มี ๒๒ คา
(คําในที่น้ ี หมายถึงพยางค์) ซึ่งในการเขียนนั้นต้องเขียนอย่างน้อย ๑ บท หรื อ ๔ วรรคเสมอ
2) สัมผัส กาพย์ยานี ๑๑ มีสมั ผัสในบท ๒ แห่ง คือ - คําสุ ดท้ายของวรรคที่ ๑ สัมผัสกับคําที่ ๑
หรื อ ๒ หรื อ ๓ ของวรรคที่ ๒ ของบาทเอก(นิยมสัมผัสคําที่
๓) ส่ วนในบาทโทปัจจุบนั มีผนู้ ิยมแต่งให้สมั ผัสกัน เช่นเดียวกับบาทเอก แต่มิได้ถือเป็ นการ
บังคับ - คําสุ ดท้ายของวรรคที่ ๒ สัมผัสกับคาสุ ดท้ายของวรรคที่ ๓ ในบาทโท นอกนั้นยังมี
สัมผัสระหว่างบท คือคําสุ ดท้ายของบทหรื อคําสุ ดท้ายของวรรคที่ ๔ สัมผัสกับคําสุ ดท้ายของ
วรรคที่ ๒ ในบทต่อไป คาสุ ดท้ายของบทหรื อบาทโทห้ามใช้คาตายหรื อคําที่มีรูปวรรณยุกต์และ
นิยมใช้เสี ยงวรรณยุกต์สามัญหรื อ จัตวา ถ้อยคาที่ใช้ในวรรคเดียวกันนิยมให้มีสมั ผัสในเหมือน
กลอนจึงจะไพเราะ ๒. สัมผัสใน คือสัมผัสภายในวรรค เป็ นสัมผัสไม่บงั คับจะมีหรื อไม่มีกไ็ ด้
ไม่ถือเป็ น ข้อบังคับและไม่เคร่ งครัดมากนัก แต่ถา้ มีจะทําให้ทาํ นองกาพย์ไพเราะสละสลวยยิง่
ขึ้น การเล่นสัมผัสใน นิยม ดังนี้ วรรคที่ ๑ คําที่ ๒ สัมผัสกับคําที่ ๓ หรื อคําที่ ๔ วรรคที่ ๒ คําที่
๓ สัมผัสกับคําที่ ๔ หรื อที่ ๕ วรรคที่ ๓ และวรรคที่ ๔ ก็เช่นเดียวกัน สัมผัสในมีท้ งั สัมผัส
พยัญชนะและสัมผัสสระ
ลักษณะความไพเราะของกาพย์ยานี ๑๑ ความไพเราะของกาพย์กลอนโดยทัว่ ไปนั้น ดูที่เสี ยง
สัมผัส การเล่นคํา การใช้คาํ เหล่านี้เป็ นต้น สําหรับกาพย์ยานี ๑๑ นั้น ก็ทาํ นองเดียวกัน โดยอาจ
สังเกต ความไพเราะ ได้ในประเด็นต่อไปนี้ ๑. ดูที่การจัดจังหวะคําในแต่ละวรรคว่า จัดจังหวะ
วรรคหน้าเป็ น ๒-๓ และวรรคหลัง เป็ น ๓-๓ หรื อไม่ เช่น ถ้ำเขียนว่า ดอกไม้ที่ในสวน หอม
อบอวล- ชวนหลงใหล จะไพเราะกว่า มีดอกไม้ในสวน กลิ่นหอมยวน- ยังเหลือหลาย
๒. ดูที่สมั ผัสใน ซึ่งมีอยูใ่ นแต่ละววรค อาจจะเป็ นสัมผัสอักษรหรื อสัมผัสสระก็แล้วแต่ โดยมี
จังหวะสัมผัส ดังนี้ ในวรรคหน้า คําที่ ๒ สัมผัสกับคําที่ ๓ หรื อ ๔ ในวรรคหลัง คําที่ ๓ สัมผัส
กับคําที่ ๔ หรื อ ๕ เช่น ยากเย็น เห็นหน้าเจ้า สร่ างโศกเศร้า สุ ขนักหนา ว่างเว้น ไม่เห็นหน้ามา
หม่นหมอง ละอองนวล
๓. ดูที่สมั ผัสระหว่างวรรคในบาทโท ถ้ามีการส่ งสัมผัสระหว่างคําสุ ดท้ายของวรรคหน้า กับคาที่
๑ หรื อ ๒ หรื อ ๓ ของวรรคหลัง จะทำให้กาพย์ไพเราะมากกว่าไม่มีสมั ผัส เช่น ถ้าเขียนว่า ใดใด
ในโลกล้วน ไม่ครบถ้วน ล้วนขาดหาย หาใดให้พริ้ งพราย ดัง่ ใจหมาย นั้นไม่มี จะไพเราะกว่า ใด
ใดในโลกล้วน ไม่ครบถ้วน ล้วนขาดหาย หาใดให้พริ้ งพราย ดัง่ ใจปอง นั้นไม่มี นอกจากนั้นมัก
จะนิยมให้คาํ สุ ดท้ายของวรรคหน้า สัมผัสกับคําที่ ๑ ของวรรคหลังเช่น ใดใด ในโลกล้วน ไม่
ครบถ้วน ล้วนขาดหาย หาใดให้พริ้ งพราย หมายดัง่ ใจ นั้นไม่มี
๔. ดูที่เสี ยงวรรณยุกต์ของคําที่รับ– ส่ งระหว่างวรรคถ้าใช้คาํ ที่เสี ยงวรรณยุกต์
ถ้าเขียนว่า ดอกไม้ที่ในสวน หอมอบอวล ชวนหลงใหล
(ส่ งด้วย “สวน” เสี ยงจัตวา รับด้วย “อวล” เสี ยงสามัญ) จะไพเราะกว่ำ ดอกไม้ที่ในสวน กลิ่น
หอมหวนชวนหลงใหล (ส่ งด้วย “สวน” เสี ยงจัตวา รับด้วย “หวน” เสี ยงจัตวา) 5. นอกจากนั้นก็
ดูความไพเราะจากการใช้คาํ การเล่นคํา การใช้คาํ สัมผัส ที่ไม่มี สัมผัส ไม่มีสมั ผัสแย่ง ไม่มี
สัมผัสเกิน ฯลฯ ในลักษณะเดียวกันกับการพิจารณา ความไพเราะของบทประพันธ์โดยทัว่ ไป
และนี่คือข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับ “วรรณลักษณ์” และ “วรรณวิจิตร” ที่เป็ นชั้นเชิงทาง
วรรณศิลป์ อันงดงามแห่ง “กาพย์ยานี ๑๑”
วิธีการแต่ งกาพย์ ยานี ๑๑
1. ทําความเข้าใจในฉันทลักษณ์ (ลักษณะบังคับ) และจดจํารู ปแบบฉันทลักษณ์ ของกาพย์ยานี
๑๑ ให้แม่นยํา ว่ากาพย์ยานี ๑๑ หนึ่งบทมีกี่บาท บาทหนึ่งมีกี่วรรค วรรคหน้า วรรคหลังมีกี่คาํ
การสัมผัสระหว่างวรรค ระหว่างบาท และระหว่างบทเป็ นอย่างไร
2. กําหนดจุดมุ่งหมายในการเขียนให้ชดั เจนว่าจะเขียนเรื่ องใดเขียนให้ใครอ่านอ่านแล้วเกิดความ
รู ้สึกหรื อความคิดอะไรบ้าง
3. กําหนดเนื้อเรื่ องและเรี ยงลําดับเนื้ อหาให้ต่อเนื่องชัดเจนว่า ใครทําอะไร กับใคร ที่ไหน เมื่อไร
ผลเป็ นอย่างไร ในกำรเขียนควรยึดหลักปฏิบตั ิดงั นี้
- เขียนให้ตรงตามหัวข้อที่ต้ งั ใจหรื อที่กาํ หนด
– เขียนให้ถูกต้องตามลักษณะบังคับ
- เขียนให้รัดกุม ได้เนื้ อหาสาระต่อเนื่องเป็ นเรื่ องเดียวกันโดยตลอดเรื่ อง
- เลือกใช้คาํ ให้เหมาะสมใช้คาํ ที่สื่อความหมายได้ชดั เจน เข้าใจง่าย
- สอดแทรกความคิดดี ๆ ใหม่ ๆ และความคิดริ เริ่ มเป็ นของตนเอง – อ่านและขัดเกลาสํานวน
เนื้อหาให้ไพเราะราบรื่ น อีกครั้ง

You might also like