You are on page 1of 5

การใส่ ท่อระบายช่ องปอดและการดูแลรักษา

(Intercostal drainage and chest tube care)


ข้ อบ่ งชีใ้ นการใส่ ท่อระบายช่ องปอด
1. Trauma (pneumothorax, hemothorax, hemopneumothorax, blunt chest injury with severe
subcutaneous emphysema)
2. Spontaneous pneumothorax
3. Massive pleural effusion and malignant pleural effusion
4. Empyema thoracis and early empyema
5. Chylothorax

ขัน้ ตอนการปฏิบัติ ข้ อควรระวัง


การเตรี ยมตัวผู้ป่วย
1. แนะนำตัวและกล่าวทักทายผู้ป่วย ไม่แนะนำตนเอง
2. อธิบายให้ ผ้ ป ู ่ วยทราบถึงความจำเป็ นและ ไม่อธิบายให้ เข้ าใจ
ประโยชน์ชองการทำหัตถการ ตลอดจนวิธีการ
ทำอย่างคร่าวๆ
3. Inform consent
ไม่ได้ ทำ Inform consent
การเตรี ยมอุปกรณ์ เตรี ยมอุปกรณ์ไม่พร้ อม หรื อไม่ปราศจากเชื ้อ
1. เตรี ยมเครื่ องมือชุด ICD insertion
2. หมวก หน้ ากาก ชุดกาวน์และถุงมือปราศจาก
เชื ้อ
3. ยาชา
4. Chest tube ขนาดต่างๆ
ขันตอนการทำหั
้ ตถการ รกาก
1. จัดท่าให้ ผ้ ปู ่ วยนอนราบหรื อศีรษะสูงเล็กน้ อย จัดท่าไม่เหมาะสม
ประมาณ 30-45 องศา
2. ให้ มือผู้ป่วยด้ านที่จะใส่ทอ่ ระบายยกวางไว้ เหนือ จัดท่าไม่เหมาะสม
ศีรษะ มือด้ านตรงข้ ามแนบชิดลำตัว
3. ล้ างมือให้ สะอาด สวมชุด หมวก หน้ ากาก สวม ขาด sterile technique
ถุงมือปลอดเชื ้อ .
4. ทำความสะอาดผิวหนังด้ วยน้ำยาฆ่าเชื ้อ เช่น ทาไม่กว้ างพอ
povidone iodine, chlorhexidine ให้ กว้ าง
พอเหมาะ .
5. ปูผ้าช่องปราศจากเชื ้อตำแหน่งที่จะใส่สาย .
ระบาย เลือกตำแหน่งสูงหรื อต่ำเกินไป
6. คลำหาตำแหน่งที่จะใส่สายระบาย ระหว่างช่อง
กระดูกซี่โครงที่ 4-6 (Intercostal space 4th-
6th), บริ เวณ anterior to mid axillary line
7. ฉีดยาชา 1%-2% Xylocaine ที่ชนผิ ั ้ วหนัง ชัน้ ฉีดยาชาไม่ทวั่ ถึงทุกชัน้
ไขมัน จนกระทัง่ ชนกระดูกซี่โครง แล้ วไล่เข้ าไป ไม่ได้ ดดู ลมหรื อของเหลวเพื่อเช็คว่าเข้ าช่อกอกจริ ง
ผ่านเยื่อหุ้มปอด และออกแรงดูดตลอดเวลา ดูด ไม่ได้ ทดสอบว่ายาชาออกฤทธิ์แล้ ว
ดูวา่ ได้ ลมหรื อของเหลวหรื อไม่ ถ้ าได้ แสดงว่า
เช้ าช่องอกแล้ วเริ่ มฉีดยาชา ระวังไม่ให้ แทงลึก
เกินไป อาจทะลุเนื ้อปอด แล้ วทดสอบว่ายาชา
อออกฤทธิ์ โดยใช้ forceps หรื อเข็มทดสอบ
8. ใช้ มีดเปิ ดแผลที่ผิวหนังยาวพอให้ นิ ้วมือใส่เข้ าได้
สะดวก บริ เวณต่ำกว่าจุดที่จะใส่ทอ่ ระบายไป ลงแผลเล็กหรื อใหญ่เกินไป
ทางด้ านล่าง ประมาณ 1-2 FB (หรื อบนขอบ ลงแผลตำแหน่งไม่เหมาะสม
ซี่โครง) เพื่อให้ แนวแผลที่ผิวหนังและ ICS เป็ น
แนวเฉียงขึ ้น
9. ใช้ arterial clamp หรื อ Mayo scissor แหวก
ผ่านชันไขมั
้ นหรื อกล้ ามเนื ้อ โดยเข้ าเหนือขอบ
บนของกระดูกซี่โครงซี่ลา่ ง เพื่อลดโอกาสบาด ควรใช้ นิ ้วจับตัว clamp หรื อ mayo เพื่อกะระยะไม่
เจ็บต่อหลอดเลือดและเส้ นประสาท ให้ เข้ าช่องปอดลึกเกินไปจนเกิด intrathoracic
intercostals injury
10. เมื่อ clamp หรื อ Mayo scissor ทะลุเข้ าไปใน
โพรงปอด จะได้ ยินเสียงลมฟู่ หรื อมีของเหลว
ออกมาให้ เห็น แล้ วเปลี่ยนเป็ น clamp ขนาด ไม่เข้ าช่องปอด
ใหญ่ เช่น Kelly clamp แหวกขยายรูปิดให้ ใหญ่ แหวกช่องปอดไม่กว้ างพอ
ขึ ้นเพียงพอที่จะใส่ทอ่ ระบายหรื อใส่นิ ้วมือได้
11. สอดนิ ้วเข้ าเพื่อสำรวจว่าเข้ าช่องอกหรื อไม่ โดย
ปลายนิ ้วจะสัมผัสกับเยื่อหุ้มปอด (parietal
pleura) หรื อเนื ้อปอด
12. เลือกท่อระบายตามขนาดที่เหมาะสม (ประมาณ
Fr 28-36)
13. สอดท่อเข้ าไปในช่องอกตามแนวรูที่ทำไว้ (อาจ
ใช้ Clamp ขนาดใหญ่จบั ที่ปลายท่อ) ขณะใส่ให้
ค่อยๆ หมุนท่อระบายออกด้ านนอกหรื อไปด้ าน เลือกท่อระบายไม่เหมาะสม
หลังของผู้ป่วย เพื่อให้ ทอ่ รระบายไปวางนอนใน
ตำแหน่งด้ านหลังของโพรงปอด ใส่ทอ่ ระบายไปตำแหน่งไม่เหมาะสม
เข้ าไปลึกตามความเหมาะสม
(pneumothorax ใส่ประมาณ 10-14 cm เพื่อ
ให้ ถึง apex, hemothorax หรื อ pleura
effusion ประมาณ 4-10 cm เพื่อให้ รูสด ุ ท้ าย
ของท่ออยู่ในช่อกอกก็เพียงพอ)
14. ใช้ clamp ขนาดใหญ่หนีบปลายอีกด้ านของท่อ
ให้ แน่น แล้ วตัดปลายเพื่อต่อกับสายของขวด
ระบายตามพยาธิสภาพ (pneumothorax ใช้
ต่อระบบ 1 ขวด, hemothorax หรื อ pleural
effusion ใช้ ตอ่ ระบบ 2-3 ขวด)
15. แล้ วสังเกตว่าระดับน้ำในขวดมีการเคลื่อนไหว
ต่อเข้ ากับระบบไม่เหมาะสม
ตามการหายใจ โดยอาจบอกให้ ผ้ ปู ่ วยหายใจลึก
หรื อไอ
16. เย็บปิ ดแผลและยึดผูกกับท่อระบายเพื่อป้องการ
การเลื่อนหลุด
17. ทำความสะอาดแผลและปิ ดด้ วยผ้ าก๊ อซ แล้ วใช้
พลาสเตอร์ เทปกาวปิ ดยึดติดกับผิวหนังให้ ไม่เช็คว่าระบบระบายช่องอกใช้ ได้ ดีจริ ง
เรี ยบร้ อย
18. สังเกตอาการของผู้ป่วย และต้ องสัง่ ทำ Chest
X-ray เพื่อดูตำแหน่งของสายและติดตามพยาธิ ไม่เย็บผูกกับท่อระบาย
สภาพของโรค

ไม่สงั เกตอาการและไม่สง่ Chest X-ray เพื่อดู


ตำแหน่งของสายและตัวโรค
คำแนะนำหลังทำหัตถการ
1. แนะนำดูแลรักษาความสะอาดแผล อย่าให้ แผล
เปี ยกน้ำ
2. ระวังไม่ยกขวดให้ สงู กว่าระดับทรวงอก หากมี
การรั่วหรื อแตกของขวดให้ รีบแจ้ งแพทย์หรื อ
พยาบาล
3. ไม่หนีบสายระบายทิ ้งไว้
4. แนะนำฝึ กหายใจเข้ าออกให้ ลกึ เต็มปอด หรื อให้
ฝึ กดูด triflow

การต่อท่อระบายลงชวดและ suction

1, ระบบ one bottle system 2. ระบบ two bottle system


3. ระบบ three bottle system

การถอดท่ อระบายช่ องอก

จะถอดท่อระบายก็ตอ่ เมื่อ

1, ไม่มีลมรั่ว
2. ไม่มีเลือดออก

3. ไม่มีหนองออก

4. น้ำออกน้ อยกว่า 50-100 ml อย่างน้ อย /2 วันขึ ้นไป

ขันตอนการถอดท่
้ อระบาย

1. อธิบายผู้ป่วยและจัดท่าเหมือนตอนใส่ทอ่ ระบายทรวงอก แล้ วเปิ ดผ้ าปิ ดแผลออก


2. ใส่ถงุ มือปลอดเชื ้อ
3. ทาทำความสะอาดแผลด้ วยน้ำยาฆ่าเชื ้อ
4. ตัดไหมที่ผกู ยึดกับท่อระบาย
5. ใช้ ผ้าก๊ อซหรื อผ้ าก๊ อซร่ วมกับวาสลินก๊ อซ ปิ ดบริ เวณที่ใส่ทอ่ ระบาย
6. ให้ ผ้ ป
ู ่ วยหายใจเข้ าลึกสุดและกลันไว้

7. ดึงท่อระบายออกในขณะที่มืออีกข้ างใช้ ผ้าก๊ อซกดปิ ดแผลไว้ ตลอดเวลา
8. หลังจากนันให้ ้ ผ้ ปู ่ วยหายใจได้ ตามปกติ
9. ปิ ดพลาสเตอร์ ปิดแผลแบบแน่น เช่น Fixumull ปิ ดทับผ้ าก๊ อซโดยระวังไม่ให้ ผ้าก๊ อซหลุดจากแผล
10. สังเกตอาการและส่งทำ Chest X-ray หลังถอดท่อระบายช่องอก

You might also like