You are on page 1of 5

สุ ข ศ า ส ต ร์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม

Industrial Hygiene

การตรวจวัดระดับเสียงดัง
ในโรงงานอุตสาหกรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อภิรดี ศรีโอภาส วท.ม. (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความปลอดภัย)
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

การท� ำ งานที่ ต ้ อ งสั ม ผั ส เสี ย งดั ง ตลอดระยะเวลาการท� ำ งานพบได้ ใ นสถาน


ประกอบกิจการต่าง ๆ ซึ่งประเภทกิจการที่ต้องด�ำเนินการตรวจวัดระดับเสียงดัง ได้แก่
การระเบิด ย่อย โม่หรือบดหิน การผลิตน�ำ้ ตาลหรือท�ำให้บริสุทธิ์ การผลิตน�ำ้ แข็ง การปั่นทอ
โดยใช้เครื่องจักร การผลิตเครื่องเรือน เครื่องใช้จากไม้ การผลิตเยื่อกระดาษหรือกระดาษ
กิจการที่มีการปั๊มหรือเจียรโลหะ (กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน, 2550) ซึ่งมาตรฐาน
ระดับเสียงดังทีย่ อมให้ลกู จ้างได้รบั ตลอดเวลาการท�ำงานในแต่ละวัน โดยถ้าผูป้ ฏิบตั งิ านท�ำงาน
8 ชั่วโมงต่อวัน ระดับเสียงเฉลี่ยตลอดเวลาการท�ำงาน (TWA) ที่ผู้ปฏิบัติงานสัมผัสจะต้อง
ไม่เกิน 90 เดซิเบลเอ เป็นต้น นอกจากนี้ในการท�ำงานในแต่ละวันผู้ปฏิบัติงานจะสัมผัสระดับ
เสียงสูงสุด (Peak) ได้ไม่เกิน 140 เดซิเบลเอ (กระทรวงแรงงาน, 2549) การตรวจวัดเสียง
ดังในสถานประกอบกิจการต่าง ๆ นั้น โดยทั่วไป จป. วิชาชีพ (เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยใน
การท�ำงานในระดับวิชาชีพ) จะไม่ได้เป็นผู้ด�ำเนินการตรวจวัดเสียงโดยตรง แต่จะด�ำเนินการ
โดยบริ ษั ท หรื อ หน่ ว ยงานเอกชนที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รองให้ ส ามารถด� ำ เนิ น การตรวจวั ด
สิง่ แวดล้อมในการท�ำงาน เช่น เสียง แสงสว่าง ความร้อนในสถานประกอบกิจการเข้ามาด�ำเนิน
การตรวจวัด อย่างไรก็ตาม จป. วิชาชีพก็ยงั ต้องมีบทบาทหน้าทีใ่ นการประเมินผลกระทบด้าน
สิ่งแวดล้อมในการท�ำงานให้กับผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งในที่นี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะเรื่องการตรวจ
ประเมินระดับเสียงดังในสถานประกอบกิจการ
การวางแผนเป็นสิ่งส�ำคัญที่จะต้องด�ำเนินการก่อนที่จะท�ำการตรวจวัดเพื่อประเมิน
ระดับเสียงดังในสถานประกอบกิจการโดย จป. วิชาชีพจะต้องมีการวางแผนในเรื่องต่าง ๆ
OSH (Canadian Centre for Occupational Health and Safety, 2015) ได้แก่
1. วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการตรวจวั ด ระดั บ เสี ย ง จป. วิ ช าชี พ จะต้ อ งก� ำ หนด
วัตถุประสงค์ของการตรวจวัดระดับเสียงดัง เพือ่ ให้สามารถด�ำเนินการตามขัน้ ตอนและวิธกี าร
ต่าง ๆ ของการตรวจวัดได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน ซึ่งวัตถุประสงค์ของการตรวจวัดระดับ
เสียงดัง ได้แก่

Journal of Safety and Health : Vol. 8 No. 27 January-March 2015 57


ว า ร ส า ร ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สุ ข ภ า พ
ปีที่ 8 ฉบับที่ 27 ประจำ�เดือนมกราคม-มีนาคม 2558

1.1 การตรวจวัดเพื่อประเมินการสัมผัสเสียง หน้าทีส่ ำ� คัญของ จป. วิชาชีพในการตรวจประเมินระดับเสียง


ตามกฎหมาย ดั ง ในสถานที่ ท� ำ งานที่ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านสั ม ผั ส ให้ เ ป็ น ไปตาม
เป็ น การประเมิ น ว่ า เสี ย งที่ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง าน ที่กฎหมายก�ำหนด
สัมผัสมีอันตรายต่อสมรรถภาพการได้ยินหรือไม่ ซึ่งตาม สิง่ ส�ำคัญที่ จป. วิชาชีพจะต้องพิจารณาต่อไปในการ
กฎหมาย (กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน, 2550) จะ ตรวจวัดเสียงตามกฎหมาย คือ
ต้องท�ำการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการท�ำงานเกี่ยวกับ 2. ชนิดของอุปกรณ์ตรวจวัดเสียง การตรวจ
ระดับเสียงภายในสถานประกอบกิจการอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ วัดระดับเสียงเพื่อประเมินการสัมผัสเสียงตามกฎหมาย
แต่หากมีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงเครื่องจักร อุปกรณ์ จะต้ อ งใช้ อุ ป กรณ์ ที่ ไ ด้ ม าตรฐานของคณะกรรมาธิ ก าร
กระบวนการผลิต วิธีการท�ำงาน หรือการด�ำเนินการใด ๆ ที่ ระหว่ า งประเทศว่ า ด้ ว ยเทคนิ ค ไฟฟ้ า (International
อาจมี ผ ลต่ อ การเปลี่ ย นแปลงระดั บ เสี ย งจะต้ อ งท� ำ การ Electrotechnical Commission) หรือเทียบเท่า ตามที่
ตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับเสียงอีกครั้งภายใน 90 วัน กฎหมายก�ำหนด และจะต้องค�ำนึงถึงลักษณะของเสียง
นับจากวันที่มีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลง ทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านสัมผัสด้วยว่าเหมาะสมกับการใช้เครือ่ งวัดเสียง
1.2 การตรวจวั ด เพื่ อ ด� ำ เนิ น การโครงการ ชนิดใด ดังรายละเอียดต่อไปนี้
อนุรักษ์การได้ยิน 2.1 เครื่องวัดเสียง (Sound Level meter)
เป็นการตรวจประเมินระดับเสียงเพื่อเฝ้า ต้องได้มาตรฐาน IEC 61672 : 2002 Electroacoustics
ระวังเสียงดัง (Noise monitoring) โดยจะมีการจัดท�ำ Sound Level Meters Class 1 หรือ Class 2 หรือเทียบเท่า
แผนผังเส้นเสียง (Noise contour map) เพื่อก�ำหนดพื้นที่ ได้แก่ เครื่องวัดเสียงชนิดนี้ใช้ส�ำหรับการตรวจวัดเสียง
ที่มีระดับเสียงดังเกินกว่าค่ามาตรฐาน ซึ่งจะต้องมีการติด ในบริเวณที่ท�ำงานที่มีเสียงดังต่อเนื่องและเสียงมีลักษณะ
ป้ายเตือนและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันการสูญเสียการได้ยิน คงที่ (Steady noise) เช่น เสียงมอเตอร์ เสียงจากพัดลม
ตลอดจนจะต้ อ งมี ก ารเฝ้ า ระวั ง การได้ ยิ น (Hearing เสียงเครื่องทอผ้า เป็นต้น การตั้งค่าเครื่องวัดเสียงจะตั้งค่า
monitoring) โดยการตรวจการได้ยนิ ให้กบั ผูป้ ฏิบตั งิ านกลุม่ การตรวจวัดที่สเกลเอ โดยมีหน่วยเป็นเดซิเบลเอ (dB(A))
เสี่ยง เป็นต้น (OSHA : Occupational Safety and และตั้งค่าการตอบสนอง (Response) แบบช้า (slow) การ
Health Administration, 1991; กรมสวัสดิการและ ติดตั้งเครื่องวัดเสียงจะติดตั้งไว้บนขาตั้ง (Tripod) (ดังภาพ
คุ้มครองแรงงาน, 2553) ที่ 1) โดยให้ความสูงของไมโครโฟนอยู่ที่ระดับการได้ยิน
1.3 การตรวจวัดเพื่อด�ำเนินการควบคุมเสียง (Hearing zone) คืออยู่ในรัศมีไม่เกิน 30 เซนติเมตรจาก
เป็นการหาแนวทางในการควบคุมเสียง หูของผู้ปฏิบัติงานที่ก�ำลังปฏิบัติงาน ณ จุดนั้น และหัน
ที่เกินมาตรฐานก�ำหนดและอาจก่อให้เกิดการสูญเสียการ ไมโครโฟนไปที่แหล่งก�ำเนิดเสียง กรณีตรวจวัดในบริเวณที่
ได้ยนิ ของผู้ปฏิบตั งิ าน เช่น การตรวจวัดเสียงทีแ่ หล่งก�ำเนิด มีพัดลมหรือกระแสลมแรง จะต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันลม
เสียงแบบแยกความถี่ การตรวจวัดเสียงเพือ่ หาแหล่งก�ำเนิด (Wind screen) ที่ไมโครโฟนเครื่องวัดเสียงทุกครั้งและ
เสียงที่เป็นปัญหาในกรณีที่มีแหล่งก�ำเนิดเสียงหลาย ๆ ตลอดระยะเวลาการตรวจวัด เพื่อป้องกันผลการตรวจวัด
แหล่ง ระดับเสียงผิดพลาดไปจากความเป็นจริง ในการตรวจวัดจะ
เมือ่ ก�ำหนดวัตถุประสงค์ของการตรวจวัดระดับเสียง ตรวจวัดบริเวณที่มีผู้ปฏิบัติงานปฏิบัติงานอยู่ในสภาพการ
ได้แล้ว ในทีน่ จี้ ะขอกล่าวถึงเฉพาะวัตถุประสงค์การตรวจวัด ท�ำงานปกติ ตลอดระยะเวลาการท�ำงานใน 1 วัน ซึ่งการ
ระดับเสียงเพือ่ ประเมินการสัมผัสเสียงตามกฎหมาย ซึง่ เป็น ก�ำหนดจุดตรวจวัดจะได้กล่าวต่อไป

58 Journal of Safety and Health : Vol. 8 No. 27 January-March 2015


สุ ข ศ า ส ต ร์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
Industrial Hygiene
(Personal sampling) ตลอดระยะเวลาการท�ำงานใน 1 วัน
โดยไมโครโฟนจะถูกติดไว้ทรี่ ะดับการได้ยนิ (Hearing zone)
คือ อยู่ในรัศมีไม่เกิน 30 เซนติเมตรจากหูของผู้ปฏิบัติงาน
ที่ก�ำลังปฏิบัติงาน ณ จุดนั้น (ดังภาพที่ 2) เครื่องวัดเสียง
ชนิดนี้จะค�ำนวณปริมาณเสียงสะสมที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับ
(Dose) ออกมาในหน่วยของร้อยละ (% Dose) ซึ่งต้องน�ำ
ไปค� ำ นวณต่ อ เพื่ อ หาค่ า ระดั บ เสี ย งเฉลี่ ย ต่ อ ระยะเวลา
การท�ำงาน 8 ชั่วโมงต่อวัน ยกเว้นบางเครื่องสามารถที่จะ
ประมวลผลแสดงค่าระดับเสียงเฉลีย่ ต่อระยะเวลาการท�ำงาน
ภาพที่ 1 การติดตั้งเครื่องวัดเสียงบนขาตั้ง 8 ชั่วโมงต่อวันได้ (TWA-8 hrs)

2.2 เครื่ อ งวั ด ปริ ม าณเสี ย งสะสม (Noise


dosimeter หรือ Noise dosemeter) ต้องได้มาตรฐาน
Specifications for Personal Sound Exposure Meter
หรือเทียบเท่า ได้แก่ ANSI S1.25-1991 Specification for
Personal Noise Dosimeters หรือ BS EN 61252 : 1997
for Personal Sound Exposure Meters
เครื่ อ งวั ด ปริ ม าณเสี ย งสะสมจะถู ก ใช้ ใ น
กรณี ที่ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านสั ม ผั ส เสี ย งดั ง ต่ อ เนื่ อ งแบบไม่ ค งที่
(Non-steady or Fluctuating noise) เช่น เสียงจาก
เครื่องบดพลาสติก เสียงจากเครื่องเจียร เป็นต้น และ/หรือ
เสี ย งที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงตลอดเวลา และ/หรื อ กรณี ที่
ผู้ปฏิบัติงานต้องท�ำงานที่ต้องเคลื่อนที่ไปยังจุดท�ำงานที่มี
ระดับเสียงดังต่างกันตลอดเวลาการท�ำงาน เช่น พนักงาน
ขับรถฟอร์คลิฟท์ พนักงานเข็นรถอุปกรณ์จากแผนกหนึ่ง
ไปอีกแผนกหนึ่ง เป็นต้น
วิ ธีก ารตรวจวั ด ระดั บ เสี ย งด้ ว ยเครื่ อ งวั ด
ปริมาณเสียงสะสม ให้ตรวจวัดบริเวณที่มีลูกจ้างปฏิบัติงาน ภาพที่ 2 การติดตั้งเครื่องวัดปริมาณเสียงสะสมที่ตัวบุคคล
อยูใ่ นสภาพการท�ำงานปกติ การตัง้ ค่าเครือ่ งวัดเสียงจะตัง้ ค่า
การตรวจวัดที่สเกลเอ โดยมีหน่วยเป็นเดซิเบลเอ (dB(A)) 2.3 เครื่องวัดเสียงกระทบหรือเสียงกระแทก
โดยตั้งค่าการตอบสนอง (Response) แบบช้า (slow) และ ต้องได้มาตรฐาน IEC 61672 : 2002 Electroacoustics
ต้ อ งตั้ ง ค่ า ให้ เ ครื่ อ งค� ำ นวณปริ ม าณเสี ย งสะสมที่ ร ะดั บ Sound Level Meters Class 1 หรือ Class 2 หรือ
(Threshold level) 80 เดซิเบล (dB) Criteria Level เทียบเท่า
ที่ระดับ 90 เดซิเบล (dB) และ Energy Exchange rate เครือ่ งวัดเสียงชนิดนีจ้ ะใช้ส�ำหรับตรวจวัดเสียง
ที่ 5 (กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน, 2550) การติดตั้ง กระทบหรือกระแทก (Impact or Impulse noise) เช่น
เครื่ อ งวั ด ปริ ม าณเสี ย งสะสมจะติ ด ไว้ ที่ ตั ว ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง าน เสียงจากเครื่องปั๊มชิ้นงานโลหะ เสียงจากการทุบ/เคาะโลหะ

Journal of Safety and Health : Vol. 8 No. 27 January-March 2015 59


ว า ร ส า ร ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สุ ข ภ า พ
ปีที่ 8 ฉบับที่ 27 ประจำ�เดือนมกราคม-มีนาคม 2558

เสียงตอกเสาเข็ม เป็นต้น แต่ปจั จุบนั เครือ่ งวัดเสียงส่วนใหญ่ 3.1.2 การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต


สามารถตรวจวัดเสียงกระทบหรือกระแทกได้พร้อมกับ ในพื้นที่ท�ำงาน โดยพื้นที่ใดมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการ
การตรวจวัดเสียงเฉลีย่ (Leq) โดยไม่ตอ้ งแยกใช้เครือ่ งตรวจ ผลิตหรือมีการเปลี่ยนแปลงชนิดเครื่องจักร หรือจ� ำนวน
วัดเสียงกระทบหรือกระแทกโดยเฉพาะ เครื่องจักรไปจากเดิม ก็จะต้องพิจารณาตรวจวัดเสียงใน
ก่ อ นที่ จ ะน� ำ เครื่ อ งวั ด เสี ย งมาใช้ ต รวจวั ด เสี ย ง พื้นที่ทำ� งานนั้นด้วย
ในที่ท�ำงานและหลังการตรวจวัดเสียงเรียบร้อยแล้ว สิ่ง 3.1.3 ข้อมูลการสอบถามผู้ปฏิบัติงานถึง
ส�ำคัญที่ต้องด�ำเนินการ คือ การปรับเทียบความถูกต้อง ระดับเสียงดังเพื่อเป็นข้อมูลประกอบ เนื่องจากผู้ปฏิบัติงาน
(Calibration) ของเครื่องวัดเสียงด้วยอุปกรณ์ตรวจสอบ ท�ำงานในพืน้ ทีจ่ ะสามารถรับรูถ้ งึ การเปลีย่ นแปลงระดับเสียง
ความถูกต้อง (Noise Calibrator) ที่ได้มาตรฐาน IEC ดังที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงได้
60942 : 2003 Electroacoustics Sound Calibrators 3.2 การพิจารณาจุดที่จะท�ำการตรวจวัดเสียง
หรือเทียบเท่า ได้แก่ ANSI 1.40-2006 Procedures for การพิจารณาจุดตรวจวัดในพื้นที่ท�ำงาน หากสามารถด�ำเนิน
Sound Calibrators หรือ BS EN 60942 : 2003 การได้ ให้ด�ำเนินการตรวจวัดเสียงทุกจุดที่มีผู้ปฏิบัติงาน
Electroacoustics Sound Calibrators เพื่อให้เกิดความ เพราะจะได้ข้อมูลอย่างแท้จริงว่าผู้ปฏิบัติงานแต่ละคนจะ
มั่นใจว่าค่าที่ได้จากการตรวจวัดมีความถูกต้องแม่นย�ำ โดย สัมผัสเสียงดังเกินมาตรฐานหรือไม่ แต่ในความเป็นจริง การ
ทั่วไปนิยมท�ำการปรับเทียบความถูกต้องโดยตั้งค่าอุปกรณ์ ตรวจวัดเสียงทุกจุดทีม่ ผี ปู้ ฏิบตั งิ านท�ำได้ยากเพราะมีตน้ ทุน
ตรวจสอบความถูกต้องให้กำ� เนิดเสียงที่ความถี่ 1,000 Hz ค่าใช้จ่ายในการตรวจวัดเสียงแต่ละจุดสูงโดยเฉพาะหากมี
และมีความดัง 114 dB หรือตั้งค่าที่ความถี่ 1,000 Hz และ ผู้ปฏิบัติงานจ�ำนวนมาก ดังนั้น จึงควรหาจุดตรวจวัดที่เป็น
มีความดัง 94 dB ตัวแทนที่จะท�ำให้สามารถประเมินการสัมผัสเสียงดังของ
หลังจากก�ำหนดชนิดเครื่องวัดเสียงที่จะตรวจวัดได้ ผู้ปฏิบัติงานได้ตามความเป็นจริงมากที่สุด โดยเลือกจุดที่มี
แล้ว สิ่งส�ำคัญที่ จป. วิชาชีพจะต้องด�ำเนินการ คือ เสียงดังมากหรืออยู่ใกล้แหล่งก�ำเนิดเสียงมากเพราะถือเป็น
3. การก�ำหนดพื้นที่และจุดที่จะท�ำการตรวจ จุดที่ผู้ปฏิบัติงานเสี่ยงต่อการได้รับอันตรายจากเสียงดัง
วัดเสียง จป. วิชาชีพมีหน้าที่ในการก�ำหนดพื้นที่และจุดที่ มากกว่าจุดที่อยู่ห่างไกลออกไป จากนั้นจึงค่อยมาพิจารณา
จะท�ำการตรวจวัดเสียง โดยเริ่มจากการพิจารณาพื้นที่ที่ การก� ำ หนดจุ ด ตรวจวั ด และเลื อ กใช้ เ ครื่ อ งวั ด เสี ย งตาม
จะด�ำเนินการตรวจวัดเสียงก่อน จากนั้นค่อยไปก�ำหนด รูปแบบเสียงที่ผู้ปฏิบัติงานสัมผัส โดยมีหลักการพิจารณา
จุดทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านท�ำงานในพืน้ ทีน่ นั้ ว่าผูป้ ฏิบตั งิ านคนใดเสีย่ ง ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ต่อการได้รับเสียงดังมากที่สุดตามล�ำดับหากไม่สามารถ 3.2.1 กรณี ที่ พ นั ก งานสั ม ผั ส เสี ย งคงที่
ตรวจวัดเสียงได้ทุกคน ตลอดระยะเวลาการท�ำงาน จะเลือกใช้ครือ่ งวัดเสียง (SLM)
3.1 การพิจ ารณาพื้น ที่ที่จ ะท� ำ การตรวจวัด โดยดู ค ่ า ระดั บ เสี ย งเฉลี่ ย ที่ เ รี ย กว่ า Leq (Eqivalent
เสียง อาจพิจารณาได้จากข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ Continuous Sound Level) ตลอดระยะเวลาการท�ำงาน
3.1.1 ข้อมูลผลการตรวจวัดระดับเสียงใน หรือเครื่องวัดเสียงสะสมก็ได้ ส่วนการพิจารณาจุดตรวจวัด
ปีทผี่ า่ นมา หากพบว่าพืน้ ทีใ่ ดมีระดับเสียงตัง้ แต่ 80 เดซิเบล ในพื้นที่ขึ้นอยู่กับจ�ำนวนพนักงาน ซึ่งองค์การอนามัยโลก
เอขึ้นไป ก็ควรที่จะด� ำเนินการตรวจวัดเพราะอาจมีการ (WHO, 2001) ได้แนะน�ำไว้ดังตารางที่ 1
เปลี่ยนแปลงระดับเสียง และหากผู้ปฏิบัติงานสัมผัสเสียง
ตั้งแต่ 85 เดซิเบลเอขึ้นไป ทางสถานประกอบกิจการจะต้อง
จัดท�ำโครงการอนุรักษ์การได้ยินตามที่กฎหมายก�ำหนด

60 Journal of Safety and Health : Vol. 8 No. 27 January-March 2015


สุ ข ศ า ส ต ร์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
Industrial Hygiene
ตารางที่ 1 จ�ำนวนจุดตรวจวัดเสียงในพื้นที่ที่มีการท�ำงานลักษณะเดียวกันและระดับเสียงคงที่

จำ�นวนผู้ปฏิบัติงานทั้งหมด (คน) จำ�นวนจุดที่ต้องวัดเสียง (อย่างน้อยที่สุด) (จุด)


ต�ำ่ กว่า 7 1-6 (ตามจำ�นวนผู้ปฏิบัติงาน)
7-8 6
9-11 7
12-14 8
15-18 9
19-26 10
27-43 11
44-50 12
> 50 14
ที่มา : WHO, 2001
3.2.2 กรณีทผี่ ปู้ ฏิบตั งิ านท�ำงานทีใ่ นพืน้ ที่ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน. (2553). ประกาศกรม
ที่มีเสียงดังไม่คงที่ โดยอาจท�ำงานที่จุด ๆ เดียวแต่สัมผัส สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และ
เสียงดังไม่คงที่หรือมีการเคลื่อนย้ายจุดท�ำงานหลายจุดโดย วิธกี ารจัดทำ�โครงการอนุรกั ษ์การได้ยนิ ในสถานประกอบ
แต่ละจุดท�ำงานมีเสียงดังแตกต่างกัน ให้พิจารณาการใช้ กิจการ พ.ศ. 2553. Available: http://www.oshthai.
เครือ่ งวัดเสียงสะสมติดตัง้ ทีต่ วั ผูป้ ฏิบตั งิ านตลอดระยะเวลา org/ [accessed 20 กุมภาพันธ์ 2558.]
การท�ำงาน เนือ่ งจากเป็นวิธที สี่ ะดวกและง่ายต่อการประเมิน กระทรวงแรงงาน. (2549). กฎกระทรวงกำ�หนดมาตรฐาน
การสัมผัสเสียงของผู้ปฏิบัติงาน ในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีว
3.2.3 กรณีทผี่ ปู้ ฏิบตั งิ านท�ำงานทีใ่ นพืน้ ที่ อนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำ�งานเกี่ยวกับความ
ที่มีเสียงดังไม่คงที่ โดยท�ำงานที่จุด ๆ เดียวแต่สัมผัสเสียงดัง ร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2549. Available:
ไม่คงที่ ระดับเสียงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หากต้องการใช้ http://www.oshthai.org/ [accessed 20 กุมภาพันธ์
เครื่องวัดเสียง (SLM) ให้ตรวจวัดเสียงที่จุดนั้นโดยใช้ 2558.]
ค่าระดับเสียงเฉลี่ย Leq ตลอดระยะเวลาการท�ำงาน . (Canadian Centre for Occupational Health
3.2.4 ก รณี ที่ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านท� ำ งานหลาย and Safety). (2015). Osh answers fact sheets.
พื้นที่ โดยมีการเคลื่อนย้ายจุดท�ำงานหลายจุดและแต่ละจุด Available: http://www.ccohs.ca/oshanswers/
ท�ำงานมีเสียงดังแตกต่างกัน หากต้องการใช้เครื่องวัดเสียง phys_agents/noise_auditory.html [accessed
(SLM) ให้ตรวจวัดเสียงทุกจุดที่ผู้ปฏิบัติงานไปท�ำงาน โดย 20 February 2015.]
ให้บันทึกระยะเวลาการท�ำงานในแต่ละจุดไว้ เพื่อน�ำมา OSHA (Occupational Safety and Health Admin-
ค�ำนวณปริมาณเสียงสะสมที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับตลอดระยะ istration). (1991). Occupational noise expo-
เวลาการท�ำงาน sure limits. Available: https://www.osha.
gov/pls/oshaweb/owadisp.show_document?
เอกสารอ้างอิง p_table=STANDARDS&p_id=9735 [accessed
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน. (2550). ประกาศกรม 26 March 2014].
สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธี WHO. (2001). Occupational exposure to noise:
ดำ�เนินการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทำ�งานเกีย่ ว Evaluation.
กับระดับความร้อน แสงสว่าง หรือเสียงภายในสถาน
ประกอบกิจการ ระยะเวลา และประเภทกิจการที่ต้อง
ดำ�เนินการ พ.ศ. 2550. Available: http://www.
oshthai.org/ [accessed 20 กุมภาพันธ์ 2558.]

Journal of Safety and Health : Vol. 8 No. 27 January-March 2015 61

You might also like