You are on page 1of 50

รายงานวิชาการ

ฉบับที่ กธส 6/2551

การประยุกตใชภาพดาวเทียม Landsat 7 ETM+


เพื่อศึกษาธรณีสัณฐานชายฝงทะเล บริเวณอําเภอตะกั่วปา
และอําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา

กองธรณีวิทยาสิ่งแวดลอม
กรมทรัพยากรธรณี
รายงานวิชาการ
ฉบับที่ กธส 6/2551

การประยุกตใชภาพดาวเทียม Landsat 7 ETM+


เพื่อศึกษาธรณีสัณฐานชายฝงทะเล บริเวณอําเภอตะกั่วปา
และอําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา

วีระชาติ วิเวกวิน
สุรศักดิ์ บุญลือ

กองธรณีวิทยาสิ่งแวดลอม
กรมทรัพยากรธรณี
อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี
นายอภิชัย ชวเจริญพันธ

ผูอํานวยการกองธรณีวิทยาสิ่งแวดลอม
นายอดิชาติ สุรินทรคํา

หัวหนาฝายธรณีพิบัติภัย นายสุวิทย โคสุวรรณ

จัดพิมพโดย กองธรณีวทิ ยาสิ่งแวดลอม กรมทรัพยากรธรณี


ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท 0 2621 9802 โทรสาร 0 2621 9795

พิมพครั้งที่ 1 สิงหาคม 2551


จํานวน 5 เลม

ขอมูลการลงรายการบรรณานุกรม

วีระชาติ วิเวกวิน และสุรศักดิ์ บุญลือ


การประยุกตใชภาพดาวเทียม Landsat 7 ETM+ เพื่อศึกษาธรณีสัณฐานชายฝงทะเล
บริเวณอําเภอทายเหมือง และอําเภอตะกัว่ ปา จังหวัดพังงา / โดย วีระชาติ วิเวกวิน และ
สุรศักดิ์ บุญลือ.-- กรุงเทพฯ : กองธรณีวทิ ยาสิ่งแวดลอม กรมทรัพยากรธรณี, 2551.
40 หนา : ภาพประกอบ : แผนที่
รายงานวิชาการ ฉบับที่ กธส 6/2551.
สารบัญ

หนา
สารบัญรูป III
บทคัดยอ V
คําขอบคุณ VI

บทที่ 1 บทนํา
1.1 หลักการและเหตุผล 1
1.2 วัตถุประสงค 1
1.3 ขอบเขตการศึกษา 1
1.4 พื้นที่สํารวจ 1
1.5 ผูปฏิบัติงาน 3
1.6 ลักษณะภูมิประเทศ 3
1.7 ลักษณะภูมิอากาศ 3
1.8 ธรณีวิทยาทั่วไป 3
1.9 งานเกาทีเ่ คยทําแลว 6
บทที่ 2 วรรณกรรมปริทัศน
2.1 หลักการและทฤษฎีของการรับรูระยะไกล 9
2.1.1 หลักการและความหมาย 9
2.1.2 ขอมูลภาพดาวเทียม Landsat 7 12
2.2 หลักการแปลความหมายขอมูลภาพจากดาวเทียม 12
2.2.1 ขั้นตอนการแปลความหมายขอมูลจากขอมูลภาพ 12
ดาวเทียม
2.2.2 หลั ก การแปลความหมายและวิ เ คราะห ข อ มู ล จากภาพ 13
ดาวเทียม
2.2.2.1การแปลความหมายและวิ เ คราะห ข อ มู ล จาก 13
ขอมูลภาพดาวเทียมดวยสายตา
2.2.2.2 การแปลความหมายและวิ เ คราะห ข อ มู ล จาก 14
ขอมูลภาพจากดาวเทียมดวยคอมพิวเตอร
บทที่ 3 วิธีการศึกษา
3.1 วัสดุอุปกรณที่ใชในการสํารวจ 16
3.1.1 อุปกรณสําหรับสํานักงาน 16
3.1.2 อุปกรณสําหรับงานภาคสนาม 16
3.2ขั้นตอนการศึกษาและวิธกี ารศึกษา 16
II

3.2.1 ขั้นตอนการรวบรวมขอมูลเบื้องตน 18
3.2.2 ขั้นตอนการวิเคราะหและแปลความหมาย 19
3.3 ผลการแปลความหมาย 25
3.4 ขั้นตอนการตรวจสอบภาคสนาม 27
บทที่ 4 ผลการศึกษา
บทที่ 5 สรุปและขอเสนอแนะ
5.1 ผลการศึกษา 38
5.2 ขอเสนอแนะ 39
เอกสารอางอิง
III

สารบัญรูป
หนา
รูปที่ 1.1 แผนทีภ่ ูมิประเทศของพื้นที่ศึกษา 2
รูปที่ 1.2 แผนที่ธรณีวิทยาของพื้นที่ศกึ ษาในมาตราสวน 1:250,000 5
รูปที่ 1.3 แผนที่ธรณีสณ ั ฐานของชายฝงทะเล ตําบลตะกั่วปา 7
รูปที่ 1.4 แผนที่ธรณีสณ ั ฐานของชายฝงทะเล อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา 8
รูปที่ 2.1 หลักการทํางานของการรับรูระยะไกล 10
รูปที่ 2.2 หลักการทํางานระบบการบันทึกขอมูลดวยวิธี Passive remote sensing 10
system และ Active remote sensing system
รูปที่ 2.3 ชวงคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่เปนพลังงานสะทอนกลับหรือแผออกมาจากวัตถุ 11
ในธรรมชาติซงึ่ ถูกบันทึกอยูใ นชวงคลื่น (Band) ที่ตางกัน
รูปที่ 2.4 กราฟแสดงลักษณะการสะทอนพลังงานของวัตถุ(Spectral reflectance 11
curve)
รูปที่ 2.5 แผนผังขั้นตอนการแปลความหมายจากภาพดาวเทียม 15
รูปที่ 3.1 ขั้นตอนการเลือกขอมูลตัวอยาง (Training Areas) เพื่อนําไปใชในการจัด 18
จําแนกกลุม
รูปที่ 3.2 ขั้นตอนการเลือกหนาตางการแปลความหมายดวยคอมพิวเตอรโดยวิธี 19
Maximum likelihood Classification มาใชงาน
รูปที่ 3.3 การเลือกFile และการใสพารามิเตอรสําหรับที่ใชในการแปลความหมาย 19
ดวยวิธี Maximum likelihood Classification
รูปที่ 3.4 ผลของการแปลความหมายโดยวิธี Maximum likelihood Classification 20
รูปที่ 3.5 ผลของการแปลความหมายโดยวิธี Maximum likelihood Classification 20
และชนิดและจํานวนกลุมขอมูลที่ไดจากการแปลความหมาย
รูปที่ 3.6 การปรับปรุงคุณภาพขอมูลโดยการกําจัดจุด หรือชองวาง (speckle or 21
holes)
รูปที่ 3.7 ขั้นตอนการทํา Principle Component Analysis (PCA) 22
รูปที่ 3.8 ขั้นตอนการทํา NDVI 23
รูปที่ 3.9 ผลของการทําคาดัชนีปาไม(NDVI analysis) พื้นที่สีเขียวแสดงวามีปา ไม 23
ปกคลุมบริเวณที่เปนสีขาวเปนพื้นที่ปา ปกคุมหรือมีปาปกคลุมนอย
รูปที่ 3.10 การเปลี่ยนขอมูลจากระบบ กริด (Raster Data) ไปเปนระบบเชิงเสน 27
(Vector Data)เพื่อใชสําหรับการปรับแกขอมูล
รูปที่ 3.11 ภาพถายดาวเทียม Landsat 7 แสดงลักษณะปรากฏของธรณีสัณฐานใน 26
พื้นที่ศึกษา
IV

รูปที่ 3.12 แสดงหาดทรายเกาหรือหาดทรายปราณ(1)และภาพปางกาง(2) บริเวณ 27


เหนือของทายเหมือง จังหวัดพังงา ขอมูลที่ไดจากการสํารวจ(ขอมูล
ภาพถายเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2549)กับภาพถายดาวเทียม Landsat 7
(path/row 130/054) บันทึกขอมูลเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2545
รูปที่ 3.13 ภาพหาดทรายปจจุบัน(1,2)บริเวณแหลมประการัง อําเภอตะกั่วปา 28
จังหวัดพังงา ขอมูลที่ไดจากการสํารวจภาคสนาม(ขอมูลภาพถายเมื่อวันที่
10 เมษายน 2549) กับภาพถายดาวเทียม Landsat 7(path/row 130/054)
บันทึกขอมูลเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2545
รูปที่ 3.14 ภาพหาดทรายใหม(1,2)บริเวณบานน้าํ เค็ม อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา 29
ขอมูลที่ไดจากการสํารวจภาคสนาม(ขอมูลภาพถายเมื่อวันที่ 10 เมษายน
2549) กับภาพถายดาวเทียม Landsat 7(path/row 130/054)บันทึก
ขอมูลเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2545
รูปที่ 4.1 แผนที่ธรณีสณ ั ฐานชายฝงบริเวณอําเภอตะกั่วปา อําเภอทายเหมือง 34
จังหวัดพังงา ในมาตราสวน 1: 100,000
รูปที่ 4.2 ภาพหาดทรายปจจุบันบริเวณแหลมปะการัง อําเภอตะกัว่ ปา จังหวัดพังงา 35
รูปที่ 4.3 ภาพหาดทรายใหมบริเวณบานน้ําเค็ม อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา 35
รูปที่ 4.4 ภาพหาดทรายเกาบริเวณบานทาดินแดง อําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา 36
รูปที่ 4.5 ภาพลากูนบริเวณบานคึกคัก อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา 36
รูปที่ 4.6 ภาพที่ลุมน้าํ ทวมขังบริเวณปาทางเหนือของอําเภอทายเหมือง จังหวัด 37
พังงา
รูปที่ 4.7 ภาพที่ราบน้าํ ขึ้นถึงบริเวณปาโกงกางที่บา นทาดินแดง อําเภอทายเหมือง 37
จังหวัดพังงา
V

การประยุกตใชภาพดาวเทียม Landsat 7 ETM+ เพื่อศึกษา


ธรณีสัณฐานชายฝงทะเลอําเภอตะกั่วปา และอําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา

โดย
วีระชาติ วิเวกวินและสุรศักดิ์ บุญลือ

บทคัดยอ
การประยุกตใชภาพดาวเทียม Landsat 7 ETM+ เพื่อศึกษาธรณีสัณฐานชายฝงทะเล
อําเภอตะกั่วปา และอําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา ซึง่ มีวัตถุประสงคเพื่อการแปลความหมายขอมูลการ
รับรูระยะไกลในการทําแผนที่ธรณีสัณฐานชายฝงทะเล โดยใชภาพถายดาวเทียม Landsat 7 แนวการ
บันทึกขอมูล Path 130/Row 054 บันทึกขอมูลเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2545 ทําการแปลความหมายดวย
คอมพิวเตอรดวยการจัดจําแนกแบบ Supervised Classification โดยใชวิธี Maximum Likelihood แลวทํา
การตรวจสอบความถูกตองของขอมูลในภาคสนาม และนําขอมูลที่ไดจากภาคสนามมาปรับแกขอมูลใหมี
ความถูกตอง
ผลการศึกษาพบวาธรณีสัณฐานชายฝงทะเลบริเวณจังหวัดระนองสามารถกําหนดขอบเขต
ของมีพื้นที่ศึกษาประมาณ 1128.28 ตารางกิโลเมตร สามารถแบงได 7 กลุม 1)หาดทรายปจจุบันพบ
ปรากฏอยูบริเวณที่ติดกับน้าํ ทะเลมากที่สุด เปนบริเวณที่มีน้ําทะเลขึ้นลง มีลักษณะเปนหาดสันดอน มีแนว
ชายหาดยาว มีสันดอนปากอาว มีเนื้อที่ประมาณ 18.06 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 1.60 ของพื้นที่
ศึกษา 2)หาดทรายเกาหรือหาดทรายโบราณพบอยูดา นหลังของลากูน ตะกอนทีต่ กสะสมตัวในบริเวณนี้
สวนใหญเปนตะกอนทรายขนาดปานกลางถึงหยาบมีการคัดขนาดทีด่ ี พบเปลือกหอยปะปนอยูในทราย
ดวย ในพื้นทีศ่ ึกษาพบบริเวณบานบางเนียง บานทาดินแดง อําเภอทายเหมืองมีเนื้อที่ประมาณ 66.26
ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 5.87 ของพื้นที่ศึกษา 3)ลากูน เปนที่ลุมน้ําขังหลังสันดอนทราย บริเวณ
ดังกลาวจึงกลายเปนที่ชุมน้ํามีพืชจําพวกเสม็ด และพืชชนิดที่เจริญเติบโตไดดบี ริเวณน้ําขึ้นน้าํ ลงปกคลุม
มักมีผักบุงทะเลขึ้นปกคลุม มีเนื้อที่ประมาณ 21.44 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 1.90 ของพื้นที่ศึกษา
4)ที่ลุมน้ําทวมขัง เปนพื้นที่น้ําทวมขังทุกปในฤดูฝนแลวพัฒนาเปนบึงมีการสะสมตัวของตะกอน ทราย
แปง ดินเหนียว มีเนื้อที่ประมาณ 2.92 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 0.26 ของพื้นที่ศึกษา 5)ที่ราบเชิง
เขา และที่ราบน้ําตะกอนน้ําพา มีเนื้อที่ประมาณ 368.84 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 32.69 ของพื้นที่
ศึกษา 6)ภูเขาสูง กระจายตัวอยูทางทิศตะวันออก มีเนื้อที่ประมาณ 552.09 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอย
ละ 48.93 ของพื้นที่ศึกษา 7)ที่ราบน้ําขึน้ ถึงบริเวณปาโกงกางหรือปาชายเลน เปนบริเวณปากคลองมีปา
โกงกางขึ้นปกคลุม มีกระบวนการน้าํ ขึ้นน้ําลงของน้ําทะเลตลอดเวลา มีเนื้อที่ประมาณ 96.00 ตาราง
กิโลเมตร คิดเปนรอยละ 8.51 ของพื้นที่ศึกษา
VI

คําขอบคุณ

ผูปฏิบัติงานขอขอบคุณ นายสมศักดิ์ โพธิสัตย อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี นายวรวุฒิ


ตันติวนิช ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานการบริหารจัดการทรัพยากรธรณี รักษาการผูอํานวยการกองธรณีวิทยา
สิ่งแวดลอม ไดมอบหมายใหทําการสํารวจในครั้งนี้
ผูปฏิบัติงานขอขอบคุณนายนิรันดร ชัยมณีหัวหนาฝายธรณีวิทยาสิ่งแวดลอมชายฝงทะเล
กองธรณีวิทยาสิ่งแวดลอม และนายวิสุ ทธิ์ โชติกเสถียร หัวหนา ฝายธรณีพิบัติภัย (ในขณะนั้น ) กอง
ธรณีวิทยาสิ่งแวดลอม ที่ไดมอบหมายงานและใหคําแนะนําในการศึกษาครั้ง ไดใหคําปรึกษาพรอมทั้งชวย
ตรวจและแกไขรายงานใหมีความถูกตองความสมบูรณยิ่งขึ้น
ผูปฏิบัติงานขอขอบพระคุณตอบุคคลที่ใหความชวยเหลือและเกี่ยวของ นายสุวิทย โคสุวรรณ
หั ว หน า ฝ า ยธรณี พิ บั ติ ภั ย ในป จ จุ บั น กองธรณี วิ ท ยาสิ่ ง แวดล อ ม ที่ ไ ด ส นั บ สนุ น การจั ด ทํ า รายงานนี้
นายปรีชา สายทอง นักธรณีวิทยา 6 ฝายธรณีพิบัติภัย กองธรณีวิทยาสิ่งแวดลอมที่ชวยตรวจและแกไข
รายงานใหมีความถูกตองความสมบูรณยิ่งขึ้น นายธีระพล วงษประยูร นักธรณีวิทยา 7 และนายพิทักษ
เทียมวงษ นักธรณีวิทยา 6 สํานักธรณีวิทยา ที่ไดใหความอนุเคราะหและใหคําแนะนําเกี่ยวกับขอมูล
ธรณีวิทยาของพื้นที่ศึกษา นางสุรีย ธีระรังสิกุล นักธรณีวิทยา 7 สํานักธรณีวิทยา ที่ใหคําปรึกษาเกี่ยวกับ
ขอมูลการรับรูระยะไกล
1

บทที่ 1
บทนํา
1.1 หลักการและเหตุผล
ชายฝงทะเลอันดามันของประเทศไทยมีความยาวประมาณ 937 กิโลเมตร แนวชายฝง
เริ่มตั้งแตเขตแดนไทย-พมาที่จังหวัดระนอง ตอเนื่องลงมาทางใตจนถึงจังหวัดภูเก็ต พังงา กระบี่ ตรัง
และสตูล ซึ่งเปนเขตแดนประเทศไทยตอกับประเทศมาเลเซีย แนวของชายฝงวางตัวสัมพันธกับโครงสราง
ธรณีวิท ยาที่เปนรอยเลื่อน (fault) 2 แนวใหญ คือ รอยเลื่อนระนอง และรอยเลื่อนคลองมะรุย ที่
เคลื่อนตัว ในทิศทางตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต ทําใหพื้นที่ชายฝงทะเลอันดามันวางตัวใน
แนวเกือบเหนือ-ใต ตั้งแต จังหวัดระนองถึงจังหวัดภูเก็ต และในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียง
ใต ตั้งแตจังหวัดพังงาพังงาถึงจังหวัดสตูล ซึ่งเปนแนวเดียวกับภูเขาที่ทอดตัวอยูตามชายฝงดานนี้
จากผลการดําเนินงานรวบรวมขอมูล การเปลี่ยนแปลงชายฝงทะเลฝงอันดามัน จาก
การศึกษาของสิน สินสกุลและคณะ (2546) พบวา ชายฝงดานอันดามัน ประกอบดวยพื้นที่ชายฝง 6
จั ง หวั ด ประกอบด ว ยชายฝ ง ของจั ง หวั ด ระนอง พั ง งา ภู เ ก็ ต กระบี่ ตรั ง และสตู ล มี ค วามยาว 946
กิโลเมตร มีชายฝงที่ถูกกัดเซาะยาว 111.4 กิโลเมตร คิดเปนรอยละ 11.77 ของพื้นที่ชายฝงทั้งหมด
ชายฝงทะเลดานอันดามัน พื้นที่ชายฝงที่ถูกกัดเซาะสวนใหญพบทั้งในจังหวัดระนอง ตรังและพังงา
กรมทรัพยากรธรณีตระหนักถึงความสําคัญของปญหาการเปลี่ยนแปลงชายฝงทะเล จึงได
ดําเนินการและติดตามการเปลี่ยนแปลงชายฝงทะเล โดยประยุกตใชเทคโนโลยีการรับรูระยะไกลและระบบ
ภูมิศาสตรสารสนเทศในการศึกษาจัดทําแผนที่ธรณีสัณฐานชายฝงทะเล

1.2 วัตถุประสงค
เพื่อการแปลความหมายขอมูลการรับรูระยะไกลในการทําแผนทีธ่ รณีสัณฐานชายฝงทะเล

1.3 ขอบเขตการศึกษา
1.3.1 ประยุกตใชเทคโนโลยีการรับรูระยะไกลและระบบภูมิศาสตรสารสนเทศใน
การศึกษาจัดทําแผนที่ธรณีสัณฐานชายฝงทะเล
1.3.2 ศึกษาและจัดทําแผนที่ธรณีสัณฐานชายฝงทะเลอําเภอตะกั่วปา-อําเภอทายเหมือง
จังหวัดพังงา ในมาตราสวน 1: 100,000

1.4 พื้นที่สํารวจ
พื้น ที่ ศึ ก ษาอยูบ ริ เวณภาคใตฝง ตะวันตก โดยครอบคลุมชายฝ งทะเลอั น ดามัน ตั้ งแต
บริเวณเกาะคอเขา อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา ลงไปทางทิศใตจนถึงบานนาแฝก ตําบลนาเตย อําเภอ
ทายเหมือง จังหวัดพังงาหรือระหวางละติจูดเหนือที่ 8O 15" ถึง 9 O 00" และลองจิจูดตะวันออกที่ 98 O
13" ถึง 98 O 22" (รูปที่ 1.1) อยูในแผนที่ภูมิประเทศมาตราสวน 1:50,000 ลําดับชุด L7018 ระวาง
2

รูปที่ 1.1 แสดงแผนทีภ่ ูมิประเทศของพื้นที่ศึกษา (กรมแผนที่ทหาร, 2543)


3

อําเภอตะกั่วปา (4626 I) ระวางอําเภอคุระบุรี (4627 II) ระวางเขาหลัก (4626 III)


ระวางอําเภอทายเหมือง (4625 I) และระวางอําเภอกะปง (4626 II) การสํารวจในครั้งนี้ไดดําเนินการ
เฉพาะบริเวณชายฝงและพื้นที่หางจากชายฝงเขาไปในพื้นดินเปนระยะทางประมาณ 3-5 กิโลเมตร

1.5 ผูปฏิบัติงาน
1.5.1 นายสุรศักดิ์ บุญลือ นักธรณีวิทยา 6
1.5.2 นายวีระชาติ วิเวกวิน นักธรณีวิทยา 4

1.6 ลักษณะภูมิประเทศ
จังหวัดพังงามีสภาพภูมิประเทศเปนภูเขาสลับซับซอน ทอดตัวเปนแนวยาวจาก ทิศเหนือ
ไปทิศใต รูปรางเปนรูปยาวรี มีความยาวประมาณ 113 กิโลเมตร มีชายฝงทะเลยาวประมาณ 239.25
กิโลเมตร จัดวาเปนจังหวัดที่มีแนวชายฝงทะเลยาวที่สุดของประเทศ สําหรับบริเวณที่ราบจะเอียงเทสลับ
หาดทรายจากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตก ลงสูทะเลอันดามัน ตามแนวชายฝงทะเลจะมีปาชายเลน
เกือบตลอด ดานทิศตะวันตกของจังหวัดพื้นที่ประกอบดวยภูเขาสลับซับซอน มีที่ราบตามแนวชายฝงทะเล
และที่ราบระหวางหุบเขา ภูเขามีระดับความสูงในชวง 200 – 1,200 เมตร เหนือระดับน้ําทะเลปานกลาง
ประกอบดวยเกาะทั้งสิ้นประมาณ 105 เกาะ อยูในทะเลอันดามัน ซึ่งสวนใหญจะอยูทางตอนเหนือของ
จังหวัด เชน หมูเกาะสุรินทร เกาะสิมิลัน และบริเวณอาวพังงา สําหรับพื้นที่ปาไมเปนปาไมประเภทไมผลัด
ใบ มีชนิดปาที่สําคัญ ไดแก ปาดิบเขา ปาดิบชื้น และปาชายเลน ตลอดแนวชายฝง สวนพื้นที่ทะเล หาด
ทราย ชายฝงหิน และที่ราบน้ําขึ้นถึงจะพบดานตะวันตกของพื้นที่ศึกษา บริเวณที่เปนที่ราบดานหลังของ
หาดทรายปจจุบันหรือหาดทรายใหม มักจะเปนหาดทรายโบราณ และสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 4-5
เมตร (สิน สินสกุล, 2546) มักจะเปนที่ตั้งของชุมชน และมีสิ่งกอสรางอยูเปนจํานวนมาก

1.7 ลักษณะภูมิอากาศ
จังหวัดพังงามีภูมิอากาศแบบมรสุมเมืองรอน ไดรับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตและ
ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ มี 2 ฤดู คือ ฤดูรอน เริม่ ตั้งแตเดือนมกราคม ถึง เมษายน ซึ่งไดรับอิทธิพล
จากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจากอาวไทย และฤดูฝน เริ่มตั้งแตเดือนพฤษภาคม ถึง ตุลาคม เปนชวง
ที่ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจากมหาสมุทรอินเดีย อุณหภูมิ ของทั้งสองฤดูไมแตกตางกัน
มากนัก คือ ในป พ.ศ.2542 มีอุณหภูมิตา่ํ สุดเฉลี่ย 23 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 31 องศา
เซลเซียส มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยปละประมาณ 3,654 มิลลิเมตร
1.8 ธรณีวิทยาทั่วไป
จากรายงานสํารวจธรณีวิทยาและขอมูลแผนที่ธรณีวิทยามาตราสวน 1: 50,000 ระวาง
อําเภอตะกั่วปา (4626 I) ระวางอําเภอคุระบุรี (4627 II) ระวางเขาหลัก (4626 III) ระวางอําเภอทาย
เหมือง (4625 I) และ ระวางอําเภอกะปง (4626 II) พบวาพื้นที่สํารวจและบริเวณใกลเคียง
ประกอบด ว ยหน ว ยหิ น ที่ มีอ ายุ ตั้ง แต ยุค คารบ อนิ เ ฟอรั ส จนถึ งตะกอนยุ ค ปจ จุ บั น (รู ป ที่ 1.2) โดยมี
รายละเอียดดังนี้
4

1. กลุ ม หิ น แก ง กระจาน (CPk) มี อ ายุ ค าร บ อนิ เ ฟอรั ส ถึ ง ช ว งเพอร เ มี ย นตอนต น
ประกอบดวย 3 หมวดหิน (เลิศชาย ขายทอง และสมเกียรติ มาระเนตร, 2542) ไดแก หมวดหินโคลน
ปนกรวด และหินทรายปนกรวด หมวดหินควอรตซิติกในหินโคลน และหมวดหินแปรสัมผัส โดยมีลําดับ
ชั้นหินเรียงจากหมวดหินที่มีอายุแกสุดไปออนสุด คือ
หมวดหินโคลนปนกรวด และหินทรายปนกรวด สีเทา สีเทาเขียว สีผุเปนสีน้ําตาลปน
เหลื อ ง หิ น ทรายมี ข นาดเม็ ด ทรายละเอี ย ดถึ ง ปานกลาง เนื้ อ แน น และแข็ ง เม็ ด กรวดในหิ น โคลน
ประกอบดวยหินควอตซไซต หินทราย หินแกรนิต หินโคลนและหินปูน มีขนาดตั้งแต 2 มิลลิเมตรถึง 6
เซนติเมตร เม็ดกรวดมีความเหลี่ยมถึงความกลมมนปานกลาง มีการคัดขนาดปานกลาง หมวดหินนี้พบ
ปรากฏอยูบนเทือกเขาบนเกาะคอเขา
หมวดหินควอรตซิติกในหินโคลน สีจางถึงสีเทา แทรกสลับกับหินโคลนชั้นบาง หินทราย
แปงปนกรวดเล็กนอย หินทรายเกรยแวก สีเทาดํา
หมวดหินแปรสัมผัสชนิดหินแอกทิโนไลต หินควอรตซ ไมกาชีสต ซึ่งมักจะปรากฏพบ
ตามบริเวณรอยสัมผัสกับหินแกรนิต บริเวณดานตะวันตกของเขาบางครก
ธีระพล วงษประยูร และเยาวพา แชมวัชระกุล (2548) ไดจัดทําแผนที่ธรณีวิทยาพื้นที่
ตอนเหนือบริเวณเขาปากคลองบางผักเบี้ย เกาะคอเขา อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงาและรายงานวาหิน
โคลนปนกรวดดังกลาวอยูในหมวดหินเกาะเฮ กลุมหินแกงกระจาน อายุคารบอนิเฟอรัสตอนปลายถึงเพอร
เมียนตอนตน(เลิศสิน รักษาสกุลวงศ และ ธนิศร วงศวานิช,2536) และพบวาหมวดหินนี้ยังโผลปรากฏ
พบไดที่เขาหนายักษดานตะวันตกของฐานทัพเรือทับละมุ (พิทักษ เทียมวงษ และเกชา จําปาทอง, 2548)
2. กลุมหินราชบุรี (Pr) หินยุคเพอรเมียนตอนกลาง-ตอนบน เปนหินที่เกิดจากการ
สะสมตัวของตะกอนในทะเล สวนใหญเปนหินปูนมีสีเทาถึงดํา มีทั้งแสดงชั้นและไมแสดง พบซากดึกดํา
บรรพ ไดแก fusulinds, coral, algae, crinoid stem, brachiopods, ostracods sp., เปนตน มีอายุอยูในชวง
ยุคเพอรเมียนตอนกลาง-ตอนบน ลําดับชั้นจากสวนลางของกลุมหินเปนชั้นหนาแทรกสลับกันของ
หินดินดาน หินทรายเนื้อปูน และหินปูนสีเทาดําและสีเทา สีเทาถึงเทาเขม มีหินทรายและหินโคลนแทรก
เปนกะเปาะ บนสุดเปนหินปูนเนื้อสมานแนน ไมแสดงชั้น ซากดึกดําบรรพพบมากในหินปูนที่แสดงชั้นหนา
ความหนาของหมวดหินประมาณ 700 เมตร
3. ตะกอนเศษหินเชิงเขา (Qc) ประกอบดวยเศษหิน และกรวด ขนาดตั้งแตกรวด
ละเอียดถึงกอนหินใหญ การคัดขนาดไมดี หินที่ผุพังอยูกับที่ พบปรากฏอยูที่บริเวณเชิงเขาพรุใหญ เขา
บางครก บานบางปลิง
5

รูปที่ 1.2 แสดงแผนทีธ่ รณีวิทยาของพื้นที่ศึกษาในมาตราสวน 1:250,000


(ดัดแปลงจากกรมทรัพยากรธรณี, 2550)
6

4. ตะกอนที่ราบน้ําทวมถึง (Qa) ประกอบดวยกรวด ทราย ทรายแปง และดินเหนียว พบ


บริเวณตัวอําเภอตะกั่วปา
5. ตะกอนชายฝงทะเลเดิมโดยอิทธิพลของคลื่น (Qms) ประกอบดวยหาดทรายเดิม และ
เนินราบสันทราย (ธีระพล วงษประยูร และเยาวพา แชมวัชระกุล, 2548) พบอยูตามที่ราบหลังชายหาด
บริเวณเกาะพระทอง บานน้ําเค็ม บานบางเนียง ตะกอนชายฝงทะเลปจจุบันโดยอิทธิพลของคลื่น
ประกอบดวยหาดทราย สันทราย เนินทราย และรองน้ําขนานแนวสันทราย พบตามแนวชายหาดทะเลอัน
ดามันบริเวณเกาะคอเขา หาดบานน้ําเค็ม หาดบานบางเนียง
6. ตะกอนชายฝงทะเลโดยอิทธิพลของน้ําขึ้นน้ําลง (Qmc) ประกอบดวยทรายแปง และ
ดินเหนียว สะสมตัวอยูบริเวณที่ราบน้ําขึ้นถึงในปาโกงกาง ตะกอนชายฝงทะเลโดยอิทธิพลของน้ําขึ้นน้ําลง
มักจะมีเศษซากพืชและสัตวสะสมตัวอยูดวย พบปรากฏอยูดานตะวันตกของบริเวณอําเภอตะกั่วปา
7. หินอัคนี (Kgr) ที่พบในพื้นที่เปนหินแกรนิตอายุครีเตเชียส เนื้อดอก ผลึกหยาบปาน
กลาง และหินลูโคเครติกแกรนิต เนื้อละเอียดถึงปานกลาง หินแกรนิตพบบริเวณเขาพรุใหญ เขาบางครก
และบริเวณเขาหลัก

1.9 งานเกาที่เคยทํามาแลว
สิน สินสกุล และคณะ(2546) ไดจัดจําแนกลักษณะธรณีสัณฐานของชายฝงทะเลอันดา
มันบริเวณพื้นที่ตั้งแตจังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง สตูล โดยอาศัยลักษณะรูปรางของพื้นที่
กระบวนการที่ทําใหเกิดพื้นที่ชายฝงชนิดตางๆ เชน น้ําขึ้นน้ําลง ลม คลื่นและกระแสน้ํา เปนตน และ
ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงของชายฝงดวย โดยสามารถจัดจําแนกลักษณะธรณีสัณฐานไดเปน
(รูปที่ 1.3)
1. ชายฝงหิน (Rocky coast) ชายฝงชนิดนี้สวนใหญเปนหินโผล (Outcrop) อยูตาม
ชายฝงที่เปนหัวแหลมและหนาผา เกิดจากการกัดเซาะโดยคลื่นกัดเซาะหินในภูเขาที่อยูติดกับทะเล ชายฝง
หินพบอยูในพื้นที่ จังหวัดระนองจนถึงสตูล เชนบริเวณ เขาหลัก จังหวัดพังงา เปนตน
2. ที่ราบน้ําทวมถึง (Tidal flat) เปนบริเวณที่มีการสะสมตัวของตะกอนทรายแปง ดิน
เหนียวและทรายเม็ดละเอียดจากกระบวนการน้ําขึ้นน้ําลง มักเกิดตามแนวแมน้ําลําคลองที่อยูดานในติดกับ
แผนดิน หรือเวิ้งอาวที่มีกระบวนการน้ําขึ้นน้ําลง ที่ราบน้ําทวมถึงสามารถแบงออกเปน 3 ชนิด คือ
2.1 ที่ราบน้ําทวมถึงอยูเหนือระดับน้ําขึ้นสูงสุด (Supratidal flat) จะอยูดานในสุดติดกับ
แผนดินอยูดานหลังของปาชายเลน เปนพื้นที่เคยถูกน้ําทวม ปจจุบันน้ําทะเลขึ้นสูงสุดก็ทวมไมถึง
2.2 ที่ราบน้ําทวมถึงอยูระหวางระดับน้ําขึ้นสูงสุดกับน้ําลงต่ําสุด (Intertidal flat) เปน
พื้นที่ถูกปกคลุมดวยปาโกงกาง และพรรณไมปาชายเลน ในชวงน้ําขึ้นจะจมน้ําและโผลปรากฏเมื่อระดับน้ํา
ลดลง และมีการสะสมตัวของตะกอนเม็ดละเอียดจําพวก ดินเคลยและทรายแปง
2.3 ที่ราบน้ําขึ้นถึงที่อยูใตระดับน้ําลง (Subtidal flat) เปนพื้นที่อยูดานนอกสุดของที่ราบ
น้ําขึ้นถึง และมีการจมตัวอยูใตน้ําทะเลหรือมีบางสวนที่โผลใหเห็นไดในชวงระดับน้ําลดลง สวนมากจะเปน
สันดอนทราย
7

3. หาดทราย (Sandy beach) เปนพื้นที่ที่มีการสะสมตัวของตะกอนทรายที่มีขนาดตั้งแต


เม็ดปานกลางถึงหยาบ มีกรวด เปลือกหอย และเศษปะการังปนอยูดวย โดยการพัดพามาของน้ําทะเล
ตอมาระดับน้ําทะเลถอยออกไปจึงเกิดเปนหาดทรายขนานกับชายฝงปจจุบัน หาดทรายสามารถแบงไดเปน
2 ชนิด คือ
3.1 ชายหาดเดิม หรือชายหาดโบราณ (Old beach) เปนชายหาดที่อยูดานในสุดอยูติด
กับแผนดินและหางจากชายฝงปจจุบันอยูในระดับความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 4-5 เมตร
3.2 ชายหาดใหม (Young beach) เปนแนวหาดที่อยูดานนอกสุดอยูติดกับทะเล และ
ตอเนื่องกับชายหาดเดิมที่อยูดานหลัง
กรมทรัพยากรธรณี (2548) โดยภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดทําการ
วิเคราะหปจจัยทางกายภาพในทะเลที่มีผลตอความรุนแรงของคลื่นยักษสึนามิ โดยทําการวิเคราะหสภาพ
ภูมิประเทศใตทะเล รองน้ํา และสภาพภูมิประเทศชายฝงที่เกี่ยวของกับการทวมของน้ําทะเลจากคลื่น
ยักษสึนามิ ดวยวิธีการสํารวจในภาคสนามและการสํารวจระยะไกล พบวา ลักษณะธรณีสัณฐานชายฝงของ
พื้นที่อําเภอตะกั่วปา และอําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา สามารถแบงไดเปน 6 กลุมคือ 1.ปาชายเลนหรือ
ที่ราบน้ําทวมถึง 2.หาดทราย และสันทราย 3.ที่ราบลุมต่ําหลังแนวสันทราย 4.สันทรายดานใน 5.ที่ราบ
ตะกอนน้ําพา และ6.แผนดินและภูเขา (รูปที่ 1.4)

รูปที่ 1.3 แผนที่ธรณีสัณฐานของชายฝงทะเล ตําบลตะกั่วปา (สิน สินสกุล และคณะ, 2546)


8

รูปที่ 1.4 แสดงลักษณะธรณีสัณฐานชายฝงของพื้นที่อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา (จุฬาลงกรณ


มหาวิทยาลัย, 2548)
9

บทที่ 2
วรรณกรรมปริทัศน

2.1 หลักการและทฤษฎีของการรับรูระยะไกล
2.1.1 หลักการและความหมาย
การรับรูระยะไกล (Remote sensing) เปนการประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อใหไดมาซึ่งขอมูล
ที่เกี่ยวกับวัตถุ (Object) พื้นที่หรือปรากฎการณ (Phenomena) ตางๆ บนพื้นผิวโลกจากเครื่องมือบันทึก
ขอมูลโดยปราศจากการสัมผัสกับวัตถุนั้นๆ ซึ่งอาศัยคุณสมบัติคลื่นการแผ หรือสะทอนของจากวัต ถุ
แมเหล็กไฟฟามาจากวัตถุ ซึ่งเปนสื่อในการไดมาของขอมูล สําหรับยานพาหนะที่ใชในการบันทึกขอมูล
ได แ ก ดาวเที ย ม ยานอวกาศ หรื อ เครื่ อ งบิ น ซึ่ ง จะมี เ ครื่ อ งรั บ สั ญ ญาณ และบั น ทึ ก ข อ มู ล ในรู ป ของ
ภาพถายดาวเทียม ภาพถายทางอากาศ (รูปที่ 2.1)
การสํารวจดวยวิธีนี้ใชเวลาในการแปลความหมายคอนขางนอย แตไดขอบเขตการสํารวจ
ที่เปนบริเวณกวางอีกทั้งยังไดขอมูลที่มีความแมนยํา จึงเหมาะสําหรับงานสนามที่ไมสามารถเขาพื้นที่ได
ทั้งหมด เชน การสํารวจการใชประโยชนที่ดิน โครงสรางทางธรณีวิทยา เปนตน
ระบบการบันทึกขอมูลโดยเฉพาะขอมูลภาพถายดาวเทียมมีอยู 2 ระบบ (รูปที่ 2.2) คือ
1. Passive remote sensing system เปนการบันทึกคุณสมบัติคลื่นแมเหล็กไฟฟาจากการ
สะทอนหรือแผออกมาจากวัตถุโดยธรรมชาติ เชน การสะทอนแสงดวงอาทิตยของวัตถุ
2. Active remote sensing system เปนการบันทึกคุณสมบัติคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ถูกสราง
ขึ้นจากแหลงกําเนิดในเครื่องมือวัดเอง และสงลงมาที่วัตถุ แลวสะทอนกลับมาที่เครื่องวัด เชน วิธีการ
บันทึกขอมูลดวยเรดาร
คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่เปนพลังงานสะทอนกลับหรือแผออกมาจากวัตถุในธรรมชาติจะถูก
บันทึกเปนคาตัวเลข (Digital number) ที่แตกตางกันและอยูในชวงคลื่น (Band) ที่ตางกันดวย (รูปที่
2.3) จากคุณสมบัติดังกลาว ภาพดาวเทียม Landsat 5, Landsat 7 และดาวเทียมสวนใหญจึงถูก
พัฒนาขึ้นเพื่อบันทึกขอมูลในชวงคลื่นพลังงานสะทอน (Reflected energy) โดยอาศัยลักษณะการสะทอน
พลังงานของวัตถุที่ความยาวชวงคลื่นตางๆกัน (Spectral reflectance curve) (รูปที่ 2.4) และแตกตางกัน
ตามชนิดของวัตถุจึงทําใหสามารถแยกชนิดของวัตถุได (สุรชัย รัตนเสริมพงษ, 2536)
10

รูปที่ 2.1 หลักการทํางานของการรับรูระยะไกล(http://maps.unomaha.edu/Peterson/gis/


notes/RS2_files/optical.gif)

รูปที่ 2.2 หลักการทํางานระบบการบันทึกขอมูลดวยวิธี Passive remote sensing system และ


Active remote sensing system (ดัดแปลงจาก www.envi.psu.ac.th/gis/rs/images/
ac-passive.jpg)
11

รูปที่ 2.3 แสดงชวงคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่เปนพลังงานสะทอนกลับหรือแผออกมาจากวัตถุใน


ธรรมชาติซึ่งถูกบันทึกอยูในชวงคลื่น (Band) ที่ตางกัน (www.envi.psu.ac.th/
gis/rs/images/ac-passive.jpg)

รูปที่ 2.4 กราฟแสดงลักษณะการสะทอนพลังงานของวัตถุ(Spectral reflectance curve)


(http://wwwlb.aub.edu.lb/~webeco/rs%20lectures_files/image010.jpg)
12

2.1.2 ขอมูลภาพดาวเทียม Landsat 7


ระบบการบันทึกขอมูลดาวเทียม Landsat 7 คือระบบ Enhanced Thematic Mapper Plus
+
(ETM ) ซึ่งปรับปรุงจากระบบการบันทึกขอมูลดาวเทียม Landsat 5 TM มีการบันทึกขอมูล 7 ชวงคลื่น
(Band) รายละเอียดเชิงตําแหนง (Resolution) 30 เมตร และมีการบันทึกภาพขาวดํา(panchromatic) ที่
มีรายละเอียดเชิงตําแหนง (resolution) 15 เมตร สําหรับชวงคลื่น (Band) 6 ที่เปนชวงคลื่นอินฟราเรด
ความรอน (thermal band) มีรายละเอียดเชิงตําแหนง (resolution) 60 เมตร (Lillesand and Kiefer,
1994 ; 2000) มีวงรอบการบันทึกขอมูลซ้ํา 16 วัน ภาพถายดาวเทียม Landsat 7 สามารถนํามา
ประยุกตใชในงานสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ ธรณีวิทยา ปาไม และธรณีพิบัติภัย ดังรายละเอียดคุณสมบัติ
ของแตละชวงคลื่น(Band) คือ
แบนด 1 (ชวงคลื่นสีน้ําเงิน) มีความยาวคลื่น 0.45-0.52 ไมครอน สามารถนํามา
ประยุกตใชในงานชายฝงทะเล ใชแยกประเภทตนไมชนิดผลัดใบและไมผลัดใบออกจากกัน และแสดง
ความแตกตางระหวางดินกับพืชได
แบนด 2 (ชวงคลื่นสีเขียว) มีความยาวคลื่น 0.52-0.62 ไมครอน ใหขอมูลการสะทอน
แสงสีเขียวของพืชที่เจริญเติบโตแลว
แบนด 3 (ชวงคลื่นสีแดง) มีความยาวคลื่น 0.63-0.69 ไมครอน ใชแยกความแตกตาง
ของการดูดกลืนคลอโรฟลลในพืชเพื่อใชในการแยกชนิดของพืชพรรณ
แบนด 4 (ชวงคลื่นอินฟราเรดใกล) มีความยาวคลื่น 0.76-0.90 ไมครอน ชวยในการ
ตรวจวัดมวลชีวะ (biomass) ในแหลงน้ํา และแยกความแตกตางของน้ําและสวนที่ไมใชน้ํา
แบนด 5 (ชวงคลื่นอินฟราเรดคลื่นสั้น) มีความยาวคลื่น 1.55-1.75 ไมครอน ใชตรวจ
ความชื้นในพืชใ ชดูความแตกตางของหิมะกับเมฆ
แบนด 6 (ชวงคลื่นอินฟราเรดความรอน) มีความยาวคลื่น 10.40-12.50 ไมครอน
(resolution 120 เมตร) สามารถนํามาวิเคราะหหาการเหี่ยวเฉาเนื่องจากความรอนในพืช ใชดูความ
แตกตางของความรอนบริเวณพื้นที่ศึกษา ความแตกตางของความชื้นของดิน
แบนด 7 (ชวงคลื่นอินฟราเรดกลาง) มีความยาวคลื่น 2.08-2.35 ไมครอน สามารถ
นํามาประยุกตใชในงานสํารวจธรณีวิทยา เชน การจําแนกชนิดของหิน แรธาตุและชนิดของดิน

2.2 หลักการแปลความหมายขอมูลภาพดาวเทียม
2.2.1 ขั้นตอนการแปลความหมายขอมูลภาพดาวเทียม
การนําเขาขอมูลภาพดาวเทียมสามารถนํามาใชสําหรับการแปลความหมายได 2 วิธีตาม
ลักษณะรูปแบบของขอมูล กลาวคือ ขอมูลที่อยูในรูปแบบเชิงตัวเลขซึ่งบรรจุอยูในเทปคอมพิวเตอร หรือ
คอมแพคดิสค (Compact Disk, CD) จะนํามาวิเคราะหขอมูลดวยคอมพิวเตอรระบบวิเคราะหภาพ
(Image analysis system) สวนขอมูลดาวเทียมที่อยูในรูปแบบรูปภาพพิมพ หรือฟลม สามารถนํามาใชใน
การแปลความหมายดวยสายตา (Visual interpretation)
13

2.2.2 หลักการแปลความหมายและวิเคราะหขอมูลภาพดาวเทียม
การแปลความหมายและวิเคราะหขอมูลจากขอมูลภาพดาวเทียม จําแนกได 2 วิธี คือ การ
แปลและวิ เ คราะห ข อ มู ล จากข อ มู ล ภาพดาวเที ย มด ว ยสายตาและคอมพิ ว เตอร ซึ่ ง ทั้ ง สองรู ป แบบมี
รายละเอียดของหลักการแปลและวิเคราะหขอมูลภาพดาวเทียม (รูปที่ 2.5) ดังตอไปนี้
2.2.2.1การแปลความหมายและวิเคราะหขอมูลภาพดาวเทียมดวยสายตา
การแปลและวิเคราะหขอมูลภาพดาวเทียมดวยสายตา จะมีความถูกตองแมนยํามากหรือ
นอยขึ้นอยูกับสมบัติของผูแปลเปนหลัก ไดแก ความรูภูมิหลัง(Background) ความสามารถทางสายตา
(visual ability) ความสามารถทางดานการตัดสินใจ (Level of decision) และประสบการณการทํางาน
(Experiences) รูปแบบหรือลักษณะที่ใชในการแปลความหมายดวยสายตา มีดังตอไปนี้
1) ระดับสีและชนิดของสี (Color and Tone) หมายถึง ความแตกตางของสี ระดับความ
เขมของสี ทั้งนี้เนื่องจากคาสะทอนชวงคลื่นที่ไมเหมือนกันของวัตถุตางๆ บนพื้นผิวโลกนั่นเอง คุณสมบัติ
ขอนี้จึงมีความสําคัญอยางมากตอการจําแนกประเภทขอมูลภาพดาวเทียม
2) รูปราง (Shape) หมายถึงรูปรางของวัตถุที่ปรากฏบนภาพเปนรูปรางที่มองเห็นจาก
ดานบนของวัตถุนั้นๆ ซึ่งวัตถุบางอยางมีรูปรางเฉพาะทําใหสามารถจําแนกออกจากพื้นที่อื่นๆ ไดงาย จาก
ภาพจากดาวเทียมเชน ลักษณะภูมิประเทศแบบคาสทของหินปูน (Karst topography) แมน้ําที่มีลักษณะ
เปนเสนยาวโคงไปโคงมา เปนตน
3) ขนาด (Size) หมายถึง ขนาดของวัตถุที่มีความสัมพันธกับมาตราสวนที่ใชแปล ขนาด
ชวยใหผูแปลสามารถแยกวัตถุแตละประเภทได เชน ภูเขามีความสูงใหญกวาเนินเขา นอกจากนี้ยังตอง
คํานึงถึงขนาดของจุดภาพ (Pixel) ของขอมูลที่ใชแปลดวย เชน ดาวเทียม Landsat มีขนาดของ
จุดภาพ 30x30 เมตร ดังนั้ นวัต ถุที่มี ขนาดเล็กกวาขนาดของจุ ด ภาพ ทํ าใหไ มสามารถมองเห็ นได ใ น
ขอมูลภาพดาวเทียม
4) ลักษณะเนื้อภาพ (Texture) หมายถึงสภาพพื้นผิวที่มีความสม่ําเสมอตางกัน ทั้งนี้
ขึ้นอยูกับภูมิประเทศและสิ่งปกคลุมพื้นที่ไมเหมือนกัน จนทําใหเนื้อภาพเกิดความละเอียดหรือความหยาบ
แตกตางกันได เชน พื้นที่เปนภูเขาจะมีความสม่ําเสมอนอยกวาพื้นที่ราบ ทําใหเนื้อภาพบริเวณภูเขาหยาบ
กวาพื้นที่ราบ เปนตน
5) รูปแบบ (Pattern) หมายถึง ลักษณะการจัดตัวหรือเรียงตัวของพื้นผิวประเภทตางๆ
อันเปนลักษณะเฉพาะตัว ทําใหเห็นเดนชัดแตกตางจากพื้นที่อื่นๆ เชน พื้นที่ดินตะกอนรูปพัด รูปแบบทาง
น้ํา เปนตน
6) เงา (Shadow) การทอดเงามักมีความสัมพันธกับทิศทางของแสงอาทิตย ทําใหเรา
เห็นรูปรางลักษณะของวัตถุนั้นๆ
7) ความสัมพันธกับตําแหนงและสิ่งแวดลอม (Location and Association) หมายถึง
ความสัมพันธระหวางวัตถุ หรือพืชพรรณกับตําแหนงที่อยูเฉพาะ และสิ่งแวดลอมอื่นๆ เชน ปาชายเลน จะ
พบเฉพาะในพื้นที่ชายตามฝงทะเลที่มีน้ําทะเลทวมถึงเทานั้น แหลงแรมักมีความสัมพันธกับโครงสรางทาง
ธรณีวิทยา เปนตน
14

2.2.2.2 การแปลความหมายและวิ เ คราะห ข อ มู ล ภาพดาวเที ย มด ว ยโปรแกรม


คอมพิวเตอร
การแปลและวิเคราะหขอมูลจากขอมูลภาพจากดาวเทียมดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร
ประกอบดวย 4 ขั้นตอนหลัก ดังตอไปนี้
1) การสรางภาพและการปรับแกภาพ (Image display) เปนกระบวนการเบื้องตนที่
จําเปน ซึ่งทําใหเกิดความถูกตองของผลการวิเคราะหไดมากขึ้น โดยทั่วไป ประกอบดวยวิธีการตางๆ คือ
การปรับแกคาระดับสีเทา (radiometric correction) การปรับแกคาความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต
(geometric correction) และเลือกชวงคลื่น (band) และจํานวนชวงคลื่นที่นํามาแสดงบนจอภาพ
โดยทั่วไปเลือกไดครั้งละ 3 ชวงคลื่น เพื่อใชในการทําขอมูลภาพสีผสม (color composite image)
2) การปรับปรุงคุณภาพ(Image Enhancement) เปนการปรับปรุงหรือเนนคุณภาพขอมูล
ให เ ด น ชั ด เพื่ อ เพิ่ ม ความสะดวกและความถู ก ต อ งในการวิ เ คราะห โดยใช ก ระบวนการปรั บ ปรุ ง ค า
ระดับสีเทาของขอมูลเพื่อใหเราสามารถดูภาพเหลานั้นไดชัดเจนขึ้นแตจะทําใหคาระดับสีเทาของขอมูลทีไ่ ด
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอยางมาก ดังนั้นในการทําตองเลือกใชใหเหมาะสมและจะทําทีละชวงคลื่นแยกจาก
กั น จากปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพของภาพมี ห ลายวิ ธี ด ว ยกั น เช น การปรั บ ปรุ ง ค า ความแตกต า ง (contrast
enhancement) ซึ่งเปนการปรับปรุงคาความเข มของขอมูลเพื่อใหแสดงความแตกตางกันมากขึ้น การ
ปรับปรุงขอบภาพ (Edge enhancement) ซึ่งเปนการปรับปรุงคาความเขมที่ควรจะเปนของจุดภาพ โดย
การเปรียบเทียบกับจุดภาพขางเคียง การแปลงคาความเขมใหมดวยเทคนิคที่เรียกวาการกรอง (Filtering)
รวมถึงการทําภาพสีผสมตางๆ (Color Composite) และการตัดตอขอมูลภาพจากดาวเทียมดวยวิธี Digital
mosaics
3) การจําแนกประเภทของขอมูล (Image Classification)
เปนกระบวนการแปลความหมายจากขอมูลภาพดาวเทียมดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร
โดยการนําเขาขอมูลในคอมพิวเตอรหลังจากนั้น โปรแกรมคอมพิวเตอรจะจัดจําแนกหรือจัดกลุมจุดภาพ
ของขอมูลเชิงตัวเลขหรือคาสะทอนของพลังงาน (Digital number) ที่มีคุณสมบัติเดียวกันเปนขอมูลชุด
เดียวกัน สําหรับการจําแนกขอมูลเชิงตัวเลขสามารถแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ (Honda kiyoshi,
2003) คือ
-Unsupervised Classification คือ การจําแนกประเภทขอมูลโดยการนําขอมูลที่มีคา
ขอมูลดังกลาวยังมีโครงสรางหรือคุณสมบัติเหมือนเดิมกับขอมูลตั้งตน
-Supervised Classification คือ การจําแนกขอมูลโดยกําหนดพื้นที่ขอมูลตัวอยาง
(Training area) ที่มีความชัดเจนของคาสะทอนของพลังงานเดียวกันใหกับคอมพิวเตอร เพื่อใชในการ
คํานวนคาสถิติสําหรับการจําแนกประเภทกลุมขอมูล
4) การตกแตงขอมูลหลังการจําแนก (Post Classification) บางครั้งเราพบวาขอมูลหลัง
จําแนกแลวมีความไมตอเนือ่ ง หรือเราไมสามารถปรับจุดภาพขางเคียงที่อยูภายใตสภาวะเดียวกันใหเปน
ประเภทเดียวกันทําใหตองมีการตกแตงขอมูลหลังการจําแนก หลังจากนั้นทําการวิเคราะหความถูกตอง
ของผลลัพธ
15

รูปที่ 2.5 แผนผังขั้นตอนการแปลความหมายจากภาพดาวเทียม


16

บทที่ 3
วิธีการศึกษา
การศึกษาลักษณะธรณีสัณฐานชายฝงทะเลบริเวณพื้นที่อําเภอตะกั่วปา-อําเภอทายเหมือง
จังหวัดพังงาไดทําการศึกษาโดยใชเทคนิคสํารวจการรับรูระยะไกล (Remote sensing technique) ซึ่งไดนํา
ขอมูลภาพดาวเทียม Landsat 5 และ Landsat 7 มาทําการแปลความหมายดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร
และทําการสํารวจในภาคสนามเพื่อตรวจสอบความถูกตองแมนยํา วิธีการศึกษาสามารถสรุปไดดังนี้

3.1 วัสดุอุปกรณที่ใชในการสํารวจ
3.1.1 อุปกรณสําหรับสํานักงาน
-เครื่องคอมพิวเตอร PC (Pentium 4) จํานวน 1 เครื่อง
-โปรแกรมคอมพิวเตอร ENVI 4.0 สําหรับประมวลผลขอมูลภาพถายทางอากาศและ
ภาพดาวเทียม
-โปรแกรมคอมพิวเตอร ArcView 3.3 สําหรับประมวลผลขอมูลในระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร
-เครื่องพิมพสีเลเซอร
3.1.2 อุปกรณสําหรับงานภาคสนาม
-เครื่องคอมพิวเตอร Notebook (Pentium M) จํานวน 1 เครื่อง
-กลองถายรูปดิจิตัล จํานวน 1 เครื่อง
-เครื่องมือหาพิกัดตําแหนงภูมิศาสตรดวยสัญญาณดาวเทียม (GPS) จํานวน 1 เครื่อง

3.2 ขั้นตอนการศึกษาและวิธีการศึกษา
3.2.1 ขั้นตอนการรวบรวมขอมูลเบื้องตน
เปนการรวบรวมเอกสารและขอมูลเดิมจากแผนที่ธรณีวิทยา มาตราสวน 1:250,000
แผนที่การเปลี่ยนแปลงชายฝงภาคใตฝงตะวันตก (ทะเลอันดามัน) มาตราสวน 1:500,000 แผนที่ภูมิ
ประเทศ มาตราสวน 1:50,000 รายงานธรณีวิทยาในพื้นที่ปฏิบัติงานและพื้นที่ใกลเคียง รายงานการ
สํารวจธรณีสัณฐานที่เคยศึกษาในพื้นที่ และรวบรวมขอมูลภาพถายดาวเทียม Landsat 7, Path 130/Row
054 บันทึกขอมูลเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2545 และภาพถายดาวเทียม Landsat 5, Path 130/Row 054
บันทึกขอมูลเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2547
3.2.2 ขั้นตอนการวิเคราะหและแปลความหมาย
ขั้นตอนการวิเคราะหและแปลความหมายภาพดาวเทียมเพื่อหาพื้นที่และขอบเขตของ
ธรณีสัณฐานชายฝงโดยใชโปรแกรม ENVI 4.0 ซึ่งเปนการแปลขอมูลจากภาพถายดาวเทียมดวยโปรแกรม
คอมพิวเตอรแบบ Maximum likelihood Classification แลวสงขอมูลที่ไดจากการแปลความหมายมา
17

จัดทําแผนที่ธรณีสัณฐานชายฝงโดยใชโปรแกรม ArcView 3.3 ในระบบสารสนเทศ


ภูมิศาสตร โดยมีขั้นตอนการทํางานดังนี้
1. นําภาพดาวเทียม Landsat 7 ETM+ แนวการบันทึกขอมูลที่ Path 130/R0w 054
และ Landsat 5 แนวการบันทึกขอมูลเดียวกัน ที่ยังไมมีพิกัดทางภูมิศาสตรมาทําการตรึงพิกัด
(Registration) ใหเรียบรอยโดยใชคา Ground control point จากแผนที่ภูมิประเทศของพื้นที่ศึกษา แลว
ทําการเลือกพื้นที่ศึกษาออกมา
2. ทําการเลือกพื้นที่ขอมูลตัวอยาง (Training Areas) เชน พื้นที่ที่เปนน้ํา ปาโกงกาง
ภูเขาสูงและพื้นที่ขอมูลตัวอยางที่ยังไมทราบชนิดแนนอน การเลือกพื้นที่ขอมูลตัวอยาง มีวัตถุประสงคเพื่อ
นําไปใชในการจัดจําแนกกลุมตัวอยางตอไป สําหรับการทําพื้นที่ตัวอยาง (Training Areas) มีขั้นตอนดัง
รูปที่ 3.1
3. ทํ า การแปลความหมายจากข อ มู ล ภาพถ า ยดาวเที ย มด ว ยคอมพิ ว เตอร โ ดยวิ ธี
Maximum likelihood Classification (รูปที่ 3.2 และรูปที่ 3.3 )ในขั้นตอนนี้จะตองใชพื้นที่ขอมูลตัวอยาง
ที่ทําการคัดเลือกไวในขอ 2 มาใชในการประมวลผลดวย ผลที่ไดจากการแปลความหมายจะไดลักษณะ
ธรณีสัณฐานเทากับจํานวนพื้นที่ตัวอยางที่เลือกไวและพื้นที่ที่ไมสามารถจําแนกจากคอมพิวเตอรได แสดง
(รูปที่ 3.4 และรูปที่ 3.5)
4. ทําการตกแตงขอมูลและปรับปรุงขอมูลเพื่อกําจัดจุด หรือชองวาง (speckle or holes)
ที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ของขอมูลหลังการแปลความหมาย โดยใชวิธี Sieve Class ขั้นตอนตอมานําขอมูลที่
ไดจากการ Sieve Class มาปรับปรุงขอมูลดวยวิธี Clump Class เพื่อเปนการรวมกลุมของขอมูลที่อยู
ใกลเคียงใหเปนกลุมขอมูลเดียวกัน สําหรับวิธีการมีขั้นตอนดังรูปที่ 3.6
5. ทํา Principle Component Analysis (PCA) เปนการเปลี่ยนแปลงและปรับแกคาการ
สะทอนพลังงานของวัตถุ (Digital Number) โดยสมการทางคณิตศาสตร ผลลัพธที่ไดจะทําใหคาสะทอน
พลังงานของดิน น้ําและพืชมีความชัดเจนมากขึ้น การทํา Principle Component Analysis (PCA) สามารถ
นําไปผสมสีกับแบนดตางของภาพดาวเทียม Landsat 7 ไดเพื่อเนนพื้นที่ที่เปนดิน น้ําและตนไม หรือผสม
สี เ ท็ จ กั น เองแล ว นํ า ไปเปรี ย บเที ย บกั บ ผลที่ ไ ด จ ากแปลความหมายด ว ยข อ มู ล ภาพดาวเที ย มด ว ย
คอมพิวเตอรโดยวิธี Maximum likelihood Classification และปรับแกขอมูลใหมีความเหมาะสมและ
ถูกตองมากขึ้นกวาเดิม ขั้นตอนการทํา PCA มีดังรูปที่ 3.7
6. วิเคราะหคาดัชนีพืชพรรณ (NDVI analysis) เปนขั้นตอนการแยกพื้นที่ที่เปนปาหรือ
พื้น ที่ที่มีพืชขึ้นปกคลุ มออกจากพื้น ที่โ ลง หรือบริเวณที่ไ มมีป าปกคลุมและบริเวณที่ตั้งบา นเรือนของ
ประชาชน โดยอาศัยคาความแตกตางในการสะทอนแสงของพืชที่แตกตางกันของ Band 3 กับ Band 4 ใน
Landsat 7 โดยมีขั้นตอนการทํา NDVI มีขั้นตอนดังรูปที่ 3.8 ผลที่ไดจากการทําคาดัชนีปาไมแสดงดังรูป
ที่ 3.9
18

1 2

3 4

รูปที่ 3.1 แสดงขั้นตอนการเลือกขอมูลตัวอยาง


(Training Areas) เพื่อนําไปใชในการจัดจําแนก
กลุม
1.ขั้นตอนการเลือกหนาตางเครื่องมือการเลือก
กลุมตัวอยาง
2.หนาตางเครื่องมือการเลือกกลุมตัวอยาง
3.การเลือกกลุมขอมูลตัวอยาง
4.ขั้นตอนการบันทึก
5.การบันทึกกลุมขอมูลตัวอยาง
5
19

รูปที่ 3.2 แสดงขั้นตอนการเลือกหนาตางการแปความหมายดวยคอมพิวเตอรโดยวิธี Maximum


likelihood Classification มาใชงาน

1 2
รูปที่ 3.3 ภาพซายมือแสดงการเลือก File ที่ใชในการแปลความหมายดวยวิธี Maximum likelihood
Classification (1) สวนภาพขวามือแสดงการใสพารามิเตอรสาํ หรับการแปลความหมาย (2)
20

รูปที่ 3.4 แสดงผลของการแปลความหมายโดยวิธี Maximum likelihood Classification

รูปที่ 3.5 แสดงผลของการแปลความหมายโดยวิธี Maximum likelihood Classification พรอม


ดวยชนิดและจํานวนกลุมขอมูลที่ไดจากการแปลความหมาย
21

1 3

2 4
รูปที่ 3.6 แสดงการปรับปรุงขอมูลเพื่อกําจัดจุด หรือชองวาง (speckle or holes)
1.แสดงการเลือกหนาตางการปรับปรุงขอมูลเพื่อกําจัดจุด หรือชองวาง แบบ Sieve มาใชงาน
2.เลือกกลุมตัวอยางเพื่อใชในการปรับปรุงขอมูล
3.แสดงการเลือกหนาตางการปรับปรุงขอมูลเพื่อกําจัดจุด หรือชองวาง แบบ clump มาใชงาน
4.เลือกกลุมตัวอยางเพื่อใชในการปรับปรุงขอมูล
22

3
รูปที่ 3.7 แสดงขั้นตอนการทํา Principle Component Analysis (PCA)
1.แสดงการเลือกหนาตาง Principle Component Analysis (PCA) เพื่อมาใชงาน
2.เลือก file สําหรับการทํา Principle Component Analysis (PCA)
3.ขั้นตอนการใสพารามิเตอรและการบันทึกขอมูล
4.แสดงผลที่ไดจากการทํา Principle Component Analysis (PCA)
23

1
3
รูปที่ 3.8 แสดงขั้นตอนการทํา NDVI
1.แสดงการเลือกหนาตาง NDVI
เพื่อมาใชงาน
2.เลือก file สําหรับการทํา NDVI
3.ขั้นตอนการใสพารามิเตอรและการ
บันทึกขอมูล

1 2
รูปที่ 3.9 แสดงผลของการทําคาดัชนีปา ไม (NDVI analysis) พื้นที่สีเขียวแสดงวามีปาไมปกคลุม
บริเวณที่เปนสีขาวเปนพื้นที่โลงไมมีปาปกคลุมหรือมีปาปกคลุมนอย (ภาพ 1 กอนการ
วิเคราะหคาดัชนีพืชพรรณ และ ภาพ 2 หลังการวิเคราะหคา ดัชนีพืชพรรณ)
7.ขอมูลที่ไดจากการประมวลผลจากโปรแกรม ENVI 4.0 เปนขอมูลระบบกริด (Raster
Data) หากจะทําการแกไขหรือปรับปรุงขอมูลควรแปลงขอมูลใหอยูในรูปขอมูลเชิงเสน (Vector file
format) และทําการปรับปรุงขอมูลดวยโปรแกรม ArcView 3.3 ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร แลวจัดทํา
แผนที่ธรณีสัณฐานชายฝง มีขั้นตอนดังรูปที่ 3.10
24

1 2

3 4
รูปที่ 3.10 แสดงการเปลี่ยนขอมูลจากระบบ กริด
(Raster Data) ไปเปนระบบเชิงเสน(Vector Data)
เพื่อใชสําหรับการปรับแกขอ มูล
1.การเลือกหนาตางการเปลี่ยนระบบขอมูล
2.เลือก file ที่ไดจากการกําจัดจุดแลวเพื่อใชใน
การเปลี่ยนระบบขอมูล
3.การบันทึกกลุมขอมูลใหอยูในระบบเชิงเสน
4.หนาตางแสดงรายละเอียดของขอมูลเชิงเสน
5.แสดงการเปลี่ยนขอมูลใหอยูในรูปของ
นามสกุล shape file สําหรับนําไปปรับแกขอมูลใน
5 ระบบสารสนเทศภูมิศาตร
25

3.3 ผลการแปลความหมาย

หลังจากที่ทําการวิเคราะหและแปลความหมายจากภาพดาวเทียม Landsat 7 ETM+ แนวการ


บันทึกขอมูลที่ Path 130 R0w 054 แลวพบวามีลักษณะที่ปรากฏในภาพดาวเทียมมีความแตกตางกันใน
รูปแบบ สี ชนิดของสี ตลอดจนโครงสราง มีความแตกตางกัน สามารถนํามาใชในการจัดจําแนกชนิดของ
วัตถุหรือลักษณะธรณีสัณฐาน ดังนี้
1) ภูเขาสูง มีรูปแบบ และโครงสรางเปนรูปวงกลม หรือยาวรีที่ยาวตอเนื่อง มีสี และลักษณะ
เนื้อที่ปรากฏแตกตางกันขึ้นอยูกับความหนาแนนของปาไมที่ปกคลุม มีลักษณะที่แตกตางกันขึ้นอยูกับชนิด
ของหินที่รองรับ เชน หินปูน ก็จะมีลักษณะที่ปรากฏเปนตะปุมตะปา ของลักษณะภูมิประเทศแบบคาสตร
(Karst Topography) วางตัวยาวรี หรือตั้งอยูโดด หินตะกอน จะมีลักษณะโครงสรางการวางตัวของชั้นหิน
มีทางน้ําที่หนาแนนมากกวาหินปูน (รูปที่ 3.11) สวนหินอัคนี มักจะมีรูปรางที่เปนทรงโดม หรือเปนรูป
กรวย มีทางน้ําที่เปนแบบรัศมี (รูปที่ 3.11)
2) ลักษณะธรณีสัณฐานชายฝงทะเล เชน บริเวณชายหาด ที่ราบน้ําทวมถึง (Tidal flat ) ที่มี
รู ป แบบเป น ชายหาดยาวรี และมี ตํา แหนงอยูใ กลกั บ ทะเล มีสีที่ ป รากฏแตกต า งกัน ขึ้น อยูกั บ ลัก ษณะ
ธรณีวิทยา และสิ่งปกคลุม เชน ชายหาดปจจุบันจะมีสีขาวฟา เพราะมีตะกอนทรายปกคลุม จึงสะทอนแสง
ไดดีมาก (รูปที่ 3.11) สวนชายหาดเกามักจะมีพืชพรรณปกคลุมบาง เชน ผักบุง หรือตนมะพราว ทําให
ลั ก ษณะปรากฏมี ค วามแตกต า งจากหาดทรายป จ จุ บั น เนื่ อ งจากบริ เ วณนี้ ไ ม ไ ด รั บ อิ ท ธิ พ ลจากการ
เปลี่ยนแปลงของน้ําขึ้นน้ําลง สวนที่ราบน้ําทวมถึงหรือปาโกงกาง เปนพื้นที่ที่มีปาโกงกางขึ้นหนาแนนมาก
ทําใหเห็นเปนสีน้ําตาลแดง เนื้อละเอียด เพราะปาโกงกางมีครอโรฟลลที่สะทอนแสงชวงสีเขียว และ
สะทอนชวงอินฟราเรดไดดีกวาน้ําและดินมาก (รูปที่ 3.11)
3) ลักษณะธรณีสัณฐานอื่นๆ เชน ที่ราบเชิงเขา (Colluviam Deposit) ที่ราบน้ําตะกอนน้ํา
พา (Alluvial Deposit) มักเปนที่ราบอยูใกลกับภูเขา เปนเนินเขาเตี้ยๆ บางพื้นที่เปนที่ตั้งบานเรือนของ
ประชาชน ส ว นใหญ จ ะเป น สวนยางพารา และสวนผลไม มี สี น้ํ า ตาลอ อ น เนื่ อ งจากการปกคลุ ม ของ
ยางพาราและพืชสวนที่มีความหนาแนนนอยกวาบนภูเขา มีรูปแบบเปนสี่เหลี่ยมเนื่องจากรูปแบบการทําไร
เปนแปลง มีสีที่จางกวาภูเขาสูงเนื่องจากปาไมที่ปกคลุมนอยกวา (รูปที่ 3.11)
4) ชุมชนเมือง เปนชุมชนที่ตั้งของตัวเมืองที่มีขนาดใหญ เชน บริเวณที่ตั้งอําเภอ มีอาคาร
คอนกรีตและสิ่งกอสรางหนาแนน มีการสะทอนสัญญาณสูง มีความหนาแนนของพืชพันธุนอย ขอมูลที่
ปรากฏใหเนื้อภาพหยาบปานกลาง โดยมากมีสีขาว เทาอมฟา (รูปที่ 3.11)
5) ชุมชนหมูบาน ชุมชนหมูบานเปนชุมชนที่มีความหนาแนนของครัวเรือนนอยกวาชุมชนเมือง
เปนบริเวณทีม่ ีการสะทอนสัญญาณปานกลาง เนื่องจากมีอาคารและสิ่งกอสรางและมีความหนาแนนของ
พืชพันธุปานกลาง แสดงเนื้อภาพหยาบปานกลาง สีเทาฟาและสีสม แทรกอยูในบริเวณชุมชนซึ่งเปนการ
สะทอนสัญญาณของเรือนยอดของตนไมรวมดวย มักพบกระจายอยูทวั่ ไปตามที่ราบลุมน้ําทวมถึง ที่ราบ
เชิงเขา หรือตามแนวลําน้ํา และถนน (รูปที่ 3.11)
26

สัญลักษณ

ภูเขาหินตะกอน

ภูเขาหินอัคนี

ชายหาด

ที่ลุมน้ําทวมถึงหรือปาโกงกาง

ที่ราบเชิงเขา

ชุมชนเมือง

หมูบาน

รูปที่ 3.11 ภาพดาวเทียม Landsat 7 แสดงลักษณะปรากฏของธรณีสัณฐานในพื้นทีศ่ ึกษา


27

3.4 ขั้นตอนการตรวจสอบภาคสนาม
ขั้นตอนนี้เปนการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลในภาคสนาม โดยทําการเขาสํารวจใน
พื้นที่จริงพรอมทั้งถายรูปบริเวณที่ทําการศึกษา เชน หาดทรายเกา (Old beach) พื้นที่ปาโกงกาง
(Mangrove Areas) และบันทึกตําแหนงทางภูมิศาสตรดวยเครื่อง GPS (รูปที่ 3.12 ถึงรูปที่ 3.15) เพื่อ
เปรียบเทียบกับผลการแปลความหมายจากคอมพิวเตอร ขอมูลที่ไดสามารถนํามาปรับแกขอมูลเพื่อให
ขอมูลมีความถูกตองมากยิ่งขึ้น

1 2

รูปที่ 3.12 แสดงภาพหาดทรายเกาหรือหาดทรายโบราณ(1)และภาพปาโกงกาง(2)บริเวณตอนเหนือ


ของอําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา ขอมูลที่ไดจากการสํารวจภาคสนาม(ขอมูลภาพถายเมื่อ
วันที่ 10 เมษายน 2549)กับภาพถายดาวเทียม Landsat 7 (path/row 130/054) บันทึก
ขอมูลเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2545
28

1 2

รูปที่ 3.13 แสดงภาพหาดทรายปจจุบนั (1,2) บริเวณแหลมประการัง อําเภอตะกัว่ ปา จังหวัด


พังงา ขอมูลที่ไดจากการสํารวจภาคสนาม(ขอมูลภาพถายเมื่อวันที่ 10 เมษายน
2549)กับภาพถายดาวเทียม Landsat 7 (path/row 130/054) บันทึกขอมูลเมื่อวันที่
4 มีนาคม 2545
29

1 2
รูปที่ 3.14 แสดงภาพหาดทรายใหม (1,2) บริเวณบานน้ําเค็ม อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา
ขอมูลที่ไดจากการสํารวจภาคสนาม(ขอมูลภาพถายเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2549)กับ
ภาพถายดาวเทียม Landsat 7 (path/row 130/054) บันทึกขอมูลเมื่อวันที่ 4 มีนาคม
2545
30

1 2
รูปที่ 3.15 แสดงภาพลากูน(1)และหาดทรายเกาหรือหาดทรายโบราณ(2)บริเวณบานคึกคัก
อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา ขอมูลที่ไดจากการสํารวจภาคสนาม(ขอมูลภาพถายเมื่อวันที่
10 เมษายน 2549)กับภาพถายดาวเทียม Landsat 7 (path/row 130/054) บันทึก
ขอมูลเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2545
31

บทที่ 4
ผลการศึกษา
ผลการแปลความหมายดวยภาพถายดาวเทียม Landsat 7 พบวาพื้นที่ชายฝงทะเลอันดา
มันบริเวณอําเภอตะกั่วปา-ทายเหมือง จังหวัดพังงา มีลักษณะธรณีสณ ั ฐานของชายฝงแบงไดเปน 7 กลุม
ดังแสดงในแผนที่แสดงธรณีสัณฐานชายฝงบริเวณอําเภอตะกั่วปา-ทายเหมือง จังหวัดพังงา (รูปที่ 4.1) มี
เนื้อที่ของพื้นที่ศึกษาประมาณ 1128.28 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวยหาดทรายใหม และหาดทราย
ปจจุบนั หาดทรายเกาหรือหาดทรายโบราณ ลากูน ที่ราบเชิงเขา ภูเขาสูง และที่ราบน้ําขึน้ ถึงหรือปาโกงกาง
โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. หาดทรายปจจุบนั (beach) และหาดทรายใหม (Young beach)
หาดทรายปจจุบันและหาดทรายใหมพบอยูบริเวณที่ติดกับทะเลอันดามันมากที่สุด เปน
บริเวณที่มีน้ําทะเลขึ้นลง มีลักษณะเปนหาดสันดอน มีแนวชายหาดยาว มีสันดอนปากอาวไมมีพืชขึ้นปก
คลุมมีทรายสะสมตัวบริเวณหนาหาด มีกรวด เปลือกหอย และปะการังปนอยูดวยทําใหมีการสะทอนแสง
สูงมากทําใหเห็นในภาพถายดาวเทียมที่มีการผสมสีเท็จเปนสีขาว (Band 4, 5, 7) หาดทรายปจจุบันและ
หาดทรายใหมมีเนื้อที่ประมาณ 18.06 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 1.60 ของพื้นที่ศึกษา หาดทราย
พบอยูตามชายหาดเกาะคอเขา บานน้าํ เค็ม บานบางเนียง โดยเฉพาะแหลมประการัง รูปที่ 4.2
หาดทรายใหมและหาดทรายใหม เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนทรายที่มีอายุอยูในชวง
2,000 ปจนถึงไมกี่รอยปที่ผานมา (สิน สินสกุล, 2546) และเกิดการสะสมตัวจากกระบวนการพัดพาของ
คลื่นน้าํ ทะเลเขาฝงในอดีต เมื่อน้ําทะเลลดถอยออกไปจึงทําใหเกิดเปนหาดทรายขนานกับชายฝง ตะกอน
สวนใหญเปนทรายขนาดเม็ดปานกลางถึงหยาบ มีกรวด ปะการัง และเปลือกหอยสะสมตัว ชายหาดนี้อยู
ติดกับชายหาดที่มีน้ําขึน้ น้ําลง ดานหลังของหาดทรายใหมจะตอเนือ่ งเปนชหาดทรายเกาหรือบางบริเวณ
อาจเปนลากูน (lagoon) หรือพื้นที่ชุมน้ํา มีแนวระดับความสูงประมาณ 1-2 เมตรจากระดับน้ําทะเล จาก
การผสมสีเท็จของภาพถายดาวเทียม (band 4, 5, 7) พบวาชายหาดใหมและชายหาดปจจุบนั มักจะเปนสี
ขาว และบางพื้นที่มีสีน้ําตาลออน สีเทาปนอยูในสีน้ําตาล มักมีรูปรางยาวขนานกับชายฝงทั้งนี้เนื่องจาก
บริเวณดังกลาวรองรับดวยตะกอนทรายและมีพืชสวน เชน มะพราว และหญาบางชนิดขึ้นปกคลุม บริเวณ
บานน้ําเค็ม บานบางเนียง (รูปที่ 4.3)
2.หาดทรายเกา หรือหาดทรายโบราณ (Old beach) มีกระบวนการเกิดแบบเดียวกันกับ
ชายหาดปจจุบันแตมีอายุมากกวา โดยปกติตะกอนทรายนี้จะมีอายุอยูในชวง 6,000 ปที่ผานมา (สิน สิน
สกุล, 2546 ) ตะกอนทีต่ กสะสมตัวในบริเวณนี้สวนใหญเปนตะกอนทรายขนาดปานกลางถึงหยาบมีการ
คัดขนาดทีด่ ี พบเปลือกหอยปะปนอยูในทรายดวย ชายหาดนี้สวนใหญจะพบอยูดานหลังของลากูน
(lagoon) แนวชายหาดอยูทรี่ ะดับความสูงประมาณ 3-5 เมตรจากระดับน้ําทะเล เปนชายหาดทีอ่ ยูหาง
จากทะเลปจจุบันและเปนทีต่ ั้งของบานเรือนของประชาชน เนื่องจากชายหาดเกาถูกรองรับดวยทราย
บานเรือนประชาชน บางบริเวณมีการสะสมตัวของแรดีบุก จึงปรากฏใหเห็นเปนขุมเหมืองเกา เมื่อผสมสี
เท็จของภาพถายดาวเทียม (band 4, 5, 7) พบวาบริเวณที่เปนที่โลงจะมีสีขาว สีฟา ออน สวนบริเวณที่มี
32

พืชปกคลุมบางจะเปนสีนา้ํ ตาลออน ปนสีเทา บริเวณที่ตั้งของบานเรือนประชาชนหรือ


ชุมชนจะมีสีฟาออนแตมีความแตกตางจากที่โลงคือชุมชนจะมีรูปรางทีเ่ ปนแบบแผน รวมเปนกลุม สวน
บริเวณที่เปนขุมเหมืองเการูปรางที่ปรากฏสวนใหญเปนพื้นที่วงกลมและ สี่เหลี่ยมของขุมเหมืองเกาที่มีน้ํา
ขังจึงมีสีดําเพราะน้ําดูดซับแสง หาดทรายโบราณพบปรากฏในพืน้ ที่ศกึ ษาคือบริเวณบานบางเนียง บานทา
ดินแดง อําเภอทายเหมือง รูปที่ 4.4 จากการศึกษาพบวาหาดทรายเกาหรือหาดทรายโบราณในพื้นที่ศึกษา
มีเนื้อที่ประมาณ 66.26 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 5.87 ของพื้นที่ศึกษา
3.ลากูน (lagoon) มีกระบวนการเกิดจากมีนา้ํ ทะเลไหลเขาทวมขังบริเวณหนาชายหาด
และที่ลุมหลังชายหด ตอมามีสันดอนทรายงอกในทะเลปดทับทางน้าํ ไหลออกจึงมีการพัฒนาเปนที่ลุมน้ําขัง
หลังสันดอนทราย บริเวณดังกลาวจึงกลายเปนที่ชุมน้ํามีพืชจําพวกเสม็ด และพืชชอบน้ําขึน้ ปกคลุม บาง
บริเวณที่ไมมนี ้ําทวมขังแลวมักปรากฏพบผักบุงทะเลขึ้นปกคลุม ลากูนในพื้นที่ศึกษามีเนื้อที่ประมาณ
21.44 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 1.90 ของพื้นที่ศึกษา จากการผสมสีเท็จของภาพถายดาวเทียม
(band 4, 5, 7) จะพบวาบริเวณที่เปนลากูนจะมีสีฟาออนปนสีเทา สวนใหญพบอยูระหวางชายหาด
ปจจุบนั กับชายหาดโบราณ รูปที่ 4.5
4.ที่ลุมน้ําทวมขัง (Back Swamp) มีกระบวนการเกิดคลายกับการเกิดของลากูน แตที่
แตกตางคือบริเวณที่ลุมน้ําทวมขัง จะเกิดจากการทวมของน้ําจืดแลวมีพัฒนาเปนบึงมีพืชน้ําจืดอาศัยอยู
และมีการสะสมตัวของตะกอนขนาดเล็ก เชน ทรายแปง ดินเหนียว ที่ลุมน้ําทวมขังในพื้นที่ศึกษามีเนื้อที่
ประมาณ 2.92 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 0.26 ของพื้นที่ศึกษา จากการผสมสีเท็จของภาพถาย
ดาวเทียม (band 4, 5, 7) จะพบวาบริเวณที่เปนที่ลุมน้ําทวมขังจะมีสีเทา มีสีนา้ํ ตาลปนสมเล็กนอย ใน
การแปลความหมายจากคอมพิวเตอรมีลักษณะคลายกับลากูนมาก แตสามารถแยกออกจากกันโดยการ
จําแนกพืชที่ขนึ้ ปกคลุมในสนาม กลาวคือพืชที่ขึ้นในบริเวณที่ลุมน้ําทวมขังมักเปนพืชน้ําจืด ที่ลุมน้ําทวมขัง
พบในพืน้ ที่ศกึ ษาอยูที่ทางเหนือของอําเภอทายเหมือง ดังรูปที่ 4.6
5.ที่ราบเชิงเขา (Colluviam Deposit) ที่ราบน้าํ ตะกอนน้ําพา (Alluvial Deposit) เปน
พื้นที่สะสมตัวของตะกอนทราย ทรายแปง และตะกอนเชิงเขา มักเปนที่ราบอยูใกลกับภูเขา บางพื้นที่เปน
ที่ตั้งบานเรือนของประชาชน สวนใหญจะเปนสวนยางพารา และสวนผลไม ที่ราบเชิงเขาและที่ราบตะกอน
น้ําพาในพืน้ ทีศ่ ึกษามีเนื้อทีป่ ระมาณ 368.84 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 32.69 ของพื้นที่ศึกษา จาก
การผสมสีเท็จของภาพถายดาวเทียม (band 4, 5, 7) พบวาพื้นที่บริเวณดังกลาวมีมีสนี ้ําตาลออน
เนื่องจากการปกคลุมของ ยางพาราและพืชสวนที่มีความหนาแนนนอยกวาบนภูเขา มีรูปแบบเปนสี่เหลี่ยม
เนื่องจากรูปแบบการทําไรเปนแปลง ลักษณะเนื้อภาพ (Texture) ที่มีความละเอียดสูงกวาพื้นที่เปนภูเขา
และมีสี่ที่จางกวาเนื่องจากปาไมที่ปกคลุมไมหนาแนนเทากับพื้นทีภ่ ูเขาสูง
6.ภูเขาสูง (Mountain areas) เปนพื้นที่ที่รองรับดวยหินแข็งมีการกระจายตัวอยูทางทิศ
ตะวันออกของพื้นที่ศึกษามีเนื้อที่ประมาณ 552.09 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 48.93 ของพื้นที่
ศึกษา จากการผสมสีเท็จของภาพถายดาวเทียม (band 4, 5, 7) พบวามีสีน้ําตาลปนสม เนื่องจากมีปาไม
ปกคลุมหนาแนน มีรูปรางหรือรูปแบบทีช่ ัดเจนคือเมื่อมองจากดานบนจะเห็นเปนรูปทรงกลม หรือยาวรีที่
ยาวตอเนื่องสามารถบงบอกไดวา เปนภูเขาสูง
33

7.ที่ราบน้ําขึ้นถึงบริเวณปาโกงกางหรือปาชายเลน (Mangrove areas) เปนบริเวณปาก


คลองมีปาโกงกางขึ้นปกคลุม มีกระบวนการน้ําขึ้นน้ําลงของน้ําทะเล จึงมีการสะสมตัวของตะกอนพวกดิน
เหนียว และเศษซากพืชและสัตวในบริเวณนี้เปนจํานวนมาก ที่ราบน้ําขึ้นถึงบริเวณปาโกงกางหรือปาชาย
เลนในพื้นทีศ่ กึ ษามีเนื้อที่ประมาณ 96.00 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 8.51 ของพื้นที่ศึกษา เมื่อผสม
สีเท็จของภาพถายดาวเทียม (band 4, 5, 7) บริเวณนี้จึงเปนสีนา้ํ ตาลแดง สม่ําเสมอ บริเวณปาโกงกาง
พบอยูที่ดานทิศตะวันตกของอําเภอตะกั่วปา และทางดานทิศใต และตะวันออกเฉียงใตของฐานทัพเรือทับ
ละมุ อําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา รูปที่ 4.7
ในพื้นทีศ่ ึกษาพบวามีแหลงน้ําจืด หรืออางเก็บน้าํ ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 2.66 ตาราง
กิโลเมตร คิดเปนรอยละ 0.24 ของพื้นที่ศึกษา และไมไดจดั แบงใหเปนลักษณะธรณีสัณฐานชายฝง แต
นํามาคิดคํานวณรอยละของพื้นที่ดวย
34

รูปที่ 4.1 แผนที่ธรณีสัณฐานชายฝงบริเวณอําเภอตะกั่วปา อําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา ใน


มาตราสวน 1: 100,000
35

รูปที่ 4.2 ภาพหาดทรายปจจุบันบริเวณแหลมปะการัง อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา

รูปที่ 4.3 ภาพหาดทรายใหมบริเวณบานน้ําเค็ม อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา


36

รูปที่ 4.4 ภาพหาดทรายเกาบริเวณบานทาดินแดง อําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา

รูปที่ 4.5 ภาพลากูนบริเวณบานคึกคัก อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา


37

รูปที่ 4.6 ภาพที่ลุมน้ําทวมขังบริเวณปาทางเหนือของอําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา

รูปที่ 4.7 ภาพที่ราบน้าํ ขึ้นถึงบริเวณปาโกงกางที่บานทาดินแดง อําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา


38

บทที่ 5
สรุปและขอเสนอแนะ

5.1 ผลการศึกษา
การประยุกตใชภาพดาวเทียม เพื่อศึกษาธรณีสัณฐานชายฝงทะเลบริเวณอําเภอตะกั่วปา
จังหวัดพังงา โดยใชภาพถายดาวเทียม Landsat 7 แนวการบันทึกขอมูล Path 130/Row 054 บันทึก
ขอมูลเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2545 ทําการแปลความหมายดวยคอมพิวเตอรดวยการจัดจําแนกแบบ
Supervised Classification โดยใชวิธี Maximum Likelihood แลวทําการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล
ในภาคสนาม และนําขอมูลที่ไดจากภาคสนามมาปรับแกขอมูลใหมีความถูกตอง
จากการศึกษาพบวาธรณีสัณฐานชายฝงทะเลบริเวณจังหวัดระนอง พังงา และภูเก็ต โดยมี
พื้นที่ศึกษาประมาณ 1128.28 ตารางกิโลเมตร สามารถแบงได 7 กลุม และ ดังนี้
1. หาดทรายปจจุบัน (beach) และหาดทรายใหม (Young beach)
หาดทรายปจจุบัน(beach) และหาดทรายใหม (Young beach) พบปรากฏอยูบริเวณที่
ติดกับน้ําทะเลมากที่สุด เปนบริเวณที่มีน้ําทะเลขึ้นลง มีลักษณะเปนหาดสันดอน มีแนวชายหาดยาว มีสัน
ดอนปากอาวไมมีพืชขึ้นปกคลุมมีทรายสะสมตัวบริเวณหนาหาด มีกรวด เปลือกหอย และปะการังปนอยู
ดวย
หาดทรายปจจุบัน(beach) และหาดทรายใหม (Young beach) เปนชายหาดขนานกับ
ชายฝง ตะกอนสวนใหญเปนทรายขนาดเม็ดปานกลางถึงหยาบ มีกรวด ปะการัง และเปลือกหอยสะสมตัว
ชายหาดนี้อยูติดกับชายหาดที่มีน้ําขึ้นน้ําลง ดานหลังของชายหาดใหมจะตอเนื่องเปนชายหาดเกาหรือบาง
บริเวณอาจเปนลากูน (lagoon) หรือพื้นที่ชุมน้ํา มีแนวระดับความสูงประมาณ 1-2 เมตรจาก
ระดับน้ําทะเลหาดทรายปจจุบัน(beach) และหาดทรายใหม (Young beach) มีเนื้อที่ประมาณ 18.06
ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 1.60 ของพื้นที่ศึกษา
2.หาดทรายเกา หรือหาดทรายโบราณ (Old beach) ตะกอนที่ตกสะสมตัวในบริเวณนี้
สวนใหญเปนตะกอนทรายขนาดปานกลางถึงหยาบมีการคัดขนาดที่ดี พบเปลือกหอยปะปนอยูในทราย
ดวย ชายหาดนี้สวนใหญจะพบอยูดานหลังของลากูน (lagoon) แนวชายหาดอยูที่ระดับความสูงประมาณ
3-5 เมตรจากระดับน้ําทะเล ในพื้นที่ศึกษาพบบริเวณบานบางเนียง บานทาดินแดง อําเภอทายเหมือง
หาดทรายเกาหรือหาดทรายโบราณในพื้นที่ศึกษามีเนื้อที่ประมาณ 66.26 ตาราง
กิโลเมตร คิดเปนรอยละ 5.87 ของพื้นที่ศึกษา
3.ลากูน (lagoon) เปนที่ลุมน้ําขังหลังสันดอนทราย บริเวณดังกลาวจึงกลายเปนที่ชุมน้ํามี
พืชจําพวกเสม็ด และพืชชอบน้ําขึ้นปกคลุม บางบริเวณที่ไมมีน้ําทวมขังแลวมักมีผักบุงทะเลขึ้นปกคลุม
สวนใหญพบอยูระหวางชายหาดปจจุบันกับชายหาดโบราณ เชนบริเวณทิศตะวันตกเฉียงใตของบานคึกคัก
ลากูนในพื้นที่ศึกษามีเนื้อที่ประมาณ 21.44 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 1.90 ของ
พื้นที่ศึกษา
39

4.ที่ลุมน้ําทวมขัง (Back Swamp) มีกระบวนการเกิดคลายกับการเกิดของลากูน แตที่


แตกตางคือบริเวณที่ลุมน้ําทวมขัง จะเกิดจากการทวมของน้ําจืดแลวมีพัฒนาเปนบึงมีพืชน้ําจืดอาศัยอยู
และมีการสะสมตัวของตะกอนขนาดเล็ก เชน ทรายแปง ดินเหนียว พบบริเวณทางเหนือ
ของอําเภอทายเหมือง
ที่ลุมน้ําทวมขังในพื้นที่ศึกษามีเนื้อที่ประมาณ 2.92 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 0.26
ของพื้นที่ศึกษา
5.ที่ราบเชิงเขา (Colluviam Deposit) และที่ราบน้ําตะกอนน้ําพา (Alluvial Deposit) มัก
เปนที่ราบอยูใกลกับภูเขา บางพื้นที่เปนที่ตั้งบานเรือนของประชาชน สวนใหญจะเปนสวนยางพารา และ
สวนผลไม มีลักษณะของรูปแบบที่แตกตางจากภูเขาสูงคือ ลักษณะเนื้อภาพ (Texture) ที่มีความละเอียด
สูงกวาพื้นที่เปนภูเขา และมีสีที่จางกวาเนื่องจากปาไมที่ปกคลุมไมหนาแนนเทาภูเขา
ที่ราบเชิงเขาและที่ราบตะกอนน้ําพาในพื้นที่ศึกษามีเนื้อที่ประมาณ 368.84 ตาราง
กิโลเมตร คิดเปนรอยละ 32.69 ของพื้นที่ศึกษา
6.ภูเขาสูง (Mountain areas) เปนพื้นที่ที่รองรับดวยหินแข็งมีการกระจายตัวอยูทางทิศ
ตะวันออกของพื้นที่ศึกษามีเนื้อที่ประมาณ 552.09 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 48.93 ของพื้นที่
ศึกษา
7.ที่ราบน้ําขึ้นถึงบริเวณปาโกงกางหรือปาชายเลน (Mangrove areas) เปนบริเวณปาก
คลองมีปาโกงกางขึ้นปกคลุม มีกระบวนการน้ําขึ้นน้ําลงของน้ําทะเลตลอดเวลา จึงมีการสะสมตัวของ
ตะกอนพวกดินเหนียว และเศษซากพืชและสัตวในบริเวณนี้เปนจํานวนมาก บริเวณปาโกงกางพบปรากฏ
อยูที่ดานทิศตะวันตกของอําเภอตะกั่วปา และทางดานทิศใต และตะวันออกเฉียงใตของฐานทัพเรือทับละมุ
อําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา
ที่ราบน้ําขึ้นถึงบริเวณปาโกงกางหรือปาชายเลนในพื้นที่ศึกษามีเนื้อที่ประมาณ 96.00
ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 8.51 ของพื้นที่ศึกษา

5.2 ขอเสนอแนะ
1.การศึกษาและจัดทําแผนที่ธรณีสัณฐานชายฝงทะเล บริเวณอําเภอตะกั่วปา อําเภอ
ทายเหมือง จังหวัดพังงา เปนการประยุกตใชภาพดาวเทียม Landsat 7 มีรายละเอียดเชิงตําแหนง
(Resolution) 30 เมตร ในกรณีที่ตองการศึกษาขั้นรายละเอียดเชิงตําแหนงสูง ควรใชขอมูลภาพดาวเทียม
ที่มีรายละเอียดเชิงตําแหนงสูง เชน IKONOS หรือ Quickbird แทน
2.ในการสํารวจภาคสนามเพื่อความถูกตองของชุดขอมูล ควรทําการเจาะสํารวจชั้น
ตะกอนในพื้นที่นั้นๆ ดวย เพื่อนําลักษณะความแตกตางของลักษณะตะกอน (Lithology) มาใชแยกชนิด
ของธรณีสัณฐาน เชน การแยกพื้นที่บริเวณที่ลุมน้ําทวมขังกับลากูน
40

เอกสารอางอิง

กรมทรัพยากรธรณี, 2550, แผนที่ธรณีวิทยามาตราสวน 1: 250,000 (ขอมูลเชิงตัวเลข), สํานัก


ธรณีวิทยา, กรมทรัพยากรธรณี
กรมแผนที่ทหาร, 2543, แผนที่ภูมิประเทศมาตราสวน 1:50,000 ระวางอําเภอกะปง (4626
II) ระวางเขาหลัก (4626 III) ระวางอําเภอคุระบุรี (4627 II) ระวางอําเภอตะกั่วปา
(4626 I) ระวางอําเภอทายเหมือง (4625 I), กรมแผนที่ทหาร
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548, โครงการ สํารวจ วิจัย และศึกษาเพื่อฟนฟูบูรณะ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กิจกรรมที่ 9 การศึกษาและประเมินความเสี่ยงอัน
เกิดจากพิบัติภัยคลื่นยักษสึนามิ และใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับระบบติดตามและระบบ
ปองกันภัยสึนามิ, รางรายงานฉบับสมบูรณ เสนอตอกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม
ธีระพล วงษประยูร และเยาวพา แชมวัชระกุล, 2549, ธรณีวิทยาระวางอําเภอคุระบุรี 4627 II
ระวางอําเภอคีรีรัฐนิคม 4727 II และระวางเขาพัง 4727 III, รายงานการสํารวจ
ธรณีวิทยาฉบับที่ สธว 2/2549, สํานักธรณีวิทยา, กรมทรัพยากรธรณี, 114 หนา
บริษัทอินโฟรรีเสิรช จํากัด, 2543, คูมือการใชโปรแกรมวิเคราะหขอมูลดาวเทียม ENVI 3.2
พิทักษ เทียมวงษ และเกชา จําปาทอง, 2548, ธรณีวิทยาระวางอําเภอทายเหมือง (4625 I)
ระวางบานเขาหลัก (4626 III) และระวางบานหญาปลอง (4726 IV), รายงานการ
สํารวจธรณีวิทยาฉบับที่ สธว. 3/2548, สํานักธรณีวิทยา, กรมทรัพยากรธรณี, 73 หนา
เลิศชาย ขายทอง และสมเกียรติ มาระเนตร, 2542, แผนที่ธรณีวิทยาระวางอําเภอตะกั่วปา ระวาง
4626 I มาตราสวน 1:50,000, กองธรณีวิทยา, กรมทรัพยากรธรณี
สมศักดิ์ สุขจันทร, 2544, การทําแผนที่ดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยใชขอมูล
Landsat-5 TM, วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทรัพยากร
การเกษตรและสิ่งแวดลอม, มหาวิทยาลัยขอนแกน, หนา 9-16
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, 2540, คําบรรยายเรื่องการสํารวจจากระยะไกล,
กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพราว, 298 หนา
สิน สินสกุล, สุวัฒน ติยะไพรัช, นิรันดร ชัยมณีและบรรเจิด อรามประยูร, 2546, ร า ย ง า น
วิชาการการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝงดานทะเลอันดามัน, พิมพครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: กรม
ทรัพยากรธรณี, 58 หนา
สุรชัย รัตนเสริมพงษ, 2536, ระบบสนเทศภูมิศาสตร, ขาวสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ
33, 361 (ก.ค. 35), หนา 15-17
สุรศักดิ์ บุญลือ, วีระชาติ วิเวกวิน และประดิษฐ นูเล, 2551, รายงานวิชาการสํารวจและศึกษา
พื้นที่ชายฝงทะเลจังหวัดระนองที่เปลี่ยนแปลงจากเหตุการณพิบัติภัยคลื่นสึนามิ,พิมพครั้ง
ที่ 2,กรุงเทพฯ: กรมทรัพยากรธรณี, 48 หนา
41

Gupta, Ravi P. 2002, Remote sensing geology, 2nd Ed, Berlin: Springer, 655 p.
Kiyoshi H.,Ines Amor V.M.,and Ninsawat S., 2003, Advance Remote Sensing for
Department of Mineral Resources of Thailand, Training Course.
Kuehn F., 2003, Remote Sensing Training: Fundamental, Data Processing, Applications.
Lillesand, T.M., and Kiefer, R.W., 1994, Remote Sensing and Image Interpretation, 3rd
ed, USA: John Wiley & Sons,Inc.
Lillesand T. M., and Kiefer R. W., 2000, Remote Sensing and Image Interpretation, 4th
ed, John Wiley and Sons, New York, NY., 724 pp.
Raksaskulwong, L. and Wongwanich, T., 1994, Stratigraphy of Keang Krachan Group in
Peninsular and Western Thailand, Annual Technical Meeting of Geological
Division, September 19-20, p.106-115(in Thai)
Teerarangsikul S., Thonnarat P., Kuehn F.,and Margane A., 2001, Environmental Geology
for Regional Planning, Technical Report No.37,Technical Cooperation Project
No.93.2080.5, 74 p.

Website
http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/eqarchives/year/mag8/magnitude8_1900_date.php
http://maps.unomaha.edu/Peterson/gis/notes/RS2_files/optical.gif
http://www.gis2me.com/rs/index.htm
http://www.gisthai.org/about-gis/sensor.html
http://www.lb.aub.edu.lb/~webeco/rs%20lectures_files/image010.jpg
www.envi.psu.ac.th/gis/rs/images
www.envi.psu.ac.th/gis/rs/images/ac-passive.jpg

You might also like