You are on page 1of 8

ใบความรู้ เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ

๑.ลักษณะของข้อความในแต่ละย่อหน้า
ใจความ
ข้อ ควาในแต่ล ะ สำคัญ
ย่อ หน้า ใจความรอง
ส่ว นขยาย
ใจความ รายละเอีย ด

(๑) คนไทยมีความเชื่อว่าคนเราจะฝั นได้ด้วยสาเหตุใหญ่ 4 ประการ (2)


สาเหตุฝันประการแรก คือ บุพนิมิต (3) หมายถึง ฝั นที่เชื่อกันว่าเป็ นลางบอก
เหตุที่จะเกิดต่อไปข้างหน้าแก่ตัวผู้ฝันเองหรือคนใกล้ชิดทัง้ เหตุดีและเหตุร้าย
(4) สาเหตุฝันประการที่สองเรียกว่า จิตนิวรณ์ (5) หมายถึง การเกิดฝั นด้วยใจ
มีกังวลเป็ นห่วงผูกพันกับบุคคลหรือกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (6) เช่น นักเรียนกังวล
เกี่ยวกับการสอน ก็อาจฝั นว่าสอบตกหรือไปสอบไม่ทันหากกังวลเกี่ยวกับการ

ใจความสำคัญ คือ ประโยคหมายเลข

....................................................................

ใจความรอง คือ ประโยคหมายเลข

.........................................................................
รายละเอียด คือ ประโยคหมายเลข

...........................................................................

ในย่อหน้าหนึ่งนัน
้ จะมีลักษณะข้อความที่แตกต่างกัน อาจแบ่งออก
เป็ น ๒ ลักษณะใหญ่ ๆ คือ ใจความสำคัญและส่วนขยายใจความสำคัญ
1.1 ใจความสำคัญหรือความคิดหลัก (main idea) คือ ข้อความ
ที่เป็ นแก่นของเนื้อหาที่มีสาระครอบคลุมเนื้อความอื่น ๆ ในย่อหน้าหรือ
ในเรื่องนัน
้ ๆ ใจความสำคัญนีอ
้ าจปรากฏเป็ นประโยค เรียกว่าประโยค
ใจความสำคัญ สามารถเห็นได้ชัดเจนที่ต้นย่อหน้าหรือท้ายย่อหน้า หรือ
กลางย่อหน้า หรือปรากฏที่ต้นและท้ายย่อหน้า หรืออาจไม่ปรากฏ
ประโยคใจความสำคัญให้เห็นชัดเจนแต่แฝงอยู่ในเนื้อความ
1.2 ส่วนขยายใจความสำคัญหรือพลความ อาจแบ่งได้เป็ น 2
ประเภท คือ
1.2.1 ใจความรองหรือความคิดรอง (major supporting
details) คือ ข้อความที่เป็ นส่วนขยายหรือสนับสนุนใจความสำคัญเพื่อให้
เกิดความกระจ่าง ทำให้เกิดความสมเหตุสมผล ทำให้ใจความสำคัญ
ชัดเจนขึน

1.2.2 รายละเอียด (minor supporting details) คือ
ข้อความที่เป็ นส่วนขยายใจความรองหรือใจความสำคัญให้ชัดเจนยิ่งขึน

รายละเอียดนัน
้ อาจเป็ นการยกตัวอย่าง การเปรียบเทียบ สถิติ ตัวเลข
การอ้างอิงคำกล่าวของบุคคล และรายละเอียดอื่น ๆ ที่เสริมความเข้ามา

๒.วิธีการอ่านจับใจความสำคัญ
2.1 อ่านเรื่องให้จบ (บันไดขัน
้ ที่ ๑)
ผู้อ่านต้องอ่านเรื่องที่จะจับใจความสำคัญตัง้ แต่ต้นจนจบ เพื่อ
ทำความเข้าใจและ ได้ภาพรวมของเนื้อหาของเรื่องที่อ่านอย่างคร่าว ๆ
โดยในขณะที่อ่านควรตัง้ คำถาม และพิจารณาว่าผู้เขียนกำลังสื่อเรื่องอะไร
ใครทำอะไร เมื่อไร ที่ไหน ด้วยเหตุผลใด ละอย่างไร 5W ๑ H หาก
เรื่องนัน
้ มีช่ อ
ื เรื่องก็ให้พิจารณาตัง้ แต่ช่ อ
ื เรื่อง เพราะโดยทั่วไปชื่อเรื่องมัน
จะสอดคล้องกับใจความสำคัญหรือความคิดหลัก หรือช่วยแสดง ให้เห็น
ถึงจุดสนใจของเรื่อง

ตัวอย่างที่ ๑
เพลง ส้มตำ (๒๕๑๓)
เนื้อร้อง พระนิพนธ์ของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระ
เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ต่อไปนีจ
้ ะเล่าถึงอาหารอร่อย คือ ส้มตำกินบ่อย ๆ รสชาติแซบดี วิธี
ทำ ก็ง่ายจะบอกได้ต่อไปนี ้ มันเป็ นวิธีพิเศษเหลือหลาย ไปซื้อ
มะละกอขนาดพอเหมาะๆ สับๆ เฉาะๆ ไม่ต้องมากมาย ตำพริกกับ
กระเทียมยอดเยี่ยมกลิ่นอาย มะนาว น้ำปลา น้ำตาลทราย น้ำตาลปี๊ บถ้า
มี

* ปรุงรสให้แน่หนอ ใส่มะละกอลงไป อ้อ…อย่าลืมใส่กุ้ง แห้ง


ป่ นของดี มะเขือเทศเร็วเข้า เอาถั่วฝั กยาวใส่เร็วรี่ เสร็จสรรพแล้วซียก
ออกจากครัว กินกับข้าวเหนียวเที่ยวแจกให้ทั่ว กลิ่นหอมยวนยั่วน่า
น้ำลายไหล จดตำราจำส้มตำลาว เอาตำรามา ใครหม่ำเกินอัตรา
ระวังท้องจะพัง ขอแถมอีกนิดแล้วจะติดใจใหญ่ ไก่ย่าง ด้วยเป็ นไรอร่อย
แน่จริงเอง
ใจความสำคัญ...................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................

ตัวอย่างที่ ๒
กระเบื้องเคลือบในห้องน้ำมักจะเกิดความสกปรกได้ง่าย ถ้าหากไม่
ดูแลรักษาอย่างสม่ำเสมอเมื่อปล่อยทิง้ ไว้นานๆ นับวันคราบไคลก็จะเต็ม
ไปหมดจนอาจเป็ นอันตรายได้ มีวิธีการทำความสะอาดได้ง่ายๆ คือ
เพียงแค่เอาน้ำราดตรงบริเวณที่กระเบื้องเคลือบสกปรก แล้วนำเกลือมา
โรยลงบนแปรงขัดทั่วห้องน้ำและที่ผนังของห้องน้ำจะพบว่าเกลือช่วยขจัด
คราบสกปรกต่างๆ ให้หายไปอย่างง่ายได้เมื่อขัดเสร็จแล้วล้างห้องน้ำให้
คราบเกลือออกให้หมด เพียงเท่านีห
้ ้องนำก็จะดูสะอาดปราศจากคราบ
ไคลเป็ นเงาแวววาวเหมือนของใหม่
วิธีหาใจความสําคัญ
ใคร ..............................................................
................................
ทํา
อะไร......................................................................
..................
เมื่อไร ..........................................................
................................
อย่างไร.........................................................
...............................
ผลเป็ นอย่างไร
...........................................................................
ใจความ
สำคัญ.........................................................................................................
.....................................................................
...................................................................................................................
...........................................................

๒.๒ ค้นพบคำสำคัญ (บันไดขัน


้ ที่ ๒)
คำสำคัญหรือคำกุญแจ คือ คำกลุ่มคำหรือประโยคที่พบซ้ำ ๆ
ในย่อหน้า
 หาคำกุญแจ ในย่อหน้าได้ก็จะช่วยให้จับใจความสำคัญได้ง่าย
และถูกต้องขึน
้ เพราะคำกุญแจ มักจะเป็ นประเด็นสำคัญของ
ย่อหน้า
 ลักษณะของคำกุญแจ
คำที่เขียนเหมือนกันและความหมายเหมือนกัน
ปรากฏซ้ำ ๆ ในย่อหน้า
คำที่เขียนต่างกันแต่ความหมายเหมือนกัน สื่อความ
หมายไปในทิศทางเดียวกัน
ตัวอย่างที่ ๑
สิ่งที่ชาวเรือถือกันมากก็คือ “หัวเรือ” นับถือกันว่าเป็ นที่แม่
ย่านางอยู่ พวกแม่ค้าที่ใช้เรือเป็ นพาหนะบรรทุกของและอยู่อาศัย ไม่ว่า
จะเป็ นเรือเล็กหรือใหญ่ มักไม่ยอมให้ใครเหยียบหัวเรือ แม้จะข้ามก็ยังไม่
ยอมให้ข้าม เจ้าของเรือบางคนเคร่งมากจะจุดธูปบูชาทัง้ เช้าและเย็น ที่หัว
เรือบางลำมีแผ่นทองเหลืองหุ้มอย่างสวยงาม และมีซองทองเหลืองเล็ก ๆ
ติดไว้ที่ทวนหัวเรือสำหรับปั กธูป บางทีก็มีพวงมาลัยคล้องหัวเรือที่เคร่ง
มาก ๆ ถึงกับจัดอาหารเซ่นทุกเช้าก็มี

(ส.พลายน้อย, 2560, น.78)

คำสำคัญที่
พบ.............................................................................
...................................................................................
...................................................................................
...................................................................................
..............................................
ใจความ
สำคัญ.........................................................................................................
.....................................................................
...................................................................................................................
...........................................................

ตัวอย่างที่ ๒
อาหารญี่ปุ่นที่เด่น ๆ คือ ปลาซึ่งมีโปรตีนที่ดีกว่าเนื้อสัตว์ชนิดอื่น
เพราะมีโอเมก้า ๓ ซึ่งช่วยลดอัตราเสี่ยง ต่อโรคหัวใจและโรคหลอดเลือด
และยังมีวิตามิน เกลือแร่มากอีกทัง้ อาหารญี่ปุ่นมักใช้สาหร่ายเป็ น
ส่วนประกอบหลักซึ่งมีทงั ้ โปรตีน ไอโอดีนและใยอาหารสูง จึงช่วยเรื่อง
การย่อยและระบบขับถ่าย

อ่านจนจบ
ใคร ..........................................................................................
....
ทํา
อะไร........................................................................................
เมื่อไร ......................................................................................
....
อย่างไร.....................................................................................
...
ผลเป็ นอย่างไร
...........................................................................

ค้นพบคำสำคัญ
...........................................................................................
...
...........................................................................................
...
...........................................................................................
..

สรุปใจความสำคัญ
.................................................................................................
...
.................................................................................................
..
.................................................................................................
...
.................................................................................................
...

You might also like