You are on page 1of 1

One-Point Lesson ชื่อเรื่อง: การทำงานที่อบั อากาศภายในถัง FRACTIONATOR SCREEN FEED CHEST WP16 ทะเบียนเลขที่ : วันที่จดั ทำ: 12 ก.ย.

2565
บ.สยามคราฟท์
อุตสาหกรรม จำกัด กลุ่ม SERVICE TEAM แผนก: บำรุงรักษาทวีผลเครื่องกล-บ้านโป่ ง 2 ผู้จดั ทำ __ณภัทร ศ.______ ผู้ตรวจสอบ ____________________ ผู้อนุมตั ิ ___________________

ประเภท ความรู้ การใช้งาน การดูแล การซ่อม อื่น ๆ

ทัวไป
่ บำรุงรักษา บำรุง

ผลิ ตภัณฑ์

เครื่องจักรกล /
8 ไฟฟ้ า
7
6 เครื่องมือวัด
5
4
3 อื่นๆ
21
การสอนและประเมิ นผล
10
1 9 9 วันที่สอน ผู้สอน ผู้เรียน ผล
1
12.09.2022 ณภัทร ศ.(พ.ซ่อม) ธีรพงษ์ อ.(พ.ซ่อม) 3

12.09.2022 ณภัทร ศ.(พ.ซ่อม) โชคชัย ส.(พ.ซ่อม) 3

12.09.2022 ณภัทร ศ.(พ.ซ่อม) ฐิ ติการณ์ พ. (พ.ซ่อม) 3

เพื่อป้ องกันอุบตั ิ เหตุที่ WP#16 จากปัญหาการทำงานที่อบั อากาศของงานซ่อมถัง จึงมีมาตรการเพื่อป้ องกัน การเกิ ดอุบตั ิ เหตุ จึงทำ CHECK LIST 12.09.2022 ณภัทร ศ.(พ.ซ่อม) ประณต ล.(พ.ซ่อม) 3

เพื่อตรวจสอบการทำงานที่อบั อากาศของถัง FRACTIONATOR SCREEN FEED CHEST WP16 เพื่อความปลอดภัยต่อผู้ปฏิ บตั ิ งาน
1
ขัน้ ตอนการทำงานที่อบั อากาศ เพื่อซ่อมถัง FRACTIONATOR SCREEN FEED CHEST WP16 แบบถูกวิ ธี
1. OFF SAFETY SWITCH ( หมายเลข 1. ) เพื่อตัดแยกพลังงานไฟฟ้ า และแขวน LOCKOUT TAGOUT ในห้อง MCC AGITATOR#1,2
2. ปิ ด VALVE ( หมายเลข 2. ) เพื่อไม่ให้น้ำจาก LINE ACCEPT OF BROKE TOWER มาลงที่ถงั
3. ปิ ด VALVE ( หมายเลข 3. ) เพื่อไม่ให้น้ำจาก LINE STAGE COARSE SCREEN-2 ACCEPT มาลงที่ถงั
4. ปิ ด VALVE ( หมายเลข 4. ) เพื่อไม่ให้น้ำจาก LINE STAGE COARSE SCREEN-1 ACCEPT มาลงที่ถงั
5. ปิ ด VALVE ( หมายเลข 5. ) เพื่อไม่ให้น้ำจาก STAGE COARSE SCREEN ACCEPT มาลงที่ถงั
6. ปิ ด VALVE ( หมายเลข 6. ) เพื่อไม่ให้น้ำจาก LINE STAGE LC-CLEANER ACCEPT มาลงที่ถงั
7. ปิ ด VALVE ( หมายเลข 7. ) เพื่อไม่ให้น้ำจาก LINE STAGE FINE SCREEN ACCEPT มาลงที่ถงั
8. ปิ ด VALVE ( หมายเลข 7. ) เพื่อไม่ให้น้ำจาก LINE 1st STAGE CS มาลงที่ถงั
9. เปิ ด VALVE DRAIN ( หมายเลข 9. ) เพื่อระบายของเหลวออกจากระบบเปิ ด GATE VALVE ขนาด 10" จำนวน 2 จุด
10. เปิ ดฝา MANHOLE ( หมายเลข 10. )เปิ ดฝาระบายอากาศด้านบนและต้องทำตรวจสอบปริ มาณออกซิ เจนฉี ดล้างทำความสะอาดภายในถังให้เรียบร้อย
ภายในถังต้องไม่ต่ำกว่า 19.5% และต้องไม่เกิ น 23.5% มีกา๊ ซไอระเหยละอองที่ติดไฟหรือระเบิ ดได้ไม่เกิ น 10% LEL ต้องตรวจวัดปริ มาณออกซิ เจน
ภายในถังทุกๆ 2 ชม. ในขณะที่ปฎิ บตั ิ งาน และต้องมีพดั ลมระบายอากาศภายในถังเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฎิ บตั ิ งาน
อำนาจดำเนิ นการ ผู้ตรวจสอบ คือ หน.กะ หรือ หม. หรือ วิ ศวกรที่เกี่ยวข้อง ผู้อนุมตั ิ คือ หผ. การประเมินผล 1. ผู้เรียนเข้าใจ แต่ไม่สามารถปฏิ บตั ิ ได้ 2. สามารถปฏิ บตั ิ ได้ แต่ต้องมีคำแนะนำ 3. สามารถปฏิ บตั ิ ได้ด้วยความมันใจ
่ 4. สามารถปฏิ บตั ิ และถ่ายทอดไปยังผู้อื่นได้

Rev. 0 21 ก.พ. 44

You might also like