You are on page 1of 3

กฎหมายอาญา 21/12/64

59 ว.2 แบ่งการการกระทำโดยแสดงเจตนาออกเป็ น 2 ประเภท คือ


1.ผู้กระทำประสงค์ตอ่ ผล ( โดยตรง : ผู้กระทำต้ องการให้ เกิดผลยังไงจึงได้ กระทำลงไป )
2.ผู้กระทำกระทำโดยย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนัน้ ( กระทำไปโดยไม่ร้ ูวา่ จะเกิดผลยังไงแต่ทราบว่า
อาวุธหรื อสิ่งที่ใช้ ในการกระทำนันอาจจะทำให้
้ เกิดผลเสียหาย )

แต่จากข้ อเท็จจริงที่ปรากฏขึ ้นนายเท่งนันเป็้ นบิดาของนายหม่าหรื อซึง่ เป็ นบิดาของนายหม่ำหรื อใช้ คำว่าว่า


บุพการี นนั่ เอง ซึง่ เราจะเห็นได้ วา่ ในประมวลกฎหมายอาญา ม.289 อนุ1 ได้ มีการบัญญัติเอาไว้ อย่างชัด
แจ้ งว่าผู้ใดฆ่าบุพการี ต้องระวางโทษประหารชีวิต

ดังนันแล้
้ วในกรณีการกระทำโดยพลาดของนายหม่ำซึง่ ได้ กระทำต่อนายเท่งผู้เป็ นบิดาของตนนันนายหม่ ้ า
ไม่ต้องรับโทษตามที่มาตรา 289 อนุ1 ได้ วางหลักเกณฑ์เอาไว้ ที่เป็ นเช่นนี ้เพราะมาตรา 60 ในวรรคท้ าย
ได้ มีการระบุเอาไว้ อย่างชัดเจนว่า ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ ผ้ กู ระทำต้ องรับโทษหนักขึ ้นเพราะฐานะ
หรื อความสัมพันธ์ระหว่างผู้กระทำกับผู้ถกู กระทำจึงห้ ามนำกฎหมายนันมาใช้
้ บงั คับ

สรุปดังนี ้แล้ วการกระทำของนายหม่ำซึง่ เป็ นผู้กระทำที่กระทำต่อนายเท่งผู้เป็ นบิดาไม่ต้องรับโทษตาม


มาตรา 289 แต่ต้องรับโทษตามมาตรา 288 ประกอบมาตรา 60 ประกอบมาตรา 59 แห่งประมวล
กฎหมายอาญานัน่ เอง 453

กฎหมายอาญา 4/1/65
59 ว.4 เกี่ยวกับการกระทำโดยประมาทซึง่ เป็ นการกระทำที่กระทำขึ ้นโดยไม่ได้ เจตนาแต่ไม่ใช้ ความ
ระมัดระวัง
59 ว. 5 ต่างจาก 374 คือการกระทำที่ทำโดยงดเว้ นภาระหน้ าที่ของตนเองแต่มาตรา 374 คือละเว้ น
การกระทำเพราะถือว่าไม่ใช่หน้ าที่ของตนเองแต่เกี่ยวกับศิลธรรมหรื อจิตสำนึกของแต่ละคนว่าจะช่วยหรื อ
ไม่แต่จะมีความผิดฐานละเว้ น
งดเว้ นคือมีหน้ าที่จะต้ องกระทำ ตามมาตรา 59 ว.5 แต่ละเว้ นไม่ได้ มีหน้ าที่จะต้ องกระทำตาม
มาตรา 374
มาตรา 60 เกี่ยวกับการกระทำโดยพลาด เช่นเหมือนนาย ม ต้ องการยิงนาย ต แต่พลาดไปโดนนาย ก ซึง่
เป็ นบิดาตาม 289 อนุ1
โดยสำคัญผิดคือการกระทำผิดคนที่เกิดจากความเข้ าใจผิดเช่นนาย น โกรธ นาย ส แต่ไปยิงนาย ว ซึง่ เป็ น
ฝาแฝดของนาย ส โดยความเข้ าใจผิดแต่นาย น จะมาอ้ างว่าทำไปเพราะเข้ าใจผิดว่าเป็ นนาย ส ไม่ได้ ตาม
มาตรา 61

18/1/65
- คำพูดของประจักษ์ พยานมีน้าหนักและน่าเชื่อถือมากกว่าเพราะประจักษ์ พยานคือผู้ที่
อยูใ่ นเหตุการณืและมองเห็นเหตุการณ์ในการกระทำความผิดนันๆทุ ้ กอย่าง
- พยานบอกเล่าคือ พยานที่ได้ รับรู้เรื่ องราวการกระทำความผิดนันๆจากการเล่
้ าให้ ฟังของ
ประจักษ์ พยานซึง่ หากนำพยานบอกเล่ามาเป็ นพยานในเหตุการณ์นนคำพูั้ ดของพยาน
บอกเล่านันจะถื
้ อว่ามีความน่าเชื่อถือน้ อยกว่าคำพูดของประจักษ์ พยาน

67 วรรค 1 จากข้ อเท็จจริ งที่ปรากฎขึ ้นนันสามารถที


้ ่จะอธิบายได้ วา่ การที่นายโหน่ง
นันใช้
้ อาวุธมีดแทงนายเท่งจนได้ รับบาดเจ็บและล้ มลงมีสาเหตุเนื่องมาจากการที่นาย
หม่ำได้ ใช้ อาวุธปื นจี ้ที่ศีรษะของนายโหน่งและได้ พดู จาบังคับให้ นายโหน่งนันใช้้ อาวุธมีด
แทงนายเท่งมิเช่นนันแล้ ้ วนายหม่ำจะใช้ อาวุธปื นยิงนายโหน่งให้ ถงึ แก่ความตายจึง
ทำให้ จงึ ทำให้ เราสามารถอธิบายได้ ว่าการกระทำของนายโหน่งนันอยู ้ ่ภายใต้ อำนาจ
ของนายหม่ำซึง่ ก็คือการบังคับขูเ่ ข็ญว่าจะยิงเสียให้ ตายด้ วยความหวาดกลัวนายโหน่ง
จึงได้ จำต้ องใช้ อาวุธมีดที่ถืออยูแ่ ทงนายเท่งไปหนึ่งครัง้ ดังนันแล้
้ วเมื่อการกระ
ทำความผิดในทางอาญาของนายโหน่งเกิดขึ ้นเพราะความจำเป็ นและก็ถือว่าการกระทำ
ของนายโหน่งนันไม่ ้ ป็นการเกินสมควรแก่เหตุแล้ วมาตรา 67 วรรคท้ ายได้ วางหลัก
เกณฑ์เอาไว้ วา่ ผู้กระทำไม่ต้องรับโทษในทางอาญา
67 วรรค 2 การกระทำความผิดเพราะจำเป็ นตามมาตรา 67 อนุ2 นันมี ้ สาเหตุมา
จากเพราะมีความต้ องการให้ ตนเองหรื อผู้อื่นพ้ นจากภยันตรายที่ใกล้ จะถึงต้ องมีภยั อัน
ใกล้ จะถึงเกิดขึ ้นมาจึงเป็ นสาเหตุทำให้ ผ้ กู ระทำนันจึ
้ งได้ ลงมือกระทำความผิดเพราะ
ความจำเป็ นนัน่ เองและนอกจากมีภยั อันใกล้ จะถึงเกิดขึ ้นแล้ วภัยดังกล่าวนันก็ ้ เป็ น
สาเหตุทำให้ ตวั ผุ้กระทำความผิดไม่สามารถที่จะหลีกเลี่ยงให้ พ้นได้ โดยวิธีอื่นใดและ
ประเด็นที่สำคัญอีกประการภัยอันใกล้ จะถึงนันตั ้ วผู้กระทำความผิดจะต้ องไม่ใช่บคุ คลผู้
ก่อให้ เกิดภัยนันขึ
้ ้นมาเอง
ตย.นายหม่ำวิ่งราวสร้ อยคอทองคำของนายโหน่งแล้ ววิ่งหลบหนีมานาย
เท่งเห็นเหตุการณ์ดงั กล่าวจึงวิ่งไล่ตามนายหม่ำ เมื่อนายหม่ำรู้ว่าตัวเองจวนตัวและวิ่ง
หนีนายเท่งไม่ทนั นายหม่ำจึงจับนางสาวตุ๊กกี ้เป็ นตัวประกันและใช้ อาวุธมีดจี ้ไว้ ที่บริ เวณ
ลำตัวของนางสาวตุ๊กกี ้เมื่อเห้ นดังนันแล้
้ วนายเท่งรอจังหวะที่นายหม่ำเผลอนายเท่งจึง
ใช้ ทอ่ นไม้ ฟาดไปที่บริ เวณศีรษะของนายหม่ำ 1 ครัง้ จนเป็ นสาเหตุให้ นายหม่ำได้ รับ
บาดเจ็บและสลบไป
ดังนันแล้
้ วข้ อเท็จจริ งที่ปรากฎขึ ้นมาทำให้ เราสามารถอธิบายได้
ว่าการกระทำของนายเท่งนันเป็ ้ นการกระทำเพราะต้ องการให้ ผ้ อู ื่นซึง่ ก็คือนางสาวตุ๊กกี ้
พ้ นจากภยันอันตรายที่ใกล้ จะถึงซึง่ ก็คือการที่นายหม่ำได้ ใช้ อาวุธมีดและจี ้บริ เวณลำตัว
รวมถึงจับตัวนางสาวตุ๊กกี ้เป็ นตัวประกันด้ วยนัน่ เองดังนันแล้ ้ วนายหม่ำจึงไม่มีวิธีการอื่น
ใดที่จะหลีกเลี่ยงได้ และการกระทำความผิดดังกล่าวซึง่ ก็คือการที่นายหม่ำใช้ อาวุธมีดจี ้
และจับนางสาวตุ๊กกี ้เป็ นตัวประกันนันนายเท่
้ งก็มิได้ เป็ นผู้ก่อให้ เกิดขึ ้นมาดังนันแล้
้ วการ
ที่นายเท่งใช้ ทอ่ นไม้ ฟาดไปที่ศีรษะของนายหม่ำเพียง 1 ครัง้ นันจึ ้ งถือได้ ว่าเป็ นการ
กระทำที่ไม่เกินกว่าเหตุจงึ เป็ นการกระทำด้ วยความจำเป็ นตามมาตรา 67 อนุ 2 ดัง
นันแล้
้ วนายเท่งจึงไม่ต้องรับโทษฐานทำร้ ายร่างกายนายหม่ำตาม มาตรา 295
ประกอบ มาตรา 59 ประกอบ มาตรา 67 อนุ 2 แห่งประมวลกฎหมายอาญา

You might also like