You are on page 1of 109

ร.ต.ท.

สิทธิพน
ั ธุ ์ สีนวล
รอง สว.ฝอ.บก.สอ.บช.ตชด.

7 ก.พ. 61
่ นของความผิดทางอาญา
การเริมต้

การพิจารณาเรืองเริ
มต่ ้นของความผิดนี ้
จะแบ่งการพิจารณาออกเป็ น 3 ส่วน คือ
1. เจตนา
2. ตระเตรียม
3. พยายาม
1) เจตนา = คิด + ตกลงใจ
เจตนาในทีนี ้ นสภาพทางจิตใจ
่ เป็
การกระทาตามทีกฎหมายบั ่ ญญัตต ิ ้อง
ประกอบด ้วย สภาพทางจิตใจจึงจะเป็ นความผิด
ก่อนทีจะเริ่ ่
มการกระท าอย่างหนึ่ งอย่างใด
ผูก้ ระทาต ้องคิดทบทวนในใจก่อนทีจะตกลงใจ ่
หรือไม่
้ ดและตกลงใจนี เป็
ในขันคิ ้ นการกระทาภายใน
่ ตใจ จะมีผลทางกฎหมายหรือไม่ขนอยู
เป็ นเรืองจิ ึ้ ่
กับการกระทาภายนอกทีแสดงออกมา ่ เพียงแต่คดิ
อยู่ในใจจะชวร ่ ั ้ายเพียงใดหากยังไม่ได ้แสดงออกมา
ภายนอกตามทีคิ ่ ดนั้นยังไม่เป็ นความผิด
2) ตระเตรียม
่ ดและตกลงใจ (เจตนา) แล ้ว จึงหาวิธก
-เมือคิ ี ารในการกระทาตามที่
คิดนั้น

-การตระเตรียมนี โดยปกติ ่ ้นกระทาความผิด
ยงั ไม่ถอื ว่าเป็ นการเริมต

ในฐานะทีเจตนาจะกระท าแต่อาจมีผลบางประการ คือ
1. ในความผิดบางอย่างกฎหมายถือว่าการกระทาในขัน ้
่ อเป็ นความผิดเท่ากับความผิดสาเร็จ
ตระเตรียมก็ร ้ายแรงพอทีจะถื
และ
-บัญญัตใิ ห ้ลงโทษเท่ากับความผิดสาเร็จ เช่น
มาตรา107, 108, 109, 110, 114 และ 128
-หรือถือเป็ นความผิดเท่ากับพยายามกระทา
ความผิด เช่น มาตรา 219 ซึงอาจเป็ ่ นเพราะความยากในการพิสจู น์
ความผิดฐานพยายามวางเพลิงว่าต่างกับตระเตรียมอย่างไร จึง
บัญญัตไิ ว ้ว่า การตระเตรียมหรือพยายามวางเพลิงมีโทษ
เช่นเดียวกัน
3) ลงมือ –พยายาม

ถัดจากขันตระเตรี ่
ยมเพือกระท ้
าความผิด ก็มาถึงขันลงมื อ
กระทาความผิด ซึงถื ่ อว่าเป็ นการเริมต
่ ้นของความผิด กล่าวคือ เมือ ่

เริมลงมื อกระทาความผิดก็เข้าขันพยายามแล้้ ว
้ั มี
ในชนนี ้ หลักในการพิจารณา 2 ประการคือ
1.ตามแนวของศาลฎีกาวางหลักว่า “ขันลงมื ้ อกระทา
ความผิด” จะต้องเป็ นการกระทาทีได้ ่ กระทาลงจนใกล้ชด ิ
กับผลสาเร็จอ ันพึงเห็นได้ประจักษ ์แล้ว ทังนี ้ ย่้ อมอยู่ในดุลพินิจ
ของศาล
2.ตามแนวทางทฤษฎีนีต ้ ้องแยกพิจารณาว่า การกระทา
ความผิดนั้นประกอบด ้วยกรรม ๆ เดียว หรือประกอบด ้วยกรรมหลาย
กรรม กล่าวคือ
ก.ถ ้าการกระทาความผิดประกอบด ้วยกรรม ๆ
เดียวกัน และการกระทานั้น ซึงในทางธรรมชาติ
่ เป็ นอันหนึ่ งอัน
เดียวกับการกระทาความผิด ต ้องเอาการกระทานั้นเป็ นการลงมือ
กระทาความผิด เช่น การยิง การฟัน
ข. ถ ้าการกระทาความผิดประกอบด ้วยกรรมหลาย
4) ความผิดสาเร็จ

หมายถึง การกระทาถึงขันลงมื อนั้น ได ้
กระทาไปจนตลอดและบรรลุผลตามทีผู ่ ้กระทามุ่ง
ประสงค ์
การกระทาความผิดสาเร็จมีได ้เฉพาะกรณี
่ ้องการผลเท่านั้น
ความผิดทีต
6. การกระทาโดยพยายาม
1 . ก า ร พ ยกระท
า ย า มาความผิ
ก ร ะ ท า คด
ว า ม ผิ ด ที่
เป็ นไปไม่ได้โดยบังเอิญ
ม า ต ร า 80 ผู ้ใ ด ล ง มื อ ก ร ะ ท า
ความผิดแต่กระทาไปไม่ตลอด หรือ
กระท าไปตลอดแล้วแต่การกระทา
นั้นไม่ บ รรลุ ผ ล ผู น
้ ้ั นพยายามกระท า
ความผิด

2. การพ ยายามกระ ท าความผิ ด ที่
เป็ นไปไม่ได้อย่างแน่ แท้
มาตรา 81 ผูใ้ ดกระทาการโดยมุ่งต่อ

ผลซึงกฎหมายบั ญ ญัติ เ ป็ นความผิ ด แต่
การกระทานันไม่้ สามารถจะบรรลุผลได้
อย่ า งแน่ แท้ เพราะเหตุ ปั จ จัย ซึงใช้ ่ ใน
การกระทาหรือเหตุแห่งวต ั ถุทมุ ี่ ่งหมาย
กระท าต่ อ ให ถ ้ ้ั นพยายามกระท า
้ ือ ว่ า ผู น
ความผิด แต่ ใ ห ล้ งโทษไม่ เ กิน กึงหนึ ่ ่ งของ
โทษที่กฎหมายก าหนดไว ส้ าหร บ ั ความผิด
3. การพยายามกระท าความผิดโดยการ

ยับยังหรื
อกลับใจแก้ไข
ม า ต ร า 82 ผู ้ ใ ด พ ย า ย า ม ก ร ะ ท า
ความผิด หากยับ ยังเสี ้ ยเองไม่ กระทาการ
ให ต ้ ลอด หรือ กลับใจแก้ไ ขไม่ ใ ห ก ้ าร
กระท านั้ นบรรลุ ผ ล ผู น ้ ้ั นไม่ ต อ
้ งร บ
ั โทษ
สาหรบั การพยายามกระทาความผิดนั้น แต่
ถ า้ ก า ร ที่ ไ ด ก
้ ร ะ ท า ไ ป แ ล ้ว ต ้อ ง ต า ม บ ท
กฎหมายที่บัญ ญัติเ ป็ นความผิด ผู น ้ ้ั นต อ้ ง

1. พยายามกระทาความผิด
ธรรมดา/ความบังเอิญ
การพยายามกระทาความผิดธรรมดา (มาตรา 80)
ประกอบด ้วยหลักเกณฑ ์ 3 ประการ คือ
• ผูก้ ระทาจะต ้องมีเจตนากระทาความผิด
• ผูก้ ระทาจะต ้องลงมือกระทาความผิดแล ้ว
• ผูก้ ระทากระทาไปไม่ตลอด หรือกระทาไปตลอด
แล ้วแต่การกระทา นั้นไม่บรรลุผล
่ นไป
2. การพยายามกระทาความผิดทีเป็
ไม่ได้อย่างแน่ แท้

การพยายามกระทาความผิดซึงการกระท ่ านั้นไม่
สามารถบรรลุผลได ้อย่างแน่ แท ้ (มาตรา 81)
ประกอบด ้วยหลักเกณฑ ์ 3 ประการ
• ผูก้ ระทาการต ้องมีเจตนากระทาความผิด
• ่
โดยมุ่งต่อผลซึงกฎหมายบั ญญัตเิ ป็ นความผิด
• การกระทาไม่สามารถบรรลุผลได ้อย่างแน่ แท ้
เพราะ เหตุปัจจัยซึง่ ใช ้ในการกระทา หรือเหตุ
แห่งวัตถุทมุ ี่ ่งหมายกระทาต่อ
 การพยายามกระท าความผิ ด ม.80 นั้ นเป็ นการ
กระท าที่ ไม่ บ รรลุ เจตนาของผู ้ก ระท า เมื่ อยังไ ม่
บรรลุ ผ ลก็ย งั ไม่ เ ป็ นความผิด ส าเร็จ โดยสาเหตุ ข อง
การไม่บรรลุผลนันมี ้ 2 ประการคือ

 1) กระทาไปไม่ตลอด หมายถึงการกระทาทีผู ่ ก้ ระทาลงมือ


กระท าความผิ ด แล ว้ แต่ ที่ความผิ ดไม่ ส าเร็จ เพราะการกระท านั้ นได ้
กระทาไปไม่ตลอด จะดว้ ยเหตุผลใดก็ตาม เช่น นายแดงยกปื นเล็งไปยัง
นายดาแลว้ แต่เกิดสงสารไม่ย อมลั่นไกยิง นายดา หรือ เพราะนายขาว
เห็ นเหตุการณ์อยู่ร ้องตะโกนบอกนายดา นายดาจึงรู ้ตัว นายแดงจึงไม่
อาจยิงนายดาได ้ หรือ กรณี ทฆ่ ี่ าคนโดยการวางยาพิษโดยใส่ไ วบ้ นโต๊ะ
อาหาร ตราบใดทีที่ คนที
่ ่ กวางยายังไม่มากินยาพิษนั้ นก็ถอ
ถู ื ว่าเป็ นการ
กระทาไปไม่ตลอด เป็ นต ้น

 2) กระท าไปตลอดแล้ว แต่ ก ารกระท าไม่ บรรลุ ผ ล


หมายถึงผู ก้ ระทาไดก้ ระทาทุกๆ อย่างทีผู ่ ก้ ระทาตอ้ งกระทาแลว้ รอแต่
เพียงผลบรรลุเท่านั้นแต่ว่าผลทีต ่ อ้ งการใหเ้ กิดนั้นไม่เกิดขึนตามเจตนา

เช่น นายแดงตอ้ งการฆ่านายดา จึงเอาลั่นไกปื นยิงนายดา ปรากฏว่า
่ั
กระสุนปื นไม่ลนหรื ่
อลันและถู กนายดา แต่นายดาไม่ตาย หรือกรณี ของ
การวางยาพิ ษในอาหารผู ท ้ ี่ถู ก วางยาได ก ้ ิน อาอาหารที่ใส่ ย าพิ ษไป

การพยายามกระทาความผิดทีไม่ ่
สามารถจะบรรลุผลได้อย่างแน่ แท้
ม.81
่ สามารถจะบรรลุผล
 การพยายามกระทาความผิดทีไม่
ไดอ้ ย่างแน่ แทน้ ้ั น หลักเกณฑ ์ก็เช่นเดียวกันกับการ
พยายามกระทาความผิดตาม ม. 80
 จะแตกต่ า งกัน ตรงที่การพยายามกระท าความผิ ด
ต า ม ม . 8 0 นั้ น
เกิดไม่ บ รรลุผ ลเป็ นความผิดส าเร็จ นั้ นเป็ นเรืองของ

ความบังเอิญ
 แต่การไม่ บรรลุผลของการพยายามกระทาความผิด
สาที่มารถจะบรรลุ ผ ลได อ้ ย่ า งแน่ แท ต้ าม ม.81 นั้ น
่ ในการกระทาผิด
 1) เหตุปัจจัยทีใช้

 นายแดงต อ้ งการฆ่ า นายด า โดยใช ้ปื นยิง ปรากฏว่ า


กระสุ น ปื น ด า้ น นายด าจึ งไม่ ตาย เช่ น นี ้ เ ป็ นการ
พยายามกระท าความผิ ด ตาม ม.80 เพราะการที่
่ งเอิญเพราะเหตุปัจจัยทีใช
กระสุนดา้ นนั้นเป็ นเรืองบั ่ ้ใน
่ งเอิญ)
การกระทา (กระสุนด ้านเป็ นเรืองบั

 นายแดงต อ
้ งการฆ่ า นายด า จึง เอาปื นยิ งไปนายด า
ปรากฏว่านายแดงไม่ทราบว่าปื นทีน ่ าไปยิงนาย
ดานั้นไม่มล ี ู กกระสุนหรือเป็ นปื นปลอม นายดาจึง
ไม่ ต าย เช่ น นี ้ จะเห็ นว่ า การฆ่ านายด านั้ นไม่ อ าจ

บรรลุผลได ้อย่างแน่ แท ้ เพราะปื นทีนายแดงใช ้ยิงนายดา
นั้ นไม่ อาจจะฆ่ านายดาใหถ้ งึ ตายได ้ ไม่ ใช่เรืองบั
่ งเอิญ
ตาม ม. 80 แต่เป็ นเรืองที ่ ่ สามารถบรรลุผลไดอ้ ย่าง
ไม่
แน่ แท ้ ตาม ม.81 เพราะเหตุปัจจัยทีใช ่ ้ในการกระทา
ี่ ่งหมายกระทาต่อ
 2) เหตุแห่งวัตถุทมุ

 นายแดงต ้องการฆ่านายดา จึงเดินไปใต ้ถุนบ ้านของนายดา แต่


นายดาทราบก่อนว่านายแดงจะมาฆ่าตน จึงได ้ไปนอนในอีกหอ้ ง
หนึ่ ง เมือนายแดงเอาปื
่ ้
นยิงขึนไปในห ่
้องทีคาดว่ านายดานอนอยู่
้ นเรืองบั
นายดาจึงไม่ตาย กรณี เช่นนี เป็ ่ งเอิญ ไม่ใช่เรืองที
่ ไม่

สามารถบรรลุผลได ้อย่างแน่ แท ้ จึงเป็ นการพยายามกระทา
ความผิดตาม ม.80 เพราะเหตุแห่งวัตถุทมุ ี่ ่งหมายกระทาต่อ

่ ้านของนายดา เห็นเงา
 นายแดงต ้องการฆ่านายดา จึงเข ้าไปทีบ
ดาๆ นั่งอยู่ในรถทีจอดไว
่ ้ใต ้ถุนบ ้านนายดา นายแดงเข ้าใจว่าเป็ น
นายดา แต่ความจริงนายดานอนอยู่บนบ ้าน แดงจึงใช ้ปื นยิงเบาะ
รถนั้น กรณี เช่นนี จะเห็
้ ่
นว่า การทีนายแดงเอาปื นยิงเบาะรถโดย
เข ้าใจว่าเป็ นนายดานั้นเป็ นการกระทาทีไม่ ่ อาจจะทาให ้นายดา
ตายได ้อย่างแน่ แท ้ เพราะเหตุแห่งวัตถุทมุี่ ่งหมายกระทาต่อ ไม่ใช่
เรืองบั ้
่ งเอิญแต่อย่างใด ดังนี นายแดงย่ อมมีความผิดเป็ นการ
พยายามกระทาความผิดตาม ม.81
 "การลงมือพยายาม" กระทาความผิดใน
ความผิดต่อชีวต
ิ และร่างกาย กรณี ใช้อาวุธ
ปื น

 - คาพิพากษาฎีกาที่ 556/2502 มีเจตนาจะฆ่า จึงคว ้า



ปื นบาเร็ตต ้าขึนมากระชากลู ่ แต่กระชากไม่ถงึ ที่
กเลือน
ึ ้ ากล ้อง ได้ใช้นิวสอดเข้
กระสุนปื นไม่ขนล ้ าไปทีไก ่
ปลายกระบอกปื นตรงไปทางผู เ้ สียหาย แต่มผ ื่
ี ูอ้ น
มาล็อกคอและแย่งปื นไป ย่อมเป็ นความผิดฐาน
พยายามฆ่าผู ้อืน ่

 - คาพิพากษาฎีกาที่ 147/2504 การทีจ


่ าเลยยกปื น
่ ้อมจะยิงได้ จ้องไปทางเจ้าพนักงานตารวจ
ทีพร
่ าลังกอดปลาจั
ซึงก ้ บกุมพวกของจาเลยโดยเจตนาที่

 - คาพิพากษาฎีกาที่ 1868/2512 การทีจ ่ าเลยใช้ปืนที่

ขึนนกแล้ วจ้องจะยิงห่างจากอกผู เ้ สียหายเพียง 1 ศอก
้ แต่มผ
และยิงปื นขึน ื่ บมือจาเลยข ้างทีถื
ี ูอ้ นจั ่ อปื นให ้เบนไป
แมก้ ระสุนปื นจะไม่ถก
ู ผูเ้ สียหายก็ตาม ย่อมถือได ้ว่าจาเลยได ้
กระทาไปโดยเจตนาตาม มาตรา 59 แต่การกระทานั้นไม่
บรรลุผล จาเลยจึงมีความผิดฐานพยายามฆ่าผูเ้ สียหาย

 - คาพิพากษาฎีกาที่ 1765/2521 จาเลยกระชากลูกเลือน ่


ปื นคาบิน กระสุนเข ้าร ังเพลิงพร ้อมจะยิงได ้ จ้องเล็งไปทาง

ผู เ้ สียหายซึงอยู ่ห่าง 10 เมตร แต่ถก ู ขัดขวางเสีย เป็ น
พยายามฆ่าคนโดยเจตนา

่ ด
 - ฎ 870/2526 ผูเ้ สียหายกับจาเลยทะเลาะกัน ในทีสุ
่ าอกผู เ้ สียหาย และขึนนกจะ
จาเลยช ักปื นเล็งไปทีหน้ ้
ยิงในระยะห่างประมาณ 1 เมตรเศษ สามีจาเลยเข ้าจับมือ
 "การตระเตรียม" กระทาความผิดในความผิดต่อชีวต
ิ และ
ร่างกาย กรณี ใช้อาวุธปื น
 คาพิพากษาฎีกาที่ 1647/2512 จาเลยไม่พอใจผูเ้ สียหายและพูดว่า
๋ ง ผูเ้ สียหายท ้าให ้ยิง จาเลยควก
เดียวยิ ั ปื นออกมา ปากกระบอกเพิง่
พ้นจากเอว ยังไม่ทน ั หันมาทางผู เ้ สียหาย ถูกผูเ้ สียหายแย่งไปได ้
การชักปื นออกมา เป็ นเพียงเตรียมการเอาปื นออกมาเท่านัน ้ ยัง

ไม่ถงึ ขันลงมื อ ปื นยังไม่พน ้ จากเอว จาเลยอาจทาท่าขู่กไ็ ด้ ยัง
ไม่พอฟังว่ามีเจตนาจะฆ่า จึงยังไม่เป็ นพยายามกระทาความผิดตาม ม
80
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 1120/2517 ขณะทีเจ ่ ้าพนักงานตารวจเข ้าจับกุม

จาเลย จาเลยได้ช ักอาวุธปื นสันออกจากเอว แล้วกระชากลู ก

เลือนเพื ่
อให้กระสุนเข้าลากล้อง แต่เจ ้าพนักงานตารวจวิงเข ่ ้ามา
ขัดขวางป้ องกัน มิให ้จาเลยกระชากลูกเลือนได ่ ้ และแย่งปื นจากจาเลย
ไป ดังนี ้ จาเลยยังไม่อยู ่ในสภาพพร ้อมจะยิง จาเลยจึงไม่มค ี วามผิด
ฐานพยายามฆ่า (แต่ในข ้อหาต่อสู ้ขัดขวางเจ ้าพนักงานนั้น น่ าจะถึงขัน ้
ผิดสาเร็จแล ้ว)
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 2604/2526 จาเลยไม่พอใจหาว่าผูเ้ สียหายเป็ น
กรรมการตัดสินการแข่งขันฟุตบอลไม่ยต ุ ธิ รรม จึงกลับไปบ ้านนาเอา
อาวุธปื นสันมี ้ กระสินบรรจุอยู่ แล ้วขับรถจักรยานยนต ์เข ้าไปจอดใน
 คาพิพากษาฎีกาที่ 2143/2536
ป.อ. มาตรา 80, 236
จาเลยเอายาเบือหนู่ ้ มของผู
ใส่ในโอ่งนาดื ่ ้เสียหายโดยมีเจตนาฆ่า
ผูเ้ สียหาย แต่ผูเ้ สียหายทราบเสียก่อนไม่ยอมดืมน่ าดั
้ งกล่าว
ผูเ้ สียหายจึงไม่ถงึ แก่ความตาย การกระทาของจาเลยเข ้าลักษณะ
เป็ นการปลอมปนเครืองอุ ่ ปโภคบริโภคเพือบุ ่ คคลอืนเสพหรื
่ อใช ้
และการปลอมปนนั้นน่ าจะเป็ นเหตุให ้เกิดอันตรายแก่สข ุ ภาพ
จาเลยจึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 236 และ
มาตรา 288 ประกอบมาตรา 80กรณี เป็ นกรรมเดียวผิดต่อ
กฎหมายหลายบท ลงโทษตามมาตรา 288 ประกอบมาตรา 80
่ นบทหนักตามมาตรา 90
ซึงเป็
 คาพิพากษาฎีกาที่ 7037/2547
ป.วิ.อ. มาตรา 192
ป.อ. มาตรา 80, 358
คาว่า "ฉี ด" ตามพจนานุ กรม ให ้ความหมายไว ้ว่า "ใช ้กาลังอัด
หรือดันของเหลวพุ่งออกจากช่องเล็ก ๆ" ดังนั้น กระบอกฉี ดยาที่
ไม่มเี ข็มฉี ดยาก็สามารถฉี ดของเหลวเข ้าสูร่ า่ งกายกระบือโดยทาง
ปากหรือทางทวารได ้ และเมือข้ ่ อเท็จจริงฟั งได้วา ่ จาเลยมี
กระบอกฉี ดยาบรรจุสารพิษไว้แล้ว และจาเลยกาลังจับ
เชือกทีผู ่
่ กกระบือของผู เ้ สียหายซึงพร ่
้อมทีจะลงมื อฉี ด
สารพิษใส่เข้าไปในตัวกระบือ การกระทาของจาเลยดังนี ้
ใกล้ชด ิ ต่อผลแห่งการกระทาให้เสียทร ัพย ์ถือว่าเป็ นการ
ลงมือกระทาความผิดแล้วแต่กระทาไปไม่ตลอดเพราะ
ผู เ้ สียหายมาพบและเข้าขัดขวางเสียก่อน จาเลยจึงมี
ความผิดฐานพยายามทาให ้เสียทร ัพย ์ และเมือศาลฎี ่ กาฟังว่า

ข ้อเท็จจริงทีปรากฏในการพิ จารณาดังกล่าวถือว่าจาเลยได ้ลงมือ

กระทาความผิดพ้นขันตระเตรี ยมการแล ้ว จึงถือไม่ได ้ว่าแตกต่าง
 คาพิพากษาฎีกาที่ 2757/2552
 ป.อ. มาตรา 80, 81, 218 (1)

 จาเลยใช ้ไฟแช็กแก๊สจุดไฟบริเวณทีราดน ้ นซึงเป็
ามั ่ นพืน้
ปูนซีเมนต ์และประตูหน้าบ ้านของผูเ้ สียหายซึงเป็่ นประตูเหล็ก แต่
วัตถุดงั กล่าวหาใช่วา่ จะไม่สามารถติดไฟได ้เลยอย่างแน่ แท ้ไม่
เพราะนามั้ นเบนซินเป็ นวัตถุไวไฟติดไฟง่ายสามารถเผาผลาญ
้ อไฟติ
ปูนซีเมนต ์และเหล็กได ้ ทังเมื ่ ดแล ้วอาจจะลุกลามกระจายเป็ น
วงกว ้างไปไหม้บ ้านของผูเ้ สียหายได ้ การทีจ่ าเลยจุดไฟไม่ตด
ิ จึง
เป็ นเหตุบงั เอิญมากกว่า การกระทาของจาเลยจึงไม่เป็ นความผิด
ฐานพยายามกระทาความผิดทีไม่ ่ สามารถบรรลุผลได ้อย่างแน่ แท ้
ตาม ป.อ. มาตรา 81 แต่เป็ นความผิดฐานพยายามซึงอาจ ่
บรรลุผลได ้ตาม ป.อ. มาตรา 80
 คาพิพากษาฎีกาที่ 980/2502
ป.อ. มาตรา 80, 81, 288

ี่
 กรณี ทจะปร ้
ับด้วยประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 81 นัน

เกียวกั บปั จจย ่ ในการกระทาผิดไม่สามารถจะกระทาให้
ั ซึงใช้
บรรลุผลได้อย่างแน่ แท้ เช่น ใช้ปืนทีมิ ่ ได้มก
ี ระสุนบรรจุอยู ่เลย
ยิงคน โดยเข้าใจผิดคิดว่ามีกระสุนบรรจุอยู ่พร ้อมแล้ว ซึง่
อย่างไรๆ ก็ย่อมจะทาให้ผูถ ้ ู กยิงได้ร ับอ ันตรายจากการยิงมิได้
่ ั ้ จึงจะถือได้วา
เลย ดงนี ่ เป็ นกรณี ทไม่ ี่ สามารถบรรลุผลได้อย่าง
แน่ แท้

่ กระสุนบรรจุอยู่ถงึ 7 นัดยิงโจทก ์ร่วม กระสุนนัดแรก


 จาเลยใช ้ปื นทีมี

ด้านไม่ระเบิดออกซึงอาจเป็ นเพราะกระสุ นเสือมคุ ่ ณภาพหรือ
เพราะเหตุบงั เอิญอย่างใดไม่ปรากฏ มิฉะนั้นแล ้ว กระสุนก็ต ้องระเบิด
ออกและอาจเกิดอันตรายแก่โจทก ์ร่วมได ้ หาเป็ นการแน่ แท้ไม่ว่าจะ
ไม่ ส ามารถกระท าให้ผู ถ ้ ู ก ยิงได้ร บ
ั อน ั ตรายจากการยิง ของ

จาเลยเช่นนันกรณี ้ องปร ับด้วย มาตรา 80 ไม่ใช่มาตรา 81
นีต้
และถา้ หากไม่มีคนเข า้ ขัดขวางจาเลยไวท ้ น
ั ท่วงที จาเลยอาจยิ งโจทก ์
่ งเหลือบรรจุอยู่น้ันต่อไปอีกก็ได ้ ย่อมเห็นชัดว่า ไม่ใช่
ร่วมด ้วยกระสุนทียั
 คาพิพากษาฎีกาที่ 711/2513
ป.อ. มาตรา 80, 81, 288
ในกรณี ทจี่ าเลยใช ้ปื นซึงเคยรู
่ ่
้มาก่อนแล ้วว่ากระสุนอาจจะลันได้ ยงิ
ผู เ้ สียหาย แต่กระสุนปื นไม่ลน ่ ั ย่อมมีความผิดฐานพยายามฆ่าผูอ้ น ื่
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288, 80 มิใช่ 288, 81
 คาพิพากษาฎีกาที่ 783/2513
ป.อ. มาตรา 80, 81, 288
จาเลยใช ้ปื นยิงผูเ้ สียหาย ปรากฏว่ากระสุนปื นทีจ่ าเลยใช ้ยิงนั้นเป็ น
กระสุนปื นด้านใช้ยงิ ไม่ได้ แต่จาเลยเข ้าใจว่ายังคงใช ้ได ้จึงใช ้ยิง
ผูเ้ สียหาย ถึงแม้ข ้อเท็จจริงฟังได ้ว่ากระสุนของกลางนัดนี เคยใช ้ ้ยิงมา
ก่อนแล ้ว 3 ครง้ั กระสุนด ้าน จาเลยนามาใช ้ยิงครงนี ้ั อี
้ กเป็ นครงที
้ั ่ 4
กระสุนก็ด ้านอีก ย่อมเห็นได้วา ่ าเลยนากระสุนด้าน
่ การทีจ
ดังกล่าวมาใช้ยงิ ผู เ้ สียหายและกระสุนยังคงด้านไม่ระเบิดออก
นัน ้ เป็ นแต่เพียงการทีเป็ ่ นไปไม่ได้โดยเผอิญ หาเป็ นการแน่ แท้
ว่าจะไม่สามารถทาให้ผูถ ้ ู กยิงได้ร ับอ ันตรายจากการยิงของ
จาเลยเช่นนันไม่ ้ การกระทาของจาเลยจึงไม่เข ้าลักษณะพยายาม
กระทาความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 81 กรณี ต ้องปร ับ
ด ้วยประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 80
(ประชุมใหญ่ครงที ้ั ่ 14/2513)
 คาพิพากษาฎีกาที่ 1623/2527
ป.อ. มาตรา 59, 80, 91, 288
จาเลยใช ้ขวดตีผู ้เสียหายขณะนอนหลับจนผูเ้ สียหายได ้รบั
อันตรายแก่กายผู ้เสียหายพยายามลุกขึนนั ้ ่ ง จาเลยเตะผูเ้ สียหาย
่ เ้ สียหายพยายามจะลุกขึนนั
ล ้มลง เมือผู ้ ่ งอีก จาเลยก็พูดว่า 'จะสู ้
หรือ' แล ้วใช ้อาวุธปื นยิงผูเ้ สียหาย พฤติการณ์ของจาเลยดังกล่าว
แสดงว่าจาเลยมีเจตนาฆ่าผูเ้ สียหาย จาเลยทราบว่าปื นที่
จาเลยใช้ยงิ ผู เ้ สียหายมีกระสุนบรรจุอยู ่ ทีกระสุ ่ นด้านไม่
ระเบิดอาจเป็ นเพราะกระสุนเสือมคุ ่ ณภาพหรือเป็ นเหตุ
บังเอิญประการอืน ่ หาเป็ นการแน่ แท้วา ่ จะ ไม่สามารถทา
ให้ผูเ้ สียหายได้ร ับอ ันตรายจากการยิงของจาเลย ไม่ การ
กระทาของจาเลยจึงเป็ นความผิดฐานพยายามฆ่าผู ้อืน ่ ตาม
มาตรา 288,80 จาเลยเพิงมี ่ เจตนาฆ่าผูเ้ สียหายหลังจากทาร ้าย
ผูเ้ สียหายจนได ้รับอันตรายแก่กายไปแล ้ว เพราะเข ้าใจว่าผูเ้ สียหาย

จะลุกขึนมาต่ อสู ้ ดังนั้น ทีจ่ าเลยทาร ้ายผูเ้ สียหายจนได ้ร ับอันตราย
แก่กายกับพยายามฆ่าผูเ้ สียหายจึงเป็ นการกระทาอันเป็ นความผิด
 คาพิพากษาฎีกาที่ 1446/2513
ป.อ. มาตรา 80, 81, 288
ผูเ้ สียหายรู ้ตัวล่วงหน้าว่าจาเลยจะมายิงจึงย้ายจากห้องทีเคย ่
นอนไปนอนทีระเบี ่ ยงจาเลยใช ้ปื นแก๊ปยิงไปตรงทีที ่ ผู
่ เ้ สียหาย
เคยนอน กระสุนปื นจึงไม่ถก ู ผูเ้ สียหาย เช่นนี ถื้ อว่า ผู เ้ สียหาย
รู ้ตัวและหลบไปโดยบังเอิญ อีกประการหนึ่ งเมือผู ่ เ้ สียหาย
ยังคงอยู ่ในเรือน กระสุนปื นก็อาจถู กผู เ้ สียหายได้ การ
กระทาของจาเลยจึงมิใช่เป็ นเรืองที ่ ่ สามารถบรรลุผลได้
ไม่
โดยแน่ แท้ เพราะเหตุแห่งวัตถุทมุ ี่ ่งหมายกระทาต่อตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 81 แต่เป็ นความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 ประกอบมาตรา 80
(ประชุมใหญ่ครงที ้ั ่ 29/2513)

 ความผิดเกียวก บ
ั เพศ

 - คาพิพากษาฎีกาที่ 4166/2547 พฤติการณ์ของจาเลยนับแต่จงู


่ นอน
ผูเ้ สียหายไปทีที ่ ถอดกางเกงผูเ้ สียหายออกและใช ้อวัยวะเพศของ
จาเลยยัดใส่อวัยวะเพศของผูเ้ สียหาย ผูเ้ สียหายเจ็บแต่ร ้องไม่ออกเพราะ
่ าเลยทาอยู่นาน ผูเ้ สียหายเจ็บจนกระทังมี
จาเลยใช ้มือบีบคอไว ้ ซึงจ ่ น้าสี
ขาวออกมาจากอวัยวะเพศของจาเลย อากัปกิรยิ าเช่นนี ของจ ้ าเลยเห็น
ได ้ชัดเจนว่าจาเลยเจตนาชาเราผูเ้ สียหาย และได ้ลงมือกระทาชาเรา
ี่
แล ้ว แต่ทการกระท าไม่บรรลุผลเป็ นเพราะอวัยวะเพศของ
ผู เ้ สียหายมีขนาดเล็กเนื่ องจากเป็ นเด็กหญิงอายุเพียง 8 ปี เป็ น
เหตุให้จาเลยไม่สามารถสอดใส่อวัยวะเพศของตนล่วงลาเข้ ้ าไป
ในอว ัยวะเพศของผู เ้ สียหายได้ จาเลยจึงมีความผิดฐาน
พยายามข่มขืนกระทาชาเราผู เ้ สียหาย หาใช่เจตนาเพียงกระทา
อนาจารไม่
 การพยายามกระทาชาเราทีไม่ ่ สามารถบรรลุผลได ้อย่างแน่ แท ้ตาม ป.อ.
มาตรา 81 ต ้องเป็ นกรณี ทเกีี่ ยวกั
่ ึ่ ้ในการกระทา
บปัจจัยหรือวัตถุซงใช
ผิดไม่สามารถบรรลุผลได ้อย่างแน่ แท ้ เช่น หญิงไม่มชี อ่ งคลอด ผิดปกติ
่ างไร ๆ อวัยวะเพศชายก็ไม่สามารถสอดใส่อวัยวะ
มาแต่กาเนิ ด ซึงอย่
เพศของตนเข ้าไปในอวัยวะเพศของหญิงดังกล่าวได ้ แต่สาหร ับใน
กรณี ของจาเลยทีไม่ ่ สามารถสอดใส่อวัยวะเพศของตนเข้าไป
ในอวัยวะเพศของผู เ้ สียหาย มิได้เกิดจากความผิดปกติทช่ ี่ อง
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๐๘๒/๒๕๔๙ "นายเอกซึงเป็ ่ น
คนขับรถนามั ้ นปี นขึนไปบนถั
้ งนามั ้ นและตัดซีลทีผนึ
่ กฝาถังนามั้ น
ออกเพือลั่ กนามั
้ น แต่ยงั ไม่ได ้เปิ ดฝาถังนามั
้ นก็ถก
ู เจ ้าพนักงาน
ตารวจจับได ้เสียก่อน การตัดซีลทีผนึ ่ กฝาถังนามั
้ นออก เป็ นการ
กระทาทีใกล่ ้ชิดกับผลสาเร็จของความผิด ถือว่านายเอกลงมือ
กระทาความผิดฐานลักทร ัพย ์ทีเป็ ่ นของนายจ ้างแล ้ว แต่นายเอกยัง
้ นไป ถือว่านายเอกยังกระทาไปไม่ตลอด นายแดง
ไม่ได ้ดูดเอานามั
และนายเอกจึงมีความผิดฐานพยายามลักทร ัพย ์ทีเป็ ่ นของ
่ ดกันส
นายจ้าง โดยทาอันตรายสิงกี ้ าหร ับคุม
้ ครองทร ัพย ์
ตามมาตรา ๓๓๕(๓), (๑๑)"

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๕๗๒๕/๒๕๕๔ "จาเลยที่ ๑ เพียงแต่


นั่งคร่อมรถจักรยานยนต ์เพือจะใช
่ ้กุญแจผีไขรถจักรยานยนต ์ของ
ผูเ้ สียหาย โดยยังไม่ได ้เอารถออกไป เป็ นการลงมือลักทรัพย ์แล ้ว แต่
กระทาไปไม่ตลอดเพราะเจ ้าพนักงานตารวจและผูเสี ้ ยหายมาถึงที่
เกิดเหตุกอ ่ น ทาให ้จาเลยที่ ๑ เอารถจักรยานยนต ์ของผูเ้ สียหายไป

 พิพากษาศาลฎีกาที่ 6585/2557
 จุดด่านตรวจทีจั ่ บกุมจาเลยได ้อยู่ห่างจากเรือนจาประมาณ
10 กิโลเมตร เป็ นจุดตรวจค ้นพบของกลางเท่านั้น ยังไม่ใช่จด ุ
ปฏิบต ั ก ่ นซึงจ
ิ ารบังคับเครืองบิ ่ าเลยเคยมาทดสอบการใช ้เครืองบิ ่ น
เฮลิคอปเตอร ์บังคับด ้วยวิทยุมาแล ้ว ฉะนั้น เมือจ ่ าเลยจะปฏิบต ั ก
ิ าร
่ นเฮลิคอปเตอร ์ส่งโทรศัพท ์เคลือนที
บังคับเครืองบิ ่ ่
และอุ ปกรณ์เข ้า

เรือนจาจึงอยู่ใกล ้เรือนจาซึงสามารถกระท าได ้ การกระทาของ
จาเลยถือว่าได ้ลงมือกระทาความผิดแล ้ว แต่กระทาไปไม่ตลอด
เนื่ องจากเจ ้าพนักงานตารวจจับกุมจาเลยได ้เสียก่อน การกระทา
ของจาเลยจึงเป็ นความผิดฐานร่วมกันพยายามนา

โทรศัพท ์เคลือนที ่
และอุ ปกรณ์ซงเป็ึ่ นสิงของต
่ ้องห ้ามเข ้าไปใน
เรือนจา อันเป็ นการฝ่ าฝื นระเบียบหรือข ้อบังคับของเรือนจา
 คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3211/2560
 จาเลยที่ 1 ลงมือกระทาความผิดตามทีมี
่ ผูว้ า่ จ ้างให ้ไปรับเมทแอม
่ ดเหตุซงถู
เฟตามีนในทีเกิ ึ่ กซุกซ่อนอยู่บริเวณโคนเสาป้ าย
สัญญาณจราจรทางโค ้ง โดยลงจากรถไปยืนทีบริ ่ เวณดังกล่าว
่ ดหมายไว ้ อันเป็ นเหตุการณ์ใกล ้ชิดกับความผิดสาเร็จ แต่
ตามทีนั
จาเลยที่ 1 กระทาไปไม่ตลอดเพราะถูกเจ ้าพนักงานตารวจมาพบ
และถูกจับกุมได ้เสียก่อน จึงเป็ นการพยายามกระทาความผิดฐานมี
เมทแอมเฟตามีนไว ้ในครอบครองเพือจ ่ าหน่ าย
 คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 6984/2558
 ้
จาเลยทังสามบุ ่ บร ักษาสายไฟฟ้ า
กรุกเข ้าไปในสถานทีเก็
้ งทาร ้ายผูเ้ สียหายซึงครอบครองดู
ทังยั ่ แลสถานทีนั ่ ้น อันเป็ นส่วน
หนึ่ งของการปล ้นทร ัพย ์ จึงเป็ นการลงมือกระทาความผิดฐานปล ้น

ทร ัพย ์ไม่ใช่แค่เพียงตระเตรียมการ แม้จาเลยทังสามจะ
หลบหนี ไปก่อนโดยไม่แตะต้องสายไฟฟ้าก็เป็ นการลงมือ
กระทาความผิดแล้วแต่กระทาไปไม่ตลอด การกระทาของ

จาเลยทังสามจึ งเป็ นการร่วมกันพยายามกระทาความผิดฐานปล ้น
ทร ัพย ์
ต ัวอย่างทีศาลฎีกาได้วนิ ิ จฉัยว่าเป็ น
การพยายามตามมาตรา 81 ให้ศก ึ าษา
จากฎีกาต่อไป
 คาพิพากษาฎีกาที่ 3502/2548
ป.อ. มาตรา 81, 289
จาเลยโกรธผู ้เสียหายเนื่ องจากถูกทวงเงินค่านามั้ นแล ้วขับขี่
รถจักรยานยนต ์เสียงดังใส่หน้าผูเ้ สียหาย ต่อมาประมาณ 30 นาที
จึงกลับมาใช ้อาวุธปื นแก๊ปยิงผูเ้ สียหาย กรณี ไม่ใช่เกิดโทสะแล ้วยิง
ผูเ้ สียหายทันที หากแต่เกิดโทสะและออกจากทีเกิ ่ ดเหตุแล ้ว
ประมาณ 30 นาที ซึงมี ่ ดไตร่ตรอง ถือว่ามีเจตนาผูอ้ น
่ เวลาทีจะคิ ื่
่ าเลยยิงผู เ้ สียหายในระยะห่าง
โดยไตร่ตรองไว ้ก่อน แต่เมือจ
20 เมตร กระสุนปื นถู กบริเวณคอด้านหน้าขวาและ
บริเวณชายโครงขวาด้านหน้าทังสองแห่ ้ งมีบาดแผล
ขนาด 0.5 เซนติเมตร ไม่มค ี วามลึก ร ักษาหายภายใน 7
วัน แสดงว่ากระสุนปื นไม่มค ี วามรุนแรงพอทีจะท ่ าให้ถงึ แก่
ความตายได้อย่างแน่ แท้ เพราะเหตุอาวุธปื นซึงเป็ ่ นปั จจัย
่ ในการกระทาความผิด จึงเป็ นการกระทาความผิดตาม
ทีใช้
 คาพิพากษาฎีกาที่ 1080/2547
ป.อ. มาตรา 59, 81
จาเลยใช้อาวุธปื นลู กซองสันเล็ ้ ่ เวณ
งยิงผู เ้ สียหายทีบริ
หน้าอกในระยะห่างเพียง 1.5 เมตร โดยปกติกระสุนปื นจะ
กระจายออกเป็ นวงทาให ้ผูเสี ้ ยหายถึงแก่ความตายได ้ กลับปรากฏ
ว่าผู เ้ สียหายมีบาดแผลถลอก และไม่พบบาดแผลทีบริ ่ เวณ

อืนของร่ างกาย แพทย ์ลงความเห็นว่าใช้เวลาในการร ักษา
5 ถึง 7 วัน และผูเ้ สียหายเบิกความยืนยันว่ากระสุนปื นไม่ทะลุ
ร่างกายและไม่ทะลุเสือ้ แสดงให ้เห็นว่า กระสุนปื นไม่มค ี วาม
รุนแรงพอทีจะท ่ ้
าอ ันตรายทะลุเสือและผิ วหนังเข้าสู ร
่ า่ งกาย
ของผู เ้ สียหาย อาวุธปื นทีจ ่ าเลยใช้ยงิ ผู เ้ สียหายจึงไม่มค ี วาม
ร ้ายแรงพอทีจะท ่ าให้ผูเ้ สียหายถึงแก่ความตายได้อย่างแน่
่ นปัจจัยทีใช
แท้ เพราะเหตุอาวุธปื นซึงเป็ ่ ้ในการกระทาความผิด
การกระทาของจาเลยจึงเป็ นการพยายามกระทาความผิดตาม ป.อ.
มาตรา 81 วรรคหนึ่ ง
 คาพิพากษาฎีกาที่ 2721/2546
ป.วิ.อ. มาตรา 227
ป.อ. มาตรา 65, 81, 288
จาเลยใช้อาวุธปื นลู กซองยาวขนาด 12 ยิงผู เ้ สียหายใน
ระยะอยู ่หา
่ งกันประมาณ7 วา ซึงโดยปกติ่ ย่อมมีความ

รุนแรงมากทังกระสุ นปื นกระจายออกเป็ นวง โอกาสทีจะยิ ่ ง
พลาดเป้ าหมายในระยะดังกล่าวแทบไม่มี เมือเสื ่ อที
้ ผู
่ เ้ สียหายสวมใส่
ในขณะถูกยิงมีรอยกระสุน 5 แห่ง เป็ นกลุม ่ แต่ละรอยห่างกัน
ประมาณ 1 ถึง 2 นิ ว้ ไม่มรี อยใดเป็ นรู ทะลุเสือ้ เพียงปรากฏ
เป็ นรอยเท่านัน ้ กลุ่มรอยกระสุนปื นอยู ่บริเวณใต้ชายโครง
ซ ้ายและหน้าท้องด้านซ ้าย แสดงว่ากระสุนปื นทัง้ 5 ลู ก
ถู กร่างกายของผู เ้ สียหายบริเวณดังกล่าวแต่ไม่มค ี วาม
รุนแรงพอทีจะท่ ้
าอ ันตรายทะลุเสือและผิ วหนังเข้าไปสู ่
อวัยวะภายในร่างกายผู เ้ สียหายได้ อาวุธปื นทีจ่ าเลยยิง จึงไม่มี
ความร ้ายแรงพอทีจะท่ าให ้ผูเ้ สียหายถึงแก่ความตายได ้อย่างแน่ แท ้
่ นปัจจัยทีใช
เพราะเหตุอาวุธปื นซึงเป็ ่ ้ในการกระทาความผิด การ
กระทาของจาเลยจึงเป็ นการพยายามกระทาความผิดตามประมวล
กฎหมายอาญามาตรา 81 วรรคหนึ่ ง
 คาพิพากษาฎีกาที่ 1560/2529
ป.อ. มาตรา 81
จาเลยใช้ปืนยิงร.ในระยะใกล้เพียง1วากระสุนปื นถู กร.ลึก
ฝั งใต้ผวิ หนังร ักษา10วันหายและกระสุนปื นพลาดไปถู กช.
บาดแผลผิวหนังฉี กขาดตืนร ้ ักษา5วันหายไม่ได ้ความจาก
ั อาจถึงแก่ความตายได ้แสดงว่าอาวุธปื นที่
แพทย ์ว่าถ ้าร ักษาไม่ทน
จาเลยใช ้ยิงไม่อาจทาให ้ผู ้ถูกยิงถึงตายได ้ถือว่าจาเลยมุ่งประสงค ์จะ
ฆ่าแต่ปืนอันเป็ นปัจจัยในการทีจ่ าเลยใช ้ยิงไม่บรรลุผลอย่างแน่ แท ้
ต ้องด ้วยประมวลกฎหมายอาญามาตรา81.
ความผิดนัน้
มี 2 ประเภท คือ
้ ยเองไม่กระทาการให้ตลอด
1. การยับยังเสี
2. การกลับใจแก้ไขไม่ให้การกระทานัน ้
บรรลุผล
การพยายามกระทาความผิดนั้นไม่วา่ จะ
เป็ นการพยามยามกระทาความผิดโดยเหตุ
บังเอิญตาม ม.80 และการพยายามกระทา
่ นไปไม่ได ้อย่างแน่ แท ้ตาม ม.81 ก็
ความผิดทีเป็
ตาม
้ ยเองไม่กระทาไป
หากผู ้กระทาได ้ยับยังเสี
ให ้ตลอด เช่น ยกปื นเล็งไปยังผู ้เสียหายแล ้ว แต่
 ผลของการถอนตัวออกจากการกระทาความผิด
 มาตรา 82 ผู”้ ใดพยายามกระทาความผิด...ผู ้นั้นไม่ต ้อง
ร ับ โทษสาหร ับการพยายามกระทาความผิดนั้น แต่ถ ้าการทีได ่ ้
กระทาไป แล ้วต ้องบทกฎหมายทีบั ่ ญญัตเิ ป็ นความผิด ผูน ้ ้ันต ้อง
ร ับโทษสาหร ับ ความผิดนั้น ๆ”
 ไม่ต ้องร ับ โทษสาหร ับการพยายามกระทาความผิดนั้น
หมายความว่า ความผิดทีได ่ ้เจตนากระทาเมือได ่ ้ยับยังหรื
้ อกลับใจ
แก ้ไข ผูน้ ้ันก็ไม่ต ้องร ับโทษสาหร ับการพยายามการพยายาม
กระทาความผิดนั้น เช่น นายแดงต ้องการฆ่านายดา นายแดงลวง
นายดาไปในป่ า แล ้วใช ้ปื นยิงนายดา นายดาถูกยิง แต่นายแดง
เกิดความรู ้สึกสงสารนายดา จึงได ้พานายดาออกจากป่ าและส่ง
โรงพยาบาล นายดาจึงไม่ตาย เช่นนี นายแดงย่ ้ อมได ้ร ับผลดีตาม
ม.82 คือไม่ต ้องร ับโทษฐานพยายามฆ่านายดา แต่การทีได ่ ้กระทา
ไป แล ้วต ้องบทกฎหมายทีบั ่ ญญัตเิ ป็ นความผิด ผูน้ ้ันต ้องร ับโทษ
สาหร ับ ความผิดนั้น ๆ ดังนี เมื ้ อนายแดงใช
่ ้ปื นยิงนายดา แม้ไม่
 การยับยัง้ หรือกลับใจ ของผูพ
้ ยายามกระทาความผิด
้ วยความสมัครใจ ต้องถึงขันลงมื
 - ต้องยับยังด้ ้ อแล้ว เช่น ยัง
ไม่เล็ง กลับโยนปื นทิง้ เท่ากับยังไม่ลงมือ ไม่เป็ น ม 82 และต้องไม่

ถึงขันความผิ ดสาเร็จ เช่น บุกรุกเพือลั ่ กทร ัพย ์ ฐานบุกรุก
สาเร็จแล ้ว ไม่เป็ น ม 82 แต่ฐานลักทร ัพย ์ได ้ ม 82

 การยับยังและกลั บใจโดยผู ้กระทาความผิดเอง
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 508/2529 จาเลยท ้าทาย ธ.ให ้มาสู ้กัน และ
่ แทงจนถึงหน้าบ ้าน ธ.จึงหยุดไล่ ต่อมาจาเลยถือปื นยาว
วิงไล่

เมือใกล้ ถงึ ตัว ธ. ก็จอ ้ งปื นมายัง ธ.โดยนิ วมื้ อสอดเข้าไปใน

โกร่งไกปื น ธ.วิงหนี ่
จาเลยไม่ได ้วิงตาม โดยกลับใจเอาปื นมา
จ้อง ว.แทน ทังที ้ มี่ โอกาสจะยิง ธ.ได ้จึงเป็ นการยับยังเสี
้ ยเอง
ไม่กระทาการให้ตลอด เมือจ ่ าเลยจ ้องปื นไปทาง ว. ว. พูดว่าไม่
่ และหลบเข ้าไปทางหลังบ ้าน จาเลยก็เดินไปอีกทางหนึ่ ง โดย
เกียว
ไม่ตามเข ้าไปยิง ว. ทังที้ มี
่ โอกาสจะยิงได ้ จึงเป็ นการยับยังเสี
้ ยเอง
ไม่กระทาการให ้ตลอด จาเลยจึงไม่ต ้องร ับโทษในความผิดฐาน
 กรณี ไม่ใช่การยับยัง้ หรือกลับใจแก้ไขเสียเอง แต่เกิดจาก
เหตุปัจจัยภายนอก ไม่ได้ร ับยกเว้นโทษตาม ม 82
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 147/2504 เล็งแล ้วไม่ยงิ เพราะกลัวถูกพวก
เดียวกัน ผิด ม 289 (2) + 80 (ไม่ได ้ ม 82 เพราะการไม่ยงิ เกิด
จากปัจจัยภายนอก ไม่ใช่การยับยังเสี ้ ยเอง) การทีจ่ าเลยยกปื นที่
พร ้อมจะยิงได ้ จ ้องไปทางเจ ้าพนักงานตารวจ ซึงก ่ าลังกอดปลา้
จับกุมพวกของจาเลยโดยเจตนาทีจะยิ ่ ง แม้ยงั มิทน ้
ั ขึนนกปื นก็ตาม
ก็เป็ นพยายามกระทาผิดฐานฆ่าเจ ้าพนักงานผูก้ ระทาการตาม
หน้าทีแล ่ ้ว เพราะการลงมือยิงได ้เริมต
่ ้นขึนแล
้ ้
้วตังยกปื ่ ้อมจะ
นทีพร
ยิงได ้เล็งไปยังเป้ าหมาย
 คาพิพากษาฎีกาที่ 1766/2509 เล็งปื นแล ้วไม่ยงิ เพราะกลัวถูก
แม่ตนเองทียื ่ นด ้วยกัน ผิดพยายามฆ่า (ไม่ถอ ื ว่ายับยัง้ เพราะเป็ น
เหตุภายนอก ไม่ใช่ “ยับยังเสี ้ ยเอง”) จาเลยช ักปื นซึงมี่ กระสุน
บรรจุอยู่ออกมา แล ้วกระชากลูกเลือนขึ ่ ้ ากล ้อง เล็งไปยัง
นล
ี่
้ อแตะอยู่ทไกปื
ผูเ้ สียหาย นิ วมื ่ งโจทก ์ร่วมจาเลยยังไม่
นพร ้อมทีจะยิ
ยิงทันที เพราะเกรงกระสุนจะถูกมารดาโจทก ์ร่วม ประกอบกับพวก
ของจาเลยเข ้าแย่งปื นจากจาเลยไป จาเลยจึงยิงโจทก ์ร่วมไม่สาเร็จ
 การลงมือไปส่วนหนึ่ งแล้ว ยับยังหรื
้ อกลับใจ ตามแนวคิดของ อ
เกียรติขจร ไม่ได้ร ับยกเว้นโทษตาม ม 82
 คาพิพากษาฎีกาที่ 3688/2541 จาเลยใช ้มีดยาวทังด ้ ้ามรวม 8 นิ วแทง

ผูเ้ สียหายหลายครง้ั โดยเฉพาะบาดแผลทีท ่ ้องซึงเป็
่ นอวัยวะสาคัญ เป็ น
เหตุให ้กระเพาะอาหารและตับฉี กขาด จาเลยย่อมเล็งเห็นผลแห่งการ
กระทาว่าจะเป็ นเหตุให ้ผูเ้ สียหายถึงแก่ความตายได ้ ถือได ้จาเลยมีเจตนา
้ าเลยได ้กระทาผิดไปโดยตลอดแล ้ว การทีจ่ าเลยไม่แทง
ฆ่าผูเ้ สียหาย ทังจ
้ ก และช่วยพาผูเ้ สียหายลงจากตึกทีเกิ
ผูเ้ สียหายซาอี ่ ดเหตุไป
ร ักษาพยาบาล ไม่ใช่เป็ นการยับยังไม่้ กระทาการให ้ตลอด หรือกลับใจ
แก ้ไขไม่ให ้การกระทาบรรลุผลตาม ป.อ. มาตรา 82 จาเลยเป็ นฝ่ ายก่อ
เหตุทาร ้ายก่อน และเป็ นการสมัครใจต่อสูท้ าร ้ายซึงกั ่ นและกัน จาเลยจะ
อ ้างว่าเป็ นการป้ องกันโดยชอบด ้วยกฎหมาย หรือกระทาโดยบันดาล
โทสะไม่ได ้
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 5089/2542 จาเลยมีเจตนาฆ่าผูเ้ สียหาย และได ้
ลงมือกระทาความผิดไปตลอด ครบองค ์ประกอบของความผิดฐาน
พยายามฆ่าแล ้ว แม้ผูเ้ สียหายไม่ตายสมดังเจตนา ก็เป็ นกรณี ทการ ี่
กระทานั้นไม่บรรลุผล การทีจ่ าเลยทิงมี ้ ดโต ้ แล ้วไปสวมกอดผูเ้ สียหาย
เพราะความร ักผูเ้ สียหายและร ักลูก โดยเกิดจากความรู ้สึกนึ กคิดของ
7.ข้อแตกต่างระหว่างตัวการ
ผู ใ้ ช้ และผู ส
้ นับสนุ น
 ตัวการ
 คาว่า "ตัวการ" เป็ นคาเก่าแก่ในทางกฎหมายอาญาของ
่ ความหมายเป็ นการเฉพาะ
ไทยเราและเป็ นคาทีมี

มาตรา ๘๓ บัญญัตวิ า
่ "ในกรณี ความผิดใดเกิดขึน ้
โดยการกระทาของบุคคลตังแต่ ้ ้
สองคนขึนไป ี่ รว่ ม
้ ได้
ผู ท

กระทาความผิดด้วยกันนันเป็ นตัวการ ต้องระวางโทษ

ตามทีกฎหมายก าหนดไว้สาหร ับความผิดนัน" ้

พึงสังเกตถ ้อยคาในกฎหมายทีว่่ า "ร่วมกระทาความผิด


ด ้วยกัน" ดังนั้น "ตัวการ" จึงเป็ นผูก้ ระทาความผิดประเภทหนึ่ ง
คือเป็ น "ผูร้ ว่ มกระทาความผิดด ้วยกัน"*๑
 หลักจากมาตรา ๘๓ แยกได ้ดังนี ้
๑. เป็ นการกระทาความผิดโดยเจตนา

๒. ในระหว่างบุคคลตังแต่ ้
๒ คนขึนไป
๓. โดยมีการกระทาร่วมกัน ในขณะ
กระทาความผิด
๔. โดยมีเจตนากระทาร่วมกัน ในขณะ
กระทาความผิด
 ๑. เป็ นการกระทาความผิด
๑.๑ หากการกระทานั้นไม่เป็ นความผิด ผูท้ ร่ี่ วมกระทาก็ไม่เป็ น
ตัวการ เพราะตัวบทใช ้คาว่าร่วม "กระทาความผิด" ด ้วยกัน
๑.๒ หากการกระทานั้นได ้กระทาไปไม่ถงึ ขันที ้ กฎหมายบั
่ ญญัตวิ า่
เป็ นความผิด ผูท้ ร่ี่ วมกระทาความผิดก็ไม่เป็ นตัวการ

๒. ในระหว่างบุคคลตังแต่ ้ ้
๒ คนขึนไป
ตัวการตามมาตรา ๘๓ หมายถึงบุคคลตังแต่ ้ ้
๒ คนขึนไปร่ วม
กระทาความผิดด ้วยกัน หากคนๆ เดียวทาผิด ไม่ถอื ว่าเป็ นตัวการ
ตามมาตรา ๘๓ บุคคลตังแต่ ้ ้
๒ คนขึนไปนี ้
คนหนึ ่ งอาจเป็ นนิ ต ิ
บุคคล อีกคนหนึ่ งเป็ นบุคคลธรรมดาก็ได ้
 ๓. โดยมีการกระทาร่วมกัน ในขณะกระทาความผิด
การกระทาร่วมกันมีหลายกรณี ดังนี ้
๓.๑ หมายถึง การร่วมกระทาส่วนหนึ่ งของการ

กระทาทังหมดที ่
รวมกันเป็ นความผิดขึน ้
ตัวอย่าง
(ฎีกาที่ ๕๕๙/ ๒๕๑๔)

จาเลยร่วมกับพีชายของจ าเลยทาร ้ายผู ้ตาย โดยจาเลยเป็ น

คนแทง พีชายของจ ่
าเลยเป็ นคนยิง จาเลยและพีชายของจ าเลยมี
ความผิดฐานเป็ นตัวการฆ่าผูอ้ น ื่
๓.๒ หมายถึง การแบ่งหน้าทีกันท ่ า
ตัวอย่าง
(ฎีกาที่ ๕๖๕/ ๒๕๐๒)

แม้จาเลยมิได ้ลงมือกระทาการปล ้น เพียงร ับหน้าทีคอยแจ ้ง
สัญญาณอันตรายให ้พวกทราบ ซึงเป็ ่ นการกระทาส่วนหนึ่ งเพือให ่ ้
การปล ้นบรรลุสาเร็จ ก็เรียกได ้ว่าจาเลยได ้เป็ นตัวการกระทาความผิด
ฐานปล ้นทร ัพย ์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๓ แล ้ว
 ๓.๓ หมายถึง การอยู ่รว ่ ดเหตุในลักษณะ
่ มหรือใกล้เคียงกับทีเกิ
่ ้อมจะช่วยเหลือก ันได้ทน
ทีพร ั ที
ตัวอย่าง
(ฎีกาที่ ๓๓๖๘/ ๒๕๒๙)
จาเลยไปกับ ส. ด ้วยในขณะที่ ส. ยิง ฉ. กับพวก กระสุนปื นถูก
ก. แม ้จาเลยมิใช่ผูย้ งิ แต่จาเลยเป็ นบิดา ส. ตรงทีเกิ ่ ดเหตุเป็ นป่ าโดย
ปกติจะไม่มผ ี ูส้ ญ ่ ดเหตุแล ้วจาเลยวิงหนี
ั จรไปมา เมือเกิ ่ ไปกับ ส. ดังนี ้
จาเลยร่วมกับ ส. กระทาความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
๘๓, มาตรา ๒๘๘
๓.๔ หมายถึง การอยู ่รว่ มในทีเกิ ่ ดเหตุและก่อให้ผูอ ื่
้ นกระท า
ความผิด
ตัวอย่าง
(ฎีกาที่ ๒๕๐๔/ ๒๕๑๕)*๓
ผูต้ ายเป็ นหลานของ ท. ท.กับสามีไปทวงหนี จากสามี ้ จาเลยเกิด
ทะเลาะกันจนเกือบจะต่อสูกั ้ นผูต้ ายเข ้าห ้ามและว่าให ้ไปพูดกันทีบ ่ ้าน

สามี เมือไปพู ่ ต้ ายกลับ
ดกันก็ทะเลาะกันอีก ผูต้ ายเข ้าห ้ามไว ้อีก เมือผู
บ ้านแล ้วหลังจากนั้น ๑ ชัวโมง่ จาเลยกับสามีและชายอีกคนหนึ่ งมาร ้อง
ตามหาผูต้ าย พอผูต้ ายออกมาชายทีมากั ่ บจาเลยถามว่าคนไหนคือ
 ๔. มีเจตนากระทาร่วมกันในขณะกระทาความผิด
ี่
หมายความว่า ผูท้ กระท าการร่วมกันนั้น จะต ้องรู ้ถึงการ
กระทาของกันและกันและต่างต ้องประสงค ์ถือเอาการกระทาของแต่
ละคนเป็ นการกระทาของตนด ้วย กล่าวคือ มุ่งหมายให ้ความผิด
นั้นสาเร็จดุจทาด ้วยตนเอง ถึงแม้จะมิได ้ทาจริงด ้วยมือของตนเอง
ก็ตาม*๔
ตัวอย่าง
(ฎีกาที่ ๗๑๘/ ๒๕๑๑)
จาเลยสมคบกับพวกไปฉุ ดคร่าผู ้เสียหายเพือข่ ่ มขืนกระทา
ชาเรา มิได ้มุ่งประสงค ์ต่อทร ัพย ์ แต่พวกจาเลยได ้ล ้วงกระเป๋ าเอา
ทร ัพย ์ของพวกผู ้เสียหายอีกคนหนึ่ งไปด ้วย เป็ นเหตุการณ์ท ี่

เกิดขึนในฉั บพลันทันทีจะฟั งว่าจาเลยรู ้เห็นกับพวกในการ
ลักทร ัพย ์ด้วยมิได้ จาเลยคงผิดฐานฉุ ดคร่าและข่มขืนกระทา
ชาเราเท่านั้น

 ข้อสังเกตเกียวกับเจตนากระท าร่วมกัน
ถ ้าผูก้ ระทามีเจตนากระทาร่วมกันแล ้ว หากมีผลปั้นปลาย
เกิดขึน้ ซึงเป็
่ นผลทีผู ่ ล้ งมือกระทาต ้องร ับผิดแม้ไม่มเี จตนา
ผูก้ ระทาทุกคนก็ย่อมต ้องร่วมกันร ับผิดในผลบันปลายนั้ ้นด ้วย
ตัวอย่าง
แดงและดาร่วมกันทาร ้ายขาว ด ้วยมีการแบ่งหน้าทีกั ่ นทา
โดยแดงเป็ นคนใช ้ไม้ตห ี วั ขาว ดาเป็ นคนดูต ้นทางอยู่ใกล ้ๆ ขาว
ได ้รับบาดเจ็บ ต่อมาขาวตาย แดงมีความผิดตามมาตรา ๒๙๐ ดา
ก็เช่นกัน โดยเป็ นตัวการตามมาตรา ๘๓ ถึงแม้วา่ ตอนแรกดาจะมี
เจตนากระทาความผิดตามมาตรา ๒๙๕ เท่านั้นร่วมกับแดงก็ตาม
ผูใช
้ ้
มาตรา ๘๔ บัญญัตวิ า ่ "มาตรา ๘๔ ผู ใ้ ดก่อให้ผูอ ื่
้ นกระท า
ความผิดไม่วา ่ ด้วยการใช้ บังคับ ขู่เข็ญ จ้าง วานหรือยุยงส่งเสริม
หรือด้วยวิธอ ี นใด ื่ ผู น ้ั
้ นเป็ นผู ใ้ ช้ให้กระทาความผิด
ถ้าความผิดมิได้กระทาลงไม่วา ่ จะเป็ นเพราะผู ถ ้ ู กใช้ไม่
ยอมกระทา ยังไม่ได้กระทา หรือเหตุอนใด ื่ ผู ใ้ ช้ตอ้ งระวางโทษ
เพียงหนึ่งในสามของโทษทีก ่ าหนดไว้สาหร ับความผิดนัน ้
ถ้าผู ถ ้ ู กใช้ได้กระทาความผิดนัน ้ ผู ใ้ ช้ตอ ้ งร ับโทษเสมือน
เป็ นตัวการ และถ้าผู ถ ้ ู กใช้เป็ นบุคคลอายุไม่เกินสิบแปดปี ผู พ ้ ก ิ าร
ผู ท
้ ุพพลภาพ ลู กจ้างหรือผู ท ี่ ่ใต้บงั คบ
้ อยู ั บัญชาของผู ใ้ ช้ ผู ท ี่
้ มี
ฐานะยากจน หรือผู ต ้ อ ่
้ งพึงพาผู ใ้ ช้เพราะเหตุป่วยเจ็บหรือไม่วา ่
ทางใด ให้เพิมโทษที ่ ่
จะลงแก่ ึ่
ผูใ้ ช้กงหนึ ่ งของโทษทีศาลก ่ าหนด
สาหร ับผู น ้ั
้ น"


ตามทีประมวลกฎหมายอาญาได ้บัญญัตไิ ว ้ดังกล่าวแล ้ว ทาให ้เรา

ี่ ถ
๑. กรณี ทผู ้ ู กใช้ได้กระทา
ความผิด
ผูใ้ ช ้ต ้องร ับโทษเสมือนเป็ นตัวการ คือเสมือนได ้กระทาความผิด
นั้นโดยตนเองและประมวลกฎหมายอาญาเรียกผู ้นั้นว่า "ผูใ้ ช ้ให ้
กระทาความผิด" โดยได ้วางองค ์ประกอบสาหรับการเป็ นผูใ้ ช ้ใหเกระ
ทาความผิดไว ้ดังนี ้
ื่
๑.๑ ต ้องก่อให ้ผูอ้ นกระท าการอย่างใดอย่าวหนึ่ ง
๑.๒ การกระทาตามทีก่ ่ อให ้ผู ้อืนกระท
่ าการนั้นเป็ นความผิดทาง
อาญา
๑.๓ ต ้องมีเจตนาทีจะก่ ่ อให ้ผูอ้ นกระท
ื่ าการนั้นๆ ด ้วย
ี่
๒. กรณี ทความผิ
ดมิได้กระทาลง
ผูใ้ ช ้ต ้องระวางโทษเพียงหนึ่ งในสามของโทษทีก ่ าหนดไว ้สาหร ับ
ความผิดนั้น มาตรา ๘๔ วรรคสองได ้กาหนดกรณี ทความผิ ี่ ดตามทีใช่ ้มิได ้
กระทาลงไว ้ ๓ กรณี กล่าวคือ
๑.๑ ความผิดมิได้กระทาลงเพราะผู ถ ้ ู กใช้ไม่ยอมกระทา ซึง่
หมายความถึงกรณี ๒ กรณี กล่าวคือ
(๑) ผูถ้ ก ู ใบ ้ไม่ยอมร ับปากว่าจะกระทาตามทีใช ่ ้ประการหนึ่ ง
(๒) ผูถ้ ก ู ใช ้ยอมร ับปากว่าจะกระทาตามทีใช ่ ้แล ้ว แต่ภายหลังเกิด
กลับใจไม่ยอมกระทาตามทีใช ่ ้อีกประการหนึ่ ง
้ แสดงว่
ทังนี ้ ่
า เพียงทีออกปากใช ้ให ้บุคคลกระทาความผิด ไม่วา่ จะ
เป็ นความผิดอาญาสามัญหรือความผิดลหุโทษ ผูใ้ ช ้ก็มค ี วามผิดทันที คือ
ต ้องระวางโทษหนึ่ งในสามของโทษทีได ่ ้กาหนดไว ้สาหร ับความผิดทีใช ่ ้ แต่
ถ ้าภายหลังผูถ้ ก ู ใช ้ได ้กระทาความผิดตามทีใช ่ ้ ผูใ้ ช ้ก็มค ี วามผิดเสมือน
เป็ นตัวการ
๑.๒ ความผิดมิได้กระทาลงเพราะผู ถ ้ ู กใช้ยงั มิได้กระทา ซึง่
หมายความถึงเป็ นกรณี ทผู ี่ ถ้ ก ่
ู ใช ้ร ับปากทีจะกระท าแล ้ว แต่ยงั มิได ้กระทา
เช่น ผูถ้ ก
ู ใช ้ถูกจับกุมเสียก่อนลงมือกระทา เป็ นต ้น

การกระทาความผิดโดยทางอ้อม
การกระทาทาความผิดโดยทางอ ้อมนี ต่ ้ างกับเรืองผู
่ ใ้ ช ้ เพราะในเรือง ่
ผูใ้ ช ้นั้น ผูก้ ระทาการตามทีใช ่ ้ต ้องร ับผิดอาญาในฐานะกระทาความผิดโดย
เจตนา แต่ในกรณี การกระทาความผิดทางอ ้อมนี ้ ผูถ้ ก ่ อไม่
ู ใช ้เป็ นเครืองมื
ต ้องร ับโทษตามกฎหมายในฐานะเดียวกันกับผูใ้ ช ้ ดังนั้น การกระทา
ความผิดโดยทางอ้อมจึงอาจเกิดได้จาก
๑. การใช ้เด็กอายุไม่เกิน ๗ ปี ให ้กระทาความผิด (ตามมาตรา ๗๓)
๒. การใช ้ผูท้ ไม่ี่ สามารถรู ้ผิดชอบ หรือไม่สามารถบังคับตนเองได ้
เพราะเป็ นผูม้ จี ต ิ บกพร่อง โรคจิต หรือจิตฟั่นเฟื อน (ตามมาตรา ๖๕) ให ้
กระทาความผิด
ี่ สามารถรู ้ผิดชอบ หรือไม่สามารถบังคับตนเองได ้
๓. การใช ้ผูท้ ไม่
เพราะเสพสุราหรือสิงมึ ่ นเมาอย่างอืน ่ ซึงผู
่ เ้ สพไม่รู ้ว่าสิงนั
่ ้นจะทาให ้มึนเมา
หรือได ้เสพโดยถูกขืนใจให ้เสพ (ตามมาตรา ๖๖) เป็ นเครืองมื ่ อกระทา
ความผิด
๔. การใช ้บุคคลทีส ่ าคัญผิดในข ้อเท็จจริงให ้กระทาความผิด โดย
บุคคลนั้นไม่มค ี วามผิดหรือไม่ต ้องร ับโทษ
๕. การใช ้ให ้บุคคลกระทาความผิดโดยประมาท
๖. การใช ้บุคคลทีไม่ ่ มค ี ณ
ุ สมบัตท ี่
ิ จะเป็ นผูก้ ระทาความผิดได ้ ให ้
กระทาความผิด
๗. การใช ้บุคคลให ้กระทาตามคาสังของตนที ่ ่ ชอบด ้วยกฎหมาย
มิ
สรุปหลักเกณฑ ์ของการเป็ น
"ผู ใ้ ช้"
๑. ผูใ้ ช ้จะต ้องมีเจตนากระทาความผิดนั้น
ู ใช ้กระทาความผิดนั้น
๒. ผูใ้ ช ้จะต ้องมีเจตนา "ก่อ" ให ้ผูถ้ ก
เจตนาอาจเป็ น "ประสงค ์ต่อผล" หรือ "เล็งเห็นผล" ก็ได ้
ู ใช ้จะต ้องกระทาความผิดนั้นโดยเจตนา
๓. ผูถ้ ก

หากผูใ้ ช ้หรือผูห้ ลอกมีเจตนากระทาความผิด แต่ผูถ ้ ู กใช้


หรือถูกหลอกขาดเจตนากระทาความผิดเราเรียกผู ้ใช ้หรือผูห้ ลอก
นั้นว่า "ผูก้ ระทาความผิดโดยทางอ ้อม" ส่วนผูถ้ ก
ู ใช ้หรือถูกหลอก
่ อในการกระทา
เรียกว่า "Innocent Agent" หรือผูเ้ ป็ นเครืองมื
ความผิดของผูอ้ น ื่
 มาตรา ๘๕/๑ ถา้ ผูถ
้ ูกใช ้ตามมาตรา ๘๔ หรือ
ผูก้ ระทาตามคาโฆษณา หรือประกาศแก่บุคคล
ทั่วไปใหก้ ระทาความผิดตามมาตรา ๘๕ ไดใ้ ห ้
ขอ้ มูลสาคัญอันเป็ นการเปิ ดเผยถึงการกระทา
ความผิ ด ของผู ใ้ ช ใ้ ห ก
้ ระท าความผิ ด หรือ ผู ้
โฆษณาหรือ ประกาศแก่บุ ค คลทั่วไปให ก ้ ระท า
ความผิ ด และเป็ นประโยชน์อ ย่ า งยิ่ งต่ อ การ
ดาเนิ นคดีแก่บุคคลดังกล่าว ศาลจะลงโทษผูน ้ ้ัน
น้อ ยกว่ า อัต ราโทษขันต้ ่ าที่ก าหนดไว ส้ าหร บ ั
ความผิดนั้นเพียงใดก็ได ้
ผูสนั
้ บสนุ น
 มาตรา ๘๖ บัญญัตวิ า่ "ผู ใ้ ดกระทา
ด้วยประการใดๆ อ ันเป็ นการช่วยเหลือ
หรือให้ความสะดวกในการทีผู ่ อ ื่
้ นกระท า
ความผิดก่อนหรือขณะกระทาความผิด
แม้ผูก้ ระทาความผิดจะมิได้รู ้ถึงการ
ช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกนันก็ ้ ตาม ผู ้
้ ป็นผู ส
นัน้ ้ นับสนุ นการกระทาความผิด
ต้องระวางโทษ สองในสามส่วนของโทษที่
กาหนดไว้สาหร ับความผิดทีสนั ่ บสนุ น
 การกระทาอันเป็ นการช่วยเหลือให ้ความสะดวกนั้น จะเป็ นด ้วยวิธ ี
ใดก็ได ้ แต่จะต ้องมีขนก่ ึ ้ อน หรือ ขณะกระทาความผิด เช่น ให ้ปื น
ไปยิงคน นาทางไปปล ้น ขับรถ ขับเรือไปคอยรอร ับ ไปส่ง ในการ
ลักทร ัพย ์ หรือหาเครืองมื ่ อเครืองไม้
่ ให ้ใช ้ในการกะทาความผิด
เป็ นต ้น
 และไม่วา ่ ผู ก
้ ระทาความผิดจะรู ้ถึงการช่วยเหลือนันหรื ้ อไม่
ก็ตามไม่เป็ นข้อสาคัญ หรือให ้อาวุธไปปล ้น แม้เวลาปล ้นไม่ได ้
ใช ้อาวุธนั้น ก็เป็ นผูส้ นับสนุ นได ้ และแม้ความผิดจะไม่สาเร็จก็เป็ น
การสนับสนุ นให ้พยายามได ้
 ข ้อสาคัญคือ ผูก ้ ระทาความผิดจะต ้องได ้รับความช่วยเหลือนั้น
มิฉะนั้นแล ้วการสนับสนุ นก็ไม่เกิด เช่น ก. คนใช ้ของ ข. โกรธ ข.
จึงเปิ ดหน้าต่างทิงไว ้ ้เพือให
่ ้คนร ้ายเข ้ามาลักทร ัพย ์ หากคนร ้ายไม่
มาหรือไม่เข ้าทางหน้าต่างดังกล่าว การช่วยเหลือของ ก. ไม่
ประสบผลก็ไม่มก ี ารสนับสนุ น หรือจะให ้ปื นไปยิงคน แต่ผูก้ ระทา
ไม่รู ้หรือไม่ร ับเท่ากับยังไม่มก ี ารช่วยเหลือ แต่ถ ้านัดแนะกับคนร ้าย
ตามมาตรา ๘๖ สามารถแยก
องค ์ประกอบหลักได้ดงั นี ้
๑. ต้องมีการกระทาความผิดเกิดขึน ้ หมายถึงมีการ
้ กฎหมายบั
กระทาเข ้าขันที ่ ้
ญญัตเิ ป็ นความผิด เช่นเข ้าขันพยายาม
ตามมาตรา ๘๐ (หรือตระเตรียมในบางกรณี ) เป็ นต ้นไป หากไม่มก ี าร
กระทาความผิดก็ไม่มผ ี สนั
ู ้ บสนุ น
ตัวอย่าง
ก. ให ้ ข. ยืมปื นของ ก. ไปใช ้ในการฆ่า ค. ซึงเป็่ นศัตรูของ
ข. ข. เดินถือปื นไปถึงบ ้านของ ค. เห็น ค. กาลังเล่นอยู่กบ ั ลูก ข.
เกิดสงสารจึงไม่ลงมือยิง ค. เช่นนี ถื ้ อว่า ข. มิได ้กระทาความผิดฐาน
ฆ่า ค. แต่อย่างใด ก. จึงไม่เป็ นผูส้ นับสนุ น จะถือว่าพยายาม
สนับสนุ นก็ไม่ได ้เพราะสนับสนุ นไม่มพ ี ยามยาม
 ๒. กระทาด้วยประการใดๆ อ ันเป็ นการ
ช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกในการทีผู ่ อ ื่
้ น
กระทาความผิดทีได้ ่ เกิดขึนนั
้ น ้
๒.๑ การกระทาอันเป็ นการช่วยเหลือหรือให ้
ความสะดวกนี ้ มีความหมายกว ้างไม่จากัดว่าจะต ้อง
ทาด ้วยวิธห ี นึ่ งวิธใี ดโดยเฉพาะ แม่การช่วยเหลือ
หรือให้ความสะดวกจะเป็ นแต่เพียงส่วนหนึ่งที่
ทาให้เกิดความผิดเกิดขึน ้ ก็ถอื เป็ นการสนับสนุ น
ได ้
ตัวอย่าง
ฎีกาที่ ๔๐๘๖/ ๒๕๓๖
คนงานของโรงงานรู ้ว่าโรงงานทีตนท ่ าเป็ น
่ ได ้ร ับอนุ ญาต และรู ้ว่าไม้สก
โรงงานทีไม่ ั แปรรูปทีใช่ ้

ทาเครืองประดิ ่ ถก
ษฐ ์เป็ นไม้แปรรูปทีไม่ ู ต ้องตาม
 ๒.๒ การช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกนัน ้
ไม่จาเป็ นว่าจะต้องช่วยเหลือหรือให้ความ
สะดวกกันตรงๆ อาจช้วยกันเป็ นทอดๆ ก็ได้
ตัวอย่าง

ก. รู ้ว่า ข. ต ้องการได ้ปื นเพือไปใช ้ในการฆ่า
ค. ก. ไม่รู ้จักกับ ข. ก. นาปื นของตนไปมอบให ้แก่ ง.
่ นเพือนของ
ซึงเป็ ่ ่ ้ ง. นาไปให ้ ข. เช่นนี ้
ข. เพือให
หาก ข. ยิง ค. โดยใช ้ปื นของ ก. ก็ถอื ว่า ก. เป็ น
้ ที่ ก. ไม่รู ้จักกับ ข. เลยก็ตาม
ผู ้สนับสนุ น ข. ได ้ทังๆ
 ๒.๓ การช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกอาจจะ
กระทาโดยการใช้คาพู ดก็ได้
 ๒.๔ การนิ่ งเฉยเสียไม่ละเว้นห้ามปรามมิให้ม ี
การกระทาความผิดนันไม่ ้ ถอ ื ว่าเป็ นการ
 ๓. โดยเจตนาช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกในการ
่ อ
ทีผู ื่
้ นกระท าความผิดทีได้่ เกิดขึนนั
้ น้
เจตนาอาจเป็ นประสงค ์ต่อผล หรือเล็งเห็นผลก็ได ้
การกระทาของผู้ชว่ ยเหลือหรือให ้ความสะดวกนั้นอาจ
แสดงให ้เห็นว่ามีเจตนาหรือไม่

๔. "ก่อน" หรือ "ขณะ" กระทาความผิด

 ข้อสังเกต
ี่ ได ้เป็ นตัวการเพราะไม่มก
ผู้ทไม่ ี ารกระทาร่วมกัน
ขณะกระทาความผิด อาจเป็ นผูส้ นับสนุ นได ้หากมีการ
ช่วยเหลือหรือให ้ความสะดวก "ก่อน" การกระทา
ความผิด
 ๕. ไม่วา
่ ผู ก ้ จะได้รู ้หรือมิได้รู ้ถึงการ
้ ระทาความผิดนัน
ช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกนันหรื ้ อไม่กต ็ าม
การสนับสนุ นการกระทาความผิด อาจกร ัทาโดย
ผูส้ นับสนุ นเจตนาฝ่ ายเดียว ผูก้ ระทาความผิดทีได ่ ้ร ับการ
สนับสนุ นไม่จาต ้องรู ้ถึงการสนับสนุ นด ้วย
ตัวอย่าง
ก. ต ้องการไปลักทร ัพย ์ในบ ้านของ ข. ค. ซึงเป็ ่ นคนใช ้ใน
บ ้านของ ข. ช่วยเปิ ดประตูบ ้านทิงไว ้ ้โดยประสงค ์จะให ้ ก. เข ้ามา
ลักทร ัพย ์ได ้สะดวก ก.ได ้เข ้ามาลักทรัพย ์ในบ ้านของ ข. โดยทาง
ี่ ดไว ้นั้น เช่นนี ถื
ประตูทเปิ ้ อว่า ค. เป็ นผูส้ นับสนุ น แม้วา่ ก. จะมิได ้รู ้
ถึงการให ้ความช่วยเหลือของ ค. นั้นเลยก็ตาม

การใช้ผูส ้ นับสนุ น การสนับสนุ นผู ใ้ ช้ และการ


สนับสนุ นผู ส ้ นับสนุ น
การใช ้ผูส้ นับสนุ น การสนับสนุ นผูใ้ ช ้และการสนับสนุ น
ผูส้ นับสนุ น ถือว่าเป็ นการสนับสนุ นผูล้ งมือกระทาความผิดนั่นเอง

 - หลักในเรืองความร ับผิดในฐานะตัวการ ผู ใ้ ช้ และ
ผู ส้ นับสนุ น มีขอ ่
้ สังเกตเพิมเติ มดังต่อไปนี อี ้ ก
 - ความร ับผิดในฐานะตัวการ ผูใ้ ช ้ ต ้องดูคณ ุ สมบัตข ิ องผูก้ ระทา
และองค ์ประกอบความผิดในส่วนของคุณสมบัตข ิ องผูกระท้ า ส่วน
ความร ับผิดในฐานะผูสนั ้ บสนุ น ไม่ต ้องดูคณ ุ สมบัตข ิ องผูก้ ระทา
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 657/2513 จาเลยที่ 1 เป็ นผูใ้ หญ่บ ้าน ซึง่
ทางอาเภอแต่งตังให ้ ้เป็ นกรรมการสารวจทีดิ ่ น ได ้เรียกประชุม
ลูกบ ้านให ้มาแจ ้งการสารวจ และได ้เรียกให ้จาเลยอืนอี ่ ก 4 คนซึง่
เป็ นผูช้ ว่ ยผูใ้ หญ่บ ้าน และราษฎรมาช่วยในการนี ้ แล ้วจาเลย

ทังหมดนี ้ ้ร่วมกันเรียกร ้องเอาเงินจากราษฎร อ ้างว่าเป็ น
ได
ค่าธรรมเนี ยม ถ ้าไม่ให ้ก็จะไม่ร ับแจ ้ง ดังนี จ้ าเลยที่ 1 มีความผิด
ฐานเป็ นเจ ้าพนักงานใช ้อานาจในตาแหน่ งโดยมิชอบ ตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 148 ส่วนจาเลยนอกนั้นมีความผิดเพียง
ฐานเป็ นผูส้ นับสนุ น
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 5299/2533 ตามพระราชบัญญัตอ
ิ ้อยและน้าตาล
ทราย พ.ศ.2527 มาตรา 44 (7) , 71 และมาตรา 76 ได ้บัญญัตเิ อาผิด
และลงโทษแก่โรงงานและผูแ้ ทนนิ ตบ ิ ค ่
ุ คล ทีขนย ้ายน้าตาลทรายทีผลิ ่ ต
ได ้ออกนอกบริเวณโรงงาน โดยฝ่ าฝื นระเบียบทีคณะกรรมการ ่
กาหนด เมือจ ่ าเลยเป็ นเพียงลูกจ ้างของ ม.เจ ้าของรถยนต ์บรรทุกคันที่
บรรทุกน้าตาลทรายออกนอกบริเวณโรงงาน จาเลยจึงมิใช่โรงงาน หรือ

บุคคลทีกฎหมายระบุ ให ้ถือว่าเป็ นผูก้ ระทาผิดเช่นเดียวกับนิ ตบ ุ คล ซึง่
ิ ค
ได ้กระทาความผิด “จาเลยย่อมขาดลักษณะ หรือคุณสมบัตเิ ฉพาะ
ตัว” อันเป็ นองค ์ประกอบความผิด จึงไม่อาจเป็ นตัวการร่วมกระทา
ความผิดกับโรงงานได ้
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 2079/2536 จาเลยที่ 2 ซึงเป็ ่ นเจ้าพนักงาน

มีหน้าทีกรอกข ้อความ และร ับรองเอกสารแบบ บ.ป.2 ซึงเป็ ่ นใบร ับคา
ขอมีบต ่
ั ร หรือเปลียนบั ตรประจาตัวประชาชน แต่ได ้ปฏิบต ั ห ่
ิ น้าทีโดยมิ
ชอบ โดยกรอกข ้อความและร ับรองเอกสาร เป็ นหลักฐานอันเป็ นเท็จ
่ ้จาเลยที่ 1 ได ้ร ับบัตรประจาตัวประชาชน และจาเลยที่ 1 ก็ได ้ร ับ
เพือให
บัตรประจาตัวประชาชนไปแล ้ว ความผิดตาม มาตรา 157, 162 (1)

เป็ นความผิดต่อตาแหน่ งหน้าทีราชการเป็ นคุณสมบัตเิ ฉพาะตัวของ
่ ่ ่
่ วการในความผิดต่อเจ ้าพนักงาน
 - ประเด็นเรืองตั
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 3891/2530 จาเลยนั่งดืมสุ
่ ราอยูใ่ นกลุม

วัยรุน
่ 5-6 คน เมาสุราส่งเสียงเอะอะ เจ ้าพนักงานเข ้าไปตักเตือน
ห ้ามปราม และจะขอจับกุม วัยรุน ่ กลุม่ นั้นกลุ ้มรุมทาร ้ายเจ ้า
พนักงานตารวจ จาเลยไม่ได ้ลงมือทาร ้ายร่างกายด ้วย แต่การที่
จาเลยยืนดูอยู่ห่างประมาณ 5 เมตร ยกเก ้าอีเหล็ ้ กขึน้ เพือคอย


ช่วยเหลือเพือนของจ าเลยในการต่อสู ้ทาร ้ายเจ ้าพนักงานตารวจ
ถือได ้ว่าได ้ร่วมกับพวกทาร ้ายร่างกายและต่อสูขั ้ ดขวางเจ ้า
พนักงาน ในการปฏิบต ั ก
ิ ารตามหน้าทีแล่ ้ว
่ วการในความผิดเกียวกั
 - ประเด็นเรืองตั ่ บการก่อให ้เกิดภยันตราย
ต่อประชาชน
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 6612-6613/2542 จาเลยที่ 2 ถือกระป๋ อง
้ นมา และมีผูถ้ อ
นามั ื คบเพลิง 10 ถึง 20 คน เข ้าไปรายล ้อมจาเลย
ที่ 2 แล ้วจาเลยที่ 2 เทนามั
้ นจากกระป๋ องลงไปทีคบเพลิ่ ง จาเลยที่
2 เป็ นคนราดนามั ้ นลงในคบเพลิงทีใช่ ้โยนขึนไปเผาหลั
้ งคาอาคาร
่ ่ ้
 - ประเด็นเรืองตั ่
่ วการในความผิดเกียวกั
บเอกสาร
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 3894/2525 แม้ลายพิมพ ์นิ วมื
้ อของผูท้ า
พินัยกรรม ในพินัยกรรมมีลก ั ษณะลายเส ้นนู นเลอะเลือน จน
ผูช้ านาญการพิเศษตรวจพิสจ ู น์ลงความเห็นไม่ได ้ มีพยานลงชือ่
ร ับรองสองคน ก็มส ี ภาพเป็ นพินัยกรรม แต่เป็ นพินัยกรรมทีจ่ าเลย
กับ บ. ร่วมกันทาปลอมขึน้ เมือน ่ าส่งอ ้างเป็ นพยานต่อศาลสาเร็จ
ลงแล ้ว ต ้องมีความผิดฐานใช ้พินัยกรรมปลอมอีกกระทงหนึ่ ง มิใช่
การพยายามกระทาความผิดทีเป็ ่ นไปไม่ได ้ตาม ป.อ. ม.81 แม้
จาเลยจะได ้กระทาในฐานะทนายความของ บ. จาเลยในคดีแพ่ง
จาเลยก็มค ี วามผิดฐานเป็ นตัวการร่วมกันใช ้พินัยกรรมปลอมตาม
ป.อ. ม.83
่ วการในความผิดเกียวกั
 ประเด็นเรืองตั ่ บเพศ
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 1235/2509 ขณะจาเลยที่ 1 ลงไปฉุ ด

ผูเ้ สียหายขึนรถ จาเลยที่ 2 จอดรถติดเครืองรอคอยอยู
่ ่ ใน
ระยะใกล ้ แล ้วจาเลยที่ 2 ได ้ออกรถขับไปทันที การกระทาตังแต่ ้
แรกทีจ่ าเลยที่ 1 ฉุ ดผูเ้ สียหายขึนมารถ ้ ตลอดจนพาผู ้เสียหายไป

หลังจากผูเ้ สียหายขึนรถแล ้ว ยังคงถือว่าเป็ นการกระทาผิด ฐาน

พาหญิงไปเพือการอนาจารอยู ่ตลอดเวลา การกระทาของจาเลยที่
2 ทีขั ่ บรถพาผูเ้ สียหายกับจาเลยที่ 1 ไป จึงเป็ นการกระทาส่วน
หนึ่ งของการพาผูเ้ สียหายไป เป็ นการร่วมกระทาผิดด ้วยกันตาม
มาตรา 83
 - ความผิดฐานพาหญิงไปเพืออนาจาร ่ ้ จาเลยที่
สาเร็จทันที ตังแต่
1 ฉุ ดผูเ้ สียหาย แต่ยงั ต่อเนื่ องมา จาเลยที่ 2 ขับรถพาไป ถือเป็ น
ตัวการ ในข ้อหาพาหญิงไปเพืออนาจาร ่
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 4502/2528 จาเลยที่ 1 กับพวกร่วมกันฉุ ด
โจทก ์ร่วมที่ 3 จากรถยนต ์โดยสารพาไปขึนรถยนต ้ ์ปิ กอัพซึง่

เตรียมไว ้ไปเพือการอนาจาร การกระทาผิดของจาเลยที่ 1 หาได ้
สาเร็จเด็ดขาดเพียงพาโจทก ์ร่วมที่ 3 ขึนรถยนต ้ ์ปิ กอัพไม่ แต่
ยังคงเป็ นความผิดตลอดเวลาทีพาไปจ ่ าเลยที่ 2 ได ้วิงออกมาจาก

บ ้านพักยามใกล ้ทีเกิ ่ ดเหตุ แล ้วกระโดดขึนรถยนต
้ ์ปิ กอัพไปกับ
จาเลยที่ 1 พาโจทก ์ร่วมที่ 3 ไปทีบ ่ ้าน ม.น้องเขยจาเลยที่ 2
ระหว่างอยู่ทบ ี่ ้าน ม.จาเลยที่ 2 ร่วมเฝ้ าโจทก ์ร่วมมิใหอ้ อกไปไหน
เป็ นการแบ่งหน้าทีกั ่ บจาเลยที่ 1 ทาตลอดเวลาทีพาโจทก ่ ์ร่วมที่ 3
ไปจาเลยที่ 2 จึงมีความผิดตาม ป.อ. มาตรา 284, 83
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 4796/2530 การทีจ ่ าเลยที่ 1 พาผูเ้ สียหาย
่ อายุ 17 ปี ไปให ้จาเลยที่ 2 ถึงที่ 4 กับพวกผลัดกันข่มขืน
ซึงมี
กระทาชาเรานั้น จาเลยที่ 1 มีความผิดฐานพรากผู ้เยาว ์ไปเสีย
จากบิดามารดา โดยผูเ้ ยาว ์นั้นไม่เต็มใจไปด ้วยกรรมหนึ่ ง และ
จาเลยที่ 1 ยังมีความผิดฐานนาหญิงไปเพือการอนาจารอี ่ กกรรม
หนึ่ งด ้วย / แม้จาเลยที่ 1 จะมิได ้ข่มขืนกระทาชาเราผูเ้ สียหายก็
ตาม แต่การทีจ่ าเลยที่ 1 พาผูเ้ สียหายไปให ้พวกของตนข่มขืน
 คาพิพากษาฎีกาที่ 1215/2508 จาเลยที่ 1 ใช ้ให ้จาเลยที่ 2, 3
ไปตามผูต้ ายให ้ไปกินข ้าวทีบ ่ ้านถึง 2 ครง้ั ผูต้ ายจึงยอมไป ส่วน
จาเลยที่ 1 แทนทีจะคอยต
่ ่ ้าน กลับไปรออยู่กลาง
้อนร ับผูต้ ายทีบ
ทาง เมือจ่ าเลยที่ 1 ยกปื นจะยิงผูต้ าย ผูต้ ายปัดกระบอกปื น จาเลย
ที่ 2, 3, 4 ก็กลุ ้มรุมทาร ้ายผู ้ตายทันที โดยจาเลยที่ 1 มิได ้ขอร ้อง
ให ้ช่วย พฤติการณ์ จึงส่อแสดงว่าจาเลยวางแผนการหลอกผูต้ าย
มาทาร ้ายระหว่างทาง เมือผู ่ ต้ ายถึงแก่ความตายแล ้ว ยังได ้ไปแจ ้ง
ต่อเจ ้าพนักงานว่าผูต้ ายกับพวกมาฉุ ดลูกสาวจาเลยที่ 1 ไป อัน
เป็ นแผนต่อไปทีจะสู่ ้คดี ข ้อเท็จจริงจึงฟังได ้ว่าจาเลยได ้ร่วมกันฆ่า
ผูต้ ายโดยเจตนา และโดยไตร่ตรองไว ้ก่อน
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 40/2509 จาเลยทังสองร่ ้ วมวงเสพสุรากับ
จาเลยที่ 2 พูดว่าจะทาร ้ายผูเ้ สียหาย จาเลยที่ 2 ไปหา
ผูเ้ สียหาย จาเลยที่ 1 ตามไปด ้วย และยืนอยู่ด ้วยเป็ นการสมทบ
กาลังให ้จาเลยที่ 2 จาเลยที่ 2 ถือมีดไล่แทงผูเ้ สียหาย จาเลย
ที่ 1 วิงไล่
่ เป็ นการร่วมกัน
่ ้
 คาพิพากษาฎีกาที่ 883/2509 ขณะทีจ
่ าเลยที่ 1 กาลังยือแย่
้ งปื น
กับผูต้ าย จาเลยที่ 1 ได ้ร ้องบอกจาเลยที่ 2 ว่า “เทยิง ๆ” นายเท
จาเลยที่ 2 ก็ได ้ใช ้ปื นยิงผูต้ าย การทีจ่ าเลยที่ 1 ร ้องบอกให ้จาเลย
ที่ 2 ยิงผูต้ ายเช่นนี ้ เป็ นการร ้องบอกให ้ช่วยกันทาร ้ายผูตาย ้ ตาม
มูลกรณี ทจี่ าเลยที่ 1 มีตอ ่ ผูต้ าย การทีจ่ าเลยที่ 2 ได ้ใช ้ปื นยิง
ผูต้ าย ก็เป็ นการแสดงว่าจาเลยที่ 2 มีเจตนาร่วมกระทาผิดกับ
จาเลยที่ 1 จาเลยทังสองจึ้ งเป็ นตัวการด ้วยกัน
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 1701/2526 ส. บอกจาเลยว่ามีเรืองกั ่ บคน
่ ้ไปช่วยระหว่างทาง ส.มอบปื นให ้ เมือถึ
อืนให ่ งทีเกิ
่ ดเหตุจาเลยเดิน
ตาม ส. ไปใกล ้ ๆ คอยมองดูรอบ ๆ บริเวณ ทานองเป็ นการคุ ้มกัน
เมือ่ ส. ยิงผูต้ ายแล ้วจาเลยก็หนี ไปด ้วยกันแม้จาเลยมิได ้ยิง
ผูต้ าย แต่พฤติการณ์แสดงว่าจาเลยมีเจตนาร่วมกับ ส. ยิงผูต้ าย
เป็ นการแบ่งหน้าทีกั ่ นทา จาเลยจึงเป็ นตัวการฆ่าผูต้ ายด ้วย
 คาพิพากษาฎีกาที่ 5402/2530 ผูต
้ ายด่า ล.และจาเลยก่อน ล.
จึงใช ้อาวุธปื นยิงผูต้ าย แม้จาเลยจะไม่ได ้พูดจาตกลงกับ ล.ในการ
่ าผูต้ าย แต่เมือ
ทีจะฆ่ ่ ล.ยิงผูต้ ายล ้มลง แล ้วจาเลยได ้วิงเข
่ ้ามาใช ้
มีดแทงผูต้ ายทีหน้่ าอก ระหว่างนม เป็ นบาดแผลกว ้าง 1
เซนติเมตร ยาว 2 เซนติเมตร ลึก 2 เซนติเมตรครึง่ ในเวลา
ใกล ้เคียงกับเวลาทีผู ่ ้ตายถูกยิง และพูดในลักษณะทีมี ่ ความ
ประสงค ์จะให ้ผูต้ ายถึงแก่ความตาย แสดงว่าจาเลยมีเจตนาร่วมกับ
่ าผูต้ ายจาเลยจึงมีความผิดฐานร่วมกับ ล. ฆ่า
ล. ในการทีจะฆ่
ผูต้ าย
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 3814/2530 ก่อนเกิดเหตุ จาเลยอยู่ด ้วยกัน
กับพวกของจาเลยและได ้วิงหนี ่ ไปด ้วยกัน หลังจากพวกจาเลยได ้
ใช ้อาวุธปื นยิงผูต้ าย ต่อมาอีก 1 ชัวโมง ่ จาเลยได ้กลับเข ้ามาใน
ซอยเกิดเหตุกบั พวกของจาเลยซึงมี ่ อาวุธปื นยาวติดตัวมา
เช่นเดียวกับเหตุการณ์กอ ่ นหน้านั้น และยังร่วมวิงหนี ่ ออกจาก
ซอยเกิดเหตุไปด ้วยกัน หลังจากจาเลยได ้ใช ้อาวุธปื นยาวยิงมาที่
ผูเ้ สียหายและพวก กรณี ย่อมฟังได ้ว่าจาเลยได ้ร่วมมาและรู ้เห็นกับ
พวกโดยตลอด ในเหตุการณ์ทเกิ ี่ ดขึนทั
้ งสองคร
้ ง้ั มิใช่เป็ นการมา

กรณี ถอื เป็ นการสนับสนุ นการกระทา
ความผิด ความผิดข ้อหาทาให ้แท ้ง
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 6443/2545 คดีนีโจทก
้ ้
์ฟ้ องว่า จาเลยทังสาม
ร่วมกันใช ้หญิงคนหนึ่ งไม่ทราบชือท ่ าให ้นางสาว ป. ผูเ้ สียหายแท ้งลูก
โดยผูเ้ สียหายไม่ยนิ ยอม ขอให ้ลงโทษจาเลยทังสามตาม้ ป.อ. มาตรา
83 , 84 , 303 ข ้อเท็จจริงฟังได ้ว่า ผูเ้ สียหายไปหาจาเลยที่ 1 ทีบ ่ ้านและ
ถูกจาเลยที่ 1 ข่มขืนกระทาชาเรา หลังจากนั้นเมือผู ่ เ้ สียหายไปตรวจ

ร่างกายทีสถานี อนามัยจึงทราบว่าผูเ้ สียหายตังครรภ ้ ์ ต่อมาจาเลยทัง้
สามมาหาผูเ้ สียหายทีบ ่ ้านโดยจาเลยที่ 1 เป็ นผูข ้ บ ั รถ จาเลยที่
2เป็ นมารดาจาเลยที่ 1 แล ้วพาผูเ้ สียหายไปหาผูห้ ญิงคนหนึ่ งเพือท ่ า
แท ้ง ระหว่างทางจาเลยที่ 3 ลงจากรถไปก่อน จาเลยที่ 1 และจาเลยที่
2 พาผูเ้ สียหายเข ้าไปทาแท ้งในบ ้านหลังหนึ่ งโดยผูเ้ สียหายยินยอมให ้ทา
แท ้งลูก ระหว่างการทาแท ้งจาเลยที่ 1 นั่งขวางประตูบ ้านอยู่ด ้วย
พฤติการณ์ของจาเลยที่ 1 และที่ 2 เป็ นการช่วยเหลือหรือให ้ความ
สะดวกก่อนหรือขณะกระทาความผิดในการทีผู ่ อ้ นทื่ าแท ้ง
ผูเ้ สียหาย จาเลยที่ 1 และที่ 2 จึงมีความผิดฐานเป็ นผูส้ นับสนุ นการ
กระทาความผิด ตามมาตรา 302 วรรคแรก ประกอบมาตรา 86 แม้
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 1124/2519 จาเลยร่วมคิดวางแผนกับพวก
จาเลยจอดรถยนต ์ห่างทีเกิ ่ ดเหตุ 80 เมตร มีศาลาบังมองไม่

เห็น พวกจาเลยวิงราวทร ่
ัพย ์แล ้ววิงมาขึ ้
นรถหนี ไปตามแผน
จาเลยเป็ นผูส้ นับสนุ น รถยนต ์ไม่ได ้ใช ้กระทาผิด ไม่ ริบ

 - คาพิพากษาฎีกาที่ 1732/2522 จาเลยร ับเอาแผนการปล ้นโดย


นารถบรรทุกสินค ้าไปหยุด ณ ทีก ่ าหนด ให ้พวกปล ้นเอารถและ
สินค ้าไป ไม่มพ ื่ าจาเลยร่วมกระทาในขณะปล ้น จึง
ี ฤติการณ์อนว่
เป็ นผูส้ นับสนุ นเท่านั้น
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 3347/2525 จาเลยที่ 1 ชวนผูเ้ สียหายนั่ง
ซ ้อนท ้ายรถจักรยานไปดูภาพยนตร ์ขากลับ เมือมาระหว่ ่ างทาง
จาเลยที่ 1 จอดรถและเข ้าไปปัสสาวะข ้างทาง กลับมามีจาเลยที่ 2
และที่ 3 ตามมาด ้วย จาเลยที่ 3 ตรงไปเอารถจักรยานถีบไป แล ้ว
จาเลยที่ 1 และที่ 2 เข ้าใช ้กาลังประทุษร ้ายพรากผู ้เสียหายไป ดังนี ้
เป็ นการให ้ความสะดวกในการทีจ่ าเลยที่ 1 ที่ 2 กระทาความผิด
จาเลยที่ 3 จึงเป็ นผูส้ นับสนุ นการกระทาความผิดตาม ป.อ. ม. 86,
318
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 757/2528 จาเลยเป็ นบุตรของผูเ้ สียหาย
อันเกิดจากภรรยาคนเดิมเคยอาศัยอยู่ทบ ี่ ้านผู ้เสียหาย จาเลยรู ้ว่า
พวกคนร ้ายจะทาการปล ้นทร ัพย ์ จาเลยได ้ผูกสุนัขดุไว ้ และพา
พวกคนร ้ายเข ้าไปในบ ้านผูเ้ สียหาย ดังนี ้ เป็ นการช่วยเหลือ และ
ให ้ความสะดวกแก่คนร ้ายในการปล ้นทร ัพย ์ จึงมีความผิดฐานเป็ น
ผูส้ นับสนุ นการกระทาผิดปล ้นทร ัพย ์
ื่
 ผูใ้ ช ้ โดยก่อให ้ผูอ้ นกระท าผิด
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 679–680/2471 (อ พิพฒ
ั น์ ฎีกาสาคัญ
152) สิบตารวจ จาเลยที่ 1 พลตารวจ จาเลยที่ 2 และ 3 ไปจับผูเ้ ล่น

การพนัน แล ้ววันรุง่ ขึนกลั บไปอีก เพือยึ ่ ดของกลาง นายแพ ไม่ยอมให ้
ยึดของกลาง เกิดต่อสู ้กัน ผลทีสุ ่ ดนายแพวิงหนี่ ้
จาเลยทังสามวิ ่
งตาม
จาเลยที่ 2 สกัดหน้าไว ้ นายแพ หันกลับมาทางจาเลยที่ 1 และ 3 จาเลย
ที่ 1 ร ้องว่า “พวกเรายิง จับเป็ นไม่ได ้ ให ้จับตาย” แล ้วจาเลยที่ 2 ยิงปื น
ไป 1 นัด ในระยะใกล ้ ถูกนายแพทีทรวงอกสิ ่ ้
นสติ พฤติการณ์ทเกิ ี่ ดขึน้
ไม่มเี หตุผลอันสมควรทีต ่ ้องใช ้ปื นยิง จาเลยที่ 2 กระทาลงไปโดยคายุยง
ของจาเลยที่ 1 จาเลยที่ 1 และ 2 มีความผิดฐานพยายามฆ่า ส่วน
จาเลยที่ 3 ไม่มค ี วามผิด
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 363/2518 โจทก ์เช่าบ ้านของ ส.ต่อมาถูก ส.

ฟ้ องขับไล่ ศาลล่างทังสองพิ พากษาขับไล่โจทก ์ แต่โจทก ์มิได ้ร ับทราบ
คาบังคับของศาลทีให ่ ้โจทก ์ออกจากบ ้านใน 1 เดือน โจทก ์ฎีกา ระหว่าง
ฎีกาโจทก ์ไปต่างจังหวัดใส่กญ ุ แจบ ้าน และฝากเพือนบ่ ้านให ้ดูแลจาเลย
ที่ 1 ซึงเป็
่ นสามี ส.ให ้จาเลยที่ 2 ตัดหูร ้อยกุญแจบ ้านออก และให ้จาเลย
ที่ 2 เข ้าไปอาศัยในบ ้าน เมือโจทก
่ ์ยังไม่ทราบคาบังคับ โจทก ์ก็ยงั มีสท ิ ธิ
 คาพิพากษาฎีกาที่ 3611/2528 จาเลยได ้ใช ้ให ้ ส.ฆ่า ว.ผูต
้ าย
โดยไตร่ตรองไว ้ก่อน โดยมอบอาวุธปื นของกลางให ้ ส.นาไปหา
โอกาสยิง ว. แม้ ส.ยังมิได ้กระทาผิด เพราะไม่มโี อกาสฆ่า ว. การ
กระทาของจาเลยก็เป็ นความผิดตาม ป.อ. ม.289 (4) ประกอบกับ
ม.84 วรรคสอง
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 1729/2532 จาเลยที่ 1 ขายกัญชาให ้กับผู ้
ล่อซือ้ ในขณะทีจ่ าเลยที่ 2 มิได ้อยู่ด ้วย จาเลยที่ 2 จึงมิได ้เป็ น
ตัวการร่วมกับจาเลยที่ 1 จาหน่ ายกัญชา การทีจ่ าเลยที่ 2 บอกที่
ซ่อนกัญชา และสังให่ ้จาเลยที่ 1 ช่วยขายแก่ผู ้มาซือ้ ถือได ้ว่า เป็ น
การก่อให ้จาเลยที่ 1 กระทาความผิดอันเป็ นความผิดฐานเป็ นผู ้ใช ้
ตาม ป.อ. มาตรา 84
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 2057/2535 จาเลยตะโกนว่า พ่อมันมาแล ้ว
เอามันเลย แล ้ว ส. ได ้ใช ้อาวุธปื นลูกซองยาวยิงผู ้ตาย ดังนี จ้ าเลย
ต ้องมีความผิดฐานยุยงส่งเสริมให ้นาย ส. ฆ่าผูต้ าย ตาม ป.อ.
มาตรา 84 ประกอบด ้วย มาตรา 288 / โจทก ์ฟ้ องว่าจาเลยเป็ น
ตัวการร่วมกระทาผิด แต่ทางพิจารณาได ้ความว่าจาเลยเป็ นผู ้ใช ้
แตกต่างจากฟ้ อง จึงลงโทษในความผิดฐานเป็ นผูใช ้ ้ให ้กระทาผิด
ไม่ได ้ แต่การกระทาดังกล่าวเป็ นการสนับสนุ นการกระทาผิดเป็ น
ความผิดตาม ป.อ. มาตรา 86 ด ้วย ซึงศาลมี ่ อานาจลงโทษจาเลย
ได ้
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 3044/2540 เหตุเกิดเพราะการทีจ่ าเลยที่ 1
พยักหน้าและร ้องว่าเอามัน แล ้วจาเลยที่ 2 และที่ 3 เข ้าร่วมทาร ้าย
ร่างกายผูเ้ สียหาย ถือได ้ว่าจาเลยที่ 1 ก่อให ้ผูอ้ นกระท
ื่ าความผิด
ื่
ด ้วยการยุยงส่งเสริม จึงเป็ นผูใ้ ช ้ให ้ผูอ้ นกระทาความผิดตาม ป.อ.
มาตรา 84 มิใช่เป็ นตัวการร่วมกระทาความผิดด ้วยกันตามมาตรา

83 ดังทีโจทก ์ฟ้ อง จึงเป็ นการแตกต่างกันในสาระสาคัญอย่างมาก
 คาพิพากษาฎีกาที่ 6677/2540 อ. ว่าจ ้างให ้จาเลยที่ 1 ตัดฟัน
ต ้นไม้ในทีพิ ่ พาท เพราะเชือโดยสุ
่ จริตว่าทีดิ ่ นทีปลู่ กต ้นไม้ดังกล่าว
เป็ นของมารดาจาเลยที่ 2 ซึงอนุ ่ ญาตให ้ตัดฟันได ้ การทีจ่ าเลยที่ 2
ทราบดีอยู่แล ้วว่าทีดิ ่ นดังกล่าวเป็ นของโจทก ์ร่วม แต่จาเลยที่ 2
กลับอนุ ญาตให ้ตัดฟันต ้นไม้รายนี โดยอ ้ ้างว่าเป็ นของมารดาจาเลย
ที่ 2 ถือได ้ว่าจาเลยที่ 2 เป็ นผูก้ อ ่
่ ให ้ผู ้อืนกระท ื่
าความผิดด ้วยวิธอี น
ใด จึงเป็ นผูใ้ ช ้ให ้กระทาความผิดตาม ป.อ.มาตรา 84 (ศาลชันต ้ ้น
ยกฟ้ องจาเลยที่ 1 ไม่ปรากฏว่าชัดว่าจาเลยที่ 1 มีเจตนาทาให ้เสีย
ทร ัพย ์ของผูอ้ นหรืื่ อไม่ ) / (ขส พ 2546/7) วางข ้อเท็จจริงว่า
จาเลยที่ 1 รู ้แล ้วยังรับจ ้างตัด โดยผูว้ า่ จ ้างไม่รู ้ แม้ไม่ถอ ื ว่าจาเลยที่
2 ก่อให ้ผูว้ า่ จ ้าง กระทาผิด “ด ้วยการใช ้ จ ้าง หรือวาน” จึงไม่ใช่
่ าเลยที่ 1 มีเจตนากระทาผิด จึงถือว่าจาเลยที่ 2 ก่อ
ผูใ้ ช ้ แต่เมือจ
ให ้จาเลยที่ 1 กระทาผิด “ด ้วยวิธอี นใดแล ื่ ้ว” )
8. การกระทาความผิดหลายบท
หรือหลายกระทง
 การกระทาความผิดหลายบท หรือหลาย
กระทง มาตรา 90 – 91

 มาตรา 90 เมือการกระท าใดอันเป็ น กรรมเดียวเป็ นความผิดต่อ
กฎหมายหลายบท ให ้ใช ้กฎหมายบททีมี ่ โทษหนักทีสุ่ ดลงโทษแก่
ผูก้ ระทาความผิด

 มาตรา 91 เมือปรากฏว่ าผู ้ใดได ้กระทาการอันเป็ น ความผิด
หลายกรรมต่างกัน ให ้ศาลลงโทษผูน้ ้ันทุกกรรมเป็ นกระทง

ความผิดไป แต่ไม่วา่ จะมีการเพิมโทษ ลดโทษ หรือลดมาตราส่วน

โทษด ้วยหรือไม่ก็ตาม เมือรวมโทษทุ ้ น้
กกระทงแล ้ว โทษจาคุกทังสิ
ต ้องไม่เกินกาหนดดังต่อไปนี ้
่ กทีสุ
 (1) สิบปี สาหร ับกรณี ความผิดกระทงทีหนั ่ ด มีอต
ั ราโทษจาคุก
อย่างสูงไม่เกินสามปี
่ บปี สาหร ับกรณี ความผิดกระทงทีหนั
 (2) ยีสิ ่ กทีสุ
่ ด มีอต
ั ราโทษ
จาคุกอย่างสูงเกินสามปี แต่ไม่เกินสิบปี
 สรุปกรณี การใช้ มาตรา 90 อ เกียรติขจร
่ นความผิดตาม “บทเฉพาะ” และ “บท
 การกระทากรรมเดียวซึงเป็

ทัวไป” ให ้ลงโทษตาม“บทเฉพาะ” ไม่ต ้องคานึ งถึงโทษ โดยไม่นา

หลักในมาตรา 90 มาใช ้ ซึงการผิ ่
ดบทเฉพาะ ย่อมผิดในบททัวไป

ด ้วย แต่เมือปร ่
ับบทเฉพาะแล ้ว ไม่ต ้องปร ับบททัวไปอี

 - การกระทากรรมเดียว ตาม “บทฉกรรจ ์” และ “บทธรรมดา” ให ้
ลงโทษตาม
“บทฉกรรจ ์” โดยไม่นาหลักในมาตรา 90 มาใช ้
 - การกระทากรรมเดียว ซึงเป็ ่ นความผิดหลายมาตรา อันไม่ใช่
่ “บทเฉพาะ” และ
เรือง

“บททัวไป”หรื อ “บทฉกรรจ ์” และ “บทธรรมดา” จึงให ้นาหลักใน
มาตรา 90 มาใช ้
 ศาสตราจารย ์จิตติ ติงศภัทย ิ ์ อาศ ัยหลักดังต่อไปนี ้
 - กฎหมายประสงค ์ให ้ลงโทษตามบทเฉพาะเท่านั้น
 - หากไม่ลงโทษตาม “บทเฉพาะ” แล ้ว “บทเฉพาะ” จะไม่มท ี ใช ี่ ้ได ้
ี่
เลย ในกรณี ทโทษตาม“บทเฉพาะ” นั้นโทษเบากว่า “บททัวไป”

(เช่น กรณี ปลอมตั๋วโดยสารรถไฟ ซึงผิ ่ ด มาตรา 258 อัน
เป็ น “บทเฉพาะ” และมีโทษเบากว่า มาตรา 265 อันเป็ น “บท

ทัวไป”)

 - มีหลักทัวไปว่ า “บทบัญญัตเิ ฉพาะย่อมยกเว ้น บทบัญญัตท ่ั
ิ วไป”
 - การลงโทษตาม “บทเฉพาะ” ซึงอาจมี ่ โทษเบากว่า “บททัวไป”่
(เช่น กรณี มาตรา 258 อันมีโทษเบากว่า มาตรา 265 นั้น) คงไม่
ขัดต่อ มาตรา 90 เพราะถือว่าเป็ นกรณี ทเข ี่ ้าตาม มาตรา 17 ทีมิ ่
่ น “บทบัญญัตใิ นภาค 1“ ไปปรับใช ้กับ
ให ้นา มาตรา 90 ซึงเป็
่ “บทเฉพาะ” และ“บททัวไป”
กรณี ของเรือง ่
 ๑. ลักษณะของการกระทา
๑.๑ เป็ นการกระทากรรมเดียวแต่ผด ิ กฎหมายหลายบท
๑.๒ กรรมเดียว หมายถึง การกระทาอันเดียวหรือการกระทาหลายการ
กระทาทีต่่ อเนื่ องกันมีวต
ั ถุประสงค ์เดียวกัน

๑. เจตนาเดียวกันอันเกิดจากการกระทาอันเดียว
ฎ. ๔๐๔๕/๒๕๔๕
การทีจ่ าเลยขับรถหลบหนี และพุ่งเข ้าชนรถยนต ์ของทางราชการจนเกิด

ความเสียหาย จาเลยมีเจตนาทีจะกระท าขึน้ เพือหลบหนี
่ การจับกุมของ
เจ ้าพนักงานตารวจ ดังนั้น ความผิดฐานต่อสูขั ้ ดขวางเจ ้าพนักงานใน
การปฏิบต ั ก ่ บความผิดฐานทาให ้เสียทร ัพย ์จึงเป็ นกรรม
ิ ารตามหน้าทีกั
เดียว

๒. เจตนาเดียวกันอันเกิดจากการกระทาหลายอัน
ฎ.๒๔๔๘/๒๕๔๔
จาเลยใช ้ปื นยิงผูต้ าย ๓ นัด โดยมีเจตนาฆ่า จาเลยมีความผิดฐาน
พยายามฆ่า ซึงเป็่ นกรรมเดียวกับความผิดฐานยิงปื นโดยใช่เหตุในเมือง
 กล่าวโดยสรุป ตามมาตรา ๙๐ จะต้องเป็ นไปดังนี ้
๑. ในกรณี ทเป็ ี่ นการกระทาโดยเจตนา “กรรมเดียว” หมายถึง
เจตนาเดียว
๒. “กรรมเดียว” นั้นเป็ นความผิดต่อกฎหมายหลายบท
๓. กฎหมายหลายบทนั้น บทหนึ่ งจะต ้องไม่ใช่ บทเฉพาะ และอีก
บทหนึ่ งต ้อง
ไม่ใช่บททัวไป ่
๔. กฎหมายหลายบทนั้น บทหนึ่ งจะต ้องไม่ใช่บทฉกรรจ ์ และอีก
บทหนึ่ งจะต ้อง
ไม่ใช่บทธรรมดา
่ านขันตอนทั
เมือผ่ ้ ง้ ๔ ข ้อแล ้ว จึงจะเป็ นกรณี กรรมเดียวผิด
กฎหมายหลายบทและลงโทษบทหนัก ตามมาตรา ๙๐
คาพิพากษาฎีกาที่ 1618/2499 การทีจะวิ ่ นิจฉัยว่าการกระทา
ของจาเลยเป็ นความผิดหลายกะทงหรือเป็ นความผิดกะทงเดียว
แต่ต ้องด ้วย ก.ม.หลายบท มีหลักวินิจฉัยดังนี คื ้ อ ถ ้าการกระทา
ใดเป็ นความผิดต ้องด ้วย ก.ม.หลายบทแล ้ว จะแยกการกระทา
นั้นออกจากกันไม่ได ้ ก็เป็ นความผิดทีต ่ ้องด ้วย ก.ม.หลายบท
แต่ถ ้า ก.ม.บัญญัตก ิ ารกระทาเป็ นความผิดไว ้คนละอย่างต่างกัน
เช่น ลักทรัพย ์กับทาร ้ายร่างกายหรือทาร ้ายร่างกายกับบุกรุก
ดังนี ้ ผูท้ กระท
ี่ ้
าผิดทังสองอย่ างก็ต ้องเป็ นความผิด 2 กะทงไม่ใช่
ต ้องด ้วย ก.ม.หลายบท เพราะต่างกรรมต่างวาระกัน / การที่
จาเลยที1 ่ ทาผิดทังบุ
้ กรุกและพยายามฆ่าคน เป็ น
ความผิด 2 ฐาน ไม่ใช่เป็ นการกระทาเพียงอย่างเดียวจาเลย
ที่ 1 จึงต ้องมีความผิดเป็ นสองกระทง คือฐานบุกรุกกระทงหนึ่ ง
และฐานพยายามฆ่าคนอีกกระทงหนึ่ ง แต่ถ ้าความผิดอาญานั้น

เกียวเนื ่ องกันศาลอาจใช ้ดุลยพินิจ รวมกระทงลงโทษจาเลยได ้
่ ด” มีต ัวอย่าง ด ังนี ้
 ความหมายของ “บทหนักทีสุ
(๑) โทษลาด ับทีอยู ่ ่สูงกว่าในมาตรา ๑๘ ย่อมหนักกว่าโทษใน
ลาด ับตา ่
ตัวอย่าง กฎหมายบทที่ ๑ มีโทษจาคุก หรือ ปร ับ แต่กฎหมายบทที่ ๒ มี
โทษปร ับแต่เพียงอย่างเดียว ในกรณี เช่นนี ้ ต ้องถือว่า บทที่ ๑ หนักกว่า
บทที่ ๒ ต ้องลงโทษตามอัตราโทษของ บทที่ ๑
 ข ้อสังเกต หากโทษปร ับตามกฎหมาย บทที่ ๑ คือ ไม่เกินสามหมืนบาท ่
แต่โทษปร ับตามกฎหมาย บทที่ ๒ คือ ไม่เกินห ้าหมืนบาท ่ เช่นนี ้ หาก
จะลงโทษปร ับอย่างเดียวตามกฎหมาย บทที่ ๑ (ซึงเป็ ่ น “บทหนักทีสุ ่ ด”)

โดยไม่ลงโทษจาคุก จะต ้องลงโทษได ้ไม่เกินสามหมืนบาทเท่ านั้น จะ
่ นบาท
ลงโทษสีหมื ่ (ตามอัตราโทษของกฎหมาย บทที่ ๒) ไม่ได ้ เพราะ
บทหนักทีสุ ่ ด (กฎหมายบทที่ ๑) มีอต
ั ราโทษปร ับไม่เกินสามหมืนบาท่
เท่านั้น

 กรณี ตามตัวอย่างข ้างต ้นนี ้ ไม่ต ้องคานึ งว่าโทษจาคุกตาม กฎหมายบท


ที่ ๑ จะมีอต
ั ราโทษน้อยหรือมากเพียงใด เช่น กฎหมายบทที่ ๑ มีอต ั รา
โทษจาคุกหนึ่ งเดือน หรือปร ับไม่เกินสามหมืนบาท
่ แต่กฎหมายบทที่ ๒
มีอตั ราโทษปร ับ (สถานเดียว) ไม่เกินห ้าแสนบาท กรณี เช่นนี ้ ก็ต ้องถือ
ว่า กฎหมายบทที่ ๑ มีอต ้
ั ราโทษ “ทังหมด” หนักกว่าอัตราโทษของ
้ มีโทษลาดับเดียวก ัน ต้องถือบททีมี
 (๒) ถ้าความผิดแต่ละบทนัน ่
้ งมากกว่าเป็ นเกณฑ ์
อ ัตราโทษขันสู
้ั งเท่าก ัน ต้องดู อ ัตราโทษขันสู
 (๓) ถ้าอ ัตราโทษชนสู ้ งลาดับถ ัดไปใน
มาตรานัน้ เช่น โทษจาคุกชนสู
้ั งเท่ากัน แต่โทษปร ับสูงกว่า บทหนักทีสุ
่ ดคือ
่ โทษปร ับสูงกว่า
บททีมี

 ตัวอย่าง กฎหมายบทที่ ๑ มีโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปร ับไม่เกินสามหมืน



บาท แต่กฎหมายบทที่ ๒ มีโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปร ับไม่เกินห ้าหมืน

บาท ต ้องถือว่า กฎหมายบทที่ ๒ หนักกว่า

 ตัวอย่าง ฎีกาที่ ๔๘๕๗/๒๕๕๐ ความผิดฐานร่วมกันมีเลือยโซ่


่ ยนต ์โดยไม่ได ้
ร ับใบอนุ ญาตกับความผิดฐานร่วมกันร ับไว ้ซึงเลื ่ อยโซ่
่ ยนต ์โดยรู ้ว่าเป็ นของที่
นาเข ้ามาในราชอาญาจักรโดยหลีกเลียงอากร ่ ั ษณะทีเกี
มีลก ่
่ ยวเนื ่ องเป็ นการ
กระทาเดียวกัน จึงเป็ นการกระทาความผิดกรรมเดียว เป็ นความผิดต่อ
กฎหมายหลายบท ตาม ป.อ. มาตรา ๙๐ เมือความผิ ่ ดตาม พ.ร.บ. เลือยโซ่ ่
ยนต ์ฯ มาตรา ๔ วรรคหนึ่ ง, ๑๗ วรรคหนึ่ ง ระวางโทษจาคุกไม่เกินห ้าปี หรือ
ปร ับไม่เกินหนึ่ งแสนบาท หรือทังจ้ าทังปร
้ ับ ส่วนความผิดตาม พ.ร.บ. ศุลกากร
ฯ มาตรา ๒๗ ทวิ ระวางโทษจาคุกไม่เกินห ้าปี หรือปร ับเป็ นเงินสีเท่ ่ าราคาของ
้ าทังปร
่ ้รวมค่าอากรเข ้าด ้วยแล ้ว หรือทังจ
ซึงได ้ ับและการพิจารณาว่ากฎหมาย
บทใดมีโทษหนักกว่ากันให ้ถือตามบททีมี ่ อตั ราโทษชนสู้ั งกว่าเป็ นเกณฑ ์ เมือ ่

ความผิดทังสองฐานดั งกล่าว มีระวางโทษจาคุกไม่เกินห ้าปี เท่ากัน แต่คดีนี ้
ราคาของซึงได ่ ้รวมค่าอากรเข ้าด ้วยแล ้วเป็ นเงิน ๓,๐๓๐ บาท หากมีการลงโทษ
้ งเท่ากันหมด บททีมี
 (๔) ถ้าอ ัตราโทษขันสู ่ อ ัตราโทษขัน

่ คือบทหนัก
ตา

 ตัวอย่าง นายแดงขโมยพินับกรรมของนายดาไปในเวลากลางคืน

นายแดงกระทา “กรรมเดียว” (ซึงหมายความว่ า “เจตนาเดียว”)
ิ กฎหมายสองบท คือ ป.อ. มาตรา ๑๘๘ บทหนึ่ ง และมาตรา
แต่ผด
๓๓๕ (๑) อีกบทหนึ่ ง เช่นนี ้ ต ้องถือว่ามาตรา ๓๓๕ (๑) มีโทษ
หนักกว่าโทษของมาตรา ๑๘๘ เพราะโทษตามมาตรา ๓๓๕ (๑) มี
้ ่า
อัตราโทษขันต
 (๕) ถ้าอ ัตราโทษจาคุกและอ ัตราโทษปร ับเท่ากัน บทหนักคือ
บททีบั่ ญญัตวิ า ่ ต้องลงโทษ จาคุก และ ปร ับ ส่วนบทเบาคือ บทที่
บัญญัตวิ า ่ จาคุก หรือ ปร ับ
ตัวอย่าง อัตราโทษตาม ป.อ. มาตรา ๑๘๘ คือ “จาคุกไม่เกินห ้าปี และ
ปร ับไม่เกินหนึ่ งหมืนบาท”
่ แต่อต
ั ราโทษตาม ป.อ. มาตรา ๓๔๓ วรรค
แรก คือ “จาคุกไม่เกินห ้าปี หรือ ปร ับไม่เกินหนึ่ งหมืนบาท
่ ้ าทัง้
หรือทังจ
้ ้องถือว่าโทษตามมาตรา ๑๘๘ หนักกว่ามาตรา ๓๔๓
ปร ับ” เช่นนี ต

ี าที่ ๑๘๙๔/๒๕๕๐ วินิจฉัยว่า ความผิดตามมาตรา


 ข ้อสังเกต มีฎก
๓๔๓ วรรคแรก และความผิดตามมาตรา ๑๘๘ (ในกรณี เป็ นกรรมเดียว
ผิดกฎหมายหลายบท) “มีอต ั ราโทษเท่ากันจึงให ้ลงโทษฐานฉ้อโกงห
ประชาชนตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๔๓ วรรคหนึ่ ง”
ข ้อสังเกต ในกรณี เช่นนี ้ ต ้องถือว่า โทษจาคุก และ ปร ับ หนักกว่า โทษ
้ าทังปร
จาคุก หรือ ปร ับ หรือ ทังจ ้ ับ ดังนั้น จึงควรต ้องลงโทษตามมาตรา
๑๘๘ อันเป็ น “บทหนัก”

 ข ้อสังเกต ฎีกาที่ ๙๗๕/๒๕๓๔ ก็วน


ิ ิ จฉัยว่า โทษตามมาตรา ๑๘๘ เป็ น
 (๖) หากบทหนึ่ งมีโทษจาคุกสู งกว่า แต่เลือกให้ลงโทษ ปร ับ ก็ได้ หรือ
้ าทังปร
ทังจ ้ ี บทหนึ่ งมีโทษจาคุกต่ากว่าแต่บงั คับให้ตอ
ับก็ได้ แต่อก ้ ง
ลงโทษปร ับด้วย ต้องถือว่าบทแรกหนักกว่า

 ตัวอย่าง ฎีกาที่ ๑๐๑๑/๒๕๓๔ วินิจฉัยว่า ความผิดบทที่ ๑ มีอต


ั ราโทษ

“จาคุกไม่เกินสิบปี หรือ ปร ับไม่เกินสองหมืนบาท ้ าทังปร
หรือทังจ ้ ับ” “แต่
ความผิดบทที่ ๒ มีอต ั ราโทษ จาคุกตังแต่้ หกเดือนถึงห ้าปี และ ปร ับ ตังแต่
้ หนึ่ ง
พันบาทถึงหนึ่ งหมืนบาท”
่ เช่นนี ้ ถือว่า ความผิดบทที่ ๑ มีอต
ั ราโทษ “หนัก
กว่า” บทที่ ๒

 ข ้อสังเกต ในกรณี เช่นนี ้ ต ้องดูจานวนอัตราโทษจาคุกเป็ นเกณฑ ์ แม้อต


ั รา
โทษสองบทเท่ากันทุกอย่างก็ต ้องอ ้างมาตรา ๙๐ เช่นกัน
ตัวอย่าง นายแดงยิงนายดา นายดาหลบทัน กระสุนไปถูกนายขาวบาดเจ็บ
นายแดงมีความผิดฐานพยายามฆ่านายดา ตามมาตรา ๒๘๘, ๘๐ ประกอบ
มาตรา ๖๐ เป็ นการกระทากรรมเดียวเป็ นความผิดต่อกฎหมายหลายบท ซึง่
แต่ละบทมีระวางโทษเท่ากัน ให ้ลงโทษตามมาตรา ๒๘๘, ๘๐ เพียงบทเดียว
ตามมาตรา ๙๐”

 ข ้อสังเกต แม้สองบทจะมีอต
ั ราโทษเท่ากัน ไม่มก ่ โทษหนักทีสุ
ี รณี “บททีมี ่ ด”

ตามมาตรา ๙๐ ทีจะลงก็ ตาม แต่การอ ้างมาตรา ๙๐ ก็เป็ น การยืนยันว่า กรณี

เช่นนี จะลงโทษได ้เพียง “บทเดียว” เท่านั้น ซึงฎี
่ กาที่ ๘๗๑/๒๕๐๖ กล่าวไว ้ว่า
 คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3063/2552
ในคดีความผิดต่อเจ ้าพนักงานในการยุตธิ รรมและความผิด

เกียวกั ่ เ้ สียหายถึงแก่ความตายด ้วยโรคประจาตัว ผู ้
บเอกสาร ซึงผู
บุพการีไม่มอ ี านาจเป็ นโจทก ์ฟ้ องหรือเข ้าร่วมกับพนักงานอัยการเป็ น
โจทก ์ ฟ้ องแทนผูเ้ สียหาย เพราะไม่ต ้องด ้วยบทบัญญัตข ิ อง ป.วิ.อ.
มาตรา 3 (2) ประกอบมาตรา 5 (2) ปัญหาดังกล่าวเป็ นปัญหาข ้อ
กฎหมายทีเกี ่ ยวกั
่ บความสงบเรียบร ้อย ศาลฎีกามีอานาจยกขึนวิ ้ นิจฉัย
ได ้
จาเลยกับพวกร่วมกันนาเอาโฉนดทีดิ ่ นของผูเ้ สียหายและแบบ
พิมพ ์หนังสือมอบอานาจ ทีมี ่ เพียงลายมือชือของผู
่ เ้ สียหายลงไว ้ในช่องผู ้
มอบอานาจไปโดยไม่ได ้ร ับ อนุ ญาต แล ้วนาไปกรอกข ้อความว่า

ผูเ้ สียหายมอบอานาจให ้จาเลยยืนขอจดทะเบี ยนโอนทีดิ ่ น ของผูเ้ สียหาย
ให ้แก่จาเลยโดยเสน่ หา เป็ นการกระทาความผิดฐานทาให ้เสียหาย
ทาลาย ซ่อนเร ้น เอาไปเสีย หรือทาให ้สูญหายหรือไร ้ประโยชน์ซงึ่
เอกสารของผูอ้ น ื่ ตาม ป.อ. มาตรา 188 และเป็ นความผิดฐานปลอม
เอกสารและใช ้เอกสารปลอม ตาม ป.อ. มาตรา 264 วรรคสอง และ
มาตรา 268 วรรคแรก ประกอบมาตรา 264 วรรคสอง และมาตรา 83
แต่การกระทาความผิดดังกล่าวก็เพือโอนที ่ ่ นเป็ นของจาเลยซึงเป็
ดิ ่ น
 คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 9024/2550

การทีโจทก ์บรรยายฟ้ องว่า จาเลยใช ้อาวุธมีดแทงผูต้ ายบริเวณอก
ด ้านซ ้ายโดยมีเจตนาฆ่าและไตร่ตรองไว ้ก่อน แล ้วจาเลยใช ้มีดแทง
ผูต้ ายซาอี ้ ก แต่ผูเ้ สียหายเข ้ากันไว ้เป็ นเหตุให ้มีดพลาดไปถูก
ผูเ้ สียหายทีต ่ ้นแขนซ ้ายได ้ ร ับบาดเจ็บ ส่วนผูต้ ายถึงแก่ความตาย
แสดงว่าโจทก ์ประสงค ์จะให ้ลงโทษจาเลยเพียงกรรมเดียวใน
ความผิดฐานฆ่าผูต้ ายและ พลาดไปถูกผูเสี ้ ยหายได ้ร ับบาดเจ็บ อัน
เป็ นการกระทากรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท ซึงต ่ ้องลงโทษ
จาเลยตามกฎหมายบททีมี ่ โทษหนักทีสุ ่ ดตาม ป.อ. มาตรา 90
ดังนั้น แม้ข ้อเท็จจริงตามทางพิจารณาจะได ้ความว่า นอกจาก
จาเลยมีเจตนาฆ่าผูต้ ายแล ้วจาเลยยังทาร ้ายผูเ้ สียหายอันเป็ น
ความผิดอีก กรรมหนึ่ งแยกต่างหากจากกันก็ตาม ก็เป็ นเรือง ่
ข ้อเท็จจริงทีกล่ ่ าวในฟ้ องและตามทีปรากฏในทางพิ
่ จารณาไม่ใช่
่ โจทก
เรืองที ่ ์ประสงค ์ให ้ลงโทษตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคสี่ จึง
ไม่อาจลงโทษจาเลยในความผิดฐานทาร ้ายผูเสี ้ ยหายจนเป็ นเหตุให ้
เกิดอันตราย แก่กายอีกกระทงหนึ่ งได ้ เพราะเป็ นการพิพากษาเกิน
คาขอหรือทีมิ ่ ได ้กล่าวในฟ้ องต ้องห ้ามตามมาตรา 192 วรรคหนึ่ ง
 มาตรา 91 ความผิดหลายกรรม
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 1924/2527 คาว่า "อัตราโทษ" ตามที่
่ ้ไขโดย พ.ร.บ.
บัญญัตไิ ว ้ในอนุ มาตราต่าง ๆ ของ ป.อ. ม. 91 ทีแก
่ ม ป.อ. (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2526 นั้น หมายถึงอต
แก ้ไขเพิมเติ ั รา

โทษจาคุกอย่างสู งตามทีกฎหมายก าหนดไว้ หาได ้หมายถึง

อัตราโทษจาคุกอย่างสูงทีศาลลงแก่ จาเลยไม่
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 3614/2527 การกระทาครงเดี ้ั ยว ถ ้าหาก
ผูก้ ระทามีเจตนาจะให ้เกิดผลเป็ นหลายกรรม ก็ย่อมถือเป็ น
ความผิดหลายกรรมได ้ จาเลยมีเจตนาใช ้รถผิดประเภทตาม
พ.ร.บ. การขนส่งทางบก พ.ศ.2522 ม.128 กรรมหนึ่ ง และมี
เจตนากระทาความผิดฐานแย่งผลประโยชน์กบ ั บริษทั ข.ผูไ้ ด ้ร ับ
ใบอนุ ญาตประกอบการขนส่งประจาทางในเส ้นทางอนุ ญาตตาม
ม.138 อีกกรรมหนึ่ ง ซึงแตกต่
่ างกันในลักษณะของความผิดอย่าง
เห็นได ้ชัด จาเลยจึงมีความผิด 2 กระทง
 คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4166/2550
การทีจ่ าเลยใช ้อาวุธปื นยิง ส. กระสุนปื นถูก ส. และยังพลาดไปถูก
อ. ด ้วยนั้น การกระทาของจาเลยจึงเป็ นความผิดฐานพยายามฆ่า
ส. และฐานพยายามฆ่า อ. โดยพลาด แม้โจทก ์จะมิได ้บรรยาย
ฟ้ องว่าการกระทาของจาเลยดังกล่าวเป็ นการกระทาโดยพลาด มา
ด ้วย ก็ไม่ถอ ่
ื ว่าข ้อเท็จจริงทีปรากฏในการพิ จารณาแตกต่างกับ
่ าว ในฟ้ อง อันจะเป็ นเหตุให ้ศาลต ้องพิพากษายก
ข ้อเท็จจริงทีกล่
ฟ้ องตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 และการกระทาของจาเลยดังกล่าว
เป็ นการกระทากรรมเดียวเป็ นความผิดต่อกฎหมายหลาย บท
 คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4067/2550
การทีจ่ าเลยขับรถในขณะเมาสุรา อันเป็ นความผิดตาม พ.ร.บ.
จราจรทางบกฯ มาตรา 43 (2), 160 วรรคสาม กับการทีจ่ าเลย
ขับรถโดยประมาทแซงรถทีอยู ่ ่ข ้างหน้าไปในหน้าไปในช่องเดินรถ
ขวามือในขณะทีผู ่ ้ตายขับสวนมา เป็ นเหตุให ้ชนรถจักรยานยนต ์
ของผูต้ ายเสียหายและทาให ้ผูต้ ายถึงแก่ความตาย อันเป็ น
ความผิดตาม ป.อ. มาตรา 291 และ พ.ร.บ.จราจรทางบกฯ
มาตรา 43 (4), 157 นั้น เป็ นการกระทาทีเกี ่ ยวเนื
่ ่ องและเป็ นผล
โดยตรงทีท ่ าให ้ผูต้ ายถึงแก่ความตาย จึงเป็ นการกระทากรรม
เดียว ต ้องลงโทษตาม ป.อ. มาตรา 291 ซึงเป็ ่ นบททีมี ่ โทษหนัก
่ ด
ทีสุ

 ในความผิดเรืองพลาดตาม ่ เจตนา
ปอ มาตรา ๖๐ เมือมี
กระทาต่อบุคคลหนึ่ งแต่ผลเกิดทังบุ้ คคลทีต ่ ้องการกระทาและ
่ ต ้องการกระทา หรือผลไม่เกิดแก่บค
บุคคลทีไม่ ่ ้องการ
ุ คลทีต
กระทา แต่ผลยังไปเกิดกับบุคคลภายนอกด ้วย เมือมี ่ เจตนาเดียวที่
จะกระทาต่อบุคคลหนึ่ งบุคคลใด แม้ผลไปเกิดแก่บค ่
ุ คลอืนโดย
พลาดด ้วยแล ้วก็ยงั เป็ นกรรมเดียว เช่น ยิง ท กระสุนถูก ท แต่ไม่
ตาย หรือไม่ถก ู ท. แต่ไปถูก ส. ก็เป็ นการกระทากรรมเดียวคือ
พยายามฆ่า ท โดยเจตนาประสงค ์ต่อผล ตาม ปอ มาตรา
๕๙,๘๐,๒๘๘ และพยายามฆ่า ส. โดยพลาด ตาม ปอ มาตรา
๖๐,๘๐,๒๘๘ เป็ นกรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบทลงบทหนัก เมือ ่
เป็ นความผิดฐานพยายามฆ่า ท และพยายามฆ่า ส ซึงมี ่ อตั ราโทษ
เท่ากันศาลลงบทใดก็ได ้ แต่หากว่า เจตนายิง ท กระสุนถูก ท ถึง
แก่ความตายและยังไปถูก ส. ด ้วย มีความผิดฐานฆ่า ท โดยเจตนา
ประสงค ์ต่อผลตาม ปอ มาตรา ๕๙,๒๘๘ และฐานพยายามฆ่า ส.
โดยเจตนาพลาด ตาม ปอ มาตรา ๖๐,๘๐,๒๘๘ เป็ นกรรมเดียว
 “กรรมเดียว”
 ๑.เข ้าไปในห ้องมีทร ัพย ์หลายคนเป็ นเจ ้าของแล ้วลักไปในคราวเดียวกัน
คาพิพากษาฏีกา ๑๑๐๔/๒๕๐๔
๒.ขับรถฝ่ าไฟแดงไปชนคน เป็ นกรรมเดียว คาพิพากษาฏีกา ๒๔๘๕/
๒๕๒๙

๓.เขียนบทความหมินประมาทคนหลายคนในหนั งสือพิมพ ์ เป็ นการ
กระทาต่อบุคคลหลายคนในคราวเดียวกัน เป็ นกรรมเดียว คาพิพากษา
ฏีกา ๑๘๕๓/๒๕๓๐,
๔.มีอาหารปลอมหรืออาหารทีไม่ ่ ได ้มาตรฐานเพือจ ่ าหน่ ายโดยสินค ้านั้น

มีเครืองหมายการค ้าปลอมติดอยู่ มีวต ่ าหน่ ายอาหาร
ั ถุประสงค ์เพือจ
ปลอม เป็ นกรรมเดียว คาพิพากษาฏีกา ๓๐๙๑/๒๕๕๓
๕.ร่วมกันบุกรุก ถือครอง ก่นสร ้างแผ้วถางป่ าสงวนและร่วมทาไม้ เป็ น
การกระทาคราวเดียวกัน เป็ นกรรมเดียว คาพิพากษาฏีกา ๗๑๓๕/
๒๕๕๓
๖.ปลอมแผ่นป้ ายทะเบียนรถ แผ่นป้ ายแสดงการเสียภาษีรถและคูม ่ อื จด
ทะเบียนรถ แม ้เป็ นการปลอมเอกสารราชการต่างประเภทกันทีมี ่ ลกั ษณะ

การปลอมทีแตกต่ างกัน แต่ก็ได ้ติดป้ ายต่างๆไว ้ในรถคันเดียวกันเพือ ่

 ๗.ด่าพร ้อมขูว่ า่ จะใช ้ปื นยิง กระทาในคราวเดียวกันโดยมีเจตนาดูหมิน
และทาให ้ผูเ้ สียหายเกิดความตกใจกลัว เป็ นกรรมเดียวผิดกฎหมาย
หลายบท คาพิพากษาฏีกา ๖๑๔/๒๕๕๔
๘.เข ้าไปลักทร ัพย ์ในบ ้าน บุตรผูเ้ สียหายพบเห็นจึงแทง เป็ นการกระทา
ในวาระเดียวกันตังแต่้ ลก ั ทร ัพย ์จนถึงใช ้กาลังประทุษร ้าย เป็ นความผิด
ฐานชิงทร ัพย ์ คาพิพากษาฏีกา ๘๓๗/๒๕๐๗
๙.ปลูกกัญชาเพือขาย่ เป็ นกรรมเดียว ไม่ใช่ผด ิ ฐานผลิตกรรมหนึ่ ง และ
่ าหน่ ายอีกกรรม คาพิพากษาฏีกา ๖๕/๒๕๒๗
มีไว ้เพือจ
๑๐.กระทาอนาจารก่อนข่มขืนเป็ นกรรมเดียว คาพิพากษาฏีกา ๕๔/
๒๕๒๘
๑๑.ใช ้มีดแทงคนขับรถจักรยานยนต ์เมือรถล ่ ้มจึงแทงคนซ ้อนทันที แม้
กระทาสองหนต่อบุคคลสองคนก็เป็ นกรรมเดียว คาพิพากษาฏีกา
๑๔๐๐/๒๕๔๙
๑๒.หน่ วงเหนี ยวกักขังใช ้กาลังดึงแขนขูบ ่ งั คับให ้นั่งรถไปด ้วยโดยทาให ้
กลัวจะเกิดอันตรายแก่ชวี ต ิ ร่างกายแล ้วพาไปทาอนาจาร เป็ นการ
กระทาทีเชื ่ อมโยงในวาระเดี
่ ยวกันไม่ขาดตอน กระทาไปโดยมีเจตนา
กระทาอนาจารเป็ นสาคัญ เป็ นกรรมเดียว คาพิพากษาฏีกา ๔๙๔/
๒๕๕๐
๑๓.ลักเช็คแล ้วนาไปกรอกข ้อความและตัวเลขพร ้อมลงลายมือชือ่
่ งสือเดินทาง ปลอมหนังสือเดินทางโดยนาภาพถ่าย
 ๑๔.เอาไปซึงหนั
จาเลยมาติดแทนภาพผูม้ ช ื่
ี อในหนั งสือเดินทางแล ้วปลอมตราประทับ
บันทึกการอนุ ญาตให ้คนเดินทางออกนอกราชอาณาจักร มีเจตนาเดียว
คือต ้องการออกนอกราชอาณาจักร เป็ นกรรมเดียวระหว่างความผิด

ฐานเอาไปซึงเอกสารและฐานปลอมเอกสารและปลอมเอกสารราชการ
คาพิพากษาฏีกา ๑๐๙๔/๒๕๕๒
๑๕.เอาโฉนดทีดิ ่ นปลอมทีมี ่ รอยตราปลอมประทับอยู่ ไปแลกโฉนดที่
แท ้จริงของผูเ้ สียหายอันเป็ นการเอาไปซึงเอกสารและลั ่ กทร ัพย ์โดยใช ้
กลอุบาย แล ้วนาโฉนดทีแท ่ ้จริงพร ้อมหนังสือมอบอานาจปลอมของ
ผูเ้ สียหายไปแสดงต่อเจ ้าพนักงานทีดิ ่ น กากรกระทาดังกล่าว “ มี

วัตถุประสงค ์เดียว” ทีจะขายหรื อ ขายฝากทีดิ ่ นพร ้อมอาคารผูเสี ้ ยหาย
เท่านั้น เป็ นกรรมเดียว คาพิพากษาฏีกา ๘๔๙๐/๒๕๕๒

๑๖.วิงราวโดยใช ้รถจักรยานยนต ์เป็ นพาหนะและใช ้อาวุธ การวิงราวเป็ ่ น
การใช ้กริยาฉกฉวยเอาซึงหน้ ่ ่
า ซึงรวมการกระท าผิดฐานลักทร ัพย ์ด ้วย
เป็ นกรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท คือผิดลักทร ัพย ์โดยใช ้อาวุธใน
เวลากลางคืน ตาม ปอ มาตรา ๓๓๔,๓๓๕(๑)((๗) และความผิดฐาน

วิงราวทร ัพย ์โดยใช ้อาวุธและยานพาหนะ คาพิพากษาฏีกา ๓๖๑๒/
๒๕๕๓

๑๗.ลักปลายขัวสลากเลขท ้าย ๓ ตัว ๒ ตัวของผูเ้ สียหายไปกรอกเลขให ้
ตรงรางวัลเลขท ้ายประจางวด นาไปหลอกเอารางวัลจากผูเ้ สียหาย เป็ น
ความผิดฐานลักทร ัพย ์ เอาไปซึงเอกสารของผู ่ ื่ ใช ้เอกสารสิทธิปลอม
อ้ น ์
่ ่
่ ่ในความครอบครองของผูเ้ สียหายและทุบอิฐบ็
 ๑๘.เข ้าไปในโรงงานทีอยู
อกและคอนกรีต รือเหล็ ้ กโครงสร ้างอาคารแล ้วเอาเหล็กดังกล่าวไป มี
เจตนาเดียวคือต ้องการเอาเหล็กไป จึงเป็ นกรรมเดียวผิดกฎหมายหลาย

บททังฐานบุ กรุก ทาให ้เสียทร ัพย ์และลักทร ัพย ์ คาพิพากษาฏีกา
๑๑๘๑๐//๒๕๕๓
๑๙.กระทาชาเราอันมีละกษณะโทรมหญิงแล ้ว ยังคงควบคุมหน่ วง
เหนี ยวและกักขังแล ้วพาไปอีกสถานทีหนึ ่ ่ งแล ้วกระทาชาเราอีก
ผูเ้ สียหายยังไม่พน้ จากภยันตรายอันเกิดจากการกระทาผิดของจาเลย

จึงเชือมโยงต่ อเนื่ องในวาระเดียวกันเป็ นกรรมเดียว คาพิพากษาฏีกา
๒๒๒/๒๕๕๔
๒๐.จาเลยเป็ นครูประจาชันจู ้ งมือผูเ้ สียหายอายุยงั ไม่เกิน ๑๕ ปี ไปต่อ
หน้าบิดามารดา เป็ นการใช ้อานาจของครูตอ ่ นศิษย ์ แม้
่ ผูเ้ สียหายซึงเป็
ทาอนาจารศิษย ์นอกเวลาเรียนก็ถอื ว่าศิษย ์อยู่ในความควบคุมดูแล เมือ ่
ทาอนาจารและข่มขืน เป็ นความผิดกรรมเดียว คาพิพากษาฏีกา
๒๔๒๕/๒๕๕๔
๒๑.จาเลยยิง ส. กระสุนพลาดไปถูก ว. เป็ นกรรมเดียวผิดกฎหมาย
หลายบท คาพิพากษาฏีกา ๕๔๓๘/๒๕๓๘
ี่
 มาตรา 91 (3) คาว่า "เว ้นแต่กรณี ทศาลลงโทษจาคุกตลอด
ชีวต ิ "
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 1919/2530 ตาม มาตรา 91 อนุ มาตรา 3
นั้นศาลจะลงโทษจาคุกจาเลยทุกกระทงรวมกันเกิน 50 ปี ไม่ได ้
ี่
เว ้นแต่กรณี ทศาลลงโทษจ าคุกตลอดชีวต ิ และคาว่า "เว ้นแต่กรณี

ทีศาลลงโทษจ าคุกตลอดชีวต ิ นั้น" หมายความว่าหากความผิด
กระทงใดกระทงหนึ่ งมีโทษทีจะลงแก่่ จาเลยจริง ๆ เป็ นโทษจาคุก
ตลอดชีวต ่ าเอาโทษจาคุกทีมี
ิ แล ้ว เมือน ่ กาหนดเวลาในกระทงอืน ่
มารวม ศาลคงลงโทษจาเลยได ้เพียงจาคุกตลอดชีวต ิ
เท่านั้น จาเลยมีความผิดฐานฆ่าผูอ้ นและพยายามฆ่
ื่ ื่ ซึงเป็
าผูอ้ น ่ น
กรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบทกระทงหนึ่ ง และมีความผิดฐาน
มีอาวุธปื นไว ้ในความครอบครองโดยไม่ได ้รับอนุ ญาตอีกกระทง
หนึ่ ง ศาลลงโทษฐานฆ่าผูอ้ นอั ื่ นเป็ นบทหนักให ้จาคุกตลอดชีวต ิ
และฐานมีอาวุธปื นไว ้ในความครอบครองโดยไม่ได ้ร ับอนุ ญาตให ้
จาคุก 2 ปี ดังนี ้ เมือศาลลดโทษให
่ ่ ่ งคงลงโทษฐานฆ่า
้จาเลยกึงหนึ
 ประเด็นเปรียบเทียบ การนับโทษต่อ

 คดีสองสานวน “เกียวพั
นกัน” อาจฟ้ องเป็ นคดีเดียวกันได ้ (ปวิอ

ม 24) เมือโจทก ์แยกฟ้ องและศาลไม่รวมสานวน หากศาล
พิพากษาลงโทษจาเลยทุกกรรมโดยจาคุกจาเลยเต็มจานวนที่
กาหนดไว ้ ตาม ม 91 (2) ในสานวนหนึ่ งแล ้ว ก็ไม่อาจนับโทษต่อ
จากอีกสานวนหนึ่ งได ้ ฎ 2355/2539
 คดีสองสานวน “ไม่เกียวพั ่ นกัน” ไม่อาจฟ้ องเป็ นคดีเดียวกันได ้

เมือโจทก ์แยกฟ้ องและศาลไม่รวมสานวน ศาลมีอานาจพิพากษา
ลงโทษจาคุก นับโทษต่อจากอีกสานวนหนึ่ งได ้ เกินกว่า 20 ปี ได ้
ฎ 85-87/2536
 คาพิพากษาฎีกาที่ 4656/2540 บทบัญญัตต
ิ าม ป.อ. มาตรา
91 ใช ้ในกรณี ทศาลมี ี่ คาพิพากษาอันเดียวกัน ในคาฟ้ องคดีเดียว

ทีรวมเอาความผิ ดหลายกระทงไว ้ด ้วยกันตาม ป.วิ.อ.มาตรา 160
หรือคาฟ้ องหลายคดีทพิ ี่ จารณาพิพากษารวมกัน ตาม ป.วิ.อ.
มาตรา 25 ซึงปรากฏว่ ่ าจาเลยกระทาผิดหลายกรรมต่างกัน ก็ให ้
ศาลลงโทษจาเลยทุกกรรมเป็ นกระทงความผิดไป โดยมีข ้อยกเว ้น

ว่า เมือรวมโทษทุ กกระทงแล ้ว โทษจาคุกทังสิ ้ น้ ต ้องไม่เกินกาหนด

ตามทีระบุไว ้ใน ป.อ. มาตรา 91 วรรคท ้าย ป.อ. มาตรา 91 มิได ้
บัญญัตห ิ ้ามว่าการนับโทษจาคุกของจาเลยในคดีหนึ่ ง ต่อจากคดี

อืนของจ าเลยทีมี ่ คาฟ้ อง และคาพิพากษาต่างสานวนต่างหาก
ออกไป เมือนั ่ บรวมกันแล ้วจะเกินกาหนดในมาตรา 91 ไม่ได ้ ซึง่
การขอให ้นับโทษจาคุกของจาเลยในคดีหนึ่ ง ต่อจากโทษจาคุกของ
จาเลยในคดีอน ื่ เป็ นการขอให ้ศาลกล่าวไว ้เป็ นอย่างอืนในค ่ า
พิพากษาเกียวกั ่ บการ เริมนั ่ บโทษจาคุกของจาเลยในคดีน้ันว่า จะ
่ บแต่เมือใด
ให ้เริมนั ่ ่
ซึงหากไม่ ่ ก็ต ้องเริมแต่
กล่าวไว ้เป็ นอย่างอืน ่ วน

่ ้
9. อายุความ
 มาตรา ๙๕ ในคดีอาญา ถ ้ามิได ้ฟ้ องและได ้ตัวผูก
้ ระทาความผิดมายัง
ศาลภายในกาหนดดังต่อไปนี ้ นับแต่วน
ั กระทาความผิด เป็ นอ ันขาด
อายุความ
่ บปี สาหร ับความผิดต ้องระวางโทษประหารชีวต
 (๑) ยีสิ ิ จาคุกตลอดชีวต

หรือจาคุกยีสิ ่ บปี
 ่ บ
(๒) สิบห ้าปี สาหร ับความผิดต ้องระวางโทษจาคุกกว่าเจ็ดปี แต่ยงั ไม่ถงึ ยีสิ
ปี
 (๓) สิบปี สาหร ับความผิดต ้องระวางโทษจาคุกกว่าหนึ่ งปี ถึงเจ็ดปี
 (๔) ห ้าปี สาหร ับความผิดต ้องระวางโทษจาคุกกว่าหนึ่ งเดือนถึงหนึ่ งปี
 (๕) หนึ่ งปี สาหร ับความผิดต ้องระวางโทษจาคุกตังแต่้ หนึ่ งเดือนลงมา หรือ
ต ้องระวางโทษอย่างอืน ่
 ถ ้าได ้ฟ้ องและได ้ตัวผู ้กระทาความผิดมายังศาลแล ้ว ผูกระท
้ าความผิด

หลบหนี หรือวิกลจริต และศาลสังงดการพิ จารณาไว ้จนเกินกาหนด
ดังกล่าวแล ้วนับแต่วน ่
ั ทีหลบหนี ่
หรือวันทีศาลสั่
งงดการพิ จารณา ก็ให ้ถือ
ว่าเป็ นอันขาดอายุความเช่นเดียวกัน
ื่ ต ้องระวางโทษประหารชีวต
 มาตรา ๒๘๘ ผูใ้ ดฆ่าผูอ้ น ิ จาคุก
ตลอดชีวต ิ หรือจาคุกตังแต่ ้ สบ ่ บปี
ิ ห้าปี ถึงยีสิ
 มาตรา ๒๙๐ ผูใ้ ดมิได ้มีเจตนาฆ่า แต่ทาร ้ายผูอ้ นจนเป็ ื่ นเหตุให ้
ผูน้ ้ันถึงแก่ความตาย ต ้องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สามปี ถึงสิบห้า
ปี
 มาตรา ๒๙๑ ผูใ้ ดกระทาโดยประมาท และการกระทานั้นเป็ น
ื่ งแก่ความตาย ต ้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิบปี และ
เหตุให ้ผูอ้ นถึ
ปรับไม่เกินสองแสนบาท
 มาตรา ๒๙๕ ผูใ้ ดทาร ้ายผูอ้ น ื่ จนเป็ นเหตุให ้เกิดอันตรายแก่กาย
หรือจิตใจของผูอ้ นนั ื่ ้น ผูน้ ้ันกระทาความผิดฐานทาร ้าย
ร่างกาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปร ับไม่เกินสี่

หมืนบาท ้ าทังปรับ
หรือทังจ ้
 มาตรา ๓๐๐ ผูใ้ ดกระทาโดยประมาท และการกระทานั้นเป็ นเหตุ
ื่ ับอันตรายสาหัส ต ้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือ
ให ้ผูอ้ นร
ื่ หรือทีผู
 มาตรา ๓๓๔ ผูใ้ ดเอาทร ัพย ์ของผูอ้ น ่ อ้ นเป็
ื่ นเจ ้าของ
รวมอยู่ด ้วยไปโดยทุจริต ผูน้ ้ันกระทาความผิดฐานลักทรัพย ์ ต ้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี และปร ับไม่เกินหกหมืนบาท่


 หมินประมาท ้ นความผิดอัน
มาตรา ๓๓๓ ความผิดในหมวดนี เป็
ยอมความได ้
 ฉ้อโกง มาตรา ๓๔๘ ความผิดในหมวดนี ้ นอกจากความผิดตาม
มาตรา ๓๔๓ เป็ นความผิดอันยอมความได ้
 โกงเจ ้าหนี ้ มาตรา ๓๕๑ ความผิดในหมวดนี เป็
้ นความผิดอันยอม
ความได ้
 ยักยอก มาตรา ๓๕๖ ความผิดในหมวดนี เป็ ้ นความผิดอันยอม
ความได ้
 ทาให ้เสียทร ัพย ์ มาตรา ๓๖๑ ความผิดตามมาตรา ๓๕๘ และ
มาตรา ๓๕๙ เป็ นความผิดอันยอมความได ้

่ ้องระวางโทษ
 มาตรา ๑๐๒ ความผิดลหุโทษ คือ ความผิดซึงต
จาคุกไม่เกินหนึ่ งเดือน หรือปร ับไม่เกินหนึ่ งหมืนบาท
่ ้ าทัง้
หรือทังจ
ปรับ
 มาตรา ๓๗๑ ผูใ้ ดพาอาวุธไปในเมือง หมู่บ ้านหรือทางสาธารณะ
โดยเปิ ดเผยหรือโดยไม่มเี หตุสมควร หรือพาไปในชุมนุ มชนทีได ่ ้
ึ ้ อนมั
จัดให ้มีขนเพื ่ ่ งหรือการอืนใด
สการ การรืนเริ ่ ต ้องระวางโทษ
ปร ับไม่เกินหนึ่ งพันบาท และให ้ศาลมีอานาจสังให ่ ร้ บิ อาวุธนั้น
 มาตรา ๓๗๖ ผูใ้ ดยิงปื นซึงใช ่ ้ดินระเบิดโดยใช่เหตุ ในเมือง
หมู่บ ้านหรือทีชุ ่ มนุ มชน ต ้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิบวัน หรือ
ปร ับไม่เกินห ้าพันบาท หรือทังจ ้ าทังปรับ

 มาตรา ๓๙๐ ผูใ้ ดกระทาโดยประมาท และการกระทานั้นเป็ นเหตุ
ื่ ับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต ้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน
ให ้ผูอ้ นร
หนึ่ งเดือน หรือปร ับไม่เกินหนึ่ งหมืนบาท
่ หรือทังจ ้ ับ
้ าทังปร
 มาตรา ๓๙๑ ผูใ้ ดใช ้กาลังทาร ้ายผู ้อืน ่ โดยไม่ถงึ กับเป็ นเหตุให ้เกิด
อันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต ้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่ งเดือน
ื่ ดความกลัว หรือความตกใจ โดย
 มาตรา ๓๙๒ ผูใ้ ดทาให ้ผูอ้ นเกิ
การขูเ่ ข็ญ ต ้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่ งเดือน หรือปร ับไม่เกิน
หนึ่ งหมืนบาท
่ ้ าทังปรับ
หรือทังจ ้
 มาตรา ๓๙๓ ผูใ้ ดดูหมินผู่ อ้ นซึ
ื่ งหน้
่ าหรือด ้วยการโฆษณา ต ้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่ งเดือน หรือปร ับไม่เกินหนึ่ งหมืน

บาท หรือทังจ้ าทังปร
้ ับ
 คาพิพากษาฎีกาที่ 5494/2534 ประชุมใหญ่ ศาลฎีกาตรวจสานวน
ประชุมปรึกษาแล ้ว มีข ้อวินิจฉัยตามทีโจทก ่ ์ ฎีกาว่า อายุความฟ้ อง
จะต ้องพิจารณาจากข ้อหาหรือฐานความผิดทีโจทก ่ ์ฟ้ อง หรือพิจารณา
จากข ้อหาหรือฐานความผิดทีศาลฟั ่ งลงโทษ โดยโจทก ์เห็นว่าคดีนีโจทก ้ ์
ฟ้ องจาเลยในฐานความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 300 ซึง่
มีอตั ราโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี อายุความคดีนีมี ้ 10 ปี แม้ศาลชันต ้ ้นจะ
ฟังลงโทษจาเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 390 ก็หาทาให ้คดี
ของโจทก ์ขาดอายุความไม่ เพราะโจทก ์ฟ้ องจาเลยภายในอายุความที่
จาเลยถูกกล่าวหาแล ้วนั้น พิเคราะห ์แล ้ว หากจะถืออายุความจากข ้อหา
หรือฐานความผิดตามที่ โจทก ์ฟ้ อง ผูถ้ ก ู กล่าวหาหรือจาเลยอาจไม่ได ้
ร ับความเป็ นธรรม และอาจทาให ้มีการฟ้ องในข ้อหาทีมี ่ อต ั ราโทษสูงกว่า
่ ้กระทาผิดจริง เหตุดงั กล่าวอาจทาให ้เป็ นการขยายอายุความฟ้ อง
ทีได

คดีอาญา ซึงจะเป็ นโทษต่อจาเลย ศาลฎีกาโดยมติทประชุ ี่ มใหญ่
เห็นว่า อายุความฟ้องคดีอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา95 ต้องถือตามอ ัตราโทษของความผิด ทีพิ ่ จารณาได้
ความ คดีนีได ้ ้ความเป็ นทียุ่ ตวิ า่ การกระทาของจาเลยเป็ นความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 390 ซึงมี ่ อายุความฟ้ องภายใน 1 ปี
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 95(5) เมือข ่ ้อเท็จจริงปรากฏว่า
้ น 1 ปี นับแต่วน
โจทก ์ฟ้ องคดีนีเกิ ั กระทาความผิดฟ้ องโจทก ์จึง ขาดอายุ
 - การนับกาหนดเวลา
 - ค าพิพ ากษาฎีก าที่ 4635/2531 ประมวลกฎหมายอาญา

บัญ ญัต เิ รืองอายุ ค วามคดีอ าญาไว้เ ป็ นพิเ ศษโดยเฉพาะ

แล้ว จะนาบทบัญญัตเิ รืองอายุ ความสะดุดหยุดอยู่หรือการขยาย
อายุค วามตามประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิ ช ย ์ มาตรา 175,
176 มาใช ้ในคดีอาญาไม่ได ้ / โจทก ์ยืนฟ้ ่ องคดีความผิด ตาม
พระราชบัญ ญัต ล ิ ขิ สิท ธิ ์ พ.ศ.2521 ซึงเป็ ่ นความผิด อ น ั
ยอมความได้ต่อศาลแขวงพระนครใตภ ้ ายในกาหนดอายุความ
ในวันนั ดไต่สวนมูลฟ้ อง ศาลแขวงพระนครใตเ้ ห็ นว่า คดีไม่ อยู่ใน
อานาจของศาลแขวงจึงสั่งจาหน่ ายคดีใหโ้ จทก ์ไปฟ้ องยังศาลทีมี ่
อ านาจภายใน 7 วัน โจทก จ์ ึง ยื่นฟ้ องคดีนี้ ต่ อ ศาลอาญา
ภายในกาหนดเวลา 7 วันดังกล่าว แต่ล่วงเลยกาหนดเวลา
ั ที่โจทก ร์ ู เ้ รืองการกระท
3 เดือ น นั บ แต่ ว น ่ าผิด และรู ต
้ วั
จาเลยผู ก ้ ระทาผิดแล้ว โดยโจทก ์มิได้ร ้องทุกข ์ไว้ก่อน คดี
โจทก ์จึงขาดอายุความ

 หมายเหตุ “เรืองอายุ ความ” ประมวลกฎหมายอาญา บัญญัตไิ ว ้
่ บอายุความ
 การเริมนั
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 435/2535 การทีจ
่ าเลยเข ้าไปสร ้างรว้ั ท ้องคร ัว
ห ้องน้าในทีดิ่ นของโจทก ์เพือถื
่ อการครอบครองเป็ นของตนนั้น
ความผิดฐานบุกรุกเกิดขึนและส ้ าเร็จ เมือจ ่ าเลยเข้าไปกระทา
การด ังกล่าว ส่วนการทีจ ่ าเลยครอบครองทีดิ ่ นต่อมา เป็ นเพียง
ผลของการบุกรุกเท่านัน ้ หาเป็ นความผิดต่อเนื่ องไม่
 - การฟ้องคดี ต้องฟ้องและได้ต ัวผู ก ้ ระทาความผิดมายังศาล
แล้ว อายุความจึงจะหยุดนับ
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 270/2528 ตาม ป.อ. ม.95 นั้น ต ้องฟ้ องและได ้
ตัวผูก้ ระทาความผิดมายังศาลแล ้ว อายุความจึงจะหยุดนับ บทบัญญัต ิ
มาตรานี ไม่ ้ ได้ใช้บงั คบ ี่ กงานอ ัยการเป็ นโจทก ์
ั ในกรณี ทพนั
เท่านัน ้ ในกรณี ทราษฎรเป็
ี่ นโจทก ์ก็ตอ ้ งถือหลักอย่างเดียวกัน
 โจทก ์บรรยายฟ้ องว่า เหตุเกิดระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2507 ถึง
ว ันที30่ มีนาคม 2514 ความผิดของจาเลยทีโจทก ่ ์ฟ้ องมีอายุความ
10 ปี โจทก ์จะต ้องฟ้ องและได ้ตัวจาเลยผูก้ ระทาความผิดมายังศาล
ภายใน วันที่ 30 มีนาคม 2524 คดีจงึ จะไม่ขาดอายุความ โจทก ์ยืน ่
ฟ้ องจาเลย วันที่ 30 มีนาคม 2524 แต่ศาลชันต ้ ้นต ้องทาการไต่สวนมูล
ฟ้ องของโจทก ์ต่อไป ระหว่างนั้นจะถือว่าได ้ตัวจาเลยมายังศาลและจาเลย
้ ่
 มาตรา 96 อยู ่ภายใต้บงั คับมาตรา 95
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 2440/2523 จาเลยฉ้อโกงได ้โฉนดของโจทก ์ไป
่ ้นเดือนพฤศจิกายน 2494 ซึงเป็
เมือต ่ นวันกระทาความผิดฐานฉ้อโกง
่ นที่ 9 พฤศจิกายน 2522 เกินสิบปี คดี
แต่โจทก ์มาฟ้ องจาเลยเมือวั
โจทก ์ขาดอายุความตาม ป.อ.ม.95 สิทธินาคดีมาฟ้องของ
โจทก ์จึงระงับไปตาม ป.ว.อ. ม.39 (6) แม้โจทก ์จะอ ้างว่าได ้ฟ้ อง

จาเลยหลังจากรู ้เรืองความผิ ดภายใน 3 เดือน ตาม ป.อ. ม.96 ก็ไม่ทา
ให ้โจทก ์มีสท
ิ ธิฟ้อง เพราะสิทธิฟ้องของโจทก ์ตามมาตรานี ต ้ ้องอยู่
ภายใต ้บังคับ ม. 95
 - วิธก ่
ี ารนับเวลา ในเรืองอายุ ความ กรณี วน ั สุดท้ายแห่ง
ระยะเวลาตรงกับวันหยุดราชการ
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 2212/2515 กาหนดเวลาทีให ่ ้ผูเ้ สียหายใน
ความผิดอันยอมความได ้ร ้องทุกข ์ภายใน 3 เดือน มิฉะนั้นเป็ นอันขาด
อายุความนั้น เป็ นบทบัญญัตส ี่ เ้ สียหายจะร ้องทุกข ์ต่อ
ิ าหร ับกรณี ทผู
พนักงานสอบสวน ฯลฯ แต่ถ ้าผูเ้ สียหายไม่ร ้องทุกข ์เสียก่อน จะใช ้สิทธิ
นาคดีมาฟ้ องต่อศาลด ้วยตนเอง ก็ย่อมกระทาได ้ภายในกาหนด
ระยะเวลาเดียวกัน / ถ ้าวันสุดท ้ายแห่งระยะเวลาเป็ นวันหยุด ซึงตาม ่
่ มท
ประเพณี งดเว ้นการงาน ท่านให ้นับวันทีเริ ่ างานใหม่เข ้าด ้วย ตาม ป.
้ ่ ่ ้
 วิธก ่
ี ารนับเวลา ในเรืองอายุ ่ บอายุความ
ความ การเริมนั
 - คาพิพากษาฎีกาที่ 2272/2527 แม้จาเลยปิ ดป้ ายประกาศหมิน


ประมาทโจทก ์ก่อนวันทีโจทก ์ไปร ้องทุกข ์หรือฟ้ องคดีเกิน 3 เดือน
ก็ตาม การโฆษณาหมินประมาท ่ นับแต่วน ั ปิ ดประกาศ ก็
ยังคงดาเนิ นต่อเนื่ องกันไป อ ันถือได้วา ่ เป็ นความผิด
ต่อเนื่ อง จนกว่าจะมีการปลดป้ ายประกาศออกไป ซึงถื ่ อได ้ว่า
การกระทาอันเป็ นมูลแห่งความผิดฐานหมินประมาทได ่ ้ยุตลิ ง อายุ
ความย่อมจะต้องเริมนั ่ บ ตังแต่ ้ ว ันทีมี่ การปลดป้ ายประกาศ
ออกคือวันที่ 2 กันยายน 2524 ซึงเป็ ่ นวันเดียวกับทีโจทก ่ ์ไปร ้อง
ทุกข ์ต่อพนักงานสอบสวนกล่าวหาว่าจาเลยหมินประมาท ่ และ
่ นที่ 7 กันยายน 2524 คดีโจทก ์จึงไม่ขาดอายุ
โจทก ์ฟ้ องคดีเมือวั
ความ
 คาพิพากษาฎีกาที่ 6368/2534 โจทก ์ร่วมรู ้ถึงการหลอกลวง
้ เดือนกันยายน 2527 แม้เพิงมี
ตังแต่ ่ หลักฐานเมือเดื ่ อนธันวาคม

2527 แสดงว่าจาเลยฉ้อโกง ก็เป็ นเรืองของการหาหลั กฐานในการ
ดาเนิ นคดี อันเป็ นคนละกรณี กับทีโจทก ่ ์ร่วมรู ้ว่าถูกหลอกลวง

You might also like