You are on page 1of 30

สัมมนากฎหมายอาญาภาคทั่วไป น.

110
: ผู้กระทาความผิดหลายคน

อ.ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ
E-mail: lkhitdisorn@gmail.com

1
เค้าโครงการบรรยาย

1. ภาพรวมของ ตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน


2. ตัวการ (ม.83)
3. การใช้ให้ผู้อื่นกระทาความผิด (ม.84)
4. การโฆษณา หรือประกาศให้ผู้อื่นกระทาความผิด (ม.85)
5. ผู้สนับสนุน (ม.86)
6. กรณีผู้กระทาเกินไปกว่าขอบเขตที่ใช้ โฆษณา ประกาศ หรือสนับสนุน (ม.87)
7. กรณีผู้ใช้ โฆษณา ประกาศ หรือสนับสนุนเข้าขัดขวางผู้กระทา (ม.88)
8. เหตุส่วนตัว และเหตุในลักษณะคดี (ม.89)
2
ภาพรวมของ ตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน

ข้อสังเกตในภาพรวม
1) ต้องวินิจฉัยความรับผิดทางอาญาของ“ผู้ลงมือ” เสียก่อนเสมอ
เพราะเป็นศูนย์กลางของความผิด
ใช้ ม.84
2) ผู้ลงมืออาจเป็นกระทาเอง/โดยอ้อมก็ได้
ตัวการ ม. 83 289 (4) 3) ผู้ลงมือต้องกระทาความผิดโดยเจตนาเท่านั้น จึงจะสามารถมี
ตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน ได้
4) การพยายามเป็ น ตั ว การ ผู้ ใ ช้ ผู้ ส นั บ สนุ น ไม่ ส ามารถมี ไ ด้ =
ไม่มี 80+(83/84/86)
สนับสนุน ม.86
5) แต่ตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน ในการพยายามกระทาความผิดมีได้
6) หากเป็นผู้ลงมือไม่ได้ก็เป็นตัวการ/ผู้ใช้ไม่ได้ แต่เป็นผู้สนับสนุนได้
(กรณีผู้กระทาต้องมีคุณสมบัติเฉพาะตัว Ex กรณีเจ้าพนักงาน)
3
กรณีฐานะซ้อนกัน

1 2

ผลทางกฎหมายของ
ฐานะคนที่ 1 การกระทา ฐานะคนที่ 2
ฐานะคนที่ 1 ต่อ ผู้ลงมือ
ผู้ใช้ ใช้ ผู้ใช้ ผู้ใช้ผู้ลงมือ
ผู้ใช้ ใช้ ผู้สนับสนุน ผู้สนับสนุนผู้ลงมือ
ผู้สนับสนุน สนับสนุน ผู้สนับสนุน ผู้สนับสนุนผู้ลงมือ
ผู้สนับสนุน สนับสนุน ผู้ใช้ ผู้สนับสนุนผู้ลงมือ
4
ตัวการ (ม.83)

(1) บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป


ร่วมกันกระทาส่วนหนึ่ง

(2) มีการกระทาร่วมกัน แบ่งหน้าที่กันทา


หลักเกณฑ์ ในขณะกระทาความผิด อยู่ร่วมในที่เกิดเหตุในลักษณะที่จะเข้าช่วยเหลือได้ทันที
การเป็นตัวการ
อยู่ร่วมในที่เกิดเหตุ + ก่อให้ผู้อื่นกระทาความผิด
ส่วนรู้
(3) มีเจตนาร่วมกัน +
ส่วนต้องการ
5
ตัวการ (ม.83)

ข้อสังเกต: การกระทาร่วม+เจตนาร่วม “ขณะกระทาความผิด”


- มีการกระทาร่วม+เจตนาร่วม จนถึงเวลาที่มีการ “ลงมือ” กระทาความผิด
- ถ้าร่วมกัน ขณะ “ตระเตรียม” แต่เมื่อกระทาเข้าขั้น “ลงมือ” คนอีกคนไม่ได้ร่วมกระทาด้วย ก็ไม่เป็น
ตัวการ แต่อาจเป็นการให้ความช่วยเหลือ/อานวยความสะดวกก่อนการกระทาความผิด = เป็นผู้สนับสนุน
- การกระทาร่วมกันสิ้นสุดลงเมื่อใด การเป็นตัวการก็สิ้นสุดลงเมื่อนั้น

295

6
กรณีคุณสมบัติเฉพาะตัวของผู้กระทา

มาตรา 158 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน ทาให้เสียหาย ทาลาย ซ่อนเร้น เอาไปเสีย หรือทาให้สูญหายหรือ


ทาให้ไร้ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์หรือเอกสารใดอันเป็นหน้าที่ของตนที่จะปกครองหรือรักษาไว้ หรือยินยอมให้ผู้อื่น
กระทาเช่นนั้น ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่งแสนสี่หมื่นบาท

ม.83 + 158
ม.84 + 158

ม.86 + 158

7
กรณีคุณสมบัติเฉพาะตัวของผู้กระทา

มาตรา 358 ผู้ใดทาให้เสียหาย ทาลาย ทาให้เสื่อมค่าหรือทาให้ไร้ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์ของผู้อื่นหรือ


ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย ผู้นั้นกระทาความผิดฐานทาให้เสียทรัพย์ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับ
ไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

ม.83 + 358

ม.84 + 358
ม.86 + 358

8
การใช้ผู้อื่นให้ไปกระทาความผิด (ม.84)

(1) มีการกระทาอันเป็นการก่อให้ผู้อื่นกระทาความผิด

(2) มีเจตนาก่อให้ผู้อื่นกระทาความผิด
หลักเกณฑ์ ผู้ถูกใช้ไม่ยอมกระทา
การเป็นผู้ใช้
ความผิดยังไม่ได้กระทาลง (ว.2)
(3) ระวางโทษ ผู้ถูกใช้ยังมิได้กระทา
กรณีทั่วไป
ความผิดได้กระทาลง (ว.3)
กรณีผู้ถูกใช้เป็นคนเปราะบาง
9
ข้อสังเกต: (1) มีการกระทาอันเป็นการก่อให้ผู้อื่นกระทาความผิด

หลัก: การกระทาอันเป็นเหตุให้ผู้อื่น “ตกลงใจ” กระทาความผิด


- หากตอนแรกผู้ลงมือยังลังเลอยู่ แล้วผู้ใช้ไปทาการใช้ = เป็นการที่ผู้ใช้ก่อเจตนา เนื่องจากทาให้หมด
ความลังเลใจ
- หากผู้ลงมือมีเจตนาอยู่ก่อนแล้ว คนใช้ก็ไม่เป็นผู้ใช้ เพราะไม่ได้ทาให้ผู้ถูกใช้ตกลงใจกระทาความผิด
แต่ยังถือได้ว่าเป็นการให้ความช่วยเหลือ/อานวยความสะดวกก่อนการกระทาความผิด = เป็นผู้สนับสนุน
- กรณีใช้หลายทอด การใช้จะมีผลให้ผู้ใช้ทั้งหลายรับโทษ 1/3 เมื่อการใช้ไปถึงตัวผู้ลงมือ
- กรณีผู้ถูกใช้สาคัญผิดในตัวบุคคล/กระทาโดยพลาด ยังถือว่าอยู่ในขอบเขตของการใช้

10
การใช้ผู้อื่นให้ไปกระทาความผิด (ม.84)

จงไปฆ่าเขียว OK

โทษ 1/3
(ม.84 ว.2)
11
การใช้ผู้อื่นให้ไปกระทาความผิด (ม.84)

จงไปฆ่าเขียว OK

ไปกระทาตามที่ตกลง

โทษเสมือน ม. 288
เป็นตัวการ จาคุก
(ม.84 ว.3) 20 ปี
12
การใช้ผู้อื่นให้ไปกระทาความผิด (ม.84)

จงไปฆ่าเขียว .........

โทษ 1/3
(ม.84 ว.2)
?
13
การใช้ผู้อื่นให้ไปกระทาความผิด (ม.84)

จงไปใช้ม่วงให้ไปฆ่าเขียว OK

โทษ 1/3
(ม.84 ว.2)
?
14
การใช้ผู้อื่นให้ไปกระทาความผิด (ม.84)

จงไปใช้ม่วงให้ไปฆ่าเขียว ไปฆ่าเขียวนะ

โทษ 1/3
(ม.84 ว.2)
?
15
การใช้ผู้อื่นให้ไปกระทาความผิด (ม.84)

อยากฆ่าเขียว จงไปฆ่าเขียว

โทษ 1/3
(ม.84 ว.2)
?
16
การใช้ผู้อื่นให้ไปกระทาความผิดลหุโทษ (ม.84)

จงไปตบหน้านายเขียว OK

โทษ 1/3
(ม.84 ว.2)
?
17
การใช้ผู้อื่นให้ไปกระทาความผิดลหุโทษ (ม.84)

ขอซื้อยาบ้า OK

โทษ 1/3
(ม.84 ว.2)
?
18
ข้อสังเกต: กรณีการกระทาความผิดโดยอ้อม

ยารักษาเขียว OK

โทษ 1/3
(ม.84 ว.2)
?
การโฆษณา หรือประกาศ ให้ผู้อื่นไปกระทาความผิด (ม.85)

(1) มีการกระทาอันเป็นการก่อให้ผู้อื่นกระทาความผิด เฉพาะความผิดอัตราโทษ


โดยไม่เจาจงตัว (≠ม.84) จาคุก ≥ 6 เดือน

หลักเกณฑ์
(2) มีเจตนาก่อให้ผู้อื่นกระทาความผิด
การเป็นผู้ใช้

ความผิดยังไม่ได้กระทาลง (ว.1)
(3) ระวางโทษ

ความผิดได้กระทาลง (ว.2) 20
เหตุลดโทษของผู้ถูกใช้ ผู้กระทาตามโฆษณา หรือประกาศ (ม.85/1)

ถ้าผู้ถูกใช้ตามมาตรา 84 หรือผู้กระทาตามคาโฆษณา หรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทาความผิด


ตามมาตรา 85 1)ได้ให้ข้อมูลสาคัญอันเป็นการเปิดเผยถึงการกระทาความผิด ของผู้ใช้ให้กระทาความผิดหรือผู้
โฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทาความผิด และ 2)เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการดาเนินคดีแก่บุคคล
ดังกล่าว ศาลจะลงโทษผู้นั้นน้อยกว่าอัตราโทษขั้นต่าที่กาหนดไว้สาหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้
ผู้สนับสนุน (ม.86)

ให้ความช่วยเหลือ
(1) มีการกระทาอันเป็นการสนับสนุน
ให้ความสะดวก
(2) มีเจตนาสนับสนุน
หลักเกณฑ์
การเป็นผู้สนับสนุน ก่อนกระทาความผิด
(3) ช่วงเวลาการการสนับสนุน
ขณะกระทาความผิด
(4) มีการกระทาความผิดเกิดขึ้น

22
ผู้สนับสนุน (ม.86)

- ผู้สนับสนุนจะยังไม่ถูกลงโทษจนกว่าความผิดที่สนับสนุนจะได้กระทาลงถึงขั้นที่เป็น
ความผิด (≠ ผู้ใช้มีความผิด+รับโทษ 1/3 ทันทีที่ใช้)
- จะเป็นผู้สนับสนุนได้ ผู้กระทาต้องได้รับประโยชน์ โดยอาจะเป็นประโยชน์ทางตรงหรือ
ทางอ้อมก็ได้
- ผู้ได้รับการสนับสนุนไม่จาเป็นต้องรู้ถึงการช่วยเหลือนั้น

23
ผู้สนับสนุน (ม.86)

- ไม่มีกรณีการสนับสนุน “หลังกระทาความผิด ” การให้ความช่วยเหลือ /อานวยความ


สะดวกหลังจากการกระทาความผิดสาเร็จแล้ว ไม่ใช้มาตรา 86 แต่ต้องดูเป็นฐานความผิดเฉพาะ
เรื่องไป
Ex การให้ความช่วยเหลือหลังลักทรัพย์สาเร็จ ไม่ใช่มาตรา 334+86 แต่เป็นความผิดฐาน
รับของโจรโดยเฉพาะแยกเป็นเอกเทศเลย ตามมาตรา 357
Ex การให้ฆาตกรหลบซ่อนในบ้านตนเองหลังจากฆ่าผู้อื่นแล้ว ไม่ใช่มาตรา 288+86 แต่
เป็นความผิดฐานช่วยผู้กระทาความผิดหรือผู้ต้องหาว่ากระทาความผิดเพื่อไม่ให้ต้องรับโทษหรือถูก
จับกุม ตามมาตรา 189

24
กรณีผู้กระทาได้กระทาเกินไปกว่าขอบเขตที่
ใช้ โฆษณา ประกาศ หรือสนับสนุน (ม.87)
หลัก: ไม่ต้องรับผิดเกินไปกว่าที่ใช้/ประกาศ/โฆษณา/สนับสนุน
ข้อยกเว้น: คาดเห็นได้ว่าการกระทาความผิดที่เกินขอบเขตนั้นจะเกิดขึ้น
มาตรา 87 ในกรณีที่มีการกระทาความผิดเพราะมี 1ผู้ใช้ให้กระทาตามมาตรา 84 เพราะมี2ผู้โฆษณาหรือประกาศแก่
บุคคลทั่วไปให้กระทาความผิดตามมาตรา 85 หรือโดยมี3ผู้สนับสนุนตามมาตรา 86 ถ้าความผิดที่เกิดขึ้นนั้น Aผู้กระทา
ได้กระทาไปเกินขอบเขตที่ใช้หรือที่โฆษณาหรือประกาศ หรือBเกินไปจากเจตนาของผู้สนับสนุน ผู้ใช้ให้กระทาความผิด ผู้
โฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทาความผิด หรือผู้สนับสนุนการกระทาความผิด แล้วแต่กรณี ต้องรับผิดทาง
อาญาเพียงสาหรับความผิดเท่าที่อยู่ในขอบเขตที่ใช้ หรือที่โฆษณาหรือประกาศ หรือ อยู่ในขอบเขตแห่งเจตนาของ
ผู้สนับสนุนการกระทาความผิดเท่านั้น แต่ถ้าโดยพฤติการณ์อาจเล็งเห็นได้ว่า อาจเกิดการกระทาความผิดเช่นที่เกิดขึ้น
นั้นได้จากการใช้ การโฆษณา หรือประกาศ หรือการสนับสนุน ผู้ใช้ให้กระทาความผิด ผู้โฆษณาหรือประกาศแก่บุคคล
ทั่วไปให้กระทาความผิด หรือผู้สนับสนุนการกระทาความผิด แล้วแต่กรณี ต้องรับผิดทางอาญาตามความผิดที่เกิดขึ้นนั้น
25
กรณีผลแห่งการกระทาเกินไปกว่าขอบเขตที่
ใช้ โฆษณา ประกาศ หรือสนับสนุน (ม.87)
หลัก: ต้องรับผิดเกินไปกว่าที่ใช้/ประกาศ/โฆษณา/สนับสนุน
ข้อยกเว้น: ไม่ต้องรับผิด ถ้าลักษณะความผิดนั้น ผู้กระทาจะต้องรู้/เล็งเห็นได้ว่าผลจะเกิด

มาตรา 87 วรรคสอง ในกรณีที่ผู้ถูกใช้ ผู้กระทาตามคาโฆษณา หรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทาความผิด หรือ


ตัวการในความผิด จะต้องรับผิดทางอาญามีกาหนดโทษสูงขึ้นเพราะอาศัยผลที่เกิดจากการกระทาความผิด ผู้ใช้ให้
กระทาความผิด ผู้โฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทาความผิด หรือผู้สนับสนุนการกระทาความผิด แล้วแต่กรณี
ต้องรับผิดทางอาญาตามความผิดที่มีกาหนดโทษสูงขึ้นนั้นด้วย แต่ถ้าโดยลักษณะของความผิด ผู้กระทาจะต้องรับผิด
ทางอาญามีกาหนดโทษสูงขึ้นเฉพาะเมื่อผู้กระทาต้องรู้ หรืออาจเล็งเห็นได้ว่าจะเกิดผลเช่นนั้นขึ้น ผู้ใช้ให้กระทาความผิด
ผู้โฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทาความผิด หรือผู้สนับสนุนการกระทาความผิด จะต้องรับผิดทางอาญาตาม
ความผิดที่มีกาหนดโทษสูงขึ้นก็เฉพาะเมื่อตนได้รู้ หรืออาจเล็งเห็นได้ว่าจะเกิดผลเช่นที่เกิดขึ้นนั้น
26
ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุนขัดขวาง (ม.88)

ผู้ใช้ 1/3
ประเภท
ผู้โฆษณา/ประกาศ 1/2
ของบุคคล
ผู้สนับสนุน ไม่ต้องรับโทษ

- การเข้าขัดขวางจะเป็นการสมัครใจ/ไม่สมัครใจก็ได้
- ไม่จาเป็นต้องเป็นการเข้าขัดขวางด้วยตนเองเสมอไป
- หากแม้ไม่มีการขัดขวาง การกระทาก็จะไม่บรรลุผลอยู่นั่นเอง = ไม่ได้รับประโยชน์ตาม ม.88
≈ ยับยั้งกลับใจ ม.82
27
เหตุส่วนตัว (ม.89)

ข้อเท็จจริง/คุณสมบัติส่วนตัว
เหตุส่วนตัว ไม่ส่งผลต่อผู้กระทาความผิดคนอื่นๆ
ของผู้กระทาความผิดแต่ละคน

หลักเกณฑ์

ข้อเท็จจริงที่ไม่เกี่ยวข้อง
เหตุในลักษณะคดี กับคุณสมบัติส่วนตัวของ ส่งผลต่อผู้กระทาความผิดคนอื่นๆ
ผู้กระทาความผิด

28
เหตุส่วนตัว และเหตุในลักษณะคดี (ม.89)

เหตุส่วนตัว (พิจารณาจากตัวผู้กระทา)
- ความเป็ น สามี ภ ริ ย า ม.71/ ความเป็ น บุ พ การี - บุ ต ร ม.71 ว.2/ เด็ ก อ่ อ น ม.73,74/
บันดาลโทสะ ม.72
- วิกลจริต ม.65/ มึนเมา ม.66/ จาเป็นเพราะอยู่ในที่บังคับ ม.67(1)
- กลับใจ ม.82/ ขัดขวาง ม.88
- เหตุฉกรรจ์ที่กระทาต่อบุพการี/ ความเป็นลูกจ้าง ม.335(11)
- การกระทาความผิดเกี่ยวกับเพศต่อผู้สืบสันดาน
29
เหตุส่วนตัว และเหตุในลักษณะคดี (ม.89)

เหตุลักษณะคดี (พิจารณาจากการกระทา)
- ความผิดไม่สาเร็จ ตาม ม.80
- ตวามผิดไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ ม.81
- พยายามทาแท้ง ม.301/ ม.302
- พยายามกระทาความผิดลหุโทษ ม.105
- ยับยั้ง ม.82

30

You might also like