You are on page 1of 13

ภาคทีห่ นึ่ง

การค้ นพบทวีปอเมริกา

การค้นพบทวีปอเมริ กาในปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 15 เป็ นการค้นพบโดยบังเอิญจากชาวยุโรป เพื่อหา


เส้นทางเดินเรื อไปยังทวีปเอเชียด้วยทางบกนั้น ถูกกีดกันจากชนเผ่า ออตโตมาน ที่พิชิตอาณาจักรไบแซนไทน์
(กรุ งโรมใหม่-ปัจจุบนั ตุรกี) ได้ในปี ค.ศ.1453 เพื่อผูกขาดการค้าเครื่ องเทศจากตะวันออกแต่เพียงผูเ้ ดียว
รายละเอียดเกี่ยวกับ อาณาจักรออตโตมาน มีในภาคผนวกของหนังสื อเล่มนี้แล้ว
ในช่ วงเวลานี้ โปรตุเกสเป็ นผูน้ าที่โดดเด่นทางการเดื อนเรื อมาก เพราะมีชายฝั่ งทะเลด้านมหาสมุทร
แอตแลนติกยาวเหยียด มีอ่าวจอดเรื อที่ยอดเยีย่ มเป็ นจานวนมาก มีชาวประมงที่เป็ นนักเดินเรื อที่สามารถมากมาย
และโดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรตุเกส มีความก้าวหน้าทางด้านพาณิ ชย์นาวีช้ นั แนวหน้า ที่สามารถต่อเรื อเดินสมุทร
ขนาดใหญ่ที่มีความแข็งแรงพอที่จะเดินทางระยะไกล ๆ ได้
โปรตุเกสมีความคิดว่า น่าจะมีเส้นทางเดินเรื อไปยังทวีปเอเชียทางทิศตะวันตกได้ โดยไม่ทราบว่ามีทวีป
อเมริ กาขวางทางอยู่ ดังนั้น ในปี ค.ศ.1427 เจ้าชายเฮนรี่ (Henry the Navigator) โอรสพระเจ้าจอห์นที่ 1 แห่ ง
โปรตุเกส จึงจัดเตรี ยมกองเรื อสารวจออกไปทางมหาสมุทรแอตแลนติกออกเดินทางเลียบชายฝั่งทวีปแอฟริ กา
จนไปพบและจับจองหมู่เกาะมาเดรา (Madeira) ใกล้ชายฝั่งของประเทศโมร็ อกโก (Morocco) แล้วกองเรื อสารวจ
เลียบชายฝั่ งทวีปลงไปจนพบและจับจองหมู่เกาะเคปเวิร์ด (Cape Verde) ใกล้ชายฝั่ งของประเทศมอริ เตเนี ย
(Mauritania)
ต่อมาในปี ค.ศ. 1486 บาร์โธโลมิว ไดอัส (Bartholomew Diaz) นักเดินเรื อชาวโปรตุเกส ได้ออกเดินทาง
จากกรุ งลิสบอน (Lisbon) ไปทางฝั่งทิศตะวันตกของทวีปแอฟริ กาไปจนถึงปลายสุ ดของทวีป แล้วเดินเรื อผ่าน
แหลมกู๊ดโฮป (Cape of Good Hope)
การสารวจของไดอัส (Diaz) นับว่าสาคัญมาก ทาให้ทราบว่า ปลายสุ ดของทวีปแอฟริ กาอยูแ่ ห่ งใด และ
เกิดความหวังว่า จะพบเส้นทางเดินเรื อจากยุโรปไปยังทวีปเอเชีย
ดังนั้น ในปี ค.ศ. 1497 วาสโก ดา กามา (Vasco Da Gama) นักสารวจชาวโปรตุเกส ได้ออกเดินทางจาก
กรุ งลิสบอน เลียบชายฝั่ งตะวันตกของทวีปอเมริ กา แล้วอ้อมแหลมกู๊ดโฮป ผ่านช่ องแคบโมซัมบิก และเกาะ
มาดากัสการ์ ไปจนถึงทะเลอาหรับ โดยอาศัยชาวอาหรับเป็ นผูน้ าทางไป จนพบฝั่งตะวันตกของประเทศอินเดีย

1
ต่อมาอาบูเคิร์ก (Albuqurgue) ได้ไปตั้งสถานี การค้าของโปรตุเกสขึ้นที่เมืองกัว (Goa) และไปสร้ าง
สถานี การค้าที่เกาะลังกา (Cylon) แล้วขยายต่อมาทางอ่าวเบงกอล (Bengal) ในที่สุดโปรตุเกสได้ขยายสถานี
การค้ามาจนถึงเกาะสุ มาตรา (Sumatra) และ มลายู (Malaysia)
ที่กล่าวมานี้ เป็ นเหตุการณ์ ที่เกิ ดขึ้น ภายหลัง ที่โคลัมบัสเดิ นเรื อสารวจมุ่งตะวันตกข้ามมหาสมุ ทร
แอตแลนติกเพื่อหาทางเดินเรื อไปยังทวีปเอเชีย แต่ไปพบทวีปอเมริ กาเข้าโดยไม่ได้ต้ งั ใจ ดังที่เล่าต่อไปนี้

คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (Christopher Columbus)


มีชีวติ อยู่ระหว่ างปี ค.ศ. 1415-1506
คริ สโตเฟอร์ โคลัมบัส เกิดที่เมืองเจนัว (Genoa) ประเทศอิตาลี เมื่อประมาณปี ค.ศ. 1451 เป็ นบุตรชาย
คนโตของช่างทอผ้า เขามีประสบการณ์เดินเรื อทะเลตั้งแต่อายุ 14 ปี จนเมื่อเขามีอายุได้ 25 ปี ประมาณปี ค.ศ.
1476 เขาไปตั้งหลักแหล่งที่กรุ งลิสบอน (Lisbon) ประเทศโปรตุเกส (Protugal) ซึ่ งในเวลานั้นเป็ นศูนย์กลาง
การค้าทางประเทศ และศูนย์กลางของการสารวจเส้นทางเดินเรื อทะเล โดยที่โปรตุเกสได้ยึดครองหมู่เกาะอะ
ซอเรซ (Azores) ซึ่ งอยู่ทางตะวันตกของโปรตุเกสในมหาสมุทรแอตแลนติกประมาณ 1,200 กิ โลเมตร และ
โปรตุเกสได้พยายามแสวงหาเส้นทางเดินเรื อไปยังอินเดียและจีน โดยการแล่นเรื อลัดเลาะไปตามชายฝั่งทวีป
แอฟริ กาโดยได้เดินทางไปทางใต้ถึงเวิง้ อ่าวกินี (Guinea) ซึ่งเป็ นอ่าวเวิง้ กว้างอยูใ่ กล้ชายฝั่งประเทศกานา-โตโก-
เบนิน-ไนจีเรี ย-แคเมอรู -กาบอง แต่กย็ งั มีชายฝั่งทวีปแอฟริ กาอีกยาวเหยียด จึงหยุดการสารวจไว้เพียงเท่านี้
ในเวลาต่อมา โคลัมบัสได้แนวคิดจากบรรดานักเดินเรื อหลายคนคิดว่า หากเดินเรื อจากหมู่เกาะอะซอ
เรส (Azores) ซึ่งอยูท่ างทิศตะวันตกของประเทศโปรตุเกส 1,200 กิโลเมตร แล้วมุ่งตะวันตกไปเรื่ อย ๆ ก็น่าจะไป
ถึงอินเดียและจีนได้ ดังนั้นในเวลาต่อมา โคลัมบัสใช้แนวคิดนี้ จึงทาให้เขาได้พบหมู่เกาะในอเมริ กากลางและ
อเมริ กาใต้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ดังนั้น ปี ค.ศ. 1484 คริ สโตเฟอร์ โคลัมบัส (Christopher Columbus) ขณะพานักอยูใ่ นกรุ งลิสบอน เมือง
หลวงประเทศโปรตุเกส ได้เสนอแผนเดิ นเรื อไปยังอินเดี ยและจี นแก่ พระเจ้าจอห์น เฟอร์ ดินานที่ 2 กษัตริ ย ์
โปรตุเกส แต่ไม่ได้รับความสนใจ อีก 8 ปี ต่อมา โคลัมบัสจึงเสนอแผนนี้ ต่อพระเจ้าเฮนรี่ ที่ 7 แห่ งอังกฤษ และ
พระเจ้าชาร์ลที่ 8 แห่งฝรั่งเศส แต่กไ็ ม่ได้รับความสนพระทัยแต่ประการใด
โคลัมบัส จึงเดินทางกลับประเทศสเปน ถิ่นพานักแหล่งที่ 2 ของเขา แล้วเสนอแผนการเดินเรื อแก่พระ
ราชินีอิซาเบลลาที่ 1 (Isabella I) ซึ่งได้รับการตอบรับ และตกลงผลประโยชน์ได้อย่างลงตัว และยังได้สิทธิพิเศษ
ตามที่ร้องขอ คือ ตาแหน่ งอุปราช และตาแหน่ งผูว้ ่าการรัฐที่คน้ พบใหม่ เมื่อทุกอย่างลงตัว แผนการเดินทางจึง
เริ่ มขึ้น

2
หมายเหตุ โคลัมบัส เกิดที่ประเทศอิตาลี เขาเป็ นนักผจญภัยมีถิ่นพานักอยู่ 2 แห่ง
1. กรุ งลิสบอน ประเทศโปรตุเกส
2. ที่กรุ งมาดริ ด ประเทศสเปน
คริ สโตเฟอร์ โคลัมบัส เป็ นชาวอิตาลี ผูค้ น้ พบเกาะเวสต์อินดิส (West Indies) ในปี ค.ศ. 1492 ค้นพบ
ทวีปอเมริ กาใต้ในปี ค.ศ. 1498 และค้นพบอเมริ กากลางในปี ค.ศ. 1502 เขาเสี ยชีวิตโดยยังไม่พบเส้นทางเดินเรื อ
ไปยังประเทศอินเดียและจีนตามความปรารถนาตั้งแต่เริ่ มแรก เขาเสี ยชีวิตโดยไม่ทราบว่า แผ่นดินที่เขาค้นพบ
นั้น เป็ นแผ่นดินของทวีปใหม่ (อเมริ กากลาง และอเมริ กาใต้) ที่ไม่เคยมีใครค้นพบมาก่อน
การเดินทางครั้งที่ 1 ในปี ค.ศ. 1492 (ปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 15)
โคลัมบัสและกองเรื อ 3 ลา คือ
1. เรื อซานตามาเรี ย (Santa maria) ซึ่งเป็ นเรื อธงลานี้ โคลัมบัสเป็ นกัปตัน พร้อมลูกเรื อ 39 คน
2. เรื อปิ นตา (Pinta) มีลูกเรื อ 26 คน
3. เรื อนินา (Nina) มีลูกเรื อ 22 คน
กองเรื อเล็ก ๆ นี้ ออกเดินทางจากเมืองท่าปาโรส (Palos) อ่าวกาดิซ ซึ่งอยูท่ างตอนใต้ของประเทศสเปน
มุ่งสู่ หมู่เกาะคะเนรี (หมู่เกาะนี้อยูใ่ กล้ ชายฝั่งประเทศโมร็ อกโก) เดินทางถึงเกาะนี้เมื่อวันศุกร์ที่ 3 สิ งหาคม ค.ศ.
1499 กองเรื อพักอยู่ที่เกาะนี้ 3 วัน เพื่อเพิ่มเติมน้ า และเสบียงอาหารไป ให้มากที่สุดเท่าที่จะบรรทุกไปได้ แล้ว
ออกเดินทางเมื่อวันที่ 6 สิ งหาคม มุ่งตะวันตกข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก
การเดิ นทางเป็ นไปด้วยดี อย่างน่ าพอใจ เพราะมีลมช่ วยการเดินทาง ตลอดเวลาประมาณ 1 เดื อนเศษ
จนกระทัง่ ถึงวันที่ 7 ตุลาคม เริ่ มเห็น หมู่นกบินผ่านกองเรื อไปในทะเลหลวง โคลัมบัสจึงให้เรื อเปลี่ยนทิศทาง
ตามฝูงนกไปจนกระทัง่ ถึงวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1492 ลูกเรื อที่อยูบ่ นเสากระโดงเรื อปิ นตาได้มองเห็นแผ่นดินคือ
เกาะซานซัลวาดอร์ (San Salvador) ต่ อมาโคลัมบัสได้ส ารวจพบเกาะคิ ว บา (Cuba) และเกาะฮิ สปานิ โ อลา
(Hispaniola)1 เกาะนี้ โคลัมบัสเข้าใจว่าเป็ นเกาะญี่ ปุ่น เวลานั้นเรื อซานตามาเรี ยเกย พื้นที่ เกาะฮิ สปานิ โอลา
โคลัมบัสต้องทิ้งลูกเรื อจานวนหนึ่งไว้ที่เกาะนี้ แล้ว ตั้งอาณานิคมไว้บนเกาะนี้ โดยใช้ไม้จากเรื อสร้างบ้านเป็ นที่
พัก โคลัมบัส ได้นาเอาชาวพื้นเมืองของเกาะเหล่านี้กลับไปสเปนด้วย โดยเชื่อว่าเป็ นชาวอินเดีย

3
1
เกาะฮิ สปานิ โอลา (Hispaniola) ในปั จจุ บนั เป็ นที่ ต้ งั ของ 2 ประเทศที่ ปกครองด้วย สาธารณรั ฐ คือ
สาธารณรัฐเฮติ มีเมืองหลวงชื่ อ กรุ งปอร์ โตแปรงซ์ ซึ่ งอยู่ทางทิศตะวันตก ของเกาะใกล้ไปทางเกาะคิวบา มี
ประชากร 6.5 ล้านคนเศษ
สาธารณรั ฐโดมินิกัน มีเมืองหลวงชื่อ ซานโตโดมิงโก อยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะ ใกล้ไปทางเกาะ
เปอร์โตริ โก มีประชากร 8.5 ล้านคนเศษ
โคลัมบัสกลับถึงสเปนในปี ค.ศ. 1493 ได้รับการยกย่องเยี่ยงวีรบุรุษ ยิ่งไปกว่านั้น เขายังได้มีโอกาส
กลับไปสารวจดิ นแดนใหม่อีกเป็ นครั้งที่ 2 โดยคราวนี้ มีกองเรื อถึง 17 ลา มีลูกเรื อและนักแสวงโชคมากกว่า
1,000 คน ร่ วมเดินทางไปด้วย

การเดินทาง ครั้งที่ 2 ในปี ค.ศ. 1493


วันที่ 25 กันยายน ค.ศ. 1493 โคลัมบัสพร้อมด้วยกองเรื อ 17 ลา บรรทุกผูแ้ สวงโชคจานวนประมาณหนึ่ง
พันเศษ ออกเดินทางจากเมืองท่า กาดิซ (Cadiz) การเดินทางครั้งนี้ โคลัมบัสประกาศให้เกาะต่าง ๆ ที่เขาสารวจ
พบตลอดเส้นทางเป็ นของประเทศสเปน อาทิ เกาะโดมินิกา (Dominica) เกาะเวอร์จิน (Virgin) เกาะเปอร์โตริ โก
Puerto Rico เมื่อโคลัมบัสมาถึง เกาะฮิ สปานิ โอลา (Hispaniola) ก็พบว่าอาณานิ คมที่เขาก่อตั้งไว้เมื่อปี ก่อนได้
สลายตัวไปแล้ว เขาจึงตั้งอาณานิคมขึ้นอีกครั้งหนึ่งที่เกาะนี้ โดยตั้งชื่อว่า อิซาเบลลา (Isabela) ตามพระนามพระ
ราชิ นีเจ้าของทุน ต่อมาเขาได้ละทิ้ง อาณานิ คมอิซาเบลลา แล้วตั้งอาณานิ คมใหม่ที่ซานโต โดมิ งโก (Santo
domingo) โดยให้น้องชาย คือ บาร์ โทโลมิว (Bartholomeo) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชา อาณานิ คมแห่ งใหม่น้ ี หลังจาก
นั้นก็เดินทางกลับสเปนในต้นปี ค.ศ. 1496

การเดินทางครั้งที่ 3 ในปี ค.ศ. 1408


ในการเดินทางครั้งที่ 3 นี้ โคลัมบัสต้องใช้เวลาเตรี ยมตัวนานถึง 2 ปี เพราะข่าวที่ไม่เป็ นมงคล เช่น ความ
อดอยาก ความโหดร้ายในอาณานิ คมที่ เขาตั้งขึ้นได้แพร่ กระจายออกไปถึงสเปนอย่างรวดเร็ ว ทาให้ยากที่จะหา
ลูกเรื อเพื่อเดินทางไปกับเขา ดังนั้น เขาจึงใช้นกั โทษเป็ นส่ วนใหญ่
เขาออกเดินทางในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1498 ในครั้งนี้ โคลัมบัสได้สารวจชายฝั่งทวีปอเมริ กาใต้ที่เป็ น
ประเทศเวเนซุ เ อลาปั จจุ บนั และได้เ ข้า ไปสารวจแม่ น้ าโอรี โนโก (Orinoco River) เป็ นแม่ น้ าสายหลักของ
ประเทศเวเนซูเอลา ที่นี่มีผเู ้ ล่าให้เขาฟั งว่านครทองคา อยู่ห่างจากแม่น้ าโอรี โนโก ด้วยเวลาเดินทาง 10 วัน แต่
โคลัมบัสคิดว่าตนเองอยูใ่ นอินเดีย จึงเข้าใจว่า แม่น้ าสายนี้ คือ แม่น้ าคงคา (Ganges) (เล่ม 3/40)

4
แต่เมื่อเขาเดินทางกลับไปที่อาณานิคมซานโต โดมิงโก เขาถูกกล่าว โทษว่าทางานผิดวัตถุประสงค์ของ
รัฐบาลสเปนจนเกิดการจลาจล ในที่สุดเขา และน้องชายถูกจับล่ามโซ่ส่งตัวกลับสเปน
แต่เมื่อกลับถึงสเปน เขาชี้แจงแก้ขอ้ กล่าวหาจนเขาได้รับการอภัยโทษ และได้รับเกียรติยศกลับคืน

การเดินทางครั้งที่ 4 ในปี ค.ศ. 1502


การเดินทางครั้งที่ 4 นี้ ถูกลดขนาดความสาคัญลงมาก โดยได้รับ อนุญาตให้ใช้กองเรื อ เก่า ๆ เพียง 3 ลา
และห้ามเดินทางไปที่อาณานิคม ซานโต โดมิงโก กอปรกับโคลัมบัสมีอายุมากขึ้นถึง 51 ปี แล้ว สุ ขภาพ ไม่ค่อยดี
นัก แต่ก็ยงั พยายามที่จะหาเส้นทางไปยังมหาสมุทรแปซิ ฟิกให้ได้ ในการเดินทางครั้งสุ ดท้ายนี้ เขาได้ต้ งั อาณา
นิ คมที่ปานามา แต่ตอ้ งละทิ้งไป เพราะเกิดการกบฏในหมู่ลูกเรื อและต้องต่อสู ้กบั ชาวพื้นเมืองอีกด้วย ในที่สุด
เรื อทั้ง 3 ลาของโคลัมบัสก็เกยตื้นใช้ไม่ได้ท้ งั หมด ต้องขอความช่วยเหลือ ไปยังอาณานิ คมซานโต โดมิงโก ให้
ส่ งเรื อมารับโคลัมบัสกลับไปสเปนในเดือน พฤศจิกายน ค.ศ. 1504
คริ สโตเฟอร์ โคลัมบัส เสี ยชีวิตเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1506 มีอายุได้ 55 ปี โดยที่เขาไม่ทราบเลย
ว่า เขาเป็ นผูค้ น้ พบทวี ป ใหม่ ศพของเขาถู ก น าไปฝั ง ไว้ที่ เ มื อ งซานโตโดมิ ง โก บนเกาะฮิ ส ปานิ โ อลาตาม
พินยั กรรม ที่เขาทาไว้

คณะสารวจชุดใหม่ ตามรอยโคลัมบัส
ภายหลังจากโคลัมบัสค้นพบอเมริ กากลาง และอเมริ กาใต้แล้ว ใน ช่วงที่คน้ พบนี้ ยงั ไม่เรี ยกอเมริ กายัง
เรี ยกเพียง “โลกใหม่ ” เท่านั้น รายงานการค้นพบดินแดนใหม่ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 ในปี ค.ศ. 1498 ได้
แพร่ กระจายออกไปอย่างกว้างขวาง จนกระทัง่
ในปี รุ่ งขึ้นคือในปี ค.ศ. 1499 คณะสารวจชุดใหม่ชาวโปรตุเกส ประกอบด้วย อลองโส โอเจดา และอเมริ
โก เวสปุชชี ออกสารวจโลกใหม่ เดินทางไปถึงปากแม่น้ าโอริ โนโก และสารวจชายฝั่งอเมริ กาใต้ ปัจจุบนั เป็ น
ชายฝั่งทะเลของประเทศเวเนซูเอลา
ต่อมาในปี ค.ศ. 1501-1502 อเมริ โก เวสปุชชี (Americo Vespucci) นักเดิ นเรื อชาวอิตาลี เดิ นทางมา
สารวจอเมริ กา ภายใต้ธงชาติโปรตุเกส เดินทางมาสารวจโลกใหม่อีกครั้งหนึ่ง อเมริ โกมีความเห็นว่า ผืนแผ่นดิน
ใหญ่มหึ มาผืนนี้ที่โคลัมบัสคิดว่าเป็ นส่ วนหนึ่งของทวีปเอเชีย แต่ความเป็ น จริ งแล้ว เป็ นผืนดินของอีกทวีปหนึ่ง
เป็ นทวีปที่ 4 ของโลก ในเวลานั้น ชาวยุโรปรู ้จกั เพียง 3 ทวีป คือ ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย และทวีปแอฟริ กา

5
การค้นพบทวีปใหม่ และชาวยุโรปคนแรกที่ได้เหยียบแผ่นดิ นที่ เป็ นประเทศบราซิ ล ทาให้ชื่อเสี ยง
ของอเมริ โกโด่งดังไปทัว่ ยุโรป มาร์ ติน วอลด์ ซีมูลเลอร์ นักภูมิศาสตร์ชาวเยอรมันให้เกียรติแก่อเมริ โก เวสปุชชี
โดยตั้งชื่อบริ เวณที่เป็ นประเทศบราซิลบนแผ่นดินโลกใหม่ บนแผนที่โลกว่า “อเมริกา”
ปัจจุบนั ชื่อ “อเมริกา” เป็ นชื่อทวีปที่ 4 ของโลก

สรุป
- คริ สโตเฟอร์ โคลัมบัส เป็ นผูค้ น้ พบดินแดนที่เป็ นทวีปอเมริ กา กลางในปี ค.ศ. 1492 และสารวจอย่าง
จริ งจังถึงขั้นตั้งอาณานิคม ส่ วนอเมริ กาใต้น้ นั เขาสารวจอย่างผิวเผิน และคิดว่านี่คือประเทศอินเดียดินแดน แห่ ง
เครื่ องเทศ
- อเมริ โก เวสปุชชี เป็ นผูค้ น
้ พบทวีปอเมริ กาใต้ ในปี ค.ศ. 1500 และสารวจดินแดนนี้อย่างจริ งจัง

การค้ นมหาสมุทรแปซิฟิกและการพิชิตจักรวรรดิแอชเทค (เม็กซิโก)


ในปี ค.ศ. 1509-1511 คณะสารวจชาวสเปนภายใต้การนาของ วาสโรนู เนช เดอ บอลเบา ที่ ได้รับ
ฉันทานุ มตั ิ และเงิ นทุนสนับสนุ นจาก พระเจ้าชาร์ ลที่ 5 ของสเปน ได้จดั ตั้งอาณานิ คม ดาเรี ยน บนคอคอด
ปานามา ได้สาเร็ จ ประกอบด้วย เปอร์ โตริ โก จาเมกา และคิวบา ต่อมาได้รับการบอกเล่าจากชาวอินเดียนแดง
เจ้าของพื้นที่ว่า ไม่ไกลจากนิ คมมีแหล่งแร่ ทองคา คณะสารวจจึงเดินทางลึกเข้าไปในคอคอดปานามา จนพบ
ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก
การค้นพบมหาสมุทรแปซิ ฟิกถือเป็ นการค้นพบที่ยิ่งใหญ่เพราะสเปนยกเลิกความคิดที่จะหาเส้นทาง
เดินเรื อไปยังเอเชี ย หันไปทุ่มเทกาลังทั้งหมดสารวจพื้นที่โลกใหม่จนพบพื้นที่ที่เป็ นประเทศเม็กซิ โกในเวลา
ต่อมา
ในปี ค.ศ. 1517 นายคูเอลา ผูว้ ่าการอาณานิ คมคิวบาส่ งคณะสารวจพื้นที่โลกใหม่ได้สารวจพื้นที่ใน
อเมริ กากลางขึ้นไปทางเหนื อได้พบพื้นที่หนึ่ งที่น่าทึ่งมาก เพราะเป็ นที่อยูข่ องชาวพื้นเมือง “เผ่ ามายา” ปั จจุบนั
คือส่ วนที่เป็ นภาคใต้ของประเทศเม็กซิโกด้านติดต่อกับอเมริ กากลางที่มีความเจริ ญในระดับหนึ่งมีพีระมิด โบสถ์
วิหาร ซึ่ งภายในประดับตบแต่งด้วยทองคาเป็ นการยืนยันคาบอกเล่าของชนเผ่าพื้นเมืองบริ เวณคอคอดปานามา
ที่วา่ บริ เวณอเมริ กากลางนี้มีแร่ ทองคามากมาย และชนเผ่ามายามีความเจริ ญสู งยิง่ เกิน ความคาดหมายของสเปน

6
ด้วยสาเหตุน้ ี ในปี รุ่ งขึ้นคือปี ค.ศ. 1518 คณะสารวจชุดใหม่นาโดย จวน เดอ กริ จาลบา เดินทางขึ้นเหนือ
ไปจนพบดินแดนของจักรวรรดิแอชเทค ปั จจุบนั นี้คือประเทศ “เม็กซิโก” แล้วยกพลขึ้นบก ณ สถานที่ปัจจุบนั นี้
คือ เมือง เวราครู ช ในอ่าวเม็กซิ โกพร้อมกับกาลังพลประมาณ 600 นาย ด้วยวัตถุประสงค์เข้าครอบครองพื้นที่ที่
อุดมไปด้วยทองคาในที่สุดกษัตริ ยม์ องเตซู มาของชาวแอชเทค ต้องยอมจานนแก่คณะสารวจ เพราะกองกาลัง
และอาวุธที่ดอ้ ยกว่าคนผิวขาวมากมาย
หลังจากนี้แล้วคณะสารวจพร้อมกองกาลังได้เดินทางเข้าเมือง เทโนชิทเลน ปั จจุบนั นี้คือเมือง “เม็กซิโก
ซิ ตี้” กริ จาลบา ส่ งข่าวไปยังพระจักรพรรดิพระเจ้าชาร์ ลที่ 5 แห่ งสเปนเพื่อขอกาลังเสริ มเมื่อได้รับกาลังเสริ ม
พร้อมแล้ว จึงนาทหารเข้าปิ ดล้อมมี การสู ้รบอย่างดุเดื อดจนในที่สุดในเดือนสิ งหาคม ค.ศ. 1521 กษัตริ ยแ์ ห่ ง
เม็กซิโกประกาศยอมจานน ผลของสงครามเมืองหลวงของชาวแอชเทคเต็มไปด้วยสิ่ งปรักหักพัง
ราชอาณาจักรสเปนใหม่ (New Spain Kingdom) สถาปนาปี ค.ศ. 1521
และเม็กซิโกจึงเป็ นอาณานิคมของสเปนนับแต่น้ นั เป็ นต้นมา คอร์เตส ได้เป็ นผูส้ าเร็ จราชการอาณานิคม
เม็กซิโก อาณาจักรแอชเทค เปลี่ยนชื่อใหม่เป็ น “ราชอาณาจักรสเปนใหม่ ”
หลังจากพิชิตเม็กซิ โกได้อย่างเบ็ดเสร็ จข่าวชัยชนะรู ้กนั ทัว่ ไปอย่างกว้างขวาง มีนักผจญภัยชาวสเปน
หลายกลุ่ม ออกล่าดินแดนในย่านอเมริ กากลาง
ในปี ค.ศ. 1527 อัลวาราโด ใช้กาลังอาวุธที่เหนื อกว่าชนพื้นเมืองพิชิต กัวเตมาลา ได้ในเวลาต่อมา ใน
เวลาใกล้เคียงกัน ฮอนดูรัส นิการากัว ต่างก็ตกอยูใ่ นอานาจนักล่าอาณานิคมชาวสเปนจนหมดสิ้ น
ในปี ค.ศ. 1542 ชาวมายาไม่พอใจการยึดครองของสเปนรวมกาลังกันต่อต้านการยึดครองแต่ก็ถูกทหาร
สเปนที่มีกาลังและอาวุธที่เหนื อกว่าเข้าบดขยี้สงครามปลดแอกครั้งนั้นชนพื้นเมืองเผ่ามายาในอเมริ กากลางถูก
ฆ่าตายจานวนมหาศาลจนแทบจะสิ้ นเผ่าพันธ์

จักรวรรดิอนิ คา แห่ งประเทศเปรู


สเปนได้เม็กซิโกไว้ในฐานะอาณานิคมอย่างเบ็ดเสร็ จ ในปี ค.ศ. 1521 (พ.ศ. 2064)1 ข่าวนี้ทาให้นกั แสวง
โชคและพ่อค้าทาส ลงทุนซื้อเรื อเดินสมุทรแล้วรวบรวมนักแสวงโชคและแรงงานรับจ้างเดินทางจากสเปนมายัง
อเมริ กากลางหลายหมู่หลายคณะ

7
ทาความรู้จักอินเดียนแดงเผ่ าอินคา
นักประวัติศาสตร์ กล่าวว่า แต่เดิมชาวอินคาเป็ นชุมชนเล็ก ๆ แล้วขยายตัวเป็ นนครรัฐ อาณาจักร และ
จักรวรรดิในเวลาต่อมามีความเจริ ญสู งสุ ดเพียงไม่ถึงร้อยปี ก่อนที่ชาวสเปนจะเข้ามาทาลายจนย่อยยับ เรื่ องราว
ของ ชาวอินคามีผทู ้ ราบน้อยมากเพราะไม่มีการบันทึกเรื่ องราวไว้เลยนอกจากโบราณสถานที่ยงั คงหลงเหลืออยู่
เป็ นเรื่ องที่น่าแปลกมากที่เผ่าอินคามีภาษาพูด แต่ไม่มีภาษาเขียน การส่ งข่าวสารต่าง ๆ ใช้คนท่องจาแล้ว
ส่ งต่อ ๆ กันไปคล้ายวิ่งผลัด เมื่อถึง ปลายทางข่าวสารอาจผิดเพี้ยนไปบ้างเล็กน้อย
ทราบแต่ เพียงว่าชาวอิ น คามี ความเจริ ญรุ่ งเรื องมัง่ คัง่ ร่ ารวย และมี อานาจมากที่ สุดในอเมริ กาใต้ มี
ศูนย์กลางอยูท่ ี่เมืองกุสโก (Cusco) ในประเทศ
1
เป็ นการเปิ ดศักราชของชาวยุโรปที่ถึงกับแบ่งเขตในการแสวงหาอาณานิคมในพื้นที่ดอ้ ยพัฒนา เช่น ใน
อเมริ กากลางในอเมริ กาใต้ และในทวีปแอฟริ กาแล้วจึงถึงคิวทวีปเอเชีย เหตุการณ์ดงั กล่าวตรงกับปลายรัชสมัย
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (สมเด็จพระเชษฐา)
สถานีการค้าในอาณานิคมของสเปนสถานีการค้าของสเปนตั้งขึ้นในอาณานิคมของตนมี 3 แห่ง คือ
1. ที่เมืองเวรารุ ส ในสเปนใหม่ (เม็กซิโก)
2. ที่เมืองคาร์กาเจนา ในนิวเกรเนดา
3. ที่เมืองเดอไดออส ในคอคอดปานามา

แปรู มีชื่อว่า สุ ริยนคร (City of the Sun) (เมืองนี้ ต้ งั แต่พุทธศตวรรษที่ 16 หรื อ ประมาณ พ.ศ. 1550 หรื อ ค.ศ.
1007)
ในช่วงที่สถาปนานครรัฐ ระหว่างปี พ.ศ. 1438-1533 ชาวอินคามีกษัตริ ยท์ รงพระนาม “ซาปา อินคา ปา
ชากูตี ” ได้ขยายนครรัฐไปโดยรอบทั้งการทาสงครามและทางส่ งสาส์นไปยังดินแดนนั้น ๆ อธิ บายให้เข้าใจถึง
ประโยชน์ของการอยูภ่ ายใต้การครองของจักรวรรดิ ซึ่งส่ วนใหญ่ทรงได้รับการตอบรับเข้าร่ วมในการนี้ เจ้าเมือง
ต้องส่ งบุตรชายที่เป็ นรัชทายาทไปเรี ยนรู ้ระบบจัด กุสโก แล้วนากลับไปใช้ในดินแดนของตน
ในที่สุด อินคาก็สามารถสร้างจักรวรรดิครอบคลุมดินแดนในเทือกเขาแอนดีส ตั้งแต่ประเทศเอกวาดอร์
เปรู โบลิเวีย อาร์เจนตินจนถึงตอนเหนือของประเทศชิลีในปัจจุบนั
ในปี ค.ศ. 1463 กษัตริ ย ์ ซาปา อินคา ปาชากูตี สวรรคต พระราม โอรสทรงพระนาม ตูปัก ยูปันกี ขึ้น
ครองราชสมบัติ เป็ นช่วงเวลาที่จกั รรรดิอินคามีความเจริ ญสู งสุ ดใกล้จะถึงจุดเสื่ อม

8
ในปี ค.ศ. 1519 นักผจญภัยสเปนกลุ่มหนึ่ งเดิ นทางมายังอเมริ กากลางแล้วมาตั้งสถานี การค้าขึ้นที่ใน
พื้นที่ฝั่งตะวันตกของคอคอดปานามา (ฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก) หลังจากทาการค้ากับชนพื้นเมืองได้ประมาณ 2-3
ปี จึงมีความแน่ใจได้ว่า ข่าวเรื่ องดินแดนทองคาที่มีชื่อว่า “ไบรู ” (ต่อมาคือ ประเทศเปรู ) มีสินแร่ ทองคากระจัด
กระจายอยูท่ วั่ ไป
ในปี ค.ศ. 1524 ถึง 1526 ราชสานักสเปนโดย เปดาเรี ยส มีคาสั่งให้นกั แสวงโชคนามฟรังซิสโกปี ซาร์โร
และหุ ้นส่ วนอีกสองท่านคือ ดีโก อังมาโกร นักผจญภัยอีกท่านหนึ่ งเป็ นนักบวชและเป็ นนายทุน คือ เฮอร์ มาน
โด เดอลู คิว เริ่ มต้น เดิ นทางสารวจเลี ยบชายฝั่ งอเมริ กาใต้ด้านชายผงมหาสมุทรแปซิ ฟิก เพื่อค้นหาทองคา
จนกระทัง่ พบสถานที่ที่เรี ยกว่า “ไบรู ”
พบสิ นแร่ ทองคา และเงิน ในบริ เวณนี้มีอยูจ่ ริ ง เมื่อสารวจจนแน่ใจแล้วจึง ดินทางกลับปานามา แล้วรายงานเรื่ อง
พบทองคาให้ราชสานักสเปนทราบ ในปลายปี ค.ศ. 1530
ในบริ เวณนี้มีอยูจ่ ริ งเมื่อสารวจจนแน่ใจแล้วจึงรายงานเรื่ องพบทองคาให้ราชสานักสเปนทราบปี ซาร์โร
จึงขออนุ มตั ิไปยังราชสานัก ขออนุ ญาตเดินทางไปสารวจ “ไบรู ” อีกครั้งหนึ่ งพร้อมกับกาลังพลประมาณ 150
นาย เมื่อเดินทางถึงจึงพร้อมยกพลขึ้นสารวจทันที ในช่วงเวลานี้ เป็ นรัชสมัยของกษัตริ ยจ์ ดั ฮัวย์นา คาแพค เป็ น
ช่วงที่จกั รวรรดิ ที่เป็ นรัชทายาท 2 พระองค์ คือ
พระราชโอรสองค์ใหญ่ คือ ฮัวคาร์ (ฮอาสคาร์ )
พระราชโอรสองค์รอง คือ อตาฮวลปา (Atahualpa) เอกสารบางฉบับ อ่าน อทาฮูอลั ปา
ก่อนสวรรคตพระราชบิดาทรงแบ่งอาณาจักรออกเป็ น 2 ส่ วน ให้ปกครอง เมื่อพระราชบิดาสวรรคต
โอรสทั้งสองต่างต้องการปกครองอาณาจักร ยังหมดแต่ฝ่ายเดียว ศึกกลางเมืองจึงเกิดขึ้นนานถึง 5 ปี โดยประมาณ
ในช่วงเวลาที่กาลังขึ้นบกเตรี ยมสารวจ พอดีกบั ชนพื้นเมืองเผ่าอินคา กาลังเกิดศึกกลางเมืองเพื่อช่วงชิง
ราชบัลลังก์ “ซูอาสคาร์ ” รัชทายาทที่ถูกต้อง ถูก “อทาฮอัลปา” โอรสจากมเหสี รองทาศึกแย่งบัลลังก์สงคราม ชิง
ราชสมบัติครั้งนี้ “อทาฮอัลปา” ผูช้ ิงราชสมบัติเป็ นฝ่ ายมีชยั จับทายาทที่ถูกต้องขังคุกรอการพิพากษา
อทาฮอัลปา เร่ งรี บนากองทหารเดินทางไปยัง “กุสโก” เมืองหลวงอาณาจักรอินคาเพราะได้ทราบข่าวมี
กองทัพคนผิวขาวเดินทางมายังเมืองหลวง ภายหลังพบและเจรจาแลกเปลี่ยนของขวัญซึ่งกันและกันแล้ว กษัตริ ย ์
องค์ ใหม่ของชาวอินคานัดหมายกับ ปี ซาร์โร เดินทางไปพบเพื่อเจรจากันที่เมือง คาจามาร์คาที่ต้ งั อยูบ่ นยอดเขา
สู ง แต่รัชทายาท อทาฮฺอลั ปา ถูก ปี ซาร์ โร หักหลัง ด้วยการจับขังรอ

9
การพิพากษา เนื่องจากปฏิเสธที่จะอยูภ่ ายใต้การดูแล และถูกบังคับให้มานับถือศาสนาคริ สต์นิกายโรมัน
คาทอลิค ให้ปล่อยกษัตริ ยข์ องตนแลกกับทองคาเต็มห้องขนาด 6 เมตร สู ง 2.5 เมตร และแร่ เงินจานวนมากกว่า
ทองคาเต็มในห้องนั้น 2 เท่า
เมื่อชาวอินคานาทองคาและแร่ เงินเป็ นค่าไถ่ตามที่ตกลงตกลงกันเรี ยบร้อยเต็มตามจานวน ปี ซาร์ โร ไม่
รั กษาสัญญาหักหลังชาวอินคาอีกครั้ งด้วยการประหารชี วิตรั ชทายาท อทาฮอัลปา อย่างไร้ คุณธรรม ตามสัน
อาณานิคมชาวผิวขาวในสมัยนั้น
สาหรับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับชาวอินคาดังกล่าวเป็ นเหตุที่ชนพื้นเมืองถูกเอารัดเอาเปรี ยบจากคนขาวนัก
ล่าอาณานิ คม เมื่อถูกหักหลังชาวอินคาอึดสู ้ชนิ ดหลังชนฝาเพื่อรักษาแผ่นดินของตน ด้วยกาลังที่น้อง อาวุธที่
ล้าสมัยกว่า และอ่อนเปลี้ยจากสงครามกลางเมือง จนในที่สุด อินคาถูกฆ่าอย่างเหี้ ยมโหดจนแทบจะสิ้ นเผ่าพันธุ์
ประวัติศาสตร์บนั ทึกไว้ ต่อไปอีกว่า
ต่อมาในปี ค.ศ. 1544 (กลางศตวรรษที่ 16) ปรากฏว่า ชาวสเปน สองกลุ่มที่ ร่วมเดิ นทางมาสารวจ
ดินแดนนี้ ดว้ ยกันตั้งแต่แรก แต่ดว้ ยกิเลสตัณหาของคน กลับต้องมาต่อสู ้กนั เองเพื่อช่วงชิงการมีอานาจสู งสุ ดใน
เปรู ระหว่างญาติพี่นอ้ งตระกูลปี ซาร์โร คือ ฟรังซิสโก ปี ซาร์โร (พี่) กอนซาร์โร ปี ซาร์โร (น้อง) กลุ่มหนึ่ง และดี
โก อัลมาโกร อีกกลุ่มหนึ่ ง เพื่อช่วงชิงการครอบครองกรุ งกุสโก เมืองหลวงของเผ่าอินคา (เมืองกุสโก ปั จจุบนั
คือเมือง คูชโค ซึ้งอยูภ่ ายใต้ของเปรู
ประวัติศาสตร์ บนั ทึกไว้ว่า ในปี ค.ศ. 1569 อุปราชฟรังซี โทเลโด จากสเปนเดินทางมาถึงเปรู หลังจาก
ทาการสอบสวนจากพยาน ครบถ้วนแล้ว จึงสัง่ ประหารชีวิตกอนซาร์โร ปี ซาร์โร ทันที
อุปราชคนใหม่ได้เข้าบริ หารประเทศ เปรู จึงเป็ นอาณานิคมของสเปนนับแต่น้ นั เป็ นต้นมา ปั จจุบนั เมือง
หลวงของประเทศเปรู คือ ลิมา ปกครองด้วยระบบสาธารณรัฐ

ประเทศบราซิลเป็ นประเทศอาณานิคมของโปรตุเกส
คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (Christopher Columbus) นักเดินเรื อและนักสารวจชาวอิตาลี เป็ นผูน้ าเรื อภายใต้
ธงชาติ สเปน เป็ นผูค้ น้ พบและขึ้นฝั่ งแผ่นดิ นที่ เป็ นอเมริ กากลาง หมู่เกาะฮิ สปานิ โอลา หรื อหมู่เกาะอันดิ ส
ตะวันตก ในปี ค.ศ. 1492 หรื อ พ.ศ. 2035 เป็ นท่านแรก
อีก 10 ปี ต่อมา อเมริโก เวสปุชชี (Americo vespucci) นักเดินเรื อและนักสารวจ ชาวอิตาลีเป็ นผูน้ าเดินเรื อ
ภายใต้ ธงชาติโปรตุเกส เป็ นผูค้ น้ พบและขึ้นฝั่งสารวจแผ่นดินทวีปอเมริ กาที่เป็ นประเทศบราซิลเป็ นท่านแรก ใน
ปี ค.ศ. 1501-1502 โดยคิดว่านี่คือทวีปเอเชีย ที่ชาวยุโรปกาลังค้นหาเส้นทางเดิน เรื อไปสู่ ทวีปนี้กนั อยู่

10
มาร์ ติน วอลด์ ซี มูลเลอร์ นักภูมิศาสตร์ ชาวเยอรมัน เป็ นผูต้ ้ งั ชื่อ แผ่นดินโลกใหม่ว่าอเมริ กาทั้งนี้ เพื่อ
เป็ นเกียรติแก่ อเมริโก เวสปุชชี นักสารวจชาวอิตาลีเป็ นผูท้ ี่ข้ ึนฝั่งเหยียบแผ่นดินทวีปอเมริ กาเป็ นท่านแรก

ประวัติการค้ นพบแผ่ นดินที่เป็ นประเทศบราซิลและการค้ นพบแม่ นา้ ทีใ่ หญ่ ทสี่ ุ ดในโลก
เมื่อปี ค.ศ. 1500 เปโดร อัลวาเลส แคบราล นักเดินเรื อทะเลชาวโปรตุเกส ประกอบด้วยกองเรื อหลายลา
ออกเดินทางจากประเทศโปรตุเกสเพื่อไปยังประเทศอินเดียซึ่งอุดมไปด้วยเครื่ องเทศที่ชาวยุโรปมีความต้องการ
อย่างสู ง เกิดผิดพลาดในการเดินเรื อ ทาให้หลงทางไปจนพบแผ่นดินใหญ่ชายฝั่งทะเลที่เป็ นประเทศบราซิลและ
ทวีปอเมริ กาใต้ปัจจุบนั มิได้ ขนึ้ ฝั่ง เพียงเดินเรื อเลียบชายฝั่ง
แล้วทารายงานการค้นพบแผ่นดินใหม่ไปให้กษัตริ ยโ์ ปรตุเกสทรงทราบ ทางราชสานักได้ประกาศเอา
ดิ นแดนที่ คน้ พบ เป็ นของประเทศโปรตุเกสโดยชอบด้วยสนธิ สัญญา ทอร์ เดซิ ลลาส ลงวันที่ ในปี ค.ศ. 1494
ระหว่างสเปน กับโปรตุเกส ทุกประการ (ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริ กา หน้า 57)
ต่อมาในปี ค.ศ. 1501-1502 อเมริ โก เวสปุชชี นักสารวจชาวอิตาลีภายใต้ธงชาติโปรตุเกส ออกเดินทาง
ไปสารวจ “โลกใหม่” อีกครั้งหนึ่ง เป็ นการติดตามผลการทางานและรายงานที่แคบราลได้ทารายงานไว้ อเมริ โก
เวสปุชชี ขึ้นฝั่งสารวจพื้นที่จนได้พบปากแม่น้ า ริโอเดอลาพลาตา1 แล้วเดินทางกลับโปรตุเกส ภายหลังจึงทราบ
ว่า ปากแม่น้ าริ โอเดอลาพลาตา เป็ นปากแม่น้ าแอมะซอน เป็ นแม่น้ าที่ใหญ่ที่สุดในโลก
อเมริ โก เวสปุชชี ทารายงานการค้นพบทวีปใหม่และมีความเห็นว่าผืนแผ่นดินใหญ่มหึ มาที่โคลัมบัสคิด
ว่าเป็ นทวีปเอเชียนี้ ความจริ ง คือ แผ่นดิน อีกทวีปหนึ่งต่างหาก เป็ นทวีปที่ 4 ของโลกด้วยสาเหตุน้ ีนกั ภูมิศาสตร์
ชาว เยอรมันจึงใช้ชื่อของผูค้ น้ พบเป็ นชื่อทวีปใหม่ว่า อเมริ กา ในแผนที่ เพื่อเป็ น เกียรติแก่ผขู ้ ้ ึนฝั่งเป็ นคนแรก
และค้นพบแม่น้ าแอมะซอน อันเป็ นแม่น้ าที่ ใหญ่ที่สุดของโลก ดังได้กล่าวแล้ว
1
ปากแม่น้ าริ โอเดอลาพลาตา ปั จจุบนั เรี ยก ปากแม่น้ าแอมะซอน (Amazona) แต่ภาษาพูดจะเรี ยกชื่ อ
แม่น้ านี้ ทบั ศัพท์ว่า “แม่น้ าอะเมซอน” เป็ นแม่น้ าที่ยาวถึง 4,000 ไมล์ เป็ นแม่น้ ากว้างที่สุดในโลกไหลผ่านกลาง
ประเทศบราซิล มีแม่น้ าสาขาไหลมาบรรจบมากกว่า 10 สาย แล้วไหลไปลงมหาสมุทรแปซิฟิก

ชาวสเปน และชาวโปรตุเกสเป็ นผู้ค้นพบทวีปอเมริกา

ทวีปอเมริ กาในที่น้ ี ข้าพเจ้าหมายรวมถึงอเมริ กาในที่น้ ี ข้าพเจ้าหมายรวมถึง อเมริ กาเหนือ อเมริ กากลาง


อเมริ กาใต้ ผูค้ น้ พบเป็ นชาวยุโรป ภายใต้ธงชาติสเปน และภายใต้ธงชาติสเปน และอเมริ กาใต้ ผูค้ น้ พบเป็ นชาวย
โรง โปรตุเกส ดังนั้น เราควรทาความรู ้จกั 2 ประเทศนี้พอเป็ นสังเขป ดังต่อไปนี้
11
ประเทศสเปน (Spain) หรื อ (Espana)

สเปนตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉี ยงใต้สุดของทวีปยุโรป ลักษณะเป็ นแหลมยื่นออกไปเกือบติดแผ่นดิน


ส่ ว นเหนื อ สุ ด ของทวี ป แอฟริ ก า ที่ เ ป็ น ประเทศโมร็ อ กโก (Morocco) มี พ้ื น ที่ 505,992 ตารางกิ โ ลเมตร มี
ประชากร 39.567,000 คน กรุ งมาดริ ด (Madrid) เป็ นเมืองหลวง เมื่อดูตามแผนที่ กรุ งมาดริ ดตั้งอยูก่ ่ ึงกลางพื้นที่
ของประเทศ
เป็ นประเทศสังกัดทวีปยุโรปที่มีสภาพภูมิอากาศคล้ายไปทางทวีป เอเชีย อุณหภูมิ ต่าสุ ดประมาณ 10° C
สู งสุ ดถึง 30° C ในเดือนสิ งหาคม
ประวัติความเป็ นมา
แผ่นดินที่เป็ นประเทศปั จจุบนั เป็ นถิ่นที่อยูข่ องชาวไอบีเรี ยน ชาวบาสคิว และชาวเซลล์ ซึ่ งเข้ามาตั้งถิ่น
ฐานตั้งแต่ 200 ปี ก่อนคริ สตกาล ต่อ มาโรมัน และกรี ก เข้ามาปกครองตามลาดับ นับถือศาสนาคริ สต์
ในปี ค.ศ. 711 ชนชาติ แ ขกมัว ร์ นับถื อ ศาสนามุ ส ลิ มจากแอฟริ ก า เหนื อ เข้ามามี อ านาจ แต่ ช นชาติ
แขกมัวร์ถูกกษัตริ ยเ์ ฟอร์ดินานด์และพระนาง อิซาเบลลาขับไล่ออกไปจนสิ้ นอิทธิพลในปี ค.ศ. 1492
ในปี ค.ศ. 1469 ราชอาณาจักรอารากอน (สเปน) โดยพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 และราชอาณาจักรคาสตีล
(โปรตุเกส) โดยพระนางอิซาเบลลา รวมตัวของ 2 ราชอาณาจักรซึ่งนับถือคริ สต์เข้าด้วยกัน อานาจของแขกมัวร์
ที่นบั ถือศาสนาศาสนาอิสลามจึงล่มสลายไปจนหมดสิ้ น แต่ยงั คงเหลือศิลปวัตถุของแขกมัวร์ ไว้จนปั จจุบนั เช่น
ปราสาทและป้อมปราการต่าง ๆ และสนามชนวัวที่เมืองบาร์เซโลนา

ประเทศโปรตุเกส
(Protugal)

ประเทศโปรตุ เกส เป็ นประเทศที่ อยู่ด้านตะวัน ตกสุ ด ของทวีปยุโรปเป็ นประะเทศเล็ก ๆ ตั้งอยู่ใ น


คาบสมุทร “ไอบีเรี ยน” (Iberian) พื้นที่ทิศเหนือ และตะวันออก ติดกับประเทศสเปน ทิศตะวันตกและใต้ ติดกับ
มหาสง แอตแลนติกที่มีความยาวถึง 600 กม.เศษ (ดูแผนที่ประกอบ)
กรุ งลิสบอน (Lisbon) หรื อลิสบัว (Lisboa) เป็ นเมืองหลวง
ประชากรส่ วนใหญ่อาศัยอยูใ่ นชนบท มีความเชี่ยวชาญในการทา ประมงจับปลาทะเล มีฟาร์มปลูกองุ่น
มากมายเพื่อทาไวน์รสเยีย่ ม เนื้อปลาและไวน์รสเยีย่ ม เป็ นที่ชื่นชอบของลูกค้าทัว่ ทวีปยุโรป
นักสารวจสัญชาติโปรตุเกสที่มีชื่อเสี ยง 3 ท่าน คือ
1. บาร์ โทโลมิ ว ไดแอส (Bartolomen Dias) หัวหน้าคณะเดิ นเรื อ สารวจและชายฝั่ งทวีปแอฟริ กาทิศ
ตะวันตก จนถึงแหลมกู๊ดโฮป

12
2. วาสโก ดา กามา (Vasco da Gama) เป็ นหัวหน้าคณะสารวจเดินเรื ออ้อมแหลมกู๊ดโฮป จนพบเส้นทาง
เดินเรื อไปยังทวีปเอเชีย
3. เปโดร อัล วาเลส แคบราล (Pedro Alvares Cabral) เป็ นหัว หน้า คณะส ารวจจนพบดิ น แดนที่ เ ป็ น
ประเทศบราซิล แต่เขามิได้ข้ ึนฝั่งทวีปอเมริ กาใต้ ประชากรดั้งเดิมเป็ นชนชาติ “ไอบีเรียน” อยูท่ ี่นี่มานานมากกว่า
5 พันปี เศษมาแล้ว ต่อมามีชนชาติ กรี ก โรมัน ฟิ นิ เชี ยน และ แอฟริ กนั ฯ มาตั้งรากผสมกลมกลืนข้ามเผ่าพันธุ์
แล้วหลอมรวมกันเป็ นสัญชาติโปรตุเกส ในปัจจุบนั
เกษตรกรชาวโปรตุเกส ปลูกองุ่นที่ใช้ ทาไวน์ เป็ นส่ วน จิตและหมักไวน์ ของโปรตุเกส ยังคงใช้ วิธีโบราณ
ตามวัตก ด้ วยการเทไวน์ ลงถัง แล้วใช้ เท้ าเปล่าลงเหยียบยา่ ให้ เมดี ถ้ วนทั่วดีแล้ว จึงนาไปหมักในถังไม้
ชาวโปรตุเกสส่ วนใหญ่ นับถือศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก มีกลุ่มเล็ก ๆ นับถือนิกายโปรเตสแตนต์
และชาวยิวทีน่ ับถือศาสนามุสริม
ในปี ค.ศ. 1580 สเปนใช้อานาจประเทศที่ มี กาลังมากกว่าบุกรุ กจน จะยชนะ แล้วเข้าปกครองเป็ น
ประเทศราช กอบโกยทรัพยากรธรรมชาติ ไปบารุ งเมืองแม่นานถึง 60 ปี จนถึงปี ค.ศ. 1640 มีหวั หน้าผูก้ ล้าหาญ
ชื่อ จอห์น ดึก แห่ ง บราแกนซา เป็ นผูน้ าต่อสู ้ขบั ไล่ผบู ้ ุกรุ กจนได้รับชัยชนะ ขับไล่สเปนจนสิ้ นอิทธิ พล แล้วจึง
สถาปนาพระราชวงศ์ “เฮาส์ ออฟ บรา แกนซา (House of Braganza)” ปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราช
โดยมี จอห์น ดึก ผูไ้ ด้รับฉันทานุมตั ิจากชาวโปรตุเกสให้ดารงตาแหน่ง พระมหากษัตริ ยโ์ ปรตุเกส และในช่วงปี
ค.ศ. 1800 กว่าๆ ระบบกษัตริ ย ์ โปรตุเกสมีความอ่อนแอถูกครอบงาจากต่างประเทศ บางครั้งต้องลี้ภยั ไป ประทับ
ชัว่ คราวที่ต่างประเทศ จนกระทัง่ ถึงรัชสมัยพระเจ้าจอห์นที่ 4 จน ประชาชนเบื่อหน่ายสถาบันพระมหากษัตริ ย ์
ระบอบกษัตริ ยก์ ็ถึงวาระสิ้ นสุ ด แล้วประเทศโปรตุเกสปกครองโดยสาธารณรัฐ ประชาชนเลือก ประธานาธิบดี
อยูใ่ นตาแหน่งวาระละ 5 ปี แต่ไม่เกิน 2 วาระ ภาษาโปรตุเกส เป็ นภาษาราชการ ภาษานี้พฒั นามาจากภาษาละติน
ประเทศโปรตุเกสมีพ้นื ที่เพียง 91,982 ตารางกิโลเมตร มีมหาวิทยาลัยประมาณ 20 แห่ง

13

You might also like