You are on page 1of 42

บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว

ยุคสมัยดึกดาบรรพ์
• มนุษย์ไม่มีถิ่นที่อยู่อาศัยถาวร
• เดินทางเร่ร่อนไปตามที่ต่างๆ ที่มีอาหารอุดมสมบูรณ์และ
ชีวิตปลอดภัยจากศัตรู
• การใช้ชีวิตแบบเร่ร่อนพเนจร (Nomadic)เพื่อความอยู่รอด
• มนุษย์บางกลุ่มวิวัฒน์ไปจากเดิมเมื่อกว่าแสนปีมาแล้วเพียง
เล็กน้อย เช่น ชนเผ่าอะบอริจินส์ในทวีปออสเตรเลีย และชน
เผ่าเบดูอินในแอฟริกา ก็ยังเร่ร่อนพเนจรอยู่
ชนเผ่าอะบอริจินส์ (Aborigin) ในทวีปออสเตรเลีย
ชนเบดูอินในแอฟริกา
วัตถุประสงค์และเหตุจูงใจในการเดินทางที่ทาให้
คนในสังคมยุคก่อน แตกต่างกับ คนในสังคมยุคปัจจุบัน
• วัตถุประสงค์ผันแปรไปตามสถานที่ หรือตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ในโลก
• เริ่มต้นจากความอยากปฏิบัติภารกิจให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
• ตอบสนองความอยากรู้อยากเห็น อยากเปลี่ยนบรรยากาศ
อยากพักผ่อน เป็นต้น
วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
แบ่งเป็น 4 ช่วง คือ
1. สมัยโบราณ
2. สมัยกลางหรือมัธยสมัย
3. ประสบสมัยหรือสมัยก่อนสมัยปัจจุบัน
4. สมัยปัจจุบัน
1. การท่องเที่ยวในสมัยโบราณ
(Ancient Time)
1. การท่องเที่ยวในสมัยโบราณ (Ancient Time)
• ช่วงเวลาก่อนประวัติศาสตร์ (Prehistoric Period) คือช่วง 10,000 ปีก่อน ค.ศ. และ
3,000-4,000 ปีก่อน ค.ศ.
• มนุษย์เปลี่ยนวิธีการดารงชีวิตจากเร่ร่อน มาเป็นชีวิตแบบมีที่พานักอาศัยถาวร และมี
สังคมเกิดขึ้น
• คนมีความสุขสาราญกับชีวิตแบบใหม่ อยู่กับที่ มีเวลามากขึ้น มีเวลาพัฒนาและทานุ
บารุงในสิ่งแวดล้อมที่นอกเหนือจากการกินอยู่และป้องกันภัย
• ทาให้เริ่มคิดและสังเกตพิจารณาสิ่งแวดล้อมและเปลีย่ นแปลงประดิษฐ์วัสดุในธรรมชาติ
ให้คนได้ใช้มากกว่าที่เคย จึงเกิดศิลปะขึ้นในปลายยุคหิน (Late Stone Age)
• มีการสร้างหมู่บ้าน มีการค้าขายด้วยการแลกเปลี่ยนสินค้า มีการทาสงครามกันระหว่าง
เผ่า
• ในด้านศิลปะ มีการขัดฝนหินให้เรียบร้อยขึ้นและคมขึ้น
วิถีชีวิตมนุษย์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์
 ต่อมาในยุคหินกลาง หรือ ยุคเริ่มต้นของอารยธรรม (Civilization)
 ยังมีไม่การขีดเขียนรูปรอยใดๆ แต่มีภาพวาดตามผนังถ้า หรือ อักษรภาพ
(pictograms) อาจทาขึ้นเพือ่ ให้เป็นสื่อมวลชน
 โดยเขียนทีละภาพ บนดินเหนียวเปียกด้วยปากกาที่ทาจากต้นกก ทาให้
ภาพที่เขียนมาค่อยๆเปลีย่ นเป็นรูปร่างคล้ายรูปลิ่ม จึงเรียกว่า อักษรรูปลิ่ม
 ในสมัยเริ่มมีอารยธรรมนี้ คนยุ่งกับการสร้างแบบแผนการดารงชีวิตใน
สังคม ไม่มีความคิดและเวลาที่จะท่องเทีย่ วไปไหนมากนัก
 จึงใช้เวลาอยู่กับที่เพื่อสร้างรูปแบบใหม่ๆของการดารงชีวิตไม่น้อยว่า
6,000 ถึง 7,000 ปี
อักษรรูปลิ่ม (Cuneiform Writing)
 ตัวอย่างหลักฐานของความมีอารยธรรมในยุคหินกลางคือชาวสุเมเรียน
 ประมาณ 5000 ปีก่อน ค.ศ. มีผู้คนทากสิกรรมบริเวณหุบเขากว้างใหญ่
ระหว่างแม่น้าไทกริส (Tigris) และแม่น้ายูเฟรติส (Eupharates) หรือ
ต่อมาเรียกว่า เมโสโปเตเมีย (Mesopotamia) มีความหมายว่า “ดินแดน
แห่งแม่น้าสองสาย”
ชาวสุเมเรียน ดินแดนซูเมอร์ (Sumer)
• อารยธรรมแรกได้เจริญขึ้นใน ดินแดนซูเมอร์
(Sumer) อยู่ตอนใต้ของเมโสโปเตเมีย
• ระยะแรกชาวสุเมเรียนที่อาศัยอยู่ในบ้านที่มุงด้วย
ต้นกก ต่อมาได้เรียนรู้วิธีทาอิฐผสมด้วยโคลนและ
ฟาง และใช้ดินเหนียวในการปั้นหม้อ จึงประดิษฐ์
วงล้อ (แป้นหมุน) สาหรับการปั้นหม้อ
• แล้วต่อมาจึงนาวงล้อไปติดเข้ากับเกวียนหรือรถม้า
และใช้สาหรับเดินทางไปยังที่ต่างๆ และบรรทุก
สิ่งของแทนการใช้ลาได้มากกว่าถึง 3 เท่า
• บริเวณที่ราบของซูเมอร์ เหมาะสาหรับการทากสิกรรม ทาให้ชาวสุ
เมเรียนปลูกพืชผลได้มากเกินกว่าจะบริโภคเองหมด
• ชาวบ้านบางคนมีเวลาเรียนรู้ทักษะพิเศษต่างๆ เช่น ปั้นถ้วยชาม
และทอผ้า
• ดินแดนซูเมอร์กลายเป็นเมืองใหญ่ มีกาแพงล้อมรอบ มีศาสนสถาน
แต่ไม่มีโลหะ หิน หรือไม้เนื้อแข็ง จึงต้องนาเข้าจากดินแดนอื่นโดย
การแลกเปลี่ยนสินค้า
• พ่อค้าชาวสุเมเรียนแล่นเรือไปมาลาคลองและแม่น้าจนถึงอ่าว
เปอร์เซียหรือไกลกว่านั้น และทาการค้ากับพ่อค้าแดนไกลที่มาจาก
ชายฝั่งเมดิเตอร์เรเนียน ซึ่งอยู่ทางตะวันตกและบริเวณลุ่มน้าสินธุ
ทางตะวันออกอีกด้วย
ดินแดนซูเมอร์

วิหารหอคอย หรือ ซิกกูแรต ซึ่งเป็น


สิ่งก่อสร้างที่มีลักษณะคล้ายพีระมิด สร้างอยู่บน
ฐานที่ยกสูงจาก ระดับพื้นดิน
ข้างบนทาเป็นวิหารของเทพเจ้า
มีบันไดยาวทอดขึ้นไป
ประมาณ 4000 ปีก่อน ค.ศ. ชนเผ่าต่างๆ มีการสร้างบ้านเมืองขึ้นทุก
หนทุกแห่งทั่วโลก และชาวสุเมเรียนสร้างประเทศบาบิลอนขึ้น
• ประมาณ 3000 – 1800 ปีก่อน ค.ศ. เกิดอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ
เจริญรุ่งเรืองและมีการติดต่อค้าขายกับชาวสุเมเรียนในดินแดนซูเมอร์
• ชนผิวขาวไมนวน ได้สร้างอาณาจักรครีต (Crete) ขึ้นที่เกาะครีต
(ประมาณ 1900 ปี ก่อน ค.ศ.)
• ประมาณ 1300 ปีก่อน ค.ศ. อาณาจักรอียิปต์โบราณกลายเป็น
อาณาจักรที่ยิ่งใหญ่
• ชาวอียิปต์โบราณ มีประเทศอยู่ติดทะเล จึงได้สร้างเรือเพือ่ ออกไปสารวจ
ทะเลเป็นชาติแรก การเดินทางทางเรือเป็นหัวใจสาคัญของชาวอียิปต์
เนื่องจากตัวเมืองตั้งอยู่ริม แม่น้าไนล์ ทะเลแดงและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
การเดินทางทางเรือจึงเป็นกิจกรรมทั้งทางการค้าและการพักผ่อน
• แต่ทะเลมีคลื่นลมและอ้างว้างปราศจากที่หมายใดๆ ชาวอียิปต์จึงไม่กล้า
ออกไปไกลๆ จึงเดินทางไปได้แค่บริเวณที่ยังมองเห็นฝั่งอยู่ ซึ่งได้แค่ทะเล
แดง
• มีอาณาจักรเล็กอีกมากมายทั้งในทวีปเอเชีย ยุโรป และแอฟริกา เริ่ม
ทะเลาะวิวาทและแย่งชิงความเป็นใหญ่กัน
• การเดินทางเริม่ ขึ้นอีก เพื่อไปทาสงครามแย่งชิงอาณาจักร เชลย สงคราม
และทรัพย์สินที่แต่ละอาณาจักรสะสมไว้
• การเดินทางไปทาสงครามในสมัยนั้น คนเดินทางอาจเห็นว่าเป็นเรื่อง
สนุกสนานที่จะได้ผจญภัย ทั้งยังมุ่งไปจับเอาเชลยมาเป็นข้าทาสบริวาร
• ทะเลก็เป็นสิ่งลีล้ ับและท้าทายต่อการออกสารวจของมนุษย์ ที่เร้าใจให้คน
อยากรู้อยากเห็นว่าสุดขอบฟ้ามีอะไรและใต้น้ามีอะไรบ้าง
• จากข้อเท็จจริงประวัติศาสตร์โบราณ มีเหตุการณ์อื่นๆที่เกี่ยวกับการ
เดินทางด้วยเหตุจูงใจนานาประการเพือ่ ประโยชน์ต่างๆ แบ่งเป็นประเภท
ใหญ่ๆได้ 5 ประเภท คือ
1. การเดินทางเพือ่ ประโยชน์ทางการเมือง สมัยนั้นมีการสู้รบเพื่อขยายอาณา
เขตและเพือ่ แย่งชิงดินแดน จึงต้องมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ทาให้มีการ
เดินทางของทูตสันตวไมตรีไปมาระหว่างประเทศ
2. การเดินทางเพือ่ ประโยชน์ทางการค้า ค้าขาย แลกเปลี่ยนสินค้า พ่อค้า
ออกทางไปทั่วสารทิศเพื่อเสาะหาของแปลกๆ ซึ่งไม่มีในประเทศของตน
3. การเดินทางเพือ่ ประโยชน์ทางศาสนา มีการเดินทางเพื่อจาริกแสวงบุญไป
ยังดินแดนอันศักดิ์สิทธิ์ เช่น ชาวกรีกและชาวโรมันพากันยกขบวนไป
โบสถ์เดลฟลาย เพื่อฟังคณะคนทรง เพื่อพยากรณ์เหตุการณ์ภายหน้า,
พระถังซัมจั๋งเดินทางจากจีนไปยังศรีลงั กาเพือ่ อัญเชิญพระไตรปิฎก
4. การเดินทางเพือ่ ประโยชน์ทางความสนุกสนานเพลิดเพลินและพักผ่อน
เช่น ช่วง 776 ปีก่อน ค.ศ. ประเทศกรีกจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ทุกๆ
สี่ปีที่เมืองโอลิมเปีย ทาให้คนที่มาเข้าชมมีความต้องการใช้สถานที่พกั และ
บริการอาหารเป็นอย่างมาก
นอกจากนี้ ชาวโรมันนิยมเดินทางข้ามทะเลเมดิเตอร์เรเนียนผ่านทาง
แม่น้าไนล์เพื่อชมอียิปต์ มีโบราณสถาน สิ่งมหัศจรรย์ต่างๆ เช่น พีระมิด
และสฟิงก์
ที่อ่าวเนเปิล มีการสร้างสถานที่พกั หรือบ้านพักตากอากาศ นักท่องเที่ยว
ได้เดินทางมาพักผ่อนและมีการใช้จ่ายเงินในรูปของสิ่งของที่ระลึกต่างๆ
อาหาร และเครื่องดื่ม
ภาพจาลองการเตรียมตัวแข่งกีฬาของคนจากแคว้นต่างๆ ในอาณาจักรกรีก
5. การเดินทางเพือ่ ประโยชน์ทางสุขภาพและอนามัย
• ชาวกรีกและชาวโรมันเชื่อกันว่ามีบ่อน้าศักดิ์สิทธิ์อยู่หลายแห่ง ต่างพากัน
เดินทางเพือ่ ค้นหาบ่อน้าศักดิ์สิทธิ์ ตามความเชื่อที่ว่าเป็นการเพิ่มอายุขัย
และรักษาสุขภาพอนามัย
• อาณาจักรโรมันมีถนนดีๆ ตัดทางมุ่งสู่จุดสาคัญต่างๆของอาณาจักร
• ผลงานที่มีชื่อเสียงว่าเป็นถนนทางหลวงสายแรก ที่ก่อสร้างได้ดีที่สุด คือ
ถนนแอพเพียน (Appian Way) สร้างด้วยหินภูเขาไฟ สร้างเมื่อ 312 ปีก่อน
ค.ศ.
• ก่อสร้างด้วยหินภูเขาไฟเล็กๆ ชั้นบนสุดเป็นซีเมนต์ พร้อมขอบสองข้างทาง
ถนน และมีคูระบายน้า และมีทางเดินด้านข้างด้วย มีความยาว 132 ไมล์
จากกรุงโรมถึงเมืองบรันดิซี (Brindisi) ต่อมาในปี 1784 โปปปิอุสที่ 6 ได้
สร้างถนนคูข่ นานกับถนนเดิม
ถนนแอพเพียน
(The Appian Way in Rome Italy)

ปัจจุบันถนนแอพเพียนกลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยว
และยังจัดให้มีบริการรถโดยสารด้วย
The Appian Way was a crucial road for the Roman Empire. It connected Rome to some of
its most distant settlements. Originally built by Appius Claudius Caecus, the then-censor of
Rome, the road connected Rome to Capua near Naples. Eventually, it extended more than
300 miles to Brindisi, Puglia on the Adriatic Coast, making it the widest and longest road in
existence at the time. Called the “Queen of Roads,” it’s construction was truly momentous,
especially considering it was built in 312 BC!
Even compared to many of the other best attractions in Rome, The Appian Way is incredibly
well-preserved. It’s made of large, flat stones, which have been firmly set in place by
thousands of years of rain, wheels, and feet passing over them. When you touch them, you
are walking in the footsteps of Roman emperors, merchants, saints and maybe even St.
Peter. The road was originally built predominately for military purposes, meaning Julius
Caesar walked it along with thousands of other soldiers, leaders and consuls. Christians
converts were buried along the route and the famous slave leader Spartacus was crucified
on the via Appia in 71 BC.
2. การท่องเที่ยวในมัธยสมัย
(Middle Ages)
2. การท่องเที่ยวในมัธยสมัย (Middle Ages)
• “ยุคกลาง” ระหว่าง ค.ศ. 500 ถึง ค.ศ. 1500
• ในช่วงต้นของยุคนี้เรียกว่า “ยุคมืด” (The Dark Ages) เป็นหัวเลี้ยว
หัวต่อระหว่างการสิ้นสุดของอาณาจักรโรมันโบราณ (ค.ศ. 476) มีการรบ
พุ่งแย่งชิงดินแดนและทรัพย์สมบัติ ศีลธรรมเสื่อม ราษฎรถูกกดขี่และมีทุกข์
จึงอยากอพยพไปอยู่ที่อื่น ประชาชนเริ่มเข้าสู่ความนิยมในคริสต์ศาสนา
• ช่วงเวลาของความเสือ่ มโทรมทั้งทางวัฒนธรรมและทางสังคมในยุโรป
หลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน
(Decline of the Roman Empire)
2. การท่องเที่ยวในมัธยสมัย (Middle Ages)
• “ยุคกลาง” ระหว่าง ค.ศ. 500 ถึง ค.ศ. 1500
• ปี ค.ศ. 1271-1295 มาร์โคโปโล (Marcopolo) ชาวเวนิส
เดินทางจากเวนิสไปประเทศจีน ทั้งทางบกและทางเรือ ใช้เวลา 3 ปีครึ่ง
ผ่านเมืองประเทศต่างๆหมายแห่ง สิ่งสาคัญคือ เค้าได้เขียนบันทึก
เหตุการณ์ต่างๆและสถานที่ทุกแห่งที่เขาได้พบเห็นตลอดเวลาที่เดินทาง ซึ่ง
ถือว่าเป็น “คู่มือการเดินทาง” อันแท้จริงฉบับแรกในโลก แม้จะมีผู้ตาหนิไม่
น้อยว่ามีหลายข้อเป็นเรื่องเกินจริงเหลือเชือ่ แต่นักวิชาการในสมัยนั้นถือ
เป็นเอกสารนาเที่ยวเชิงภูมิศาสตร์อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ ไม่ใช่เพียง
จินตนาการ
มาร์โคโปโล Marcopolo
• ช่วงศตวรรษที่ 15 มีการตีพิมพ์และหนังสื่อที่เกี่ยวกับการท่องเทีย่ ว
• ช่วยกระตุ้นให้ผู้ที่รักการอ่าน มีความรู้สึกอยากเดินทางท่องเที่ยวไปยัง
ดินแดนที่ห่างไกลออกไป
• ในกลางมัธยสมัย มีมหกรรมและนิทรรศการสินค้าเป็นงานประจาปีใน
เมืองต่างๆของประเทศฝรั่งเศส เมืองแฟรงก์เฟิรต์ ในประเทศเยอรมณี
เป็นศูนย์กลางการค้าและแลกเปลี่ยนสินค้า เมืองดังกล่าวมีสถานที่แสดง
สินค้าและธุรกิจการพิมพ์สิ่งพิมพ์ต่างๆ การจัดงานแสดงสินค้าดังกล่าวจึง
ได้กลายเป็นจุดเด่นสาคัญในการเชิญชวนนักท่องเที่ยวเดินทางไป
ท่องเที่ยวจนกระทั่งปัจจุบันนี้
• ยุคปลายๆของมัธยสมัย เรียกว่า “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา” (The
Renaissance) เป็นยุด “เกิดใหม่”ทางศิลปะและวิทยาการจิตใจของคนดี
ขึ้น
• กาลิเลโอ นักวิชาการชาวอิตาลี ยืนยันว่าโลกนี้กลม ประกาศว่าถ้าจะมีผู้ใด
แล่นเรือมุ่งไปทางทิศตะวันออก ก็จะแล่นกลับมาที่เก่าได้โดยไม่ต้องกลับลา
เรือ ทาให้นักผจญภัยหลายคนอยากแล่นเรือตามที่กาลิเลโอกล่าว
• ขณะนั้นประเทศยุโรปได้ติดต่อค้าขายกับอินเดียทางบก แต่ว่าลาบากและ
ไม่สะดวกในการบรรทุกสินค้าไปมากๆ จึงพบยายามที่จะออกแล่นเรือ
ค้นหาเส้นทางไปอินเดียทางน้า และอาจได้พบดินแดนใหม่ๆมาถวายเป็น
อาณานิคมของพระเจ้าแผ่นดินของตน จึงเกิดการเดินทางทางเรือเพื่อ
สารวจหาดินแดนใหม่ๆ หาเส้นทางคมนาคมใหม่ๆ และหาแหล่งการค้า
ใหม่ๆ
• คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (Christopher Columbus) บุกัปตัน
เรือชาวอิตาลี ปี ค.ศ. 1492 เป็นผู้ที่เดินทางข้ามฝั่งแอตแลนติกเพื่อ
เดินทางไปประเทศจีน ห้าสัปดาห์หลังจากนั้น เข้าไปถึงหมู่เกาะอินเดีย
ตะวันตก แต่เข้าคิดว่าได้เดินทางถึงดินแดนตะวันออกแล้ว ต่อมาไม่นาน
ผู้คนเริ่มตระหนักว่า ดินแดนที่เข้าค้นพบเป็นดินแดนใหม่ และเรียกว่า
“โลกใหม่” (New World)
• ในยุดนี้ การเดินทางมีความเสี่ยง คนเดินทางยอมสละชีพได้ การเดินทาง
ชองผู้แสวงบุญ ศาลนาคริสต์และศาสนาอิสลามเกิดขึ้นในเวลาไล่เลีย่ กัน
และศาสนาจารย์ทงั้ สองศาสนาแข่งขันกันถึงขั้นแตกหัก ในการแย่งชิงคน
และแย่งชิงสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์
• มีการส่งเสริมการจาริกแสวงบุญเป็นอย่างมาก เช่น จัดตั้งหน่วยรักษาความ
ปลอดภัยตามเส้นทาง ผู้มีอานาจทางศาสนสั่งให้โบสถ์ และวัดจัดให้ผู้จาริก
แสวงบุญที่ยากจนได้พักพิงในที่พกั ระหว่างเดินทาง ที่เรียกว่า
• โฮสเทล (Hostell) หรือ โฮสไพส (Hospice) ซึ่งถือเป็นต้นตระกูล
ของโรงแรมปัจจุบัน
3. การท่องเที่ยวในช่วงประสบสมัย
(Modern Time)
3. การท่องเที่ยวในสมัยประสบสมัย (Modern Time)
• เป็นช่วงระยะเวลา ค.ศ. 16 ถึงช่วง 100 ปีถอยหลังไปจากปัจจุบัน
• มีอาณาจักรใหม่ๆเกิดขึ้น มีการพบดินแดนใหม่หลายแห่ง เช่น อเมริกา
ออสเตรเลีย
• เกิดแรงจูงใจให้อาณาจักรที่มีอานาจออกล่าเมืองขึน้ เพื่อตั้งเป็นอาณานิคม
• การค้าขายเปลี่ยนไป เกิดการขายปลีก ขายส่ง
• “ฮอสไพส” (Hospice) สิ้นสุดลง เพราะศาสนาหมดอานาจและขาดความ
อุปการะจากพระเจ้าแผ่นดิน แต่การเดินทางแสวงบุญยังดาเนินอยู่
• จึงมีผู้ตั้งโรงแรมขึ้นเรียกว่า “อินน์” (Inn) มีการเก็บค่าธรรมเนียมและ
จาหน่ายอาหาร
 ราวกลางศตวรรษที่ 18 การเดินทางท่องเที่ยวเริ่มมีเป้าหมายชัดเจนมากขึ้น มี
การกาหนดการท่องเที่ยวที่แน่นอนมากขึ้น นักเดินทางเพิ่มจานวนมากขึ้น
 เช่น ประเทศฝรั่งเศส มีการจัดทาหนังสือนาเที่ยว บรรยายสภาพถนนหนทาง
สถานที่เที่ยว และมีการจัดรายการนาเที่ยว และเริ่มใช้คาว่า “ทัวร์” (Tour)
(ตูร)์ เป็นครั้งแรก
 ในประเทศอังกฤษ มีผู้นาคาว่า “Tour” ไปใช้ในการท่องเที่ยว ซึ่งเน้นไปเชิง
การศึกษา
 วลีว่า“To Make a Grand Tour” หมายถึง คนที่จะได้รับการศึกษาอย่าง
สมบูรณ์จะต้องข้ามไปท่องเที่ยวในประเทศต่างๆในยุโรป
 “Tourist” จึงเกิดขึ้น ซึ่งหมายถึงบุคคลผู้ท่องเที่ยวไปกับ Grand Tour
 และคาว่า “Tourism” ก็เกิดขึ้น โดยหมายถึง การท่องเที่ยวโดยผู้ท่องเที่ยว
ต้องการพักผ่อนเพื่อบารุงรักษาสุขภาพและสนองความอยากรู้อยากเห็นโดยไม่
มุ่งหวังที่จะได้รับผลตอบแทน
4. การท่องเที่ยวในสมัยปัจจุบัน
(Present Time)
4. การท่องเที่ยวในสมัยปัจจุบัน (Present Time)
• ช่วง ค.ศ. 1750-1850 ทวีปยุโรปได้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม เกิดการ
เปลี่ยนแปลงครัง้ ใหญ่ในด้านการผลิต การตลาด และการจัดการ
• เช่น มีการใช้เครื่องจักรกล พลังงานชนิดใหม่ รถไฟ เรือกลไฟ รถยนต์
• ทาให้มีผลกระทบต่อการเปลีย่ นแปลงในด้าน เศรษฐกิจ สังคม ชีวิตความ
เป็นอยู่ของมนุษย์ ตลอดจนแนวคิดและค่านิยมต่างๆ
• เช่น ภาคเกษตรกรรม ------->> ภาคอุตสาหกรรม
• การท่องเที่ยวมีการพัฒนาสิ่งใหม่ๆ มีสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆมากขึ้น
เช่น ห้องพักในโรงแรมมีความสะดวกสบายขึ้น มีบริการโทรทัศน์ มีระบบ
ไฟฟ้า มีระบบท่อน้าภายในห้องพัก
• สาหรับประเทศไทย การท่องเที่ยวเพิง่ จะเป็นกิจกรรมมวลชน (Mass
Activities) เมื่อประมาณ 50-60 ปีมานี้เอง
• การคมนาคม รถยนต์ รถไฟ เชื่อมต่อภาคต่างๆของประเทศ เป็นกิจกรรม
ของคนที่มียศถาบรรดาศักดิ์ มีเหตุจูงใจในด้านการค้า การเมือง การทูต
ศาสนา เช่น ออกไปตรวจราชการและถือโอกาสพักผ่อนหย่อนใจไปด้วย
• ปีพ.ศ. 2430 สุนทรภู่ “นิราศเมืองแกลง” ได้บรรยายการเดินทางพักแรม
ถือเป็น “คู่มือการท่องเที่ยว” ฉบับหนึ่งของไทย
• ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ทรงเป็นนักท่องเที่ยวที่ยิ่งใหญ่ พระราช
นิพนธ์หนังสือ “ไกลบ้าน” และ สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพพระ
ราชนิพนธ์ “จดหมายเหตุประพาสต้น” ถือเป็น “คู่มือการท่องเที่ยว” ใน
ประเทศไทยอย่างแท้จริง
ธุรกิจการท่องเที่ยวของไทยเติบโตเร็วมาก
ประเทศไทยได้กลายเป็นประเทศที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักกันทั่วโลก
ช่วงระยะเวลาเพียง 43 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2503 มีนักท่องเที่ยวเพียง 81,340
คน และมาถึง พ.ศ. 2547 มีนักท่องเที่ยวทั้งสิ้น 11,737,413 คน ซึ่งทวี
จานวนถึง 137 เท่าตัว

You might also like