You are on page 1of 13

รหัสวิชา 49 ฟิสิกส์

วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 11.00-12.30 น.


___________________________________________________________________________________________
ข้อสอบวิชเสีาสามั
ยงและการได้
ญ (ฟิสิกยส์ิน) ปี 2559

กำหนดให้ใช้ค่าต่อไปนี้ สำหรับกรณีที่ต้องแทนค่าตัวเลข
g = 9.8 m/s2
π = 3.14159
180o = π เรเดียน
สัญลักษณ์ log แทนลอการิทมึ ฐานสิบหรือตามที่กำหนดในโจทย์
log 2 = 0.30, log 3 = 0.48
อัตราเร็วของเสียงในอากาศ ≈ (332 + 0.6toC) ms-1

สอนโดย: อ.อริยพล จิวาลักษณ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ฝ่ายมัธยม) © 2019 1


รหัสวิชา 49 ฟิสิกส์
วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 11.00-12.30 น.
___________________________________________________________________________________________
1. (สามัญ’59) ถ้ากดท่อน PQ ลงในแนวตั้งฉากกับพื้นด้วยความเร็ว u ลิ่ม ABC จะถอยหนีไปทางซ้ายมือด้วยความเร็ว
ขนาดเท่าไร

1. u sin α
2. u cos α
3. u sec α
4. u tan α
5. u cot α

___________________________________________________________________________________________
2. (สามัญ’59) น้ำหนักของมวล m เมื่อชั่งที่ผิวของดวงจันทร์เท่ากับ mg' จงหามวลของดวงจันทร์ กำหนดให้ G แทน
ค่าคงที่สากลของแรงโน้มถ่วง และ R แทนรัศมีของดวงจันทร์
g'
1. ( ) m
G
G
2. ( ) m
g'
Rg'
3.
G
R2 g'
4.
G
2R2 g'
5.
G

สอนโดย: อ.อริยพล จิวาลักษณ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ฝ่ายมัธยม) © 2019 2


รหัสวิชา 49 ฟิสิกส์
วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 11.00-12.30 น.
___________________________________________________________________________________________
3. (สามัญ’59) A และ B มีมวลเท่ากัน แขวน B ด้วยเชือกเบาๆ ยาว l จากจุด O โดย A เคลื่อนที่เร็ว u เข้าชน B ตรงๆ
อย่างยืดหยุ่น ค่า u ต้องมีขนาดอย่างน้อยที่สุดเท่าไร B จึงจะเหวี่ยงขึ้นไปถึงระดับเดียวกันกับจุด O ได้พอดี

1. √20gl
2. √5gl
3. √4gl
4. √2gl
5. √gl
___________________________________________________________________________________________
4. (สามัญ’59) ลูกตุ้มมวล m ผูกห้อยอยู่กับเชือกเบายาว L เคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็วคงตัวในระนาบระดับ ดังรูป
เชือกทำมุม θ กับแนวดิ่งตลอดเวลา จงหาคาบของการเคลื่อนที่ของลูกตุ้ม

L cos θ
1. 2π√
g
L sin θ
2. 2π√
g
L cot θ
3. 2π√
g
L
4. 2π cos θ √
g sin θ
L
5. 2π sin θ √
g cos θ

สอนโดย: อ.อริยพล จิวาลักษณ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ฝ่ายมัธยม) © 2019 3


รหัสวิชา 49 ฟิสิกส์
วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 11.00-12.30 น.
___________________________________________________________________________________________
5. (สามัญ’59) เด็กคนหนึ่งอยู่บนรถซึ่งเคลื่อนที่อยู่บนถนนตรงด้วยความเร็วคงที่ V เขาปาก้อนหินออกไปด้วยความเร็ว u
เทียบกับรถทิศทำมุม θ กับทิศที่รถเคลื่อนที่ ก้อนหินจะตกกระทบพื้นห่างจากรถเป็นระยะทางเท่าไร

1. ตำแหน่งเดียวกันกับรถ
2u2 sin θ cos θ
2. นำหน้ารถอยู่
g
2u sin θ
3. นำหน้ารถอยู่ (V + u cos θ )
g
2u2 sin θ cos θ
4. ตามหลังรถอยู่
g
2u sin θ
5. ตามหลังรถอยู่ (V + u cos θ )
g
___________________________________________________________________________________________
6. (สามัญ’59) ออกแรง F ดันแผ่นราบมวลเบาบี้ลูกโป่งซึ่งเดิมเป็นรูปทรงกลม ให้ติดกับกำแพงดิ่งอย่างสมมาตร ดังรูป
ความดันภายในลูกโป่งเท่ากับเท่าไร (กำหนดให้ Pa เป็นความดันบรรยากาศ)

F
1. Pa -
A
F
2. Pa -
2A
3. Pa
F
4. Pa +
2A
F
5. Pa +
A

สอนโดย: อ.อริยพล จิวาลักษณ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ฝ่ายมัธยม) © 2019 4


รหัสวิชา 49 ฟิสิกส์
วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 11.00-12.30 น.
___________________________________________________________________________________________
7. (สามัญ’59) ปล่อยลูกปิงปอง m จากหยุดนิ่งที่ความสูง h จากพื้นให้ตกกระทบพื้น มันจะกระดอนขึ้นด้วยความเร็วต้น
เท่าไร ถ้าหากว่าในการกระทบพื้นนั้นมีการสูญเสียพลังงานจลน์ไป 28%
1
1. 0.28 (2gh)2
1
2. 0.72 (2gh)2
1
3. (2gh)2
1
4. 1.2 (gh)2
1
5. (gh)2
___________________________________________________________________________________________
8. (สามัญ’59) ใช้สปริงเบาค่าคงตัวสปริง k แขวนก้อนมวล m ไว้ให้อยู่นิ่งในแนวดิ่ง จากนั้นดึงก้อนมวลให้ขยับต่ำกว่าระดับ
สมดุลเล็กน้อยและปล่อยให้เคลื่อนที่กลับเอง ก้อนมวลจะใช้เวลานานเท่าไรจึงเคลื่อนที่กลับมาถึงตำแหน่งสมดุลอีกครั้ง
m
1. 2π√
k
π m
2. √k
2
2π m
3. √k
3
m
4. π√
k
2π m
5. √k
5
___________________________________________________________________________________________
9. (สามัญ’59) ก้อนมวล m แขวนด้วยเชือก ดังรูป จงหาแรงตึงในเส้นเชือก 2 กำหนดให้มวลของเชือกน้อยมาก

1. mg sin θ
2. mg cos θ
3. mg tan θ
4. mg cot θ
5. mg sec θ

สอนโดย: อ.อริยพล จิวาลักษณ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ฝ่ายมัธยม) © 2019 5


รหัสวิชา 49 ฟิสิกส์
วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 11.00-12.30 น.
___________________________________________________________________________________________
10. (สามัญ’59) แว่นขยายที่ใช้เลนส์นูนที่มีความยาวโฟกัส 5 cm เกิดภาพเสมือนที่ระยะ 15 cm จากเลนส์ จะมีขนาด
กำลังขยายเป็นที่เท่า
1. 0.25
2. 2
3. 3
4. 3.75
5. 4

___________________________________________________________________________________________
11. (สามัญ’59) ถ้าเพิ่มความเข้มของเสียงเป็น 2 เท่าของความเข้มของเสียงเดิม ระดับความเข้มของเสียง (ที่ตำแหน่งเดิม)
จะเพิ่มขึ้นกี่เดซิเบล
1. 0.3
2. 0.6
3. 2
4. 3
5. 6

___________________________________________________________________________________________
12. (สามัญ’59) เส้นลวดสองเส้นความยาวเท่ากัน เส้นแรกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง d เส้นที่สองมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2d ในการ
ทำให้เส้นลวดทั้งสองเส้นยืดเป็นระยะเท่ากัน ต้องใช้แรงดึงลวดเส้นที่สองเป็น 3 เท่าของแรงที่ใช้ดึงลวดเส้นแรก ถ้าลวด
เส้นแรกมีมอดูลัสของยัง Y ลวดเส้นที่สองมีมอดูลัสของยังเท่าใด
1
1. Y
12
1
2. Y
6
3
3. Y
4
3
4. Y
2
5. 3Y

สอนโดย: อ.อริยพล จิวาลักษณ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ฝ่ายมัธยม) © 2019 6


รหัสวิชา 49 ฟิสิกส์
วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 11.00-12.30 น.
___________________________________________________________________________________________
13. (สามัญ’59) ค่าของประจุใน C1 เป็นกี่เท่าของประจุใน C2

C1
1.
C2
R1
2.
R2
C 2 R1
3.
C 1 R2
C 2 R2
4.
C 1 R1
C 1 R1
5.
C 2 R2
___________________________________________________________________________________________
14. (สามัญ’59) น้ำจากท่อสั้นๆ เอียง 45o ที่ก้นถังน้ำสูง h จะพุ่งขึ้นไปได้สูงเท่าไรจากพื้นระดับ

1
1. h
√2
1
2. h
2
1
3. h
4
3
4. h
4
5. h

สอนโดย: อ.อริยพล จิวาลักษณ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ฝ่ายมัธยม) © 2019 7


รหัสวิชา 49 ฟิสิกส์
วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 11.00-12.30 น.
___________________________________________________________________________________________
15. (สามัญ’59) จุด S1 และ S2 เป็นจุดกำเนิดคลื่นต่อเนื่อง สร้างคลื่นที่มีความยาวคลื่นเท่ากันเฟสเดียวกัน จุด A และจุด B
ซึ่งอยู่บนแนวรอยต่อระหว่างจุด S1 และ S2 เป็นตำแหน่งของปฏิบัพสองจุดที่อยู่ติดกัน ถ้าระยะระหว่างจุด A และจุด B
เท่ากับ b ความยาวคลื่นที่แหล่งกำเนิดทั้งสองสร้างมีค่าเท่าใด
b
1.
4
b
2.
2
3b
3.
2
4. 2b
5. 4b

___________________________________________________________________________________________
16. (สามัญ’59) ท่อก้นปิด ปากเปิด ยาว L เมตร ให้เสียงก้องที่โหมดต่ำสุดมีความถี่เปลี่ยนไปกี่เฮิรตซ์ เมื่ออุณหภูมิของ
อากาศในท่อสูงขึ้น 10 oC (ให้ถือว่าท่อยาวคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงกับอุณหภูมิ)
3
1.
20L
3
2.
10L
3
3.
2L
3
4.
L
6
5.
L

สอนโดย: อ.อริยพล จิวาลักษณ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ฝ่ายมัธยม) © 2019 8


รหัสวิชา 49 ฟิสิกส์
วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 11.00-12.30 น.
___________________________________________________________________________________________
17. (สามัญ’59) ประจุขนาด +Q, -2Q และ +3Q ถูกตรึงอยู่ที่มุมทั้งสามของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งมีความยาว 3a และ 4a
ตามภาพงานที่ต้องทำเพื่อย้ายประจุ +Q จากตำแหน่งเดิมไปยังตำแหน่ง D ของรูปสี่เหลี่ยมมีค่าเท่าใด กำหนดให้ ค่าคง
ตัวคูลอมบ์เท่ากับ k

1 2
1. - 15 (kQa )
2 2
2. + 3 (kQa )
8 2
3. + 15 (kQa )
3 kQ2
4. +( )
5 a
16 kQ2
5. + ( )
45 a
___________________________________________________________________________________________
18. (สามัญ’59) เมื่อเลือกความต้านทาน R ค่าหนึ่ง โวลต์มิเตอร์และแอมป์มิเตอร์อ่านค่าได้ 8.0 V และ 2.0 A ตามลำดับ
จากนั้นเปลี่ยนค่าความต้านทาน R เป็นอีกค่าหนึ่ง โวลต์มิเตอร์และแอมป์มิเตอร์อ่านค่าได้ 10.0 V และ 1.0 A ตามลำดับ
แรงเคลื่อนไฟฟ้า ε ของแบตเตอรี่เป็นกี่โวลต์

1. 12
2. 15
3. 18
4. 24
5. 30

สอนโดย: อ.อริยพล จิวาลักษณ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ฝ่ายมัธยม) © 2019 9


รหัสวิชา 49 ฟิสิกส์
วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 11.00-12.30 น.
___________________________________________________________________________________________
19. (สามัญ’59) ตัวเก็บประจุตัวหนึ่งต่ออยู่กับเครื่องกำเนิดสัญญาณรูปไซน์ที่เปลี่ย นความถี่ได้ แต่ค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าไม่
เปลี่ยน ในขณะที่ใช้ความถี่ 50 Hz จะมีกระแส rms ผ่านตัวเก็บประจุนี้ 20 mA ถ้าเปลี่ยนความถี่เป็น 200 Hz จะมี
กระแส rms ผ่านตัวเก็บประจุนี้กี่ mA
1. 2.5
2. 5.0
3. 40
4. 80
5. 320

___________________________________________________________________________________________
20. (สามัญ’59) อนุภาค A มวล mA และอนุภาค B มวล mB มีประจุและความเร็วเท่ากัน เข้าไปในบริเวณสนามแม่เหล็กที่มี
ความเข้มเท่ากัน ทำให้เส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคทั้งสองเป็น ส่วนหนึ่งของวงกลมที่มีรัศมีความโค้ง RA และ RB
ตามลำดับ โดยที่ RA = 2RB อัตราส่วน mA/mB มีค่าเท่าใด
1. 2
1
2.
2
3. √2
1
4.
4
5. 4

___________________________________________________________________________________________
21. (สามัญ’59) ในการศึกษาปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกพบว่า เมื่อใช้แสงที่มีพลังงาน 2.0 eV ฉายไปยังแผ่นโลหะตัวอย่าง
จะต้องใช้ความต่างศักย์หยุดยั้ง 0.20 V ถ้าเปลี่ยนเป็นใช้แสงที่มีพลังงาน 2.5 eV จะต้องใช้ความต่างศักย์หยุดยั้งเท่าใดใน
หน่วย V
1. 0.20
2. 0.25
3. 0.30
4. 0.50
5. 0.70

สอนโดย: อ.อริยพล จิวาลักษณ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ฝ่ายมัธยม) © 2019 10


รหัสวิชา 49 ฟิสิกส์
วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 11.00-12.30 น.
___________________________________________________________________________________________
22. (สามัญ’59) นิวตรอนอิสระ จะสลายตัวด้วยเวลาครึ่งชีวิตประมาณ 12 นาที ดังนี้

นิวตรอน (n) → โปรตอน (p) + (อนุภาค X) + ปฏินิวตริโน (ν̅)

อนุภาค X คือข้อใด
1. อิเล็กตรอน
2. โพสิตรอน
3. โฟตอนของรังสีแกมมา
4. นิวตริโน
5. ปฏินิวตรอน

___________________________________________________________________________________________
23. (สามัญ’59) จะต้องใช้พลังงานกี่อิเล็กตรอนโวลต์ในการไอออนไนส์อะตอมของไฮโดรเจนจากสภาวะโลดอันดับที่สอง
(second-excited state)
(สภาวะพื้นของอะตอมไฮโดรเจนมีพลังงาน E = -13.6 eV)
1. 1.5
2. 1.4
3. 1.3
4. 1.2
5. 0.9

สอนโดย: อ.อริยพล จิวาลักษณ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ฝ่ายมัธยม) © 2019 11


รหัสวิชา 49 ฟิสิกส์
วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 11.00-12.30 น.
___________________________________________________________________________________________
24. (สามัญ’59) ทรงกลมโลหะกลวงมีประจุ -Q และมีประจุ +Q อยู่ที่จุดศูนย์กลางทรงกลม จงหาค่าของสนามไฟฟ้าที่จุด
q1 q2
ห่างจากจุดศูนย์กลางเป็นระยะทาง r ดังในรูป (ใช้กฎของคูลอมบ์ในแบบ )
4πε0 r2

Q
1.
4πε0 r
Q
2.
8πε0 r
Q
3.
4πε0 r2
Q
4.
8πε0 r2
Q
5.
πε0 r2

สอนโดย: อ.อริยพล จิวาลักษณ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ฝ่ายมัธยม) © 2019 12


รหัสวิชา 49 ฟิสิกส์
วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 11.00-12.30 น.
___________________________________________________________________________________________
R
25. (สามัญ’59) ใช้เชือกดึงเพลาของล้อ O ในแนวระดับด้วยแรง F เท่ากับเท่าไร จึงจะทำให้ล้อปีนขึ้นสันสูง ได้พอดี
4

3
1. Mg
√7
√7
2. Mg
3
3
3. Mg
7
7
4. Mg
3
5. √3Mg

สอนโดย: อ.อริยพล จิวาลักษณ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ฝ่ายมัธยม) © 2019 13

You might also like