You are on page 1of 36

๑ ๒

่ วรรู้
เรื่องทีค

ความหมาย ส่วนประกอบของประโยค
ประโยคคืออะไร? ภาคประธาน
ภาคแสดง

๓ ๔
ชนิดของประโยคแบ่งตามโครงสร้าง ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา
ประโยคสามัญ บอกให้ทราบ เงื่อนไข
ประโยครวม เสนอแนะ ขอร้อง
ประโยคซ้อน คาสั่ง คาดคะเน
ห้าม ถาม
ชักชวน
ประโยค
ประโยค
คาหรือกลุ่มคาที่นามาเรียง
ต่อกันแล้วใจความสมบูรณ์
ประกอบด้วยนามวลีและกริยาวลี
ส่วนประกอบสาคัญของประโยค

นามวลี
๑ ทาหน้าที่
ภาคประธาน

กริยาวลี
ทาหน้าที่ ๒
ภาคแสดง

ส่วนประกอบสาคัญ
พิจารณาข้อความ ข้อความต่อไปนี้เป็นประโยคหรือไม่ ?

๑ ๒ ๓
นักเรียนชั้น ม.๒ กรุณานั่งลง นักเรียนเรียนออนไลน์

มีเฉพาะนามวลี มีเฉพาะกริยาวลี มีทั้งนามวลีและกริยาวลี


ภาคประธาน
คาหรือกลุ่มคาที่เป็นผู้กระทา
บางครั้งมีคาขยายเพื่อให้ได้ความชัดเจนขึ้น
เช่น น้อง น้องของฉัน
ภาคแสดง
คาหรือกลุ่มคาที่เป็นตัวแสดงของประธาน
ประกอบด้วย กริยา กรรม ส่วนเติมเต็ม
เช่น หิวมากจนตาลาย
ภาคประธาน
ประกอบด้วย ประธาน ขยายประธาน
ภาคแสดง
ประกอบด้วย กริยา กรรม ส่วนเติมเต็ม
ให้นักเรียนยกตัวอย่างประโยค
คนละ 1 ประโยค
แล้วแยกภาคประธานและภาคแสดงให้ถูกต้อง
ชนิดของประโยค
ชนิดของประโยคแบ่งตามโครงสร้าง

ประโยค ๒
สามัญ 2
ประโยครวม

ประโยค ๓
ซ้อน
ข้อสังเกต
๑. ประกอบด้วยนามวลี และ กริยาวลี
๒. ไม่มีคาเชื่อม
ประโยคสามัญ
๓.มี ๒ ชนิด
๓.๑ มีกริยาวลีเดียว
๓.๒ มีหลายกริยาวลี
๓.๑ มีกริยาวลีเดียว
ตัวอย่างประโยค

ฉันเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ประโยคสามัญ
มีกริยาวลีเดียว คือ
เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
คากริยา
๓.๑ มีกริยาวลีเดียว
ตัวอย่างประโยค

น้องกินไอศกรีมอย่างเอร็ดอร่อย
ประโยคสามัญ
มีกริยาวลีเดียว คือ
กินไอศกรีมอย่างอร็ดอร่อย
คากริยา
๓.๒ มีหลายกริยาวลี
ตัวอย่างประโยค

พี่ชายนั่งรับประทานอาหารในห้องครัว
ประโยคสามัญ
มีหลายกริยาวลี คือ
นั่งรับประทานอาหารในห้องครัว
คากริยา = เกิดขึ้นพร้อมกัน
๓.๒ มีหลายกริยาวลี
ตัวอย่างประโยค

คุณแม่เดินไปซื้อกับข้าวที่ตลาด
ประโยคสามัญ
มีหลายกริยาวลี คือ
เดินไปซื้อกับข้าวที่ตลาด
คากริยา = เกิดขึ้นต่อเนือ่ ง
๓.๒ มีหลายกริยาวลี
ตัวอย่างประโยค

เพื่อนของฉันลื่นหกล้มก้นกระแทกพื้น
ประโยคสามัญ
มีหลายกริยาวลี คือ
ลื่นหกล้มก้นกระแทกพื้น
คากริยา = กริยาหลังเป็นผลของกริยาหน้า
ข้อสังเกต
๑. ประกอบด้วยนามวลี และ กริยาวลี
๒. ไม่มีคาเชื่อม
ประโยคสามัญ
๓.มี ๒ ชนิด
๓.๑ มีกริยาวลีเดียว เกิดขึ้นพร้อมกัน

๓.๒ มีหลายกริยาวลี เกิดขึ้นต่อเนือ่ ง

กริยาหลังเป็นผลของกริยาหน้า
ข้อสังเกต
๑. ประโยค ๒ ประโยคขึ้นไปมารวมกัน

๒. มีคาเชื่อม ประโยค
ประโยครวม
๓. มี ๔ ประเภท (คล้อย – ขัด – เลือก – เหตุผล )
ประโยคสามัญ + ประโยคสามัญ

พ่อและแม่เสียสละเพื่อความสุขของลูก

ประโยคสามัญ ๑ คือ พ่อเสียสละเพื่อความสุขของลูก


ประโยครวม
ประโยคสามัญ ๒ คือ แม่เสียสละเพื่อความสุขของลูก

คาเชื่อม คือ และ

เนื้อความความ คล้อยตามกัน
ประโยคสามัญ + ประโยคซ้อน

หมอจะมาหาคนไข้หรือคนไข้จะมาหาหมอ

ประโยคสามัญ คือ หมอจะมาหาคนไข้


ประโยครวม
ประโยคซ้อน คือ หมอจะให้คนไข้มาหาหมอ

คาเชื่อม คือ หรือ

เนื้อความความ เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
ประโยคซ้อน + ประโยคสามัญ

ก๊อกน้าที่รั่วนั้นซ่อมแล้วแต่น้าก็ยังไหลซึมออกมา

ประโยคซ้อน คือ ก๊อกน้าที่รั่วนั้นซ่อมแล้ว


ประโยครวม
ประโยคสามัญ คือ น้าก็ยังไหลซึมออกมา

คาเชื่อม คือ แต่

เนื้อความความ ขัดแย้งกัน
ประโยคซ้อน + ประโยคซ้อน

เขารับประทานอาหารที่ปรุงไม่ถูกสุขลักษณะ
จึงเกิดอาการท้องร่วงจนไปโรงเรียนไม่ได้
ประโยครวม ประโยคซ้อน คือ เขารับประทานอาหารที่ปรุงไม่ถูกสุขลักษณะ
ประโยคซ้อน คือ เขาเกิดอาการท้องร่วงจนไปโรงเรียนไม่ได้
คาเชื่อม คือ จึง
เนื้อความความ เป็นเหตุเป็นผล
ข้อสังเกต
๑. ประโยค ๒ ประโยคขึ้นไปมารวมกัน

๒. มีคาเชื่อม ประโยค
ประโยครวม
๓. มี ๔ ประเภท (คล้อย – ขัด – เลือก – เหตุผล )
ข้อสังเกต
๑. ประโยค ๒ ประโยคขึ้นไปมารวมกัน
๒. มีคาเชื่อม ประโยค
ประโยครวม
๓. มี ๔ ประเภท (คล้อย – ขัด – เลือก – เหตุผล )
๑. คล้อยตามกัน
๒. ขัดแย้งกัน
๓. เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
๔. เป็นเหตุเป็นผล
ข้อสังเกต
๑. ประโยคที่ประกอบด้วย ๒ ประโยครวมกัน

๒. มีประโยคหลัก (มุขยประโยค)
ประโยคซ้อน
๓. มีประโยคย่อย (อนุประโยค) มี ๓ ประเภท
ข้อสังเกตประโยคย่อย
ประโยคที่ขึ้นต้นด้วยคาเชื่อม
ตัวอย่างประโยค
ประโยคซ้อน ที่คุณพูดเป็นเรื่องเข้าใจผิด
ครูบอกนักเรียนว่าพรุ่งนี้เรียนออนไลน์
พ่อแม่ภูมิใจที่ลูกเป็นคนดี
ผู้ชายที่ยืนอยู่หน้าบ้านคือพี่ชายของฉัน
ประโยคย่อย นามานุประโยค
บทประธาน / บทกรรม
ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็น นามวลี
/ หน่วยเติมเต็ม
มักมีคาเชื่อมว่า ที่ ที่ว่า ว่า ให้
ประโยคซ้อน
ฉันได้ยินเพื่อนพูดว่าพรุ่งนี้จะสอบเก็บคะแนน
ประโยคหลัก คือ ฉันได้ยินเพื่อนพูด
ประโยคย่อย คือ พรุ่งนี้จะสอบเก็บคะแนน
ประโยคย่อย คุณานุประโยค
ขยายคานาม
ประโยคย่อยทาหน้าที่ขยายนาม
ที่อยู่หน้าอนุประโยค
มักมีคาเชื่อมว่า ที่ ซึ่ง อัน
ประโยคซ้อน
ดารารัตน์หญิงสาวซึ่งเกิดมาบนกองเงินกองทองฝันอยากเป็นดารา

ประโยคหลัก คือ ดารารัตน์หญิงสาวฝันอยากเป็นดารา


ประโยคย่อย คือ เกิดมาบนกองเงินกองทอง
ประโยคย่อย วิเศษณานุประโยค
ประโยคย่อยทาหน้าที่เหมือนวิเศษณ์วลี ขยายกริยา
มักมีคาเชื่อมว่า เมื่อ หลังจากที่ ก่อน แต่ ตั้งแต่ ขณะที่
ประโยคซ้อน
แม่นั่งพักผ่อนหลังจากที่ทาอาหารเสร็จแล้ว

ประโยคหลัก คือ แม่นั่งพักผ่อน


ประโยคย่อย คือ ทาอาหารเสร็จแล้ว
ประโยคย่อย วิเศษณานุประโยค
ประโยคย่อยทาหน้าที่เหมือนวิเศษณ์วลี ขยายกริยา
มักมีคาเชื่อมว่า เพราะ เนื่องจาก
ประโยคซ้อน
คุณยายปวดน่องเพราะเดินขึ้นบันไดสูง

ประโยคหลัก คือ คุณยายปวดน่อง


ประโยคย่อย คือ เดินขึ้นบันไดสูง
ประโยคย่อย วิเศษณานุประโยค
ประโยคย่อยทาหน้าที่เหมือนวิเศษณ์วลี ขยายกริยา
มักมีคาเชื่อมว่า จน จนกระทั่ง กระทั่ง
ประโยคซ้อน
เขาเจ็บเท้าจนเดินไม่ไหว

ประโยคหลัก คือ เขาเจ็บเท้า


ประโยคย่อย คือ เดินไม่ไหว
ประโยคย่อย วิเศษณานุประโยค
ประโยคย่อยทาหน้าที่เหมือนวิเศษณ์วลี ขยายกริยา
มักมีคาเชื่อมว่า เพื่อ
ประโยคซ้อน
คุณพ่อทางานหนักเพื่อหาเงินมาเลี้ยงลูก

ประโยคหลัก คือ คุณพ่อทางานหนัก


ประโยคย่อย คือ หาเงินมาเลี้ยงลูก
ประโยคย่อย วิเศษณานุประโยค
ประโยคย่อยทาหน้าที่เหมือนวิเศษณ์วลี ขยายกริยา
มักมีคาเชื่อมว่า ถ้า หาก หากว่า
ประโยคซ้อน
ถ้าเขามาช้า ฉันจะไปเชียงใหม่คนเดียว

ประโยคหลัก คือ ฉันจะไปเชียงใหม่คนเดียว


ประโยคย่อย คือ เขามาช้า
ประโยคย่อย วิเศษณานุประโยค
ประโยคย่อยทาหน้าที่เหมือนวิเศษณ์วลี ขยายกริยา
มักมีคาเชื่อมว่า ทั้งที่ แม้ว่า
ประโยคซ้อน
แม้ว่าการจราจรจะติดขัด เขาก็มาถึงโรงเรียนตรงเวลา

ประโยคหลัก คือ เขามาถึงโรงเรียนตรงเวลา


ประโยคย่อย คือ การจราจะติดขัด
ข้อสังเกต
๑. ประโยคที่ประกอบด้วย ๒ ประโยครวมกัน
๒. มีประโยคหลัก (มุขยประโยค)
ประโยคซ้อน ๓. มีประโยคย่อย (อนุประโยค) มี ๓ ประเภท
ประโยคย่อย นามานุประโยค ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็น นามวลี
ประโยคย่อย คุณานุประโยค ประโยคย่อยทาหน้าที่ ขยายนาม
ประโยคย่อย วิเศษณานุประโยค ประโยคย่อยทาหน้าที่ ขยายกริยา
แบ่งตามเจตนา
ประโยค

บอกให้ทราบ เสนอแนะ คาสั่ง


แม่ชอบทาอาหารไทย (ลองดู ควร นะ ซิ) (จง ต้อง นาหน้า)
ลองไปนั่งตรงนั้นดูซิ จงเลือกคาตอบที่ถูกต้อง

ห้าม ชักชวน เงื่อนไข


(อย่า ห้าม นะ) (กัน เถอะ นะ) (ถ้า หาก)
อย่าขับรถเร็วนะ เราเดินไปด้วยกันเถอะนะ ถ้าทางานไม่เสร็จ จะไม่ได้กินขนม
แบ่งตามเจตนา
ประโยค

ขอร้อง คาดคะเน
(ช่วย กรุณา วาน โปรด (คง อาจจะ เห็นจะ ละซิ)
ด้วย ที หน่อย เถอนะ นะ) นอนตื่นสายอีกละซิ
โปรดปิดเครื่องมือสื่อสารด้วย

ถาม
(ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร ทาไม)
ใครหยิบหนังสือของฉันไป

You might also like