You are on page 1of 15

ใบความรู้เรื่อง คาสมาส

รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ท๒๒๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒


คาสมาส
ค าสมาส หมายถึ ง ค าประสมแบบภาษาบาลี แ ละสั น สกฤต ค าสมาสเป็ น ค าใหม่ ที่ เกิ ด จากค าที่ ใช้ อ ยู่ เดิ ม
๒ คาขึ้นไปมารวมกันในภาษาบาลี คาสมาสจะต้องนาคาที่มีใช้อยู่ในภาษาบาลีเท่านั้นมารวมกัน
หลักสังเกตภาษาบาลีและสันสกฤต
คาที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตมีหลักโดยทั่วไป ดังนี้
บาลี สันสกฤต
๑. ใช้สระอะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ เช่น ๑. ใช้สระอะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ และเพิ่ม
บิดา บุรี บุญ บูชา เมตตา ฤ
ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอา เช่น ไมตรี ฤกษ์ ฤดู
ฤทธิ์ ไพศาล เมาลี เสาร์
๒. ใช้ ส เช่น สาสนา สันติ วิสาสะ ๒. ใช้ ศ ษ เช่น ศิษย์ ศานติ พิศวาส ศาลา
สาลา สีสะ ศีรษะ
๓. ใช้ ฬ เช่น กีฬา จุฬา ครุฬ ๓. ใช้ ฑ เช่น กรีฑา จุฑา ครุฑ
๔. ใช้พยัญชนะเรียงพยางค์ เช่น ปฐม ปณีต ๔. ใช้อักษรควบกล้า เช่น ประถม ประณีต จักร
จักก สัจ ปชา กิริยา สามี ฐาน ประชา กริยา สวามี สถาน สถาวร
ถาวร
๕. ใช้พยัญชนะสะกดและตัวตามตัวเดียวกัน ๕. ใช้ตัว รร แทน ร (ร เรผะ) เช่น ธรรม
เช่น ธัมม กัมม กรรม มรรค จรรยา สุวรรณ
๖. มีหลักตัวสะกดตัวตามที่แน่นอน ๖. ไม่มีหลักตัวสะกดตัวตาม
พยัญชนะวรรคของภาบาลี
มีหลักสังเกตดังนี้
➢ พยัญชนะแถวที่ ๑ , ๓ , ๕ เป็นตัวสะกดได้เท่านั้น (ต้องอยู่ในวรรคเดียวกัน)
➢ ถ้าพยัญชนะแถวที่ ๑ สะกด แถวที่ ๑ หรือแถวที่ ๒ เป็นตัวตามได้
เช่น สักกะ ทุกข สัจจา ปัจฉิม สัตต หัตถ์ บุปผา เป็นต้น
➢ ถ้าพยัญชนะแถวที่ ๓ สะกด แถวที่ ๓ หรือ ๔ เป็นตัวตามได้ในวรรคเดียวกัน
เช่น อัคคี พยัคฆ์ วิชชา อัชฌา พุทธ
➢ ถ้าพยัญชนะแถวที่ ๕ สะกด ทุกตัวในวรรคเดียวกันตามได้
เช่น องค์ สังข์ องค์ สงฆ์ สัมปทาน สัมผัส สัมพันธ์ สมภาร เป็นต้น
➢ พยัญชนะบาลี ตัวสะกดตัวตามจะอยู่ในวรรคเดียวกันเท่านั้นจะข้ามไปวรรคอื่นไม่ได้
ลักษณะของคาสมาส
๑. คาที่สมาสกันต้องเป็นคาบาลี สันสกฤตเท่านั้น อาจจะเป็นบาลีสมาสกับบาลี เช่น ทิพโสต ขัตติยมานะ
สันสกฤตสมาสกับสันสกฤต เช่น อักษรศาสตร์ บุรุษโทษ บาลีสมาสกับสันสกฤต เช่น วิทยาเขต วัฒนธรรม
๒. คาสมาสไม่ต้องประวิสรรชนีย์หรือมีเครื่องหมายทัณฑฆาตที่อักษรสุดท้ายของคาหน้า เช่น ศิลปกรรม
ธุรการ สัมฤทธิ์บัตร วารดิถี
๓. คาที่นามาสมาสกันแล้ว ความหมายหลักอยู่ที่คาหลัง ส่วนความรองจะอยู่ข้างหน้า เช่น ยุทธ (รบ) +
ภูมิ (แผ่นดิน / สนาม) = ยุทธภูมิ (สนามรบ)
๔. คาที่รวมกันแล้วไม่เปลี่ยนแปลงรูปคาแต่อย่างใด เช่น วัฒน + ธรรม = วัฒนธรรม / โลก + บาล =
โลกบาล
๕. คาสมาสเมื่อออกเสียงต้องต่อเนื่องกัน เช่น ภูมิศาสตร์ อ่านว่า พู – มิ – สาด / เกตุมาลา อ่านว่า เก –
ตุ – มา – ลา

➢ ข้อสังเกต
มีคาในภาษาไทยหลายคาที่มีการประกอบคาคล้ายคาสมาส คือ นาศัพท์มาเรียงต่อกันและสามารถอ่าน
ออกเสียง อะ อิ อุ เชื่อมระหว่างคาที่มาต่อกัน แต่ไม่ใช่คาสมาส เพราะไม่ใช่คารวมของคาที่มาจากภาษาบาลี
สันสกฤต และมีภาษาอื่นปน เช่น
คุณ + ค่า (บาลี + ไทย) อ่านว่า คุน – นะ – ค่า, คุน – ค่า
ชีว + เคมี (สันสกฤต + อังกฤษ) อ่านว่า ชี – วะ – เค – มี
เทพ + เจ้า (บาลี + ไทย) อ่านว่า เทบ – พะ – เจ้า
ทุน + ทรัพย์ (ไทย + สันสกฤต) อ่านว่า ทุน – นะ – ซับ
เมรุ + มาศ (บาลี + เขมร) อ่านว่า เม – รุ – มาด
บรรจุ + ภัณฑ์ (เขมร + บาลีสันสกฤต) อ่านว่า บัน – จุ – พัน
ใบความรูเ้ รือ่ ง คาสมาสแบบมีสนธิ
รายวิชาภาษาไทยพืน้ ฐาน ท๒๒๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒
คำสมำสแบบมีสนธิ
การสมาสแบบมีสนธิ คือ การสมาสคาโดยการเชื่อมคาเข้าระหว่างพยางค์หลังของคาหน้ากับพยางค์หน้า
ของคาหลัง เป็นการย่ออักขระให้น้อยลงเวลาอ่านจะเกิดเสียงกลมกลืนเป็นคาเดียวกัน
การสนธิแบ่งเป็น ๓ ประเภท คือ
๑. สระสนธิ
๒. พยัญชนะสนธิ
๓. นฤคหิตสนธิ
*สาหรับการสนธิในภาษาไทย ส่วนมากจะใช้แบบสร้างของสระสนธิ*
 สระสนธิ คือ การนาคาที่ลงท้ายด้วยสระไปสนธิกับคาที่ขึ้นต้นด้วยสระ ซึ่งเมื่อสนธิแล้วจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปสระ
ตามกฎเกณฑ์
- ตัดสระพยางค์ท้ายคาหน้า แล้วใช้สระพยางค์หน้าคาหลัง
ราช + อานุภาพ จะได้คาว่า ราชานุภาพ
นิล + อุบล จะได้คาว่า นิลุบล
- ตัดสระพยางค์ท้ายคาหน้า และใช้สระพยางค์หน้าของคาหลัง โดยเปลี่ยนสระพยางค์หน้าของคาหลัง
อะ เป็น อา อิ เป็น เอ
อุ เป็น โอ อุ,อู เป็น โอ
ปรม + อินทร์ จะได้คาว่า ปรเมนทร์
พงศ + อวตาร จะได้คาว่า พงศาวดาร
มหา + อิสี จะได้คาว่า มเหสี
- เปลี่ยนสระพยางค์ท้ายของคาหน้าเป็นพยัญชนะ คือ อิ อี เป็น ย , อุ อู เป็น ว ใช้สระพยางค์หน้าของ
คาหลังซึ่งอาจเปลี่ยนรูปหรือไม่เปลี่ยนรูปก็ได้ ในกรณีที่สระพยางค์ต้นของคาหลังไม่ใช่ อิ อี อุ อู อย่างสระตรง
พยางค์ท้ายของคาหน้า
กิตติ + อากร จะได้คาว่า กิตติยากร
ธนู + อาคม จะได้คาว่า ธันวาคม
- บางคาไม่เปลี่ยนสระ อิ อี เป็น ย แต่ตัดทิ้ง ทั้ง สระพยางค์หน้าคาหลังจะไม่มี อิ อี ด้วยกัน
ราชินี + อุปถัมภ์ จะได้คาว่า ราชินูปถัมภ์
ศักดิ + อานุภาพ จะได้คาว่า ศักดานุภาพ
 พยัญชนะสนธิ
พยัญชนะสนธิในภาษาไทยมีน้อย คือเมื่อนาคา ๒ คามาสนธิกัน ถ้าหากว่าพยัญชนะ ตัวสุดท้าย ของคาหน้ากับ
พยัญชนะตัวหน้าของคาหลังเหมือนกัน ให้ตัดพยัญชนะที่เหมือนกัน ออกเสียตัวหนึ่ง เช่น
เทพ สนธิกบั พนม เป็น เทพนม
นิวาส สนธิกับ สถาน เป็น นิวาสถาน
 นิคหิตสนธิ
นิคหิตสนธิในภาษาไทย ใช้วิธีเดียวกับวิธีสนธิในภาษาบาลีและสันสกฤต คือ ให้สังเกตพยัญชนะตัวแรกของคา
หลังว่าอยู่ในวรรคใด แล้วแปลงนิคหิตเป็นพยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคนั้น
เช่น
ส สนธิกับ กรานต เป็น สงกรานต์
(ก เป็นพยัญชนะวรรค กะ พยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคกะ คือ ง)
ส สนธิกับ คม เป็น สังคม
(ค เป็นพยัญชนะวรรค กะ พยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคกะ คือ ง)
ส สนธิกับ ฐาน เป็น สัณฐาน
(ฐ เป็นพยัญชนะวรรค ตะ พยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคกะ คือ ณ)
ส สนธิกับ ปทาน เป็น สัมปทาน
(ป เป็นพยัญชนะวรรค ปะ พยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคกะ คือ ม)
ถ้าพยัญชนะตัวแรกของคาหลังเป็นเศษวรรค ให้คงนิคหิต (_ ) ตามรูปเดิม อ่านออกเสียง อัง
หรือ อัน เช่น
ส สนธิกับ วร เป็น สังวร
ส สนธิกับ หรณ์ เป็น สังหรณ์
ส สนธิกับ โยค เป็น สังโยค
ถ้า ส สนธิกับคาที่ขึ้นต้นด้วยสระ จะเปลี่ยนนิคหิตเป็น ม เสมอ เช่น
ส สนธิกับ อิทธิ เป็น สมิทธิ
ส สนธิกับ อาคม เป็น สมาคม
ส สนธิกับ อาส เป็น สมาส
ส สนธิกับ อุทัย เป็น สมุทัย
ใบความรูเ้ รือ่ ง คาสมาสแบบมีสนธิ
รายวิชาภาษาไทยพืน้ ฐาน ท๒๒๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒
คำสมำสแบบมีสนธิ
การสมาสแบบมีสนธิ คือ การสมาสคาโดยการเชื่อมคาเข้าระหว่างพยางค์หลังของคาหน้ากับพยางค์หน้า
ของคาหลัง เป็นการย่ออักขระให้น้อยลงเวลาอ่านจะเกิดเสียงกลมกลืนเป็นคาเดียวกัน
การสนธิแบ่งเป็น ๓ ประเภท คือ
๑. สระสนธิ
๒. พยัญชนะสนธิ
๓. นฤคหิตสนธิ
*สาหรับการสนธิในภาษาไทย ส่วนมากจะใช้แบบสร้างของสระสนธิ*
 สระสนธิ คือ การนาคาที่ลงท้ายด้วยสระไปสนธิกับคาที่ขึ้นต้นด้วยสระ ซึ่งเมื่อสนธิแล้วจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปสระ
ตามกฎเกณฑ์
- ตัดสระพยางค์ท้ายคาหน้า แล้วใช้สระพยางค์หน้าคาหลัง
ราช + อานุภาพ จะได้คาว่า ราชานุภาพ
นิล + อุบล จะได้คาว่า นิลุบล
- ตัดสระพยางค์ท้ายคาหน้า และใช้สระพยางค์หน้าของคาหลัง โดยเปลี่ยนสระพยางค์หน้าของคาหลัง
อะ เป็น อา อิ เป็น เอ
อุ เป็น โอ อุ,อู เป็น โอ
ปรม + อินทร์ จะได้คาว่า ปรเมนทร์
พงศ + อวตาร จะได้คาว่า พงศาวดาร
มหา + อิสี จะได้คาว่า มเหสี
- เปลี่ยนสระพยางค์ท้ายของคาหน้าเป็นพยัญชนะ คือ อิ อี เป็น ย , อุ อู เป็น ว ใช้สระพยางค์หน้าของ
คาหลังซึ่งอาจเปลี่ยนรูปหรือไม่เปลี่ยนรูปก็ได้ ในกรณีที่สระพยางค์ต้นของคาหลังไม่ใช่ อิ อี อุ อู อย่างสระตรง
พยางค์ท้ายของคาหน้า
กิตติ + อากร จะได้คาว่า กิตติยากร
ธนู + อาคม จะได้คาว่า ธันวาคม
- บางคาไม่เปลี่ยนสระ อิ อี เป็น ย แต่ตัดทิ้ง ทั้ง สระพยางค์หน้าคาหลังจะไม่มี อิ อี ด้วยกัน
ราชินี + อุปถัมภ์ จะได้คาว่า ราชินูปถัมภ์
ศักดิ + อานุภาพ จะได้คาว่า ศักดานุภาพ
 พยัญชนะสนธิ
พยัญชนะสนธิในภาษาไทยมีน้อย คือเมื่อนาคา ๒ คามาสนธิกัน ถ้าหากว่าพยัญชนะ ตัวสุดท้าย ของคาหน้ากับ
พยัญชนะตัวหน้าของคาหลังเหมือนกัน ให้ตัดพยัญชนะที่เหมือนกัน ออกเสียตัวหนึ่ง เช่น
เทพ สนธิกบั พนม เป็น เทพนม
นิวาส สนธิกับ สถาน เป็น นิวาสถาน
 นิคหิตสนธิ
นิคหิตสนธิในภาษาไทย ใช้วิธีเดียวกับวิธีสนธิในภาษาบาลีและสันสกฤต คือ ให้สังเกตพยัญชนะตัวแรกของคา
หลังว่าอยู่ในวรรคใด แล้วแปลงนิคหิตเป็นพยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคนั้น
เช่น
ส สนธิกับ กรานต เป็น สงกรานต์
(ก เป็นพยัญชนะวรรค กะ พยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคกะ คือ ง)
ส สนธิกับ คม เป็น สังคม
(ค เป็นพยัญชนะวรรค กะ พยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคกะ คือ ง)
ส สนธิกับ ฐาน เป็น สัณฐาน
(ฐ เป็นพยัญชนะวรรค ตะ พยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคกะ คือ ณ)
ส สนธิกับ ปทาน เป็น สัมปทาน
(ป เป็นพยัญชนะวรรค ปะ พยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคกะ คือ ม)
ถ้าพยัญชนะตัวแรกของคาหลังเป็นเศษวรรค ให้คงนิคหิต (_ ) ตามรูปเดิม อ่านออกเสียง อัง
หรือ อัน เช่น
ส สนธิกับ วร เป็น สังวร
ส สนธิกับ หรณ์ เป็น สังหรณ์
ส สนธิกับ โยค เป็น สังโยค
ถ้า ส สนธิกับคาที่ขึ้นต้นด้วยสระ จะเปลี่ยนนิคหิตเป็น ม เสมอ เช่น
ส สนธิกับ อิทธิ เป็น สมิทธิ
ส สนธิกับ อาคม เป็น สมาคม
ส สนธิกับ อาส เป็น สมาส
ส สนธิกับ อุทัย เป็น สมุทัย
ใบงำนคำสมำสแบบมีสนธิ
รำยวิชำภำษำไทยพื้นฐำน ท๒๒๑๐๑ ภำคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๒

คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนเชือ่ มคำสมำสต่อไปนี้


คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนแยกคำสมำสต่อไปนี้
พุทธ + อำนุภำพ = …………………………………………………………….
พุทธ + โอวำท = …………………………………………………………… สัญชำติ = …………………………………………………………….

ส + มน = ……………………………………………………………. นเรศวร = …………………………………………………………….

เทว + อำลัย = …………………………………………………………….


สังคม = …………………………………………………………….

มนัส + กรรม = …………………………………………………………….


ทุรชน = …………………………………………………………….

ส + หร = …………………………………………………………….
รำเชนทร์ = …………………………………………………………….

มหำ + โอสถ = …………………………………………………………….


จินตนำกำร = …………………………………………………………….
สมิทธิ = …………………………………………………………….
คงคำ + อำลัย = …………………………………………………………….
จุฬำลงกรณ์ = …………………………………………………………….
มุนี + อินทร์ = …………………………………………………………….
วิทยำลัย = …………………………………………………………….
คงคำ + อำลัย = …………………………………………………………….
สมำคม = …………………………………………………………….
กิติ + อำกร = …………………………………………………………….
คงคำ + อำลัย = …………………………………………………………….
ชื่อ-นำมสกุล..........................................................................................ชั้น......................เลขที่..................
ใบความรู้ เรื่อง ประโยคสามัญ
รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ท๒๒๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒

ประโยคสามัญ
ประโยค คือข้อความที่สื่อสารได้เรื่องราว ทาให้รู้ว่าผู้พูดหรือผู้เขียนต้องการบอกเล่าเรื่อง โดยปกติ
ประโยคประกอบด้วยข้อความ ๒ ส่วน แต่ละส่วนเรียกว่า วลี ทาหน้าที่เป็นส่วนประกอบของประโยคที่
สาคัญ ได้แก่ ส่วนประกอบของประโยคที่มีคานามเป็นหลักเรียกว่า นามวลี กับส่วนประกอบของประโยคที่มี
คากริยาเป็นหลัก เรียกว่า กริยาวลี นามวลีจะทาหน้าที่เป็นภาคประธาน ส่วนกริยาวลี จะทาหน้าที่เป็นภาค
แสดง ประโยคจะประกอบด้วยภาคประธานและภาคแสดงโดยสมบูรณ์ คือประกอบด้วยนามวลี กับกริย าวลี
หรือจะประกอบด้วยภาคแสดงหรือกริยาวลีแต่เพียงอย่างเดียวก็ได้ แต่จะประกอบด้วยภาคประธาน หรือ
นามวลีแต่เพียงอย่างเดียวไม่ได้
๑. ภาคประธาน คือ ส่วนที่เป็นผู้กระทาและอาจมีส่วนขยายหรือไม่มีก็ได้ เช่น
อรพรรณ กิน บะหมี่หมูแดง
นักเรียน เล่นเกมโดมิโนอย่างสนุกสนาน
๒. ภาคแสดง คือ ส่วนทีบ่ อกอาการ หรือบอกสภาพขอประธาน อาจมีส่วนขยายหรือไม่มีก็ได้
เช่น
น้องร้องไห้
นกพิราบบินบนท้องฟ้า
(ส่วนขยาย อาจเป็นคาหรือกลุ่มคาอยู่ในภาคประธาน อยู่ในภาคแสดงก็ได้ ซึ่งอาจเป็นการขยาย
กริยา ขยายกรรม หรือขยายส่วนเติมเต็ม)
ชนิดของประโยค
๑.ประโยคความเดียว
๒.ประโยคความรวม
๓.ประโยคความซ้อน
 ประโยคสามัญ (เอกรรถประโยค) ประโยคที่มีใจความสาคัญเพียงใจความเดียว มีประธานตัวเดียว
มีกริยาตัวเดียว จะมีกรรมมาขยายหรือไม่มีก็ได้ เช่น
- แก้วแตก
- ฝนตกหนัก
- น้าผึ้งไปซื้อกระเป๋าที่สาเพ็ง
- ฉันอ่านหนังสือ
ใบงานเรื่อง การแยกส่วนประกอบของประโยค
รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ท๒๒๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒

คาชี้แจง : ให้นักเรียนแยกส่วนประกอบของประโยคต่อไปนี้

ประโยค ประธาน กริยา กรรม ส่วนขยาย


๑. ฝนตกหนักมาก
๒. ดนัยถูกคุณพ่อดุ
๓. นกบินบนท้องฟ้า
๔. เบิร์ดร้องเพลงเพราะมาก
๕. แก้วน้าตกแตก
๖. ไก่ขันตอนใกล้รุ่ง
๗. แม่ของฉันซือกระเป๋า
๘. เด็กผู้ชายชอบเล่นฟุตบอล
๙. วีรภาพพูดกับน้อยอย่างสุภาพ
๑๐. หน้าหนาวปีนีหนาวมาก
ใบความรู้ เรื่อง ประโยคความรวม
รายวิชาภาษาไทย ท ๒๒๑๐๑ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒

❖ ความหมายของประโยครวม
ประโยคที่นำประโยคควำมเดียวตั้งแต่ ๒ ประโยคขึ้นไปมำรวมกัน โดยใช้คำสันธำนเชื่อมเพื่อให้ได้
ควำมชัดเจน แต่เมื่อแยกประโยค ๒ ประโยคออกจำกกันก็จะมีใจควำมประโยคที่สมบูรณ์
❖ โครงสร้างประโยครวม

ประโยคความเดียว + คาสันธาน + ประโยคความเดียว = ประโยครวม

ประโยครวม แบ่งตำมลักษณะดังนี้
๑. ประโยครวมเชื่อมความคล้อยตามกัน
คือ ลักษณะของเนื้อควำมของประโยคหน้ำและประโยคหลังจะมีควำมหมำยไปในแนวเดียวกัน โดยใช้
คำสันธำนเชื่อม ทั้ง...และ และ แล้วก็ พอ...ก็
ตัวอย่างประโยค ทั้งคุณแม่และคุณพ่อไปเที่ยวตรัง
๒. ประโยครวมเชื่อมความขัดแย้งกัน
คือ ลักษณะเนื้อควำมของประโยคหน้ำและประโยคหลังขัดแย้งกัน โดยใช้คำสันธำนเชื่อม แต่ แต่ทว่า
แต่...ก็ ถึง...ก็
ตัวอย่างประโยค ถึงเรำเลือกเกิดไม่ได้ แต่ก็เลือกเป็นคนดีได้
๓. ประโยครวมเชื่อมความเป็นเหตุเป็นผลกัน
คือ ลักษณะเนื้อควำมของประโยคหน้ำและประโยคหลังเป็นเหตุเป็นผลกัน โดยใช้สันธำนเชื่อม เพราะ
ดังนั้น...จึง เพราะฉะนั้น.....จึง
ตัววอย่างประโยค เพรำะเขำขยัน เขำจึงได้รับคำชมเชย
๔. ประโยครวมเชื่อมเนื้อความให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
คือ ลักษณะเนื้อควำมของประโยคหน้ำและประโยคหลังจะต้องเลือกอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง โดยใช้สันธำนเชื่อม
หรือ มิฉะนั้น หรือไม่ก็ ไม่...ก็
ตัวอย่างประโยค เธอชอบไปเที่ยวน้ำตกหรือทะเล
ใบความรู้เรื่อง ประโยคซ้อน
รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ท๒๒๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒

ประโยคซ้อน คือประโยคที่มีเล็กๆ ประกอบอยู่ด้วย ประโยคเล็ก ๆ มีคำเชื่อม เช่น ที่ ซึ่ง อัน ว่ำ ฯลฯ
น ำหน้ ำ ค ำเชื่ อ มเหล่ ำ นี้ ร วมกั บ ประโยคเล็ ก ๆ เรีย กว่ ำ อนุ ป ระโยค ค ำเชื่ อ มเหล่ ำนี้ จึ งเรีย กว่ ำ ค ำเชื่ อ ม
อนุประโยค ในประโยคซ้อนต้องมีอนุประโยคอยู่ด้วยเสมอ อนุประโยคอำจใช้เป็นส่วนหนึ่งของประโยคซ้อน
หรือใช้ขยำยส่วนใดส่วนหนึ่งของประโยคซ้อนก็ได้ เช่น

ตัวอย่าง ครูตำหนินักเรียน (ประโยคสำมัญ)


เพิ่มประโยคย่อยมำขยำยเป็น ครูตำหนินักเรียนที่คุยกัน
ประโยคหลัก คือ “ครูตำหนินักเรียน” ประโยคย่อย คือ“ที่ (นักเรียน) คุยกัน”

องค์ประกอบของประโยคซ้อน ประโยคซ้อนประกอบด้วยส่วนประกอบ ๒ ส่วน คือ


๑. ประโยคหลัก ๒. ประโยคย่อย
ประโยคหลัก (มุขยประโยค) คือ ประโยคหัวหน้ำหรือประโยคหลัก เป็นประโยคสำคัญซึ่งจะขำดไม่ได้
และมีได้เพียงประโยคเดียวต่อหนึ่งประโยคเท่ำนั้น
ประโยคย่อย (อนุประโยค) คือประโยคเล็กที่ทำหน้ำที่แต่งมุขยประโยคให้ได้ควำมดีขึ้น แบ่งออกเป็น
๓ ชนิด คือ ๑. นำมำนุประโยค ๒. คุณำนุประโยค ๓. วิเศษณำนุประโยค
นามานุประโยค คือ ประโยคย่อยที่ทำหน้ำที่คล้ำยกับนำม อำจเป็นบทประธำน บทกรรม หรือบท
ขยำยก็ได้ มักเชื่อมด้วยคำ “ว่ำ” “ให้” “สำหรับ” “ของ” บำงทีก็ไม่มีตัวเชื่อม เช่น
๑. ทาหน้าที่เป็นบทประธาน คือ ทำหน้ำที่เป็นบทประธำนหรือภำคประธำนของมุขยประโยค

ตัวอย่าง ภราดรเล่นเทนนิสถูกใจคนดู
- ภรำดรเล่นเทนนิส (ประโยคย่อยทำหน้ำที่เป็นบทประธำนของประโยคหลัก)
- ภรำดรถูกใจคนดู (ประโยคหลัก)

๒. ทาหน้าที่เป็นบทกรรม คือ ทำหน้ำที่เป็นบทกรรมของมุขยประโยค

ตัวอย่าง ฉันเห็นตารวจไล่จับผู้ร้าย
- ฉันเห็นตำรวจ (ประโยคหลัก กรรมของประโยคหลัก คือ ตำรวจ)
- ตำรวจไล่จับผู้ร้ำย (ประโยคย่อยทำหน้ำที่เป็นกรรมของประโยคหลัก)
๓. หน้าที่เป็นบทขยาย คือ ทำหน้ำที่ขยำยนำมของประโยคหลัก คำเชื่อม ได้แก่ ของ สำหรับ หรือ
อำจไม่มีคำเชื่อมก็ได้

ตัวอย่าง การเงินของพ่อค้าขายของชาฝืดเคืองมาก
- กำรเงินฝืดเคืองมำก (ประโยคหลัก)
- ของพ่อค้ำขำยของชำ (ประโยคย่อยทำหน้ำที่ขยำยนำม กำรเงิน ซึ่งเป็นประธำนของ
ประโยคหลั
ประโยคซ้ อนชนิดคุกณคานุ
ำเชืป่อระโยค
ม คือ ของ)
คุณานุประโยค คื-อ คนเริ ่มต้นคิอดยทีโครงกำรนี
ประโยคย่ ่ทำหน้ำที้ ่เ(ประโยคย่
หมือนคำวิอเศษณ์
ยทำหน้ ำที่ส่วนเติมอเต็
ขยำยนำมหรื ม
สรรพนำมของประโยคหลั ก
โดยมีประพันธสรรพนำมเป็นตัวเชื่อม เช่น “ที่” “ซึ่ง” “อัน” “ผู้” โดยที่ประโยคย่อยนี้จะอยู่หลังและติดกับ
คำเชื่อมดังกล่ำว

ตัวอย่าง ครูชอบเด็กที่มีความประพฤติดี
- ครูชอบเด็ก (ประโยคหลัก)
- ที่ (เด็ก) มีควำมประพฤติดี (ประโยคย่อย)
- คำเชื่อม คือ ที่

ประโยคซ้อนชนิดวิเศษณานุประโยค
วิเศษณานุประโยค คือ ประโยคย่อยที่ทำหน้ำที่เหมือนคำวิเศษณ์ขยำยกริยำหรือวิเศษณ์ของประโยค
หลักให้ได้ใจควำมชัดเจนขึ้น โดยมีคำเชื่อมให้สังเกต ดังนี้
ประพันธวิเศษณ์ ได้แก่ “ที่” “ซึ่ง” “อัน” ทั้ง ๓ คำนี้จะต้องอยู่หลังและติดกับคำกริยำหรือวิเศษณ์
เท่ำนั้น
คาบุพบท ได้แก่ จน ตำม เพรำะ ขณะที่ ระหว่ำงที่ เมื่อ จนกระทั่ง ตั้งแต่ สำหรับ เพื่อ ฯลฯ

ตัวอย่าง นักเรียนไปโรงเรียนเพื่อเรียนหนังสือ
- นักเรียนไปโรงเรียน (ประโยคหลัก)
- เรียนหนังสือ (ประโยคย่อย)
ใบงาน เรือ่ ง ประโยคในภาษาไทย
รายวิชาภาษาไทยพืน้ ฐาน ท๒๒๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒
******************************
คำสั่ง ให้นักเรียนบอกชนิดของประโยคต่อไปนี้

ฝนตกก่อนฟ้าร้อง ................................................................

นกบินอยู่บนท้องฟ้า ................................................................

ฉันชอบนักเรียนทีต่ ั้งใจเรียน ................................................................

ช่วงนี้เป็นฤดูน้าหลากประชาชนจึงต้อง ................................................................
ระมัดระวังเรื่องน้้าท่วม

เขาอยู่ที่บ้านเมื่อฉันออกมา ................................................................

ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติเป็น ................................................................
ปัจจัยแห่งความสงบสุขของประเทศชาติ

ชาวบ้านพยายามจ้องมองดูตน้ ไม้ประหลาด ................................................................


ด้วยความสนใจ

น้องดรีมตั้งใจจะไปนมัสการพระแก้วมรกตที่ ..........................................................
วัดพระแก้วแต่ต้องประสบปัญหาเพราะฝนตกหนัก

ละครเรื่องบุพเพสัญนิวาสที่ขิมและตาต้าชื่นชอบ ................................................................
ยังเป็นที่สนใจของประชาชนทั้งประเทศ

ผู้หญิงทุกคนชอบกุหลายสีแดง ................................................................
ชื่อ......................................................................................ชั้น...................เลขที่............
ใบความรู้เรื่อง กลอนสุภาพ
รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ท๒๒๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒

แผนผังกลอนสุภาพ

ตัวอย่างคาประพันธ์
กลอนสุภาพพึงจามีกาหนด กลอนหนึ่งบทสี่วรรคกรองอักษร
วรรคละแปดพยางค์นับสุนทร อาจยิ่งหย่อนเจ็ดหรือเก้าเข้าหลักการ
ห้าแห่งคาคล้องจองต้องสัมผัส สลับจัดรับรองส่งประสงค์สมาน
เสียงสูงต่าต้องเรียงเยี่ยงโบราณ เป็นกลอนกานท์ครบครันฉันนี้เอย

ข้อบังคับของกลอนสุภาพ
กลอนสุภาพ ๑ บท มี ๒ คากลอน
๑ คากลอน มี ๒ วรรค
๑ วรรค มี ๗-๙ คา
แต่ละวรรคมีชื่อดังนี้
วรรคที่ ๑ ชื่อ วรรคสดับหรือสลับ
วรรคที่ ๒ ชื่อ วรรครับ
วรรคที่ ๓ ชื่อ วรรครอง
วรรคที่ ๔ ชื่อ วรรคส่ง
วรรคสดับ และ วรรครับ เรียกว่า บาทเอก
วรรครอง และ วรรคส่ง เรียกว่า บาทโท
สัมผัสของกลอนสุภาพ
สัมผัส คือ เสียงสระ หรือเสียงพยัญชนะที่คล้องจองกันช่วยในการ
แต่งคาประพันธ์ให้ถูกต้องและไพเราะ
สัมผัส แบ่งเป็น ๒ ชนิด คือ
สัมผัสนอก และสัมผัสใน
สัมผัสนอก คือ สัมผัสบังคับที่จะต้องส่งสัมผัสระหว่างวรรค และระหว่างบทให้
สังเกตจากแผนผังของกลอนสุภาพ
สัมผัสใน คือ สัมผัสภายในวรรคเดียวกัน จะมีหรือไม่มีก็ได้ ไม่บังคับ แต่ถ้าขาดไป กลอนวรรคนั้นก็จะ
ขาดความไพเราะ ดังนั้น แต่ละวรรคควรมีสัมผัสในอย่างน้อย ๑ แห่ง
สัมผัสระหว่างวรรค
ได้แก่ คาสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ส่งสัมผัสไปยังคาที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรคที่ ๒
คาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ส่งสัมผัสไปยังคาสุดท้ายของวรรคที่ ๓ และสัมผัสกับคาที่ ๓ หรือ ๕ ในวรรคที่ ๔
ถ้าจะแต่งต่อไปวรรคที่ ๑ ของบทต่อไปนั้นต้องเป็นวรรคอิสระคือไม่ต้องรับสัมผัสจากบทต้น
สัมผัสระหว่างบท
ได้แก่ คาสุดท้ายของบทที่ ๑ ส่งสัมผัสไปยังคาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ในบทต่อไป

การใช้เสียงวรรณยุกต์ลงท้ายวรรค
การเขียนกลอนให้ไพเราะ ควรคานึงถึงเสียงวรรณยุกต์ในคาสุดท้ายของแต่ละวรรคตามความนิยมดังนี้
วรรคสดับหรือวรรคสลับ ใช้เสียงวรรณยุกต์ได้ทุกเสียง เสียงที่ถือว่าไพเราะน้อยคือ เสียงสามัญ
วรรครับ นิยมใช้เสียงจัตวา หรือ เสียงเอก, เสียงโท ไม่ควรใช้เสียงสามัญ
วรรครองนิยมเสียงสามัญ ไม่ควรใช้เสียงจัตวา
วรรคส่ง นิยมเสียงสามัญ ไม่ควรใช้เสียงจัตวา

You might also like