You are on page 1of 51

คณิตศาสตร์ ชั้น ม.

1 หน้า 1
สทศ. สพฐ.

แบบทดสอบชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ปีการศึกษา 2561

สานักทดสอบทางการศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบทดสอบนี้เป็นเอกสารลับของทางราชการ
ห้ามคัดลอกเปิดเผยหรือนาไปเผยแพร่

สงวนลิขสิทธิ์
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 2
สทศ. สพฐ.

คาชี้แจงแบบทดสอบคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
1. แบบทดสอบฉบับนี้มี 30 ข้อ ให้เวลาทาแบบทดสอบ 120 นาที คะแนนเต็ม 100 คะแนน
2. แบบทดสอบฉบับนี้แบ่งเป็น 4 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 แบบเลือกตอบ จานวน 17 ข้อ ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
(ข้อที่ 1 – 17 ให้คะแนน ข้อละ 3 คะแนน รวม 51 คะแนน)
ตัวอย่าง 0. ถ้า a = 343 แล้ว a มีค่าเท่าไร
3

1) -7, 0, 7
2) -7, 7
3) 7
4) -7
วิธีตอบ ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดียวโดยระบายทับหมายเลข
ที่ตรงกับตัวเลือกที่ต้องการลงในกระดาษคาตอบ ถ้านักเรียนคิดว่าตัวเลือกที่ 3 ถูกต้อง ดังนี้

ข้อ 0    
ตอนที่ 2 แบบเชิงซ้อน จานวน 4 ข้อ ให้นักเรียนระบายคาตอบ ในช่อง ใช่ หรือ ไม่ใช่ ในแต่ละข้อย่อย
(ข้อที่ 18 – 21 ให้คะแนน ข้อละ 4 คะแนน แต่ละข้อมี 4 ข้อย่อย ข้อย่อยละ 1 คะแนน
รวม 16 คะแนน)
ตัวอย่าง 00. กาหนดให้ A + 3 = 11 , B – 5 = 7 และ 2C = 30
พิจารณาความสอดคล้องของข้อความที่กาหนดให้กับข้อมูลข้างต้นว่าเป็นจริงหรือไม่
ถ้าเป็นจริงให้ระบายในวงกลม  ใต้คาว่า “ใช่” ถ้าไม่เป็นจริงให้ระบายในวงกลม 
ใต้คาว่า “ไม่ใช่” ในแต่ละข้อย่อย
ข้อ ข้อความ ใช่ ไม่ใช่
00.1 A + B = 20  
00.2 C–A=6  
00.3 A+B–C=5  
00.4 C – B + A = 10  
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 3
สทศ. สพฐ.
วิธีตอบ ถ้านักเรียนคิดว่าข้อความ 00.1 และ 00.3 เป็นจริง ให้ใช้ดินสอดาระบายลงใน
กระดาษคาตอบช่อง ใช่ ข้อความ 00.2 และ 00.4 ไม่จริง ให้ใช้ดินสอดาระบายลงใน
กระดาษคาตอบช่อง ไม่ใช่ ดังนี้
ข้อ ใช่ ไม่ใช่
00.1  
00.2  
00.3  
00.4  

ตอนที่ 3 แบบเขียนตอบสั้น จานวน 8 ข้อ ให้นักเรียนคิดหาคาตอบ แล้วเขียนคาตอบลงใน


กระดาษคาตอบ (ข้อ 22 – 29) ให้คะแนน ข้อละ 3.5 คะแนน รวม 28 คะแนน
ตัวอย่าง 000. ค่าของ x จากสมการ 3x + 20 = 4x +13 เท่ากับเท่าใด
ตอบ …………………………………………………………………
วิธีตอบ ให้นักเรียนเขียนคาตอบลงในกระดาษคาตอบดังนี้
7
ข้อ 000. ตอบ...............................................................................

ตอนที่ 4 แบบแสดงวิธีทา จานวน 1 ข้อ ให้นักเรียนเขียนแสดงวิธีทาลงในกระดาษคาตอบ


(ข้อ 30 ให้คะแนน 5 คะแนน)
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 1
สทศ. สพฐ.
ตอนที่ 1 แบบเลือกตอบ ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว ข้อ 1 – 17

1.
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. จานวนเต็มบวกเป็นจานวนนับ
ข. 0 เป็นจานวนเต็มบวก
ค. ถ้า a > b แล้ว a – b = b – a

ข้อใดสรุปได้ถูกต้อง
1) ก. ถูก ข. ถูก และ ค. ผิด
2) ก. ถูก ข. ผิด และ ค. ผิด
3) ก. ผิด ข. ถูก และ ค. ถูก
4) ก. ผิด ข. ผิด และ ค. ถูก

ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/1 เข้าใจจานวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจานวนตรรกยะ และใช้สมบัติ


ของจานวนตรรกยะในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

เฉลย
2) ถูก เพราะ ก. ถูก เพราะ จานวนเต็มบวก ได้แก่ 1,2,3,…
จานวนนับ ได้แก่ 1,2,3,...
จานวนเต็มบวกเป็นจานวนนับ เป็นจริง
ข. ผิด เพราะ 0 เป็นจานวนเต็มศูนย์
ค. ผิด เพราะ ถ้า a  b แล้ว a – b  b – a
เช่น a = –2 , b = –3
จะได้ (–2) – (–3) = (–3) – (–2)
1 = –1 เป็นเท็จ
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 2
สทศ. สพฐ.
ตัวลวง
1) ผิด เพราะ เข้าใจผิดว่า
ข. ถูก เพราะ 0 ไม่มีเครื่องหมายลบจึงคิดว่าเป็นจานวนเต็มบวก
3) ผิด เพราะ เข้าใจผิดว่า
ก. ผิด เพราะ จานวนเต็มบวกไม่ใช่จานวนนับ
ข. ถูก เพราะ 0 ไม่มีเครื่องหมายลบ จึงคิดว่าเป็นจานวนเต็มบวก
ค. ถูก เพราะ คิดว่าใช้สมบัติการสลับที่
4) ผิด เพราะ เข้าใจผิดว่า
ก. ผิด เพราะ จานวนเต็มบวกไม่ใช่จานวนนับ
ค. ถูก เพราะ คิดว่าใช้สมบัติการสลับที่
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 3
สทศ. สพฐ.

A A
2. ถ้า 2.72 + 1.39 – 4.11 + 0.28 = เมื่อ เป็นเศษส่วนอย่างต่า แล้ว B – 2A
B B
มีค่าตรงกับข้อใด
1) –44
2) –11
3) 11
4) 44

ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/1 เข้าใจจานวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจานวนตรรกยะ และใช้สมบัติ


ของจานวนตรรกยะในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

เฉลย
28 7 A
3) ถูก เพราะ 2.72 + 1.39 – 4.11 + 0.28 = 0.28 = = ซึ่งเท่ากับ
100 15 B
จะได้ A = 7 และ B = 25
ดังนั้น B – 2A = 25 – 2(7) = 25 – 14 = 11
ตัวลวง
28
1) ผิด เพราะ ไม่เขียน เป็นเศษส่วนอย่างต่า จึงได้ A = 28, B = 100
100
และคานวณ 2A – B แทน B – 2A
จึงได้ 2A – B = 2(28) – 100 = 56 – 100 = –44
28 7
2) ผิด เพราะ เขียน เป็นเศษส่วนอย่างต่า ได้ A = 7, B = 25
100 15
แต่คานวณ 2A – B แทน B – 2A
จึงได้ 2A – B = 2(7) – 25 = 14 – 25 = –11
28
4) ผิด เพราะ ไม่เขียน เป็นเศษส่วนอย่างต่า จึงได้ A = 28, B = 100
100
จึงได้ B – 2A = 100 – 2(28) = 100 – 56 = 44
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 4
สทศ. สพฐ.
3. อุษาและพ่อช่วยกันจัดสวนหย่อมบนพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยออกแบบให้มีพื้นที่ตรงกลาง
4 1
เป็นวงกลมคิดเป็นพื้นที่ ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า และปลูกไม้ดอกในวงกลม คิดเป็นพื้นที่
5 3
ของวงกลม ดังรูป
ปูพื้นหญ้า

ปลูกไม้ดอก

พื้นที่ส่วนที่เหลือนอกวงกลมปูพื้นหญ้า คิดเป็นพื้นที่ 15.75 ตารางเมตร ส่วนที่ปูพื้นหญ้า


มีพื้นที่ น้อยกว่าหรือมากกว่า ส่วนที่ปลูกไม้ดอกกี่ตารางเมตร
1) น้อยกว่า 5.25
2) น้อยกว่า 6.25
3) มากกว่า 7.35
4) มากกว่า 10.50

ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/1 เข้าใจจานวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจานวนตรรกยะ และใช้สมบัติ


ของจานวนตรรกยะในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

เฉลย
4
1) ถูก เพราะ พื้นที่ตรงกลางเป็นวงกลมมีพื้นที่ ของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
5
1
ปลูกไม้ดอกไม้คิดเป็นพื้นที่ ของวงกลม
3
1 4 4
จะได้พื้นที่ปลูกไม้ดอกเป็น  = ของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
3 5 15
จะได้ส่วนที่เหลือทั้งหมดนอกวงกลมปูพน้ื หญ้าคิดเป็นพื้นที่
4 1
1 - = ของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
5 5
ส่วนที่ปูพื้นหญ้าคิดเป็นพื้นที่ 15.75 ตารางเมตร
1
ของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเท่ากับ 15.75 ตารางเมตร
5
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 5
สทศ. สพฐ.
ที่ดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีพื้นที่ 5×15.75 = 78.75 ตารางเมตร
4
จะได้พื้นที่ปลูกไม้ดอกเท่ากับ × 78.75 = 21 ตารางเมตร
15
ดังนั้น ส่วนที่ปูพื้นหญ้ามีพื้นที่น้อยกว่าพื้นที่ปลูกไม้ดอก
21 – 15.75 = 5.25 ตารางเมตร
ตัวลวง
2) ผิด เพราะ ลบทศนิยมผิด จึงได้ส่วนที่ปพู น้ื หญ้ามีพื้นที่น้อยกว่า
ส่วนที่ปลูกไม้ดอก 21 – 15.75 = 6.25 ตารางเมตร
4
3) ผิด เพราะ หาพื้นที่ส่วนที่ปูพื้นหญ้าผิด คือ × 15.75 = 12.6 ตารางเมตร
5
1
หาพื้นที่ส่วนปลูกไม้ดอกผิด คือ × 15.75 = 5.25 ตารางเมตร
3
ส่วนที่ปูพื้นหญ้ามีพื้นที่มากกว่าพื้นที่ส่วนทีป่ ลูกไม้ดอก
12.6 – 5.25 = 7.35 ตารางเมตร
4) ผิด เพราะ จากเฉลยตัวถูก พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า 78.75 ตารางเมตร
1
หาพื้นที่ปลูกไม้ดอกผิด คือ × 78.75 = 26.25 ตารางเมตร
3
และสรุปผิดว่า ส่วนที่ปูพื้นหญ้ามีพื้นที่มากกว่าพื้นที่ส่วนที่ปลูกไม้ดอก
26.25 – 15.75 = 10.5 ตารางเมตร
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 6
สทศ. สพฐ.
4. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
A : กาหนดให้ a เป็นจานวนเต็มใดๆ ถ้า 1 – a > 0 แสดงว่า a มีค่าน้อยกว่า 0
1
B : กาหนดให้ a เป็นจานวนตรรกยะ ถ้า 0 < a < 1 จะได้ว่า > 1
a
C : กาหนดให้ a, b, c เป็นจานวนเต็มใดๆ ถ้า ac < bc จะได้ว่า a > b
ข้อความใดถูกต้อง
1) A ถูก B ถูก และ C ถูก
2) A ผิด B ถูก และ C ผิด
3) A ถูก B ผิด และ C ถูก
4) A ผิด B ผิด และ C ผิด

ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/1 เข้าใจจานวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจานวนตรรกยะ และใช้สมบัติ


ของจานวนตรรกยะในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง
เฉลย 2) ถูก เพราะ ข้อความ A ไม่ถูกต้อง ข้อความ B ถูกต้อง ข้อความ C ไม่ถูกต้อง
A : กาหนดให้ a เป็นจานวนเต็มใดๆ ถ้า 1 – a > 0
เมื่อ a = 0 จะได้ว่า 1 – 0 > 0 เป็นจริง ดังนั้น a < 0 เป็นเท็จ
แสดงว่าข้อความ A ผิด
B : กาหนดให้ a เป็นจานวนตรรกยะ ถ้า 0 < a < 1
x
ให้ a = y เมื่อ x และ y เป็นจานวนเต็มใดๆ ที่ไม่เท่ากับ 0 โดยที่ x < y
1 1 y
ดังนั้น = x = ซึ่งมากกว่า 1 แสดงว่าข้อความ B ถูก
a y
x
C : กาหนดให้ a, b, c เป็นจานวนเต็มใดๆ ถ้า ac < bc จะมีจานวนเต็ม
a, b, c บางจานวน เช่น เมื่อ a = –5 , b = –2 และ c = 2
จะได้ว่า (–5)(2) < (–2)(2) ซึ่ง –10 < –4 เป็นจริง
แต่ –5 < –2 นั่นคือ a < b แสดงว่า ข้อความ C ผิด
ตัวลวง
1) ผิด เพราะ ข้อความ A และ C ไม่ถูกต้อง
3) ผิด เพราะ ข้อความ A และ C ไม่ถูกต้อง และข้อความ B ถูกต้อง
4) ผิด เพราะ ข้อความ B ถูกต้อง
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 7
สทศ. สพฐ.
5. ครูกาหนดโจทย์ให้สมปองและอารีย์ ซึ่งทั้งสองคนแสดงวิธีคิดดังนี้
สมปอง อารีย์
32 x 63 32 x 33 x 23 82 x 43 8x8x4x4x4
= =
12 3 1 x 22 24 2x2x2x2
= 2x2x4x4x4
35 x 23
= 1 2 = 4x4x4x4
3 x2
= 44
= 34 x 21

ข้อใดสรุปถูกต้อง
1) สมปองถูก และอารีย์ผิด
2) สมปองผิด และอารีย์ถูก
3) ทั้งสองคนผิด
4) ทั้งสองคนถูก

ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวกใน


การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

เฉลย
4) ถูก เพราะ วิธีคิดของสมปอง
32 x 63 33666
= ตามนิยามเลขยกกาลัง
12 34
33323232
=
322
32 x 33 x 23
= ตามนิยามเลขยกกาลัง
31 x 22
3(2+3) x 23
= 1 2 ตามสมบัติการคูณเลขยกกาลัง
3 x2
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 8
สทศ. สพฐ.

35 x 23
= 1 2
3 x2
= 3(5-1) x 2(3-2) ตามสมบัตกิ ารหารเลขยกกาลัง
= 34 x 21
สมปองคิดถูกต้อง
82 x 43 8x8x4x4x4
วิธีคิดของอารีย์ = ตามนิยามเลขยกกาลัง
24 2x2x2x2
= 2x2x4x4x4
= 4x4x4x4
= 44 ตามนิยามเลขยกกาลัง
อารีย์คิดถูกต้อง
ตัวลวง
1) ผิด เพราะ อารีย์คิดถูก
2) ผิด เพราะ สมปองคิดถูก
3) ผิด เพราะ สมปองและอารีย์คิดถูก
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 9
สทศ. สพฐ.
6. ที่นาแปลงหนึ่งเป็นรูปสามเหลี่ยมมีความยาวของด้านเป็นอัตราส่วน 2 : 7 : 5 ถ้าความยาว
ของที่นาทั้งสามด้านรวมกันเท่ากับ 700 เมตร แล้วด้านที่ยาวที่สุดมีความยาวกี่เมตร
1) 140
2) 245
3) 350
4) 490

ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/3 เข้าใจและประยุกต์ใช้อัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละ ในการแก้ปัญหา


คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

เฉลย
3) ถูกเพราะ อัตราส่วนของความยาวด้านทั้งสามเป็น 2:7:5
ถ้าความยาวของที่นาทั้งสามด้านรวมกันเท่ากับ 700 เมตร
จะได้ 2 : 7 : 5 = 2 x 50 : 7 x 50 : 5 x 50 = 100 : 350 : 250
ดังนั้น ด้านที่ยาวที่สุด มีความยาว 350 เมตร
ตัวลวง
1) ผิด เพราะ หาอัตราส่วนผิด 2 : 7 : 5 = 2 x 20 : 7 x 20 : 5 x 20 = 40 : 140 : 100
จึงตอบ ด้านที่ยาวที่สุด มีความยาว 140 เมตร
2) ผิด เพราะ หาอัตราส่วนผิด 2 : 7 : 5 = 2 x 35 : 7 x 35 : 5 x 35 = 70 : 245 : 175
จึงตอบ ด้านที่ยาวที่สุด มีความยาว 245 เมตร
4) ผิด เพราะ หาอัตราส่วนผิด 2 : 7 : 5 = 2 x 70 : 7 x 70 : 5 x 70 = 140 : 490 : 350
จึงตอบ ด้านที่ยาวที่สุด มีความยาว 490 เมตร
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 10
สทศ. สพฐ.
7. โรงเรียนแห่งหนึ่งเปิดรับเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในปีการศึกษา 2561
มีนักเรียนชั้น ม.1 จานวน 288 คน อัตราส่วนของจานวนนักเรียนชั้น ม.1 ต่อ จานวน
นักเรียนชั้น ม.2 เป็น 3 : 2 และอัตราส่วนของจานวนนักเรียนชั้น ม.2 ต่อจานวนนักเรียน
ชั้น ม.3 เป็น 4 : 3 นักเรียนชั้น ม.3 มีจานวนกี่คน
1) 144
2) 192
3) 288
4) 384

ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/3 เข้าใจและประยุกต์ใช้อัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละ ในการแก้ปัญหา


คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

เฉลย
1) ถูก เพราะ เนื่องจากอัตราส่วนของจานวนนักเรียนชั้น ม.1 ต่อ จานวนนักเรียนชั้นม.2
เท่ากับ 3 : 2 = 3 × 2 : 2 × 2 = 6 : 4
และอัตราส่วนของจานวนนักเรียนชั้น ม.2 ต่อ จานวนนักเรียนชั้น ม.3
เท่ากับ 4 : 3
ดังนั้น อัตราส่วนของจานวนนักเรียนชั้น ม.1 ต่อจานวนนักเรียนชั้น ม.2 ต่อ
จานวนนักเรียนชั้น ม.3 เท่ากับ 6 : 4 : 3
เนื่องจาก นักเรียนชั้น ม.1 มีจานวน 288 คน
จะได้ว่า นักเรียนชั้น ม.1 มี 6 ส่วน คิดเป็นจานวน 288 คน
288
1 ส่วน คิดเป็นจานวน คน
6
288
นักเรียนชั้น ม.3 มี 3 ส่วน คิดเป็นจานวน × 3 = 144 คน
6
ดังนั้น นักเรียนชั้น ม.3 มีจานวน 144 คน
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 11
สทศ. สพฐ.
ตัวลวง
2) ผิด เพราะ คิดจากอัตราส่วน 6:4:3
288
แต่หาจานวนนักเรียนชั้น ม.3 จาก × 4 = 192 คน
6
3) ผิด เพราะ คิดจากอัตราส่วน 3 : 2 : 3
จึงได้จานวนนักเรียนชั้น ม.3 เท่ากับ จานวนนักเรียนชั้น ม.1 คือ 288 คน
288
4) ผิด เพราะ คิดจากอัตราส่วน 3 : 4 : 3 จะได้ × 4 = 384
3
จึงได้จานวนนักเรียนชั้น ม.3 เท่ากับ 384 คน
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 12
สทศ. สพฐ.
8. โรงงานมินิ มีพนักงานทั้งหมด 3,000 คน เป็นพนักงานชายร้อยละ 60 โรงงานมินิประสบภาวะ
ขาดทุนจาเป็นต้องคัดเลือกพนักงานชายออกร้อยละ 20 ของพนักงานชาย และคัดเลือก
พนักงานหญิงออกร้อยละ 30 ของพนักงานหญิง โรงงานมินิคงเหลือพนักงานทั้งหมดกี่คน
1) 1,200
2) 1,800
3) 2,280
4) 2,640

ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/3 เข้าใจและประยุกต์ใช้อัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละ ในการแก้ปัญหา


คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

เฉลย
3) ถูก เพราะ จานวนพนักงานชายคิดเป็น 60% ของพนักงานทั้งหมด
60
=  3,000 = 1,800 คน
100
จานวนพนักงานหญิง 3,000 – 1,800 = 1,200 คน
คัดเลือกพนักงานชายออกร้อย 20 ของพนักงานชาย
20
คิดเป็นจานวน =  1,800 = 360 คน
100
คัดเลือกพนักงานหญิงออกร้อยละ 30 ของพนักงานหญิง
30
คิดเป็นจานวน =  1,200= 360 คน
100
คงเหลือพนักงานทั้งหมดจานวน 3000 – 360 – 360 = 2,280 คน

ตัวลวง
1) ผิด เพราะ ตอบจานวนพนักงานหญิง
จานวนพนักงานชายคิดเป็น 60% ของพนักงานทั้งหมด
60
=  3,000 = 1,800 คน
100
จานวนพนักงานหญิง 3,000 – 1,800 = 1,200 คน
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 13
สทศ. สพฐ.
2) ผิด เพราะ ตอบจานวนพนักงานชาย
จานวนพนักงานชายคิดเป็น 60 % ของพนักงานทั้งหมด
60
=  3,000 = 1,800 คน
100
4) ผิด เพราะ หาจานวนพนักงานที่เหลือโดยลบด้วยจานวนพนักงานหญิงหรือชาย
เพียงอย่างเดียว 3,000 – 360 = 2,640
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 14
สทศ. สพฐ.
9. กฎสมบูรณ์แบบของแก๊ส (Ideal gas law) กล่าวไว้ว่า
ผลคูณของความดันกับปริมาตร เท่ากับ ผลคูณของจานวนโมล ค่าคงตัว และอุณหภูมิ
จะได้ PV = nRT

เมื่อ P แทน ความดันของแก๊ส หน่วยเป็น atm


V แทน ปริมาตรของแก๊ส หน่วยเป็น l
n แทน จานวนโมลของแก๊ส หน่วยเป็น mol
R แทน ค่าคงตัวของแก๊ส
T แทน อุณหภูมิของแก๊ส หน่วยเป็น K
แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุในภาชนะปิดที่มีค่าคงตัวเป็น 2.5 และปริมาตรเป็น 3 เท่าของค่าคงตัว เมื่อ
ให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 210 K ความดันของแก๊สจะเป็นกี่ atm (กาหนดจานวนโมล = 1 mol)
1) 7
2) 70
3) 517.5
4) 518.5

ตัวชี้วัด ค 1.3 ม.1/1 เข้าใจและใช้สมบัติของการเท่ากันและสมบัติของจานวน เพื่อวิเคราะห์และ


แก้ปัญหาโดยใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

เฉลย 2) ถูก เพราะ คานวณจากสูตร PV = nRT


P × 7.5 = 1 × 2.5 × 210
1 × 2.5 × 210
P = = 70
7.5
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 15
สทศ. สพฐ.
ตัวลวง
1 × 2.5 × 210
1) ผิด เพราะ คานวณผิด P = = 7
7.5
3) ผิด เพราะ คานวณผิด
P × 7.5 = 1 × 2.5 × 210
P × 7.5 = 525
P = 525 – 7.5 = 517.5
4) ผิด เพราะ คานวณผิด
P × 7.5 = 1 × 2.5 × 210
P × 7.5 = 525
P = 525 – 7.5 = 518.5
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 16
สทศ. สพฐ.

2
10. พ่อแบ่งที่นาให้ลูกสองคน คนแรกได้รับที่นา ของทีพ่ อ่ มีอยู่ คนที่สองได้น้อยกว่าคนแรก
5
5 ไร่ ปรากฏว่าพ่อยังเหลือที่นาอยู่อีก 15 ไร่ เดิมพ่อมีที่นาทั้งหมดกี่ไร่
1) 30
2) 40
3) 50
4) 60

ตัวชี้วัด ค 1.3 ม.1/1 เข้าใจและใช้สมบัติของการเท่ากันและสมบัติของจานวน เพื่อวิเคราะห์และ


แก้ปัญหาโดยใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

เฉลย
3) ถูก เพราะ ให้ พ่อมีที่นาทั้งหมด x ไร่
2 2
คนแรกได้รับที่นา ของที่พ่อมีอยู่ คนแรกได้รับที่นา x ไร่
5 5
2
คนที่สองได้น้อยกว่าคนแรก 5 ไร่ คนที่สองได้รับที่นา x - 5 ไร่
5
ปรากฏว่าพ่อยังเหลือที่นาอยู่อีก 15 ไร่
2 2
จะได้สมการ x  x  ( x – 5) = 15
5 5
2 2
x  x  x + 5 = 15
5 5
1
x = 15 – 5
5
1
x = 10
5
x = 50
ดังนั้น เดิมพ่อมีที่นาทั้งหมด 50 ไร่
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 17
สทศ. สพฐ.
ตัวลวง
1) ผิด เพราะ แก้สมการไม่ถูกต้อง
2 2
x = x + x + 10
5 5
x = 2x +2x +10
3x = 10
x = 30 ไร่
2) ผิด เพราะ เขียนสมการไม่ถูกต้อง และหาคาตอบจาก 2(15+5) = 40
4) ผิด เพราะ เขียนสมการไม่ถูกต้อง และหาคาตอบจาก 3(15+5) = 60
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 18
สทศ. สพฐ.
11. ในการจัดโครงการส่งเสริมการออกกาลังกายของโรงเรียนแห่งหนึ่ง โดยมีเป้าหมายให้นักเรียน
ทุกคนออกกาลังกายอย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ จากผลการสารวจติดตามการออกกาลังกาย
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในหนึ่งสัปดาห์

จานวนวันที่ออกกาลังกาย
ในหนึ่งสัปดาห์

จากข้อมูลและกราฟที่กาหนด ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการออกกาลังกายของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในหนึ่งสัปดาห์
1) นักเรียนที่ออกกาลังกาย 3 วัน มีจานวน 60 คน
2) นักเรียนที่ออกกาลังกายน้อยกว่า 5 วัน มีจานวน 205 คน
3) นักเรียนที่ออกกาลังกายไม่เป็นไปตามเป้าหมายของโครงการ มีจานวน 80 คน
4) นักเรียนทีอ่ อกกาลังกาย 7 วัน มีจานวนมากกว่านักเรียนทีอ่ อกกาลังกาย 1 วัน อยู่ 15 คน

ตัวชี้วัด ค 1.3 ม.1/2 เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับกราฟในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหา


ในชีวิตจริง
เฉลย
2) ถูกเพราะ ไม่ถูกต้อง นักเรียนที่ออกกาลังกายน้อยกว่า 5 วัน มีจานวน
5 + 35 + 40 + 60 + 70 = 210 คน
ตัวลวง
1) ผิด เพราะ ถูกต้อง นักเรียนที่ออกกาลังกาย 3 วันมีจานวน 60 คน
3) ผิด เพราะ ถูกต้อง นักเรียนที่ออกกาลังกายไม่เป็นไปตามเป้าหมายของโครงการ
ออกกาลังกายต่ากว่า 3 วัน มีจานวน 5 + 35 + 40 = 80 คน
4) ผิด เพราะ ถูกต้อง นักเรียนที่ออกกาลังกาย 7 วัน มีจานวนมากกว่า จานวนนักเรียน
ที่ออกกาลังกาย 1 วันอยู่ 15 คน
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 19
สทศ. สพฐ.
12. กลุ่มแปรรูปสินค้าการเกษตรร่วมกันผลิตขนมธัญพืช จากข้อมูลเกี่ยวกับจานวนผลผลิต
เงินลงทุน และรายได้ เขียนแสดงด้วยกราฟ ดังนี้
จานวนเงิน (บาท)
รายได้
12,000 
เงินลงทุน
9,000 

6,000 

3,000 

0 จานวน (กล่อง)
200 400 600 800 1,000

จากกราฟข้อใดไม่ถูกต้อง
1) ถ้าต้องการกาไร 6,000 บาท จะต้องผลิตขนมธัญพืช 1,400 กล่อง
2) ถ้ามีเงินลงทุน 15,000 บาท จะผลิตขนมธัญพืชได้ 1,600 กล่อง
3) ถ้าไม่ต้องการขาดทุนต้องผลิตขนมธัญพืชอย่างน้อย 400 กล่อง
4) ถ้าขายขนมธัญพืช 1,000 กล่อง จะได้กาไร 4,500 บาท

ตัวชี้วัด ค 1.3 ม.1/3 เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์เชิงเส้นในการแก้ปัญหา


คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 20
สทศ. สพฐ.
เฉลย
1) ถูก เพราะ ไม่ถูกต้อง เนื่องจาก พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างจานวนผลผลิต (กล่อง)
เงินลงทุน และรายได้ ดังนี้

จานวนกล่อง 0 200 400 600 800 1,000 1,200


เงินลงทุน 3,000 4,500 6,000 7,500 9,000 10,500 12,000
รายได้ 0 3,000 6,000 9,000 12,000 15,000 1,8000

จากความสัมพันธ์จะเห็นว่า เมื่อผลผลิตเพิ่ม 200 กล่อง เงินลงทุนเพิ่ม


1,500 บาท และมีรายได้เพิ่ม 3,000 บาท
เมื่อผลิตขนมธัญพืช 1,200 กล่อง ใช้เงินลงทุน 12,000 บาท และมีรายได้
18,000 บาท จะได้กาไร 18,000 - 12,000 = 6,000 บาท
ดังนั้น ผลิตขนมธัญพืช 1,400 กล่อง จึงไม่ถูกต้อง
ตัวลวง
2) ผิด เพราะ ถูกต้อง ถ้ามีเงินลงทุน 15,000 บาท จะผลิตขนมธัญพืชได้ 1,600 กล่อง
3) ผิด เพราะ ถูกต้อง จากกราฟ ถ้าไม่ต้องการขาดทุน ต้องผลิตอย่างน้อย 400 กล่อง
ซึ่งใช้เงินทุน 6,000 บาท และมีรายได้ 6,000 บาท ซึ่งเท่ากัน ทาให้ไม่ขาดทุน
4) ผิด เพราะ ถูกต้อง ถ้าผลิตขนมธัญพืช 1,000 กล่อง จะใช้เงินลงทุน 10,500 บาท
มีรายได้ 15,000 บาท จะได้กาไร 15,000 – 10,500 = 4,500 บาท
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 21
สทศ. สพฐ.
13. กาหนดจุด A และ B อยู่บนเส้นขนาน และแสดงวิธีสร้าง ดังรูป

จงพิจารณาว่า วิธีการสร้างในข้อใดต่อไปนี้ ไม่ถูกต้อง


1) ใช้ A เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนส่วนโค้งตัดเส้นคู่ขนานที่จุด M และ N
2) ใช้ M และ N เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวเท่ากัน เขียนส่วนโค้งตัดกันที่จุด C
3) ใช้ P และ Q เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวเท่ากัน เขียนส่วนโค้งตัดกันที่จุด E
4) ลาก EF ตัด AY และ XB ที่จุด R และ S ตามลาดับ

ตัวชี้วัด ค 2.2 ม.1/1 ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและเครื่องมือ เช่น วงเวียนและสันตรง รวมทั้ง


โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรือโปรแกรมเรขาคณิต
พลวัตอื่น ๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิตตลอดจนนาความรู้เกี่ยวกับการสร้างนี้ไป
ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง
แนวเฉลย จากรูป มีขั้นตอนการสร้างที่ถูกต้อง ดังนี้
1. ใช้ A เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนส่วนโค้งตัดเส้นคู่ขนานที่จุด M และ N
2. ใช้ B เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนส่วนโค้งตัดเส้นคู่ขนานที่จุด P และ Q
3. ใช้ M และ N เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวเท่ากัน เขียนส่วนโค้งตัดกันที่จุด C
4. ลากส่วนของเส้นตรง AC ตัดเส้นขนานที่จุด X
5. ใช้ P และ Q เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวเท่ากัน เขียนส่วนโค้งตัดกันที่จุด D
6. ลากส่วนของเส้นตรง BD ตัดเส้นขนานที่จุด Y
7. ใช้ A และ Y เป็นจุดศูนย์กลาง เขียนส่วนโค้งตัดกันที่จุด E
8. ใช้ B และ X เป็นจุดศูนย์กลาง เขียนส่วนโค้งตัดกันที่จุด F
9. ลากส่วนของเส้นตรง EF ตัด AY และ XB ที่จุด R และ S
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 22
สทศ. สพฐ.
เฉลย
3) ถูก เพราะ เมื่อใช้ P และ Q เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวเท่ากัน เขียนส่วนโค้งตัดกันที่จุด E
ไม่ถูกต้อง ตามขั้นตอนการสร้าง ข้อ 5 แนวเฉลย ซึ่งเขียนส่วนโค้งตัดกันที่จุด D

ตัวลวง
1) ผิด เพราะ ใช้ A เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนส่วนโค้งตัดเส้นคู่ขนาน
ที่จุด M และ N ถูกต้องตามขั้นตอนการสร้าง ข้อ 1 แนวเฉลย
2) ผิด เพราะ ใช้ M และ N เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวเท่ากัน เขียนส่วนโค้งตัดกัน
ที่จุด C ถูกต้องตามขั้นตอนการสร้าง ข้อ 3 แนวเฉลย
4) ผิด เพราะ ลาก EF ตัด AY และ XB ที่จุด R และ S ตามลาดับ
ถูกต้องตามขั้นตอนการสร้าง ข้อ 9 แนวเฉลย
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 23
สทศ. สพฐ.
14. กาหนดมุม MNO และส่วนของเส้นตรง r และ s จงสร้างรูปสามเหลี่ยม ABC โดยให้ด้าน AB
เป็นฐานยาว r หน่วย ด้าน AC ยาว s หน่วย และมีขนาดมุม CAB เท่ากับมุม MNO
r S

 M  C
Q F


N P O A D 
B E

วิธีสร้าง
ก. ลากรังสี AE
⃗⃗ ที่จุด B
ใช้ A เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาว r หน่วย เขียนส่วนโค้งตัด AE
ข. ใช้ N เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนส่วนโค้งตัด NO ⃗⃗⃗ และ NM⃗⃗⃗⃗ ที่จุด P และ Q
ตามลาดับ
⃗⃗ ที่จุด D
ค. ใช้ A เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวเท่ากับ NP เขียนส่วนโค้งตัด AE
ง. ใช้ D เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวเท่ากับ PQ เขียนส่วนโค้งตัดส่วนโค้งที่ได้จากข้อ ค ที่จุด F
⃗⃗
จ. ลาก AF
⃗⃗ ที่จุด C ลากส่วนของเส้นตรง BC
ฉ. ใช้ A เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาว r หน่วย เขียนเส้นโค้งตัด AF
ช. จะได้รูปสามเหลี่ยม ABC ตามต้องการ

ขั้นตอนการสร้างรูปสามเหลี่ยม ABC ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ถูกต้อง


1) ข
2) ค
3) ง
4) ฉ
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 24
สทศ. สพฐ.
ตัวชี้วัด ค 2.2 ม.1/1 ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและเครื่องมือ เช่นวงเวียน และสันตรง รวมทั้ง
โปรแกรมThe Geometer’s Sketchpad หรือโปรแกรมเรขาคณิต
พลวัตอื่น ๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิตตลอดจนนาความรู้เกี่ยวกับการสร้างนี้ไป
ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง

เฉลย
4) ถูก เพราะ ไม่ถูกต้อง ขั้นตอน ฉ กาหนดความยาวรัศมีเท่ากับ r หน่วย
ที่ถูกต้องคือความยาวรัศมีเท่ากับ s หน่วย

ตัวลวง
⃗⃗⃗
1) ผิด เพราะ ขั้นตอน ข ใช้ N เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนส่วนโค้งตัด NO
⃗⃗⃗⃗ ที่จุด P และ Q ตามลาดับ ถูกต้องตามขั้นตอนการสร้าง
และ NM
⃗⃗
2) ผิด เพราะ ขั้นตอน ค ใช้ A เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวเท่ากับ NP เขียนส่วนโค้งตัด AE
ที่จุด D ถูกต้องตามขั้นตอนการสร้าง
3) ผิด เพราะ ขั้นตอน ง ใช้ D เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวเท่ากับ PQ เขียนส่วนโค้งตัด
ส่วนโค้งที่ได้ จากข้อ ค ที่จุด F ถูกต้องตามขั้นตอนการสร้าง
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 25
สทศ. สพฐ.
15. อาคารแห่งหนึ่งมีภาพด้านบนและด้านข้างเป็นดังนี้

ภาพด้านบน ภาพด้านข้าง

ถ้ามนัสใช้ลูกบาศก์หน่วยสร้างแบบจาลองอาคาร จะได้รูปเรขาคณิตสามมิติที่สอดคล้องกับ
ภาพด้านบน และด้านข้างที่กาหนด ยกเว้นข้อใด

1) 2)

3) 4)

ตัวชี้วัด ค 2.2 ม.1/2 เข้าใจและใช้ความรู้ทางเรขาคณิตในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่าง


รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 26
สทศ. สพฐ.
เฉลย
1) ถูก เพราะ รูปเรขาคณิตสามมิติสอดคล้องกับภาพด้านบนที่กาหนด
แต่ไม่สอดคล้องกับภาพด้านข้างดังนี้

ภาพด้านข้างที่ได้ ภาพด้านข้างที่กาหนด
ซึ่งไม่สอดคล้องกับ

ตัวลวง
2) ผิด เพราะ รูปเรขาคณิตสามมิติสอดคล้องกับภาพด้านบนและด้านข้างที่กาหนด
3) ผิด เพราะ รูปเรขาคณิตสามมิติสอดคล้องกับภาพด้านบนและด้านข้างที่กาหนด
4) ผิด เพราะ รูปเรขาคณิตสามมิติสอดคล้องกับภาพด้านบนและด้านข้างที่กาหนด
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 27
สทศ. สพฐ.
16.

จากข้อมูล การเลือกรับประทานอาหารตามข้อใด ที่ทาให้ร่างกายได้รับพลังงาน( kcal)


ไม่เกินความต้องการของร่างกายต่อวัน
1) อาหารฝรั่งชุด 1 อาหารฝรั่งชุด 2 ข้าวคลุกกะปิ
2) อาหารฝรั่งชุด 1 อาหารฝรั่งชุด 3 ข้าวผัดกระเพรา
3) อาหารฝรั่งชุด 2 อาหารฝรั่งชุด 3 ข้าวคลุกกะปิ
4) อาหารฝรั่งชุด 1 ขนมจีนน้ายา+ไข่ต้มครึ่งฟอง ข้าวคลุกกะปิ
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 28
สทศ. สพฐ.
ตัวชี้วัด ค 3.1 ม.1/1 เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนาเสนอข้อมูลและแปลความหมายข้อมูล
รวมทั้งนาสถิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม

เฉลย
4) ถูก เพราะ จากข้อมูลที่กาหนด ปริมาณพลังงานที่ร่างกายต่อวัน 1,600 – 2,400 kcal
พลังงานจาก อาหารฝรั่งชุด 1 + ขนมจีนน้ายา ไข่ต้มครึ่งฟอง + ข้าวคลุกกะปิ
= 1,166 + 332 + 428 = 1,926 kcal
ได้รับพลังงานจากอาหารรวม 1,926 kcal ไม่เกินความต้องการของร่างกาย

ตัวลวง
1) ผิด เพราะ จากข้อมูลที่กาหนด ปริมาณพลังงานที่ร่างกายต่อวัน 1,600 – 2,400 kcal
พลังงานจาก อาหารฝรั่งชุด 1 + อาหารฝรั่งชุด 2 + ข้าวคลุกกะปิ
= 1,166 + 1,000 + 428 = 2,594 kcal
ได้รับพลังงานจากอาหารรวม 2,594 kcal ซึ่งเกินความต้องการของร่างกาย
2) ผิด เพราะ จากข้อมูลที่กาหนด ปริมาณพลังงานที่ร่างกายต่อวัน 1,600 – 2,400 kcal
พลังงานจาก อาหารฝรั่งชุด 1 + อาหารฝรั่งชุด 3 + ข้าวผัดกระเพรา
= 1,166 + 1,232 + 478 = 2,876 kcal
ได้รับพลังงานจากอาหารรวม 2,876 kcal ซึ่งเกินความต้องการของร่างกาย
3) ผิด เพราะ จากข้อมูลที่กาหนด ปริมาณพลังงานที่ร่างกายต่อวัน 1,600 – 2,400 kcal
คานวณพลังงานจาก อาหารฝรั่งชุด 2 + อาหารฝรั่งชุด 3 + ข้าวคลุกกะปิ
= 1,000 + 1,232 + 428 = 2,660 kcal
ได้รับพลังงานจากอาหารรวม 2,660 kcal ซึ่งเกินความต้องการของร่างกาย
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 29
สทศ. สพฐ.
17. การจัดกิจกรรมชุมนุมของโรงเรียนแห่งหนึ่งมีซึ่งมีจานวนนักเรียนทั้งหมด 285 คน และมี
จานวนนักเรียนแต่ละชุมนุม ดังนี้ กีฬา 42 คน ดนตรี 56 คน ภาษาอังกฤษ 31 คน
อนุรักษ์ 59 คน คณิตศาสตร์ 47 คน และเศรษฐกิจพอเพียง 50 คน ถ้านาข้อมูลข้างต้นมา
สร้างแผนภูมิแสดงจานวนนักเรียนที่อยู่ในชุมนุมต่างๆ จะได้แผนภูมิตามข้อใด

1)

2)

3)

4)
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 30
สทศ. สพฐ.
ตัวชี้วัด ค 3.1 ม.1/1 เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนาเสนอข้อมูลและแปลความหมายข้อมูล
รวมทั้งนาสถิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม

เฉลย
3) ถูก เพราะ แผนภูมิที่ได้สอดคล้องกับข้อมูลที่กาหนด

ตัวลวง
1) ผิด เพราะ สร้างแท่งแผนภูมิชุมนุมภาษาอังกฤษไม่ถูกต้อง
2) ผิด เพราะ สร้างแท่งแผนภูมิชุมนุมเศรษฐกิจพอเพียงไม่ถูกต้อง
4) ผิด เพราะ สร้างแท่งแผนภูมิชุมนุมคณิตศาสตร์ไม่ถูกต้อง
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 31
สทศ. สพฐ.
ตอนที่ 2 แบบเชิงซ้อน ให้นักเรียนระบายคาตอบ ในช่อง ใช่ หรือ ไม่ใช่ ในแต่ละข้อย่อย ข้อ 18 – 21

18. ตารางแสดงมูลค่าสินค้าส่งออกของไทย ประจาเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2560 เป็นดังนี้


ประเภทสินค้า มูลค่า (บาท)
อาหาร 8.65 x 1010
เครื่องดื่มและยาสูบ 5.01 x 109
วัตถุดิบ 3.23 x 1010
น้ามันเชื้อเพลิง 2.22 x 1010
น้ามันจากพืชและสัตว์ 9.68 x 108
เคมีภัณฑ์ 6.27 x 1010

พิจารณาความสอดคล้องของข้อความที่กาหนดให้กับข้อมูลข้างต้นว่าเป็นจริงหรือไม่
ถ้าเป็นจริงให้ระบายในวงกลม  ใต้คาว่า “ใช่” ถ้าไม่เป็นจริงให้ระบายในวงกลม 
ใต้คาว่า “ไม่ใช่” ในแต่ละข้อย่อย

ข้อ ข้อความ ใช่ ไม่ใช่


18.1 น้ามันจากพืชและสัตว์มีมูลค่าส่งออกสูงสุด  
18.2 มูลค่ารวมของสินค้าทั้งหมดคือ 2.09678 x 1011 บาท  
18.3 มูลค่าของน้ามันจากพืชและสัตว์ต่างกับมูลค่าของเคมีภัณฑ์อยู่
 
6.1732 x 1010 บาท
18.4 มูลค่าสินค้าสูงเป็นอันดับที่ 4 และ 5 ได้แก่ น้ามันเชื้อเพลิงและ
 
เครื่องดื่มและยาสูบ

ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวกใน


การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 32
สทศ. สพฐ.

เฉลย 18.1 ไม่ใช่ เพราะ อาหารมีมูลค่าส่งออกสูงสุด คือ 8.65 x 1010 บาท


18.2 ใช่ เพราะ ผลรวมของมูลค่าสินค้าทุกประเภท เท่ากับ
(8.65 x 1010 ) + (5.01 x 109 ) + (3.23 x 1010 ) + (2.22 x 1010 ) +
(9.68 x 108 ) + (6.27 x 1010 )
= (8.65 + 0.501 + 3.23 + 2.22 + 0.0968 + 6.27) x 1010
= 20.9678 x 1010
= 2.09678 x 1011 บาท
18.3 ใช่ เพราะ ผลต่างของมูลค่าน้ามันจากพืชและสัตว์ กับมูลค่าเคมีภัณฑ์ เป็น
(6.27 x 1010 ) – (9.68 x 108 ) = (6.27 x 1010 ) – (0.0968 x 1010 )
= 6.1732 x 1010 บาท
18.4 ใช่ เพราะ มูลค่าสินค้าสูงเป็นอันดับที่ 4 และ 5 ได้แก่
น้ามันเชื้อเพลิง คือ 2.22 x 1010 บาท และ
เครื่องดื่มและยาสูบ 5.01 x 109 บาท
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 33
สทศ. สพฐ.
19.
นทีซื้อนาฬิกาเรือนหนึ่ง แล้วขายให้นาวีในราคา 3,500 บาท นทีขาดทุนไป 20%
นาวีนานาฬิกาไปขายต่อให้สมิธได้กาไร 15%
พิจารณาความสอดคล้องของข้อความที่กาหนดให้กับข้อมูลข้างต้นว่าเป็นจริงหรือไม่
ถ้าเป็นจริงให้ระบายในวงกลม  ใต้คาว่า “ใช่” ถ้าไม่เป็นจริงให้ระบายในวงกลม 
ใต้คาว่า “ไม่ใช่” ในแต่ละข้อย่อย
ข้อ ข้อความ ใช่ ไม่ใช่
19.1 นทีซื้อนาฬิกา ในราคา 4,300 บาท  
19.2 นาวีได้กาไรจากการขายนาฬิกาให้สมิธ 525 บาท  
19.3 สมิธซื้อนาฬิกาได้ราคาถูกกว่าที่นทีซื้อมา  
19.4 ถ้าสมิธนานาฬิกาขายให้นิพลในราคาที่ขาดทุน 20%
 
นิพลจะซื้อนาฬิกาในราคา 3,500 บาท

ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/3 เข้าใจและประยุกต์ใช้อัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละ ในการแก้ปัญหา


คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

เฉลย
100
19.1 ไม่ใช่ เพราะ นทีซื้อนาฬิกาในราคา  3,500 = 4,375 บาท
80
15
19.2 ใช่ เพราะ นาวีขายนาฬิกาให้สมิธได้กาไร  3,500 = 525 บาท
100
115
19.3 ใช่ เพราะ สมิธซื้อนาฬิกาในราคา  3,500 = 4,025 บาท
100
นทีซื้อนาฬิกาในราคา 4,375 บาท ดังนั้น สมิธซื้อนาฬิกาได้ราคาถูกกว่านที
80
19.4 ไม่ใช่ เพราะ ถ้าสมิธขายนาฬิกาให้นิพลในราคา  4,025 = 3,220 บาท
100
นิพลจะซื้อนาฬิกาในราคา 3,220 บาท
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 34
สทศ. สพฐ.
20. ค่าจอดรถที่สนามบินแห่งหนึ่ง มีค่าบริการ ดังนี้
ชั่วโมง อัตราค่าบริการ (บาท)
ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 20
1 30
2 40
3 50
4 60
5 70
. .
. .
. .
หมายเหตุ : รถทุกคันต้องจ่ายค่าธรรมเนียมแรกเข้าเสมอ และเศษของชั่วโมงจะปรับเพิ่มเป็น
เต็มชั่วโมงสาหรับจ่ายค่าบริการ

พิจารณาความสอดคล้องของข้อความที่กาหนดให้กับข้อมูลข้างต้นว่าเป็นจริงหรือไม่
ถ้าเป็นจริงให้ระบายในวงกลม  ใต้คาว่า “ใช่” ถ้าไม่เป็นจริงให้ระบายในวงกลม 
ใต้คาว่า “ไม่ใช่” ในแต่ละข้อย่อย

ข้อ ข้อความ ใช่ ไม่ใช่


20.1 ค่าบริการจอดรถที่สนามบินคานวณจาก ค่าบริการเป็นเงิน
20 + 10x บาท เมื่อ x คือจานวนชั่วโมงจอดรถในสนามบิน  
20.2 คิม เดินทางไปต่างจังหวัด และจอดรถไว้ที่สนามบินจานวน 17 ชั่วโมง
สนามบินเก็บค่าบริการเป็นเงิน 170 บาท  
20.3 นภัทร นารถมาจอดไว้ที่สนามบิน เมื่อเวลา 06.45 น. และนารถออกจาก
สนามบิน เวลา 17.55 น. สนามบินคิดค่าบริการเป็นเงิน 140 บาท  
20.4 นธีจอดรถไว้ที่สนามบินเป็นเวลา 2 วัน 2 ชั่วโมง จะต้องจ่ายค่าบริการ
จอดรถเป็นเงิน 520 บาท  
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 35
สทศ. สพฐ.
ตัวชี้วัด ค 1.3 ม.1/1 เข้าใจและใช้สมบัติของการเท่ากันและสมบัติของจานวน เพื่อวิเคราะห์และ
แก้ปัญหาโดยใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

เฉลย
20.1 ใช่ เพราะ จากข้อมูลที่กาหนด ค่าบริการจอดรถที่สนามบินคิดเป็นเงิน
20 + 10x บาท เมื่อ x คือจานวนชั่วโมงจอดรถในสนามบิน
20.2 ไม่ใช่ เพราะ ค่าบริการจอดรถที่สนามบินคิดเป็นเงิน 20 + 10x บาท
คิม จอดรถทั้งหมด 17 ชั่วโมง
ดังนั้น คิมจ่ายค่าบริการจอดรถเป็นเงิน 20 + 10(17) = 190 บาท
20.3 ใช่ เพราะ นภัทร จอดรถที่สนามบิน เมื่อเวลา 06.45 น
และนารถออกจากสนามบินเวลา 17.55 น
ใช้เวลาจอดรถ ตั้งแต่ 06.45 น. ถึง 17.55 น. เป็นเวลา 11 ชั่วโมง 10 นาที
(คิดค่าบริการเป็น 12 ชั่วโมง เศษของชั่วโมงจะปรับเพิ่มเป็นเต็มชั่วโมง)
ค่าบริการจอดรถที่สนามบินคิดเป็นเงิน 20 + 10x บาท
ดังนั้น นภัทรจ่ายค่าบริการจอดรถที่สนามบิน 20 + 10(12) = 140 บาท
20.4 ใช่ เพราะ ค่าบริการจอดรถที่สนามบินคิดเป็นเงิน 20 + 10x บาท
นธีจอดรถไว้ที่สนามบินเป็นเวลา 2 วัน 2 ชั่วโมง คิดเป็น 50 ชั่วโมง
ดังนั้น นธีจะต้องจ่ายค่าบริการจอดรถเป็นเงิน 20 + 10 (50) = 520 บาท
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 36
สทศ. สพฐ.
21.

พิจารณาความสอดคล้องของข้อความที่กาหนดให้กับข้อมูลข้างต้นว่าเป็นจริงหรือไม่
ถ้าเป็นจริงให้ระบายในวงกลม  ใต้คาว่า “ใช่” ถ้าไม่เป็นจริงให้ระบายในวงกลม 
ใต้คาว่า “ไม่ใช่” ในแต่ละข้อย่อย

ข้อ ข้อความ (เมื่อคิดเฉพาะข้อมูลช่วงมกราคม – ตุลาคม) ใช่ ไม่ใช่


21.1 ตั้งแต่ปี 2552 ถึง 2556 จานวนนักท่องเที่ยวและรายได้จากการ
ท่องเที่ยว มีจานวนเพิ่มขึ้น  
21.2 ในช่วง 5 ปีแรก ประเทศไทยมีจานวนนักท่องเที่ยวรวม 69.97 ล้านคน  
21.3 ตั้งแต่ปี 2551 ถึง 2558 ประเทศไทยมีรายได้จากการท่องเที่ยวรวม
135.49 ล้านล้านบาท  
21.4 จานวนนักท่องเที่ยวปีที่มากที่สุดต่างกับปีที่น้อยที่สุดอยู่ 0.76 ล้านคน  

ตัวชี้วัด ค 3.1 ม.1/1 เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนาเสนอข้อมูลและแปลความหมายข้อมูล


รวมทั้งนาสถิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 37
สทศ. สพฐ.
เฉลย
21.1 ใช่ เพราะ กราฟแสดงให้เห็นว่า ตั้งแต่ปี 2552 ถึง 2556 จานวนนักท่องเที่ยว
และรายได้จากการท่องเที่ยว มีจานวนเพิ่มขึ้น
21.2 ใช่ เพราะ ผลรวมของจานวนนักท่องเที่ยว 5 ปีแรก (2551-2555) เท่ากับ
12.35 + 11.10 + 12.64 + 16.11 + 17.77 = 69.97 ล้านคน
21.3 ไม่ใช่ เพราะ ตั้งแต่ปี 2551 ถึง 2558 ประเทศไทยมีรายได้จากการท่องเที่ยวรวม
เท่ากับ 0.48 + 0.40 + 0.46 + 0.64 + 0.77 + 0.96 + 0.91 + 1.16
= 5.78 ล้านล้านบาท
21.4 ไม่ใช่ เพราะ จานวนนักท่องเที่ยวปีที่มากที่สุด 24.36 ล้านคน
จานวนนักท่องเที่ยวปีที่น้อยที่สุด 11.10 ล้านคน
จานวนนักท่องเที่ยวปีที่มากที่สุดต่างกับปีที่น้อยที่สุดอยู่
24.36 – 11.10 = 13.26 ล้านคน
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 38
สทศ. สพฐ.
ตอนที่ 3 แบบเขียนตอบสั้น ให้นักเรียนคิดหาคาตอบ แล้วเขียนคาตอบที่ถกู ต้อง ข้อ 22 - 29
5 2
22. จานวนเต็มที่มากที่สุด ที่มีค่าน้อยกว่าผลลัพธ์ของ (1 4 )  (4.753.25)
7 3
คือจานวนใด
ตอบ .........................................................................................................................................

ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/1 เข้าใจจานวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจานวนตรรกยะ และใช้สมบัติ


ของจานวนตรรกยะในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

เฉลย 5
5 2 12 14
แนวคิด : (1 4 ) (4.753.25) =  ) 1.5 (
7 3 7 3
3
= 8
2
= 5.333…
จานวนเต็มที่มากที่สุดที่น้อยกว่า 5.333... คือ 5

เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูก 3.5 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบ 0 คะแนน


คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 39
สทศ. สพฐ.
23.
 1 1   1 1   1 1   1 1 
ผลลัพธ์ของ 9      9      9      9    
2 3
  3 4
  4 5  5 6
      
มีค่าเท่าใด

ตอบ .........................................................................................................................................

ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/1 เข้าใจจานวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจานวนตรรกยะ และใช้สมบัติ


ของจานวนตรรกยะในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

เฉลย 3
  1 1    1 1    1 1    1 1 
แนวคิด 9   2  3   9   3  4   9   4  5   9   5  6 
           
= 9          
1 1 1 1 1 1 1 1
2 3 3 4 4 5 5 6
= 9    
1 1
2 6
= 9    
3 1
6 6
2
= 9
6
=3

เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูก 3.5 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบ 0 คะแนน


คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 40
สทศ. สพฐ.
24. การขยายฐานสมาชิกของธุรกิจเครือข่าย (ขายตรง) ของบริษัท A และ B
ระดับ บริษัท A บริษัท B
0  
1  
2  

ถ้าบริษัท A และ B ขยายฐานสมาชิกของธุรกิจถึงระดับ 4 บริษัท B จะมีจานวนสมาชิกเป็น


กี่เท่าของ บริษัท A (ตอบในรูปเลขยกกาลัง)
ตอบ ...................................................................................................................................

ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวกในการ


แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง
เฉลย 24 หรือ 42 หรือ 161
แนวคิด จากข้อมูล เขียนจานวนสมาชิกของบริษัท A และ B ระดับ 0 , 1 , 2 ในรูปเลขยกกาลัง
ถ้าขยายฐานสมาชิกของธุรกิจถึงระดับ 4 จะได้จานวนสมาชิกของบริษัท A และ B ระดับ 4 ดังนี้
ระดับ บริษัท A บริษัท B
0 1 = 20 1 = 40
1 2 = 21 4 = 41
2 4 = 22 16 = 42
3 8 = 23 64 = 43
4 16 = 24 256 = 44
ถ้าบริษัท A และ B ขยายฐานสมาชิกของธุรกิจถึงระดับ 4 จะได้
จานวนสมาชิกของบริษัท B เท่ากับ 44 จานวนสมาชิกของบริษัท A เท่ากับ 24
4
44 (22 ) 28
และเนื่องจาก 4 = 4 = 4 = 24 หรือ 42 หรือ 161
2 2 2
ดังนั้น บริษัท B จะมีจานวนสมาชิกเป็น 24 เท่าของ บริษัท A

เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูก 3.5 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบ 0 คะแนน


คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 41
สทศ. สพฐ.
25. ฟาร์มแห่งหนึ่งเลี้ยงสัตว์ทั้งหมด 180 ตัว โดยมีอัตราส่วนของจานวนเป็ดต่อไก่ต่อสุกร
เป็น 4 : 5 : 3 ต่อมาขายเป็ดไปจานวน 30 ตัว ขายไก่ไปจานวน 45 ตัว และซื้อสุกรมาเพิ่ม
อีกจานวน 15 ตัว ปัจจุบันฟาร์มแห่งนี้มีจานวนสุกรคิดเป็นร้อยละเท่าไรของสัตว์เลี้ยงทั้งหมด
ตอบ ..........................................................................................................................................

ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/3 เข้าใจและประยุกต์ใช้อัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละ ในการแก้ปัญหา


คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

เฉลย 50
แนวคิด อัตราส่วนของจานวนเป็ดต่อไก่ต่อสุกรเป็น 4 : 5 : 3
จะได้จานวนสัตว์เลี้ยงทั้งหมด คิดเป็น 4 + 5 + 3 = 12 ส่วน
ให้ เดิมมีสุกรจานวน x ตัว
และจานวนสัตว์เลี้ยงทั้งหมด 180 ตัว
x 3
เขียนสัดส่วนได้ดังนี้ =
180 12
180  3
x =
12
x = 45 ตัว
จะได้ว่า เลี้ยงสุกรจานวน 45 ตัว
ต่อมาขายเป็ดไป 30 ตัว ขายไก่ไป 45 ตัว และซื้อสุกรมา 15 ตัว
ดังนั้น ปัจจุบันจานวนสัตว์ในฟาร์มทั้งหมดเท่ากับ
180 – 30 – 45 +15 = 120 ตัว
เมื่อซื้อสุกรมาเพิ่มอีก 15 ตัว ทาให้มีสุกรจานวน 45 + 15 = 60 ตัว
ดังนั้น ปัจจุบันฟาร์มแห่งนี้มีจานวนสุกรคิดเป็นร้อยละ
60
 100 = 50 ของสัตว์เลี้ยงทั้งหมด
120

เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูก 3.5 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบ 0 คะแนน


คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 42
สทศ. สพฐ.
26.

ในปี 2018 การใช้จ่ายฝ่ายอุปกรณ์มือถือ และการใช้จ่ายออนไลน์ทั้งหมด มีมูลค่ารวมกัน


กี่ล้านบาท
ตอบ ..................................................................................................................................

ตัวชี้วัด ค 1.3 ม.1/2 เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับกราฟในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหา


ในชีวิตจริง

เฉลย 632,732 ล้านบาท


แนวคิด จากกราฟ ในปี 2018 ค่าใช้จ่ายออนไลน์ทั้งหมด 426,655 ล้านบาท
ค่าใช้จ่ายฝ่ายอุปกรณ์มือถือ 206,077 ล้านบาท
การใช้จ่ายฝ่ายอุปกรณ์มือถือ และการใช้จ่ายออนไลน์ทั้งหมด มีมูลค่ารวมกัน
426,655 + 206,077 = 632,732 ล้านบาท

เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูก 3.5 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบ 0 คะแนน


คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 43
สทศ. สพฐ.
27. จานวน x และ y มีความสัมพันธ์ ดังตารางต่อไปนี้
x 1 3 5 7 … 15 … B
y 15 35 55 75 … A … 215
A และ B มีค่าเท่าไร
ตอบ A = ..........................................และ B = ……………………………………

ตัวชี้วัด ค 1.3 ม.1/3 เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์เชิงเส้นในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์


และปัญหาในชีวิตจริง

เฉลย A = 155 และ B = 21


แนวคิด เขียนสมการแสดงความสัมพันธ์ของ x และ y ดังนี้
y = 10x + 5
เมื่อ x = 15 จะได้ y = 10(15) + 5
y = 155
ดังนั้น A มีค่าเท่ากับ 155
เมื่อ y = 215 จะได้ 215 = 10x + 5
215 – 5 = 10x
10x = 210
x = 21
ดังนั้น B มีค่าเท่ากับ 21
จะได้ A = 155 และ B = 21

เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกทั้ง A และ B 3.5 คะแนน


ตอบถูก A หรือ B อย่างใดอย่างหนึ่ง 1.5 คะแนน
ตอบผิดหรือไม่ตอบ 0 คะแนน
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 44
สทศ. สพฐ.
28. กาหนดรูปเรขาคณิตสามมิติซึ่งประกอบด้วย ลูกบาศก์ขนาดเท่าๆกันจานวน 14 ลูก จงเขียน
ภาพด้านหน้าของรูปเรขาคณิตสามมิตินี้ พร้อมทั้งเขียนจานวนลูกบาศก์กากับไว้ในรูป
สี่เหลี่ยมจัตุรัสแต่ละรูป

ตอบ ภาพด้านหน้า

ตัวชี้วัด ค 2.2 ม.1/2 เข้าใจและใช้ความรู้ทางเรขาคณิตในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่าง


รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ

เฉลย
ภาพด้านหน้า
1 1
2 1 1
3 3 2

เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกข้อละ 3.5 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบ 0 คะแนน


คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 45
สทศ. สพฐ.
29. กราฟแสดงจานวนผู้ใช้ Social Media ในประเทศไทยแยกตามแอปพลิเคชัน 4 อันดับแรก
ดังนี้

ผู้ใช้ Instagram ที่เป็นเพศหญิง มีจานวนต่างจากผู้ใช้ Facebook ที่เป็นเพศชาย กี่ล้านคน


ตอบ ..........................................................................................................................................

ตัวชี้วัด ค 3.1 ม.1/1 เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนาเสนอข้อมูลและแปลความหมายข้อมูล


รวมทั้งนาสถิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม

เฉลย 10.25

แนวคิด ผู้ใช้ Instagram มีจานวน 15 ล้านคน เป็นเพศหญิงร้อยละ 60


60
ดังนั้น ผู้ใช้ Instagram ที่เป็นเพศหญิง มีจานวน 15 = 9 ล้านคน
100
และ ผู้ใช้ Facebook มีจานวน 35 ล้านคน เป็นเพศชายร้อยละ 55
55
ดังนั้น ผู้ใช้ Facebook ที่เป็นเพศชาย มีจานวน 35 = 19.25 ล้านคน
100
ดังนั้น ผู้ใช้ Instagram ที่เป็นเพศหญิง มีจานวนต่างจากผู้ใช้ Facebook ที่เป็นเพศชาย
19.25 – 9 = 10.25 ล้านคน

เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูก 3.5 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบ 0 คะแนน


คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 46
สทศ. สพฐ.
ตอนที่ 4 แบบแสดงวิธีทา ให้นักเรียนเขียนแสดงวิธที าลงในกระดาษคาตอบ ข้อ 30
30. การทาธุรกิจขายสินค้าออนไลน์ จาเป็นต้องพึ่งพาธนาคารออนไลน์ซึ่งทาหน้าที่เป็นตัวกลาง
คอยรับ-ส่งเงินออนไลน์จากผู้ใช้ทั่วโลก ที่นาบัญชีธนาคารของตัวเองไปผูกไว้กับบัญชี
โดยธนาคารคิดค่าธรรมเนียมกับผู้ขายสินค้าในอัตรา 4% + 11 บาทต่อเดือน ทุก ๆ กรณี
ถ้าเดือนนี้ร้านค้าแห่งหนึ่งเสียค่าธรรมเนียม 411 บาท ร้านค้าแห่งนี้มียอดขายเท่าไร
จงเขียนสมการ แสดงวิธีการแก้สมการ ตรวจสอบคาตอบและสรุปคาตอบ
(กาหนดให้ x เป็นยอดขายของร้านค้า)
วิธีทา
เขียนสมการเพื่อหาคาตอบได้ดังนี้ ......................................................................................
แก้สมการ ............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
ตรวจสอบคาตอบ................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
สรุปคาตอบ...........................................................................................................................

ตัวชี้วัด ค 1.3 ม.1/1 เข้าใจและใช้สมบัติของการเท่ากันและสมบัติของจานวน เพื่อวิเคราะห์และ


แก้ปัญหาโดยใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 47
สทศ. สพฐ.
แนวเฉลย
ให้ร้านค้าแห่งนี้มียอดขาย x บาท
เนื่องจาก ธนาคารคิดค่าธรรมเนียมกับผู้ขายสินค้าในอัตรา 4% + 11 บาทต่อเดือน
ในเดือนนี้ ร้านค้าเสียค่าธรรมเนียม 411 บาท
4x 4x
เขียนสมการ + 11 = 411 หรือ 411 = + 11
100 100
แก้สมการ
4x
+ 11 = 411
100
4x
= 411 - 11
100
4x
= 400
100
4x = 400 × 100
40,000
x = 4

x = 10,000
ตรวจสอบคาตอบ
ถ้าร้านค้าแห่งนี้มียอดขาย 10,000 บาท
ธนาคารคิดค่าธรรมเนียมกับผู้ขายสินค้าในอัตรา 4% + 11 บาทต่อเดือน
4
คิดเป็นเงิน ( ×10,000) +11 = 411 บาท ซึ่งสอดคล้องกับเงื่อนไขในโจทย์
100
ที่กาหนดให้ เดือนนี้ร้านค้าเสียค่าธรรมเนียม 411 บาท

สรุปคาตอบ ดังนั้น เดือนนี้ร้านค้ามียอดขาย 10,000 บาท


คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 หน้า 48
สทศ. สพฐ.
เกณฑ์การให้คะแนน (คะแนนเต็ม 5 คะแนน)
ประเด็นที่ 1 การเขียนสมการ
เขียนสมการเพื่อใช้หาคาตอบได้ถูกต้อง ได้ 2 คะแนน
เขียนสมการเพื่อใช้หาคาตอบไม่ถูกต้องหรือไม่เขียนสมการ ได้ 0 คะแนน
ประเด็นที่ 2 การแก้สมการ
แสดงวิธีแก้สมการตามขั้นตอนได้ถูกต้องและคานวณถูกต้อง ได้ 2 คะแนน
แสดงวิธีแก้สมการตามขั้นตอนได้ถูกต้องแต่คานวณผิด ได้ 1 คะแนน
แสดงวิธีแก้สมการตามขั้นตอนไม่ถูกต้องหรือไม่แสดงวิธีแก้สมการ ได้ 0 คะแนน
ประเด็นที่ 3 ตรวจสอบคาตอบและสรุปคาตอบ
ตรวจสอบคาตอบและสรุปคาตอบได้ถูกต้อง (คาตอบได้จากการแก้สมการ)
ได้ 1 คะแนน
ตรวจสอบคาตอบและ/หรือสรุปคาตอบไม่ถูกต้องหรือไม่แสดงการตรวจสอบคาตอบ
ได้ 0 คะแนน

You might also like